Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปโครงการทักษะชีวิต ตำบลช้างใหญ่

สรุปโครงการทักษะชีวิต ตำบลช้างใหญ่

Published by NFE Changyai By Kru Chanachai., 2021-09-08 10:47:14

Description: 55. สรุปโครงการทักษะชีวิต 3-2564 ช้างใหญ่

Search

Read the Text Version

บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางไทร ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/๒๖๗๑ วันท่ี ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๔ เรื่อง รายงานสรุปผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต โครงการสุขภาพดีผู้สูงวัย ปลอดภัยจาก โควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ เรยี น ผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางไทร ตามที่ ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาอำเภอบางไทร ได้อนุมัติ กิจกรรมพัฒนาทกั ษะชวี ิต โครงการสุขภาพดีผูส้ งู วัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ ข้าพเจ้า นายชนะชัย อัยกูล ครู กศน.ตำบลช้างใหญ่ นายสมพร จิตรีเหิม ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลราชคราม และนายขวัญชัย จิตรีถิน ครู กศน.ตำบลช่างเหล็ก ผู้รับผิดชอบโครงการสุขภาพดีผู้ สูงวัย ปลอดภัยจากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ ในวันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ กศน.อำเภอ บางไทร อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีเป้าหมาย ประชาชนผู้สนใจทั่วไป จำนวน ๓๐ คน จัดได้ ๓๕ คน บัดน้ี โครงการดังกลา่ ว ไดด้ ำเนนิ การ เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ จึงขอรายงานผลการจัด โครงการสุขภาพดผี ู้สงู วยั ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ ดงั เอกสารรูปเล่มแนบทา้ ยน้ี จึงเรยี นมาเพื่อโปรดทราบ (นายชนะชัย อยั กูล) ครู กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ (นายสมพร จิตรีเหมิ ) (นายขวญั ชัย จิตรีถนิ ) ครู กศน.ตำบลราชคราม ครู กศน.ตำบลชา่ งเหลก็ (นางสาวฐติ พิ ร พาสี) หวั หนา้ งานการศึกษาต่อเน่อื ง  ทราบ  อน่ื ๆ ………………………….. (นางสาวมุกดา แขง็ แรง) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภาชี รักษาการในตำแหน่งผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอบางไทร

คำนำ กศน.ตำบลช้างใหญ่ กศน.ตำบลราชคราม กศน.ตำบลช่างเหล็ก ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต โครงการสุขภาพดีผู้สูงวัย ปลอดภัยจากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความ เข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ให้ปลอดภัยจากโรค Covid –๑๙ และเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถ นำความรู้เกีย่ วกบั การดแู ลสขุ ภาพของตนเองไปปรับใชใ้ นชีวิตประจำวนั เพ่อื ใหป้ ลอดภยั จากโรค Covid – ๑๙ ได้ ทาง กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ กศน.ตำบลราชคราม กศน.ตำบลช่างเหล็ก ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดกิจกรรม โครงการสุขภาพดีผู้สูงวัย ปลอดภัยจากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ จำนวน ๖ ช่ัวโมง จะเปน็ ประโยชน์กับผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมในครั้งน้ีไม่ มากก็น้อย และหากการจัดโครงการในครั้งนี้มีข้อบกพร่องประการใด ทาง กศน.ตำบลช้างใหญ่ กศน.ตำบล ราชคราม กศน.ตำบลช่างเหล็ก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ต้องขออภยั ไว้ ณ ทน่ี ดี้ ้วย รายงานสรุปฉบับนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลในการจัดทำโครงการ ภาพกิจกรรม ตลอดจน ประเมินผลโครงการเพือ่ เปน็ การเพ่ิมพนู ความรแู้ ละเปน็ แนวทางในการจัดทำโครงการในครง้ั ต่อไป ชนะชัย อยั กูล ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๔

สารบัญ หนา้ เร่อื ง ๑ บนั ทึกข้อความ ๘ คำนำ ๗๖ สารบญั ๗๙ บทที่ ๑ บทนำ ๘๑ บทที่ ๒ เอกสารที่เกีย่ วข้อง ๙๑ บทที่ ๓ สรปุ ผลการดำเนินงาน บทท่ี ๔ แบบสอบถามความพงึ พอใจ บทที่ ๕ สรุปแบบสอบถามความพงึ พอใจ ภาคผนวก รูปภาพประกอบโครงการฯ รายงานผลการจดั การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง บรรณานกุ รม คณะผู้จดั ทำ

สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการสขุ ภาพดผี ูส้ ูงวัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๑ บทท่ี ๑ บทนำ ๑. ชอ่ื โครงการสขุ ภาพดีผสู้ งู วยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ นโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ นโยบายเรง่ ดว่ นเพือ่ ร่วมขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ 2. ความสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ของ กศน. ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ช่วงวัย และการสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 1) สง่ เสรมิ สนับสนุนใหค้ นทกุ ชว่ งวยั มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ อยา่ งเหมาะสม เต็มตามศกั ยภาพในแต่ละช่วงวัย ๔. ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา ๔.๕ พลกิ โฉม กศน.ตำบล สู่ “กศน.ตำบล ๔G” ข้อ ๑) – ข้อ ๔) ๕. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นสง่ เสรมิ และจดั การศกึ ษาเพือ่ เสรมิ สรา้ งคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อม ๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทัง้ ลดการใช้ทรพั ยากรทีส่ ่งผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดล้อม จดุ เนนการดาํ เนนิ งานประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. สงสริมการจัดการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวติ สําหรบั ประชาชนท่เี หมาะสมกับทกุ ชวงวัย 2.3 สงเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับผูที่เขาสูสังคมสูงวัย อาทิ การฝกอบรมอาชีพ ที่เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริมสมรรถนะผูสูงวัย และหลักสูตร การดูแลผูสูงวัย โดยเนนการมีสวนรวมกับภาคเี ครอื ขายทกุ ภาคสวนในการเตรยี มความพรอมเขาสูสังคมสงู วยั 3. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจดั การศกึ ษา และการเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชนตอการจัดการศึกษาที่เหมาะสมกับทุกกลุมเปาหมาย มีความทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน ความตองการของผูเรียน และ สภาวะการเรยี นรูในสถานการณตาง ๆ ทีจ่ ะเกิดข้นึ ในอนาคต 3.2 พฒั นาแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนยการเรียนรู ทุกชวงวัย และศูนยการเรียนรู ตนแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อใหสามารถ“เรียนรูไดอยางทัว่ ถงึ ทุกท่ี ทกุ เวลา” การจัดการศึกษาและการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ของสาํ นักงาน กศน. จากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เมอื่ เดือนธนั วาคม 2562 สงผลกระทบตอระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ไดออกประกาศและมีมาตรการเฝาระวังเพื่อปองกันการแพรกระจายของเชื้อไวรัสดังกลาว อาทิ กําหนดใหมี การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบนั การศึกษา ทกุ ประเภท เพือ่ จดั การเรยี นการสอน การสอบ ฝกอบรม หรอื การทํากจิ กรรมใด ๆ ทมี่ ีผูเขารวมเปนจํานวนมาก การปดสถานศึกษาดวยเหตุพิเศษ การกําหนดใหใชวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม อาทิ การจัดการ เรียนรูแบบออนไลน การจัดการเรียนรูผานระบบการออกอากาศทางโทรทัศน วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ตาง ๆ รวมถงึ การสอ่ื สารแบบทางไกลหรือดวยวิธีอเิ ลก็ ทรอนิกส

สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการสขุ ภาพดผี ู้สงู วยั ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๒ ในสวนของสํานักงาน กศน. ไดมีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานใน ภารกิจตอเนื่องตาง ๆ ในสถานการณการใชชีวติ ประจําวัน และการจัดการเรียนรูเพือ่ รองรบั การชวี ติ แบบปกติ วิถีใหม (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ ไดใหความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการป องกันการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) อาทิ การจัดกิจกรรมการเรียนรูทุกประเภท หากมีความจําเปนตองมาพบกลุม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาตองมีมาตรการปองกันที่เขมงวด มีเจล แอลกอฮอลลางมือ ผูรับบรกิ ารตองใสหนากากอนามยั หรือหนากากผา ตองมีการเวนระยะหางระหวางบุคคลเน นการใชส่ือดิจิทัลและเทคโนโลยอี อนไลน ในการจัดการเรยี นการสอน ภารกจิ ตอเนือ่ ง 1. ดานการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู 1.3 การศึกษาตอเนือ่ ง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุ ที่สอดคลองกับความตองการจําเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดํารงชีวิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได มีความรู ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเอง ใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันได อยาง มีประสิทธิภาพ และเตรียมพรอมสําหรับการปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมูลและ เทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคตโดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสําคัญตาง ๆ เชน การอบรมจิตอาสา การใหความรู เพื่อการปองการการแพรระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและ สุขภาพจิต การอบรมคุณธรรมและจริยธรรม การปองกันภัยยาเสพติดเพศศึกษา การปลูกฝงและการสรางคา นิยมที่พึงประสงคความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ผานการอบรมเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนา ทักษะชวี ิต การจัดต้ังชมรม/ชุมนุมการอบรมสงเสริมความสามารถพิเศษตางๆ เปนตน 2. ดานหลกั สตู ร สอื่ รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู การวดั และประเมินผลงานบริการทางวชิ าการ และ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สงเสรมิ การพัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรูและกจิ กรรมเพ่ือสงเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และ หลกั สูตรทองถิน่ ทส่ี อดคลองกับสภาพบริบทของพ้ืนท่แี ละความตองการของกลุมเปาหมายและชมุ ชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกสและสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน กล่มุ เปาหมายทวั่ ไปและกลมุ เปาหมายพิเศษ เพ่อื ใหผูเรียนสามารถเรยี นรูไดทุกที ทกุ เวลา 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในท่สี อดคลองกบั บรบิ ทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพอ่ื พรอมรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก โดยพฒั นาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสาํ คญั ของระบบการประกันคณุ ภาพ และสามารถ ดําเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และ จัดใหมีระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สําหรับสถานศึกษาท่ียังไมไดเขารับการประเมิน คณุ ภาพภายนอก ใหพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีผสู้ งู วัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๓ 6. ดานบคุ ลากรระบบการบริหารจัดการ และการมสี วนรวมของทุกภาคสวน 6.1 การพฒั นาบุคลากร 1) พฒั นาบุคลากรทกุ ระดบั ทุกประเภทใหมสี มรรถนะสูงขึน้ อยางตอเนื่องทั้งกอนและระหวางการดํารง ตําแหนงเพื่อใหมีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตําแหนงใหตรงกับสายงาน ความชํานาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงานของหนวย งานและสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพรวมทั้งสงเสริมใหขาราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเลื่อน ตําแหนงหรอื เลื่อนวิทยฐานะโดยเนนการประเมนิ วิทยฐานะเชงิ ประจกั ษ 3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตําบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผูอํานวย ความสะดวกในการเรยี นรูเพอื่ ใหผูเรียนเกดิ การเรยี นรูทม่ี ีประสิทธิภาพอยางแทจริง 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรูได อยางมีคุณภาพโดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวดั และประเมินผล และการวจิ ัยเบ้อื งตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรู ความสามารถและมคี วามเปนมืออาชีพในการจดั บรกิ ารสงเสริมการเรยี นรูตลอดชวี ติ ของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการบริหาร การดาํ เนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อยางมีประสทิ ธิภาพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทําหนาที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเชื่อมโยงกันทั่วประเทศอยางเปน ระบบเพื่อใหหนวยงานและสถานศกึ ษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปนเคร่ืองมือสําคัญในการบริหารการวางแผน การปฏบิ ัตงิ าน การตดิ ตามประเมนิ ผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางมี ประสทิ ธภิ าพ 2) เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การงบประมาณ โดยพฒั นาระบบการกํากบั ควบคุม และเรงรัดการ เบกิ จายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายท่ีกาํ หนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยง กันทั่วประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทนั ความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรยี น และการบรหิ ารจดั การอยางมปี ระสิทธภิ าพ 5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ และตางประเทศ รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อสรางความเขาใจ และใหเกิดความ รวมมือในการสงเสรมิ สนบั สนุน และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูใหกบั ประชาชนอยางมคี ุณภาพ 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให ทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤตมิ ิชอบ บรหิ ารจดั การบนขอมูลและหลักฐานเชิงประจกั ษ มงุ ผลสมั ฤทธ์ิมคี วามโปรงใส

สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการสุขภาพดีผ้สู งู วัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๔ 6.4 การกาํ กับ นิเทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล 1) สรางกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ใหเช่อื มโยงกับหนวยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครอื ขายทง้ั ระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศกึ ษาทเี่ ก่ยี วของทกุ ระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ตดิ ตามและรายงาน ผลการนํานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแตละเรื่องไดอยางมี ประสิทธภิ าพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการกํากับนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอยางมีประสิทธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการตามคาํ รับรองการปฏิบตั ิราชการประจําปของ หนวยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําป ของสํานักงาน กศน.ใหดาํ เนินไปอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ กี าร และระยะเวลาทีก่ ําหนด 5) ใหมีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ตั้งแตสวน กลาง ภูมิภาค กลุ มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพื่อความเป นเอกภาพในการใช้ ขอมูลและการพัฒนางานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๒. หลกั การและเหตุผล ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จากข้อมูลของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) บอกไว้ว่าในปี พ.ศ.๒๕๖๗ จะเป็นช่วงเวลาแห่งสังคมผู้สูงอายุอย่าง สมบูรณแ์ ละที่สำคัญในอีก ๒๕ ปขี ้างหน้าหรอื ปี พ.ศ. ๒๕๘๓ ผู้สูงอายุไทย ๖๐ ปีขน้ึ ไปจะมจี ำนวนสูงถึง ๒๐.๕ ล้านคน หรือร้อยละ ๓๒ ของประชากรทั้งหมด ขณะที่วัยแรงงานจะลดเหลือเพียง ๓๕.๑๘ ล้านคน และ ปัจจุบันเกิดการระบาดของโรค ไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (โควิด – ๑๙) เป็นวงกว้างทั่วราชอาณาจักร ซึ่งกลุ่ม ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีภูมิตา้ นทานต่ำ เป็นกลุ่มเสี่ยงที่หากตดิ เชื้อดังกลา่ วแล้วสามารถทำให้เสียชีวิตได้ ดังน้ัน เพ่อื เปน็ การเตรยี มความพร้อมในการดูแลสุขภาพของผ้สู ูงอายใุ ห้ปลอดภยั จากโรค โควดิ – ๑๙ พร้อมกับการ ดูแลตนเองในทุกๆด้านของผู้สูงอายุจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง การจัดกิจกรรมส่งเสริมทกั ษะเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตให้กับผู้สูงอายุ ด้านการดูแลสุขภาพของตัวเอง จะเป็นวิธีการขั้นต้นที่จะสนับสนุนและสง่ เสริมความมั่งคง ทางสุขภาพกายใหก้ ับผสู้ ูงอายุ ตามนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 การพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิต กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดให้มีการ ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรับผู้ทีเ่ ข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ อาชีพที่เหมาะสมรองรับสังคมผู้สูงวยั หลกั สตู รการพัฒนาคุณภาพชวี ติ และหลกั สตู รการดูแลผสู้ งู วยั เป็นตน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร โดย กศน.ตำบลช้างใหญ่ กศน.ตำบลราชคราม และ กศน.ตำบลช่างเหล็ก ได้ตระหนักถึงปัญหาในอนาคตดังกล่าว จึงได้จัดโครงการ สุขภาพดีผู้สูงวัย ปลอดภัยจากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ ขึ้นโดยใช้กิจกรรมกระบวนการในการดูแลสุขภาพ ตนเองข้นั ตน้ ใหป้ ลอดภยั จากโรคระบาดดงั กลา่ ว 3. วัตถุประสงค์ ๔.๑ เพื่อให้ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความ เข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ให้ปลอดภยั จากโรค Covid –๑๙ ๔.๒ เพื่อให้ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองไป ปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั เพ่ือใหป้ ลอดภยั จากโรค Covid – ๑๙ ได้

สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการสขุ ภาพดผี สู้ งู วยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๕ 4. เปา้ หมาย ๑. เชิงปริมาณ - ประชาชนผ้สู นใจ จำนวน ๓๐ คน ๒. เชงิ คณุ ภาพ - ประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ให้ปลอดภัยจากโรค Covid –๑๙ และสามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองไปปรับใช้ใน ชวี ิตประจำวนั เพ่อื ใหป้ ลอดภัยจากโรค Covid – ๑๙ ได้ ๕. วิธีดำเนนิ การ กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พ้นื ท่ี ระยะ งบประ ๑. ขน้ั วางแผน (Plan) ๓ คน ดำเนนิ การ เวลา มาณ - ประชมุ ช้แี จงผู้ เกย่ี วข้อง - เพอ่ื กำหนดกิจกรรม ครู กศน.ตำบล ๓๐ คน กศน.อำเภอ ๒ บางไทร สงิ หาคม - - จดั ทำโครงการ และผู้รับผิดชอบ ๓ คน ๒๕๖๔ - แตง่ ตง้ั คณะ ระบบ - บาท ดำเนนิ งาน - ทราบบทบาทหน้าที่ ออนนไลน์ ๒๑ กศน.อำเภอ สงิ หาคม - ๒.ขั้นดำเนินการ (Do) และขน้ั ตอนการ บางไทร ๒๕๖๔ ๒.๑ อบรมให้ความรู้ สขุ ภาพดผี ู้สงู วัย ปลอดภัย ดำเนินงาน กศน.อำเภอ ๒๑ จากโควดิ – ๑๙ บางไทร สิงหาคม - เพอ่ื เสนอให้ผู้บริหาร ๒๕๖๔ ๓. ขั้นตรวจสอบ ( Check ) อนุมตั ิโครงการ ๓.๑ ตดิ ตาม/ประเมนิ ผลการดำเนินงาน 1. เพอื่ ให้ประชาชน ประชาชนใน ๓.๒ สรปุ ผล/ รายงานผล ผู้เขา้ รว่ มโครงการ มี พ้นื ที่ ความรูค้ วาม เข้าใจใน - ตำบล การดูแลสุขภาพของ ราชคราม ตนเอง ใหป้ ลอดภัย - ตำบล จากโรค Covid –๑๙ ช้างใหญ่ 2. เพอ่ื ให้ประชาชน - ตำบล ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ ช่างเหลก็ สามารถนำความรู้ เก่ยี วกบั การดูแลสขุ ภาพ ของตนเองไปปรับใช้ใน ชวี ิตประจำวนั เพอ่ื ให้ ปลอดภัยจากโรค Covid – ๑๙ ได้ - เพอ่ื สรุปผลการ ครู กศน.ตำบล ปฏิบัติงานตาม โครงการฯและรายงาน ผล

สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการสุขภาพดผี ู้สงู วยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๖ ๕. วธิ ดี ำเนินการ (ต่อ) กิจกรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เป้าหมาย พืน้ ท่ี ระยะ งบประ ๓ คน ดำเนนิ การ เวลา มาณ ๔. ขั้นปรบั ปรงุ แก้ไข ( - สรปุ ผลการดำเนนิ งาน/ - งานวิชาการ กศน.อำเภอ ๒๓ – - บางไทร ๒๗ Action ) แนวทางการวางแผน - งานนิเทศ/ สิงหาคม ๒๕๖๔ ๔.๑ ปรบั ปรงุ และพัฒนา พฒั นาปรบั ปรุงการ ประเมินผล การดำเนินงาน จดั กจิ กรรมคร้งั ตอ่ ไป ๔.๒ นำปญั หา/อุปสรรคและ ข้อเสนอแนะในการจดั กจิ กรรม มาเปน็ แนวทางในการวางแผน พัฒนาปรบั ปรงุ ในการจดั กจิ กรรมคร้ังตอ่ ไป ๖. งบประมาณ งบประมาณประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ ๔ ผู้รับบริการการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการศึกษานอกระบบ งบดำเนินงาน กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต รหัสงบประมาณ ๒๐๐๐๒๓๖๐0๔๐๐๐๐๐๐ รหัสกิจกรรมหลัก ๒๐๐๐๒๑๔๐๐P๒๗๓๐ แหลง่ ของเงนิ ๖๔๑๑๒๐๐ ๗. ระยะเวลา วันท่ี 2๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ๘. สถานที่ ณ กศน.อำเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ๙. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ ๙.๑ นายสมพร จิตรเี หมิ ครู กศน.ตำบลราชคราม ๙.๒ นายชนะชัย อยั กูล ครู กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ ๙.๓ นายขวัญชัย จิตรีถิน ครู กศน.ตำบลชา่ งเหลก็ ๑๐. เครือข่าย ๑๐.๑ โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลราชคราม ตำบลช้างใหญ่ และตำบลช่างเหลก็ ๑๐.๒ เทศบาลตำบลราชคราม ๑๐.๓ กำนนั ผู้ใหญ่บา้ น สมาชิกองค์การบริหารสว่ นตำบลชา่ งเหลก็ ๑๐.๔ กลุ่ม อสม.ประจำตำบลราชคราม ตำบลช้างใหญ่ และตำบลช่างเหลก็

สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการสขุ ภาพดีผ้สู งู วัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๗ ๑๑. โครงการท่เี ก่ยี วขอ้ ง ๑๑.๑ โครงการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ๑๑.๒ โครงการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ๑๑.๓ โครงการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ๑๑.๔ โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ๑๒. ผลลัพธ์ (OUT COME) ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของ ตนเอง ให้ปลอดภยั จากโรค Covid –๑๙ และสามารถนำความรเู้ กี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองไปปรับใช้ ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้ปลอดภยั จากโรค Covid – ๑๙ ได้ ๑๓. ดัชนชี ว้ี ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ ๑๓.๑ ตัวชว้ี ัดผลผลิต (OUTPUT) 13.1.1 เพื่อให้ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความ เข้าใจในการดูแลสุขภาพของ ตนเอง ใหป้ ลอดภัยจากโรค Covid –๑๙ ๑๓.๒ ตัวช้ีวัดผลลพั ธ์ (OUTCOME) 13.2.1 เพื่อให้ประชาชนผเู้ ข้ารว่ มโครงการ สามารถนำความรู้เกยี่ วกบั การดูแลสุขภาพของ ตนเองไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวนั เพื่อใหป้ ลอดภยั จากโรค Covid – ๑๙ ได้ ๑๔. การติดตามและประเมินผล 14.1 ประเมินระหวา่ งจดั โครงการ 14.1.1 สังเกต ซักถาม การตอบคำถาม 14.2 ประเมินหลงั เสร็จสน้ิ โครงการ 14.2.1 ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ

สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีผูส้ งู วัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๘ บทท่ี ๒ เอกสารทเ่ี ก่ยี วข้อง 1.ความสำคัญของการจัดกจิ กรรมทักษะชีวติ โครงการสุขภาพดผี สู้ ูงวัย ปลอดภัยจากโควิด – 19 โควิด-19 คืออะไร ไวรัสโคโรนา หรอื โควิด-19 คือ ไวรัสโคโรนา (Coronavirus) เป็นไวรัสที่ถูกพบครั้งแรกในปี 1960 แต่ยังไม่ทราบแหล่งที่มาอย่าง ชัดเจนว่ามาจากทีใ่ ด แต่เป็นไวรัสที่สามารถติดเช้ือได้ทั้งในมนุษย์และสัตว์ ปัจจุบันมีการค้นพบไวรัสสายพันธุ์น้ี แลว้ ทงั้ หมด 6 สายพนั ธ์ุ สว่ นสายพันธ์ทุ ีก่ ำลังแพรร่ ะบาดหนกั ทั่วโลกตอนนี้เปน็ สายพนั ธุท์ ี่ยังไมเ่ คยพบมาก่อน คือ สายพันธุ์ที่ 7 จึงถูกเรยี กว่าเป็น “ไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่” และในภายหลงั ถกู ตั้งชื่ออย่างเป็นทางการวา่ “โควดิ -19” (COVID-19) นนั่ เอง อาการเมื่อตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนาสายพันธใุ์ หม่ หรือไวรสั โควดิ -19 อาการของไวรสั โควดิ -19 ทส่ี งั เกตไดง้ า่ ย ๆ ด้วยตวั เอง ดังนี้ 1. มไี ข้ 2. เจบ็ คอ 3. ไอแห้ง ๆ 4. นำ้ มูกไหล 5. หายใจเหน่ือยหอบ กลุ่มเสยี่ งตดิ เช้ือไวรัสโคโรนาสายพนั ธุใ์ หม่ หรือโควิด-19 1. เดก็ เลก็ (แต่อาจไมพ่ บอาการรุนแรงเทา่ ผู้สงู อาย)ุ 2. ผู้สงู อายุ 3. คนทมี่ โี รคประจำตัวอย่แู ลว้ เช่น โรคหวั ใจ เบาหวาน โรคปอดเรอ้ื รัง 4. คนทภ่ี ูมคิ ุ้มกันผิดปกติ หรอื กนิ ยากดภูมิต้านทานโรคอยู่ 5. คนทีม่ ีน้ำหนักเกินมาตรฐานมาก (คนอว้ นมาก) 6. ผทู้ ่เี ดินทางไปในประเทศเส่ียงตดิ เชอื้ เช่น จนี เกาหลใี ต้ ญีป่ ุน่ ไตห้ วัน ฮอ่ งกง มาเกา๊ สงิ คโปร์ มาเลเซีย เวยี ดนาม อิตาลี อิหร่าน ฯลฯ 7. ผูท้ ตี่ ้องทำงาน หรือรักษาผปู้ ว่ ย ติดเช้ือไวรสั โคโรนาสายพันธใ์ุ หม่ หรือโควิด-19 อยา่ งใกล้ชดิ 8. ผู้ท่ที ำอาชพี ท่ีต้องพบปะชาวตา่ งชาตจิ ำนวนมาก เชน่ คนขับแท็กซ่ี เจ้าหนา้ ทใ่ี นโรงพยาบาล ลกู เรอื สายการบินตา่ ง ๆ เปน็ ตน้

สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีผ้สู งู วยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๙ หากมอี าการโควิด 19 ควรทำอยา่ งไร 1. หากมีอาการของโรคที่เกิดข้ึนตาม 5 ข้อดังกล่าว ควรพบแพทย์เพือ่ ทำการตรวจอยา่ งละเอียด และ เมื่อแพทย์ซักถามควรตอบตามความเป็นจริง ไม่ปิดบัง ไม่บิดเบือนข้อมูลใด ๆ เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อการ วนิ จิ ฉยั โรคอย่างถกู ตอ้ งมากท่ีสดุ 2. หากเพ่ิงเดินทางกลบั จากพน้ื ทเี่ สีย่ ง ควรกกั ตวั เองอยูแ่ ต่ในบา้ น ไมอ่ อกไปข้างนอกเปน็ เวลา 14-27 วนั เพื่อใหผ้ ่านช่วงเชอ้ื ฟักตัว (ให้แนใ่ จจริง ๆ วา่ ไมต่ ดิ เช้อื ) วิธปี ้องกนั การตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใุ หม่ 1. หลีกเล่ียงการใกลช้ ดิ กบั ผปู้ ว่ ยทม่ี อี าการไอ จาม น้ำมกู ไหล เหน่อื ยหอบ เจบ็ คอ 2. หลีกเลย่ี งการเดินทางไปในพ้นื ท่เี ส่ียง 3. สวมหนา้ กากอนามยั ทกุ ครั้งเมอ่ื อยใู่ นท่สี าธารณะ 4. ระมัดระวังการสมั ผัสพื้นผวิ ที่ไม่สะอาด และอาจมีเชื้อโรคเกาะอยู่ รวมถึงส่ิงที่มีคนจับบ่อยครั้ง เชน่ ทจ่ี ับบน BTS, MRT, Airport Link ท่ีเปดิ -ปิดประตูในรถ กลอนประตูต่าง ๆ ก๊อกน้ำ ราวบันได ฯลฯ เมื่อจับแล้ว อยา่ เอามอื สมั ผสั หน้า และข้าวของเคร่ืองใชส้ ่วนตวั ต่าง ๆ เช่น โทรศัพทม์ อื ถอื กระเปา๋ ฯลฯ 5. ล้างมือให้สมำ่ เสมอด้วยสบู่ หรือแอลกอฮอล์เจลอย่างน้อย 20 วินาที ความเขม้ ข้นของแอลกอฮอล์ ไมต่ ำ่ กว่า 70% (ไมผ่ สมน้ำ) 6. งดจับตา จมกู ปากขณะที่ไม่ได้ล้างมือ 7. หลีกเลย่ี งการใกลช้ ดิ สัมผสั สัตว์ตา่ ง ๆ โดยทไี่ ม่มีการป้องกนั 8. รบั ประทานอาหารสกุ สะอาด ไม่ทานอาหารท่ที ำจากสตั ว์หายาก 9. สำหรบั บุคลากรทางการแพทยห์ รือผู้ทต่ี ้องดแู ลผู้ปว่ ยทต่ี ิดเช้อื ไวรสั โคโรนาสายพันธ์ุใหม่ หรือโควิด- 19 โดยตรง ควรใส่หน้ากากอนามัย หรือใส่แว่นตานิรภัย เพื่อป้องกันเชื้อในละอองฝอยจากเสมหะหรือสารคัด หลัง่ เขา้ ตา

สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการสขุ ภาพดผี ู้สงู วัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๑๐ 2. ความหมายของสขุ ภาพ สุขภาพ หมายถงึ “ความสขุ ปราศจากโรค ความสบาย” (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525) สุขภาพ หมายถึง “สภาวะแห่งความสมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ รวมถึงการดำรงชีวิตอยู่ในสงั คม ได้อย่างเป็นปกตสิ ุข และมิได้หมายความเฉพาะเพียงแตก่ ารปราศจากโรคและทุพพลภาพเทา่ นนั้ ” Health is a state of complete physical mental and social well– being and not merely the absence of disease or infirmity)” (องคก์ ารอนามัยโลก (WHO : World Health Organization 1946) “สุขภาพ” หมายถึง สุขภาวะ (state of well being) หรือภาวะที่เป็นสุขทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและจิตวญิ ญาณ(spiritual/หรอื ปัญญา) คอื ความสขุ และคุณคา่ ชีวติ (ตามนิยามของ WHO) “สุขภาพ”หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เช่ือมโยงกันเปน็ องค์รวมอยา่ งสมดุล (พระราชบญั ญัติสขุ ภาพ) สุขภาพ หมายถึง ภาวะที่ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ภาวะความสามารถที่พอเหมาะของแต่ละบุคคล ทีจ่ ะสามารถแสดงบทบาท และทำงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ในสงั คมทีเ่ ขาอาศยั อยู่ สขุ ภาพ เป็นสภาพแห่งความสุข อันเกดิ จากความสมดุลระหวา่ งร่างกายกบั จิตใจและความสามารถท่ี จะปรับตัวให้เข้ากบั สง่ิ แวดล้อม ท้ังภายในและภายนอกรา่ งกายของตน สุขภาพในด้านสิทธิมนุษยชน การมีสุขภาพดี ถือว่าเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ที่มนุษย์ทุกคนพึงมีพึง ได้ “สขุ ภาพ”เปน็ สิทธิของมนุษยชน มนุษยท์ ุกคนไม่ว่าจะมีความแตกตา่ งกนั ทางด้าน เชอื้ ชาติ ศาสนา ความ เชื่อมั่นทางการเมือง ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการส่งเสริมคุ้มครองเพื่อให้มีสุขภาพ ใน ระดบั อนั สมควร\" (รัฐธรรมนูญขององค์การอนามยั โลก) นอกจากนีใ้ นรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบบั ล่าสดุ ปี พ.ศ.2540 ไดก้ ำหนดหน้าที่ของรัฐใน การคุ้มครองสิทธิของราษฎรในด้านสุขภาพไว้ในหลายมาตราด้วยกัน เช่น มาตรา 52 ระบุถึงสิทธิในการรับ บริการทางสาธารณสุข ทไี่ ดม้ าตรฐาน มาตรา 53 ระบุความค้มุ ครองเด็กและเยาวชน และมาตรา 86 ระบุถึง การคุม้ ครองแรงงาน เปน็ ตน้

สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการสขุ ภาพดีผ้สู งู วยั ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๑๑ ในสังคมไทยมีคำกล่าวที่ว่า \"อโรคยา ปรมาลาภา\" \"ความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ\" ซึ่งแสดงให้ เห็นว่า สังคมไทยก็มีมุมมองเรื่องสุขภาพในเชิงโรคภัยไข้เจ็บเป็นหลัก การดูแลสุขภาพของสังคมไทยจึงให้ คุณค่าและความสำคัญต่อการรักษาโรค มีการสร้างโรงพยาบาล และทุ่มเททรัพยากรส่วนใหญ่ทั้งของภาครัฐ และเอกชนไปในการรักษาพยาบาลในทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ มองสขุ ภาพเปน็ เร่ืองของการเปลย่ี นแปลงใน ระดับตา่ งๆ ในมนษุ ย์วา่ แตกต่างไปจากคนท่ัวๆ ไป มากนอ้ ยเพยี งใด เช่น - การเปลย่ี นแปลงทางอารมณ์ ความคิด และพฤติกรรม - การเปล่ียนแปลงทางสรีรวทิ ยา การทำหน้าทข่ี องอวยั วะตา่ งๆ ในร่างกาย - การเปลีย่ นแปลงทางเคมีภายในรา่ งกาย - การเปล่ยี นแปลงทางเนื้อเยื่อ รปู รา่ งของส่วนต่างๆ ในร่างกาย เปน็ ต้น การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่กล่าว ต้องใช้ความรู้ความชำนาญ และเครื่องมือช่วยวัด จึงเป็นเรื่องยากท่ี คนนอกวงการวทิ ยาศาสตร์ และการแพทยจ์ ะเขา้ ใจได้โดยงา่ ย การมองสุขภาพแบบองค์รวมที่ประกอบด้วยมติ ิท้ังสาม คือ ร่างกาย สังคม และจิตใจ ผสมผสานกบั การมองสุขภาพในเชิงบวก ธรรมนูญแห่งองค์การอนามยั โลก ในปี ค.ศ.1946 จึงได้บัญญัติความหมายของคำ ว่า \"สุขภาพ\" ไว้ว่า \"สุขภาวะที่สมบูรณ์ ทั้งทางร่างกาย สังคม และจิตใจ ประกอบกัน ไม่ใช่เพียงการปราศจาก โรคภัยไข้เจ็บ หรือความพิการเท่านั้น\" แต่เนื่องด้วยความหมายของคำว่า สุขภาพ ที่องค์การอนามัยโลก ได้บัญญัติขึ้นอย่างสมบูรณ์ และเป็นอุดมคติ คงจะบรรลุถึงได้ยากสำหรับคนทุกคน ดังนั้นในการตั้งเป้าหมาย การบรรลุสุขภาพดีถ้วนหน้าของพลโลกทุกคนในปี ค.ศ.2000 โดยองค์การอนามัยโลก เมื่อปี ค.ศ.1983 (4) จึงระบุระดับสุขภาพ ที่ต้องการบรรลุถึงไว้เพียงระดับหนึ่งว่า \"พลโลกทุกคนบรรลุถึงสถานะสุขภาพ ในระดับท่เี อื้อใหใ้ ชช้ วี ติ ท่มี ีประโยชน์ ทั้งทางสงั คม และเศรษฐกจิ \" สุขภาพจึงมีความหมายที่เน้นความเป็นอยู่ที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม นั่นคือ ต้องมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และสุขภาพทางสังคมครบทุกด้าน และในที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก เมอ่ื เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2541 ได้ตกลงเติมคำว่า “Spiritual Well-being” หรือสขุ ภาวะทางจิตวิญญาณ เข้าไป ในคำจำกัดความของสุขภาพเพิม่ เติม จึงอาจกล่าวได้ว่า สุขภาพ หมายถึง ภาวะของการดำรงชวี ติ ทม่ี ีความสมบูรณท์ งั้ ร่างกาย จติ ใจ รวมทั้งการอยูร่ ่วมกนั ในสังคมได้ด้วยดี อย่บู นพน้ื ฐานของคุณธรรม และการ ใช้สติปญั ญา จะเห็นได้ว่าสุขภาพคือวิถีแห่งชีวิต โดยสุขภาพจะเป็นเสมือนหนึ่งวิถีทางหรือหนทางซึ่งจะนำบุคคล ไปสู่ความสุขและความสำเร็จต่างๆ นานาได้ หรืออาจกล่าวได้ว่า “สุขภาพชีวิต” ลักษณะของสุขภาพดี โดย ภาพรวม คอื รา่ งกายมีการพัฒนาสมวัย ร่างกายสามารถปฏิบตั ภิ ารกจิ ได้อย่างปกติ ตอบสนองตอ่ ส่ิงแวดล้อม ไดเ้ หมาะสม สามารถปรบั ตัวให้สมดุลได้ มกี ลไกป้องกนั อันตรายอย่างเหมาะสมจากมุมมองตา่ งๆ ทีน่ ำเสนอ สรุปได้ว่าสุขภาพ คือ ความสุขกายสบายใจ มีชีวิตชีวา และมีคุณค่า จะต้องครอบคลุมสิ่งที่สำคัญ 4 ประการคือภาวะทั่วไปของร่างกายและจิตใจจะต้องแข็งแรงสมบูรณ์ มีสุขภาวะทางจิตวิญญาณ จะต้อง ปราศจากโรคหรือความทุพพลภาพ จะต้องเป็นผู้ที่สามารถดำรงตนและปฏิบัติภารกิจต่างๆ ในสังคมได้เป็น ปกตสิ ุข

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีผู้สูงวัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๑๒ 3. ความสำคญั ของสุขภาพ สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นยิ่งต่อความเจริญงอกงามและพัฒนาการทุก ๆ ด้านในตัวบุคคล สุขภาพเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิต โดยเริ่มมาตั้งแต่มีการปฏิสนธิในครรภ์มารดาวัยทารก วัยผู้ใหญ่จนถึงวัย ชรา สมเด็จพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าได้ตรัสไวเ้ ป็นพระพุทธสุภาษิตว่า “อโรคยา ปรมาลาภา” ซง่ึ แปลว่า “ความ ไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ” พระพุทธภาษิตข้อนี้ แม้แต่ชาวอารยประเทศทางตะวันตกก็ยังยอมรับนับถือ กัน และเห็นพ้องต้องกันว่า “สุขภาพคือพรอันประเสริฐสุด (Health is the greatest blessing of all)” นอกจากน้ียงั มสี ภุ าษติ ของชาวอาหรับโบราณกล่าวไวว้ ่า “คนที่มีสุขภาพดีคอื คนท่มี ีความหวงั และคน ที่มีความหวังคือคนที่มีทุกสิ่งทุกอย่าง (He who has health has hope and he who has hope has everything)” ซงึ่ น่ันก็หมายความวา่ สุขภาพจะเป็นเสมือนหน่ึงวิถีทางหรือหนทางซง่ึ จะนำบุคคลไปสู่ความสุข และความสำเร็จต่างๆ นานาได้ ชีวิตเป็นสิ่งมีค่ายิ่งกว่าทรัพย์สินใด ๆ ทุกคนย่อมรักษาและหวงแหนชีวิตของตนเอง ปรารถนาให้ ตนเองมีชีวิตที่อยู่เย็นเป็นสุข จึงจำเป็นต้องรักษาสุขภาพอนามัยให้แข็งแรงสมบูรณ์อยู่เสมอ การมีสุขภาพดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บหรือการบาดเจ็บจากอุบัตเิ หตุตา่ ง ๆ มกี ล้ามเนอ้ื ท่ีทำงานได้ดี สามารถทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ร่างกายสามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี ไม่มีความวิตกกังวล ไม่ถูกความเครียดมา รบกวน สามารถดำรงชีวิตอยใู่ นสังคมได้อย่างมีความสุข ยอ่ มเป็นสิง่ ท่ปี รารถนาของมนุษย์ทุกคน สุขภาพจึง เปรยี บเสมือนวิถีแห่งชีวิต ทจี่ ะนำไปสคู่ วามสุขและความสำเร็จต่างๆ ในชีวติ ได้ ประสิทธิภาพในการทำงานของประชาชนในทุกสาขาอาชีพจะต้องอาศัยสุขภาพที่ดี แข็งแรงสมบูรณ์ เป็นปัจจัยสำคัญ การพัฒนาประเทศจะดีหรือไม่ขึ้นอยู่กับสุขภาพที่ดีของคนในชาติเป็นสำคัญ ประเทศท่ี ประชาชนมีสุขภาพดี มีสติปัญญา มีคุณธรรมและจริยธรรม มีความสามารถในการประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยง ตนเองและครอบครวั ได้ ไมเ่ บยี ดเบียนและทำร้ายซึ่งกันและกัน ย่อมเกดิ ความสงบสุข และเมอื่ บุคคลในชาติมี สขุ ภาพกายและจติ ดี มีมนั สมองทม่ี ศี ักยภาพ ย่อมเป็นผู้ทมี่ ีความสามารถเรียนรู้ และสร้างสรรคส์ ง่ิ ตา่ ง ๆ ได้ดี ซงึ่ จะสง่ ผลตอ่ การพัฒนาท้งั ด้านเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศโดยรวม กรอบความคิดเรื่องสุขภาพในปัจจุบันวางอยู่บนฐานที่ว่าดว้ ยเร่ือง สุขภาวะ (well-being) ทั้งมิติทาง กาย ทางใจ ทางสังคม และทางปัญญา (จิตวิญญาณ)และทั้งมิติของคน ครอบครัว ชุมชน และสังคม ดังนั้น สุขภาพมีผลกระทบมาจากหลายปจั จัย จึงต้องให้ความสำคัญกับองค์ความรู้ ทั้งเรอื่ งของการดำเนินงานทาง สาธารณสุข การจัดบริการสาธารณสุข และเรื่องต่างๆ ที่ปรากฏในสังคม เพราะสิ่งเหล่านี้มีผลกระทบต่อ สุขภาพท้ังทางตรง และทางออ้ ม ทัง้ ดา้ นบวก และด้านลบ องค์ความรู้เพอื่ การพัฒนาสุขภาพและระบบสุขภาพ จึงไม่ใช่เรื่องของระบบการแพทย์เพียงอย่างเดียว แต่เป็นเรื่องความร่วมมือกันของสังคม ที่จะมาร่วมสร้าง ค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพ สร้างสิ่งแวดลอ้ มที่ปลอดภัย และเอื้อต่อการมีสุขภาพดี ร่วมสร้างวัฒนธรรม ของการดำเนินชีวติ ท่ีไม่เบยี ดเบยี นตนเองและผอู้ น่ื และร่วมกันสร้างสังคม ท่อี ยู่รว่ มกันอยา่ งมีสนั ติสุข 4. ปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ สุขภาพ มนุษย์เมื่อเกิดเป็นตัวอ่อนหลังการปฏิสนธิก็ได้รับอิทธิพลทางพันธุกรรมมาจากพ่อและแม่ที่เป็น ตัวกำหนดสุขภาพ บางคนจึงอาจได้รับโรคหรือความบกพร่องที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมติดตัวมาด้วย และ ระหว่างอยู่ในครรภ์มารดาสุขภาพของทารกก็ขึ้นอยู่กับสุขภาพของมารดาในขณะนั้น จนเมื่อคลอดออกมาสู่ โลกภายนอกก็มีปัจจัยมากมายทม่ี ีอิทธพิ ลตอ่ สุขภาพของมนุษย์ เชน่ - ความยากจน การขาดรายได้นำไปสู่ความขาดแคลน อาหาร น้ำ ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่มที่ถูก สุขลักษณะ ขาดการศึกษา และดอ้ ยฐานะในสงั คม - สงคราม ทำใหเ้ กดิ การบาดเจ็บ ความอดอยาก ขาดสาธารณปู โภค โรคระบาด - ด้อยการศกึ ษา ขาดความรู้ ทำให้ไม่อาจดแู ล ปกปอ้ งสุขภาพของตัวเองได้

สรปุ ผลการดำเนินงานโครงการสขุ ภาพดีผสู้ ูงวยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๑๓ - การคมนาคม มีทั้งข้อดีข้อเสีย ข้อดี คือ ทำให้มีความสะดวกสบายในการเดินทาง ข้อเสีย อุบัติเหตุ เพมิ่ ขึ้น / การแพร่กระจายของโรคติดตอ่ จากพืน้ ทหี่ น่งึ ไปยังอกี พนื้ ทห่ี นงึ่ เป็นไปไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ - มลภาวะ ฝุ่น เสียงดัง สารเคมี ล้วนมีผลเสียต่อสุขภาพ ผู้ที่อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ หรือทำงานอยู่ใน โรงงานอตุ สาหกรรม ล้วนได้รับผลเสียจากมลภาวะ ถ้าไม่มกี ารควบคุม - อาหาร การบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง มีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งลำไส้ เต้านม และต่อม ลูกหมาก ส่วนมะเร็งกระเพาะอาหาร และลำไส้ สัมพันธ์กับการกินอาหารรมควัน อาหารไหม้เกรียม และ อาหารหมกั ดอง - ส่วนคนที่กนิ จนอ้วนจะมีโอกาสเปน็ โรคเบาหวาน และนว่ิ ในถงุ นำ้ ดี มากกวา่ คนน้ำหนกั ปกติ สำหรับ โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองอุดตันซึ่งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตสูงสุดก็สัมพั นธ์กับการกินอาหารที่มี โคเลสเตอรอลสูง - บหุ รี่ และสารเสพยต์ ดิ ลว้ นเป็นทที่ ราบกนั ดี ถึงพิษร้ายที่มตี อ่ สขุ ภาพ - การออกกำลังกาย การขาดการออกกำลังกายจะทำให้ออ่ นเพลยี วงิ เวยี นศีรษะ ปวดเม่อื ยรา่ งกายได้ ง่าย นอกจากน้ยี ังทำใหเ้ สน้ เอ็น กระดูก กลา้ มเนื้อ และหวั ใจเส่ือมเรว็ กวา่ ปกติ เป็นตน้ จากตวั อย่างที่ยกมาสามารถแบ่งได้เป็น 3 กล่มุ ปจั จัยหลกั ๆ คอื 1) พันธกุ รรม 2) ส่งิ แวดล้อม ทั้งในเชงิ กายภาพ ชีวภาพ และสงั คม 3) พฤตกิ รรม และครรลองชีวติ เมอ่ื วิเคราะห์สุขภาพในองค์รวม จะเห็นวา่ มีปัจจัยตา่ งๆ ท่มี ผี ลกระทบตอ่ สุขภาพดังน้ี 4.1 ปัจจยั ดา้ นตวั บคุ คล คือ ปจั จยั ของแตล่ ะบุคคลไดแ้ ก่ 3.1.1 พันธุกรรม สงิ่ มชี วี ติ ทกุ ชวี ติ ถูกกำหนดโดยพนั ธกุ รรม ซ่ึงถา่ ยทอดมาจากบิดามารดา ความบกพรอ่ งทางพนั ธกุ รรมเป็นสาเหตขุ องสภาพด้อยทางสขุ ภาพและการเกดิ โรคภัยตา่ งๆ ในปัจจบุ นั ความก้าวหน้าทางการแพทย์ ทำให้สามารถค้นคว้าและเข้าใจถึงลักษณะสายพันธุกรรมต่างๆ ซึ่งเป็นปัจจัย กำหนดลักษณะของมนุษย์ และเป็นต้นเหตุของโรคต่างๆ ได้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทำให้เราสามารถนำไปใช้หาวิธี ปอ้ งกันและแก้ไขข้อบกพรอ่ งต่างๆ ท่จี ะมีผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ไดเ้ พิ่มข้ึน 3.1.2 พฤติกรรมดำรงชีวิต เป็นที่ประจักษว์ ่าพฤติกรรมการดำรงชวี ติ เป็นปัจจยั สำคัญในการเกดิ โรค เช่น พฤติกรรมการกินอาหาร การใช้สารกระตุ้นต่างๆ เช่น เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด เป็นสาเหตุของความเสื่อม ของระบบต่างๆ ของรา่ งกาย และยงั สามารถกอ่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงของเน้อื เยื่อ เกิดเป็นโรคมะเร็งได้ มกี าร ประมาณกนั ว่าประชากรโลกประมาณ 500 ลา้ นคน ทีย่ ังมชี ีวิตอยู่ในขณะน้ี จะเสียชีวิตจากโรคทีม่ ีต้นเหตุจาก บหุ รี่ หากแนวโน้มแบบแผนการสูบบุหร่ขี องประชากรโลกยังเปน็ เช่นปัจจุบนั นอกจากนี้ ความเครียดในการดำรงชีวิตประจำวัน การใช้ชีวิตประจำวันที่ไม่เหมาะสม การมีกิเลส ตัณหาความอยาก การเบียดเบียนทำร้ายมนุษย์ด้วยกัน การขาดการพักผ่อน ขาดการออกกำลังกายที่สมดุล พอเพยี ง รวมทั้งการมีพฤติกรรมท่เี สี่ยง ประมาท ไมค่ ำนงึ ถึงความปลอดภัยทั้งในการทำงาน การปัจเจกบุคคล และบคุ คลอ่นื ๆ ในสังคมดว้ ย

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสขุ ภาพดผี สู้ ูงวัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๑๔ 4.2 ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก สุขภาพของมนุษย์เกี่ยวพันอย่างแน่นแฟ้นกับระบบอื่นๆ ในสังคมรอบๆ ตัว ไม่ว่าจะเป็นสิ่งแวดล้อมกายภาพ สภาพที่อยู่อาศัย สภาพอากาศที่เป็นพิษ ที่อยู่อาศัยที่ไม่ สะอาด ก่อให้เกิดพาหะนำโรคต่างๆย่อมเป็นปัจจัยที่บั่นทอนสุขภาพ เช่นเดียวกับสภาพสงครามหรือความ วุน่ วาย ความไม่สงบทางการเมือง ก็เป็นตน้ เหตขุ องการทำรา้ ยชีวิตมนษุ ย์ กอ่ เกิดความพิการทางกาย ทางจิตใจ ซึ่งเป็นที่ตระหนักและพบเห็นโดยทั่วไปด้านสิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคมนั้น ความยากจนเป็นสาเหตุ ของความเจ็บปว่ ยและทุกข์ทรมานทีส่ ำคัญที่สุด ในขณะที่ประชากรโลกมากกว่า 1,000 ล้านคน อยู่ในสภาพ ที่ยากจนสุดขีด ความยากจนเป็นสาเหตุที่เด็กจำนวนมากไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรคที่จำเป็น ประชาชนไม่มีน้ำ สะอาดดื่ม ขาดสภาพสุขาภิบาลที่เหมาะสมตลอดจนมารดาต้องเสียชีวิตจากการคลอดบุตร ความยากจนเป็น ต้นเหตุของอายุขัยที่สั้น ความพิการ ความทุกข์ทรมาน ความเครียด ภาวะจิตผิดปกติ การติดยาเสพติด ตลอดจนการฆ่าตัวตาย องค์การอนามัยโลกได้ประมาณการไว้ว่า ในแต่ละปี เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ทั่วโลก ประมาณ 12.2 ล้านคน ตายจากสาเหตุซึง่ สามารถป้องกันได้ด้วยค่าใช้จ่ายไม่ก่ีเหรียญสหรัฐต่อหัว ในปี พ.ศ. 2543 ประชาชนของประเทศทีร่ ่ำรวยท่ีมอี ายขุ ัยเฉลี่ย 79 ปี ในขณะที่ประชาชนในประเทศกลุ่มยากจนที่สุด บางประเทศมอี ายุขยั เฉล่ยี เพยี ง 42 ปี ซงึ่ แตกตา่ งกันเกือบเท่าตวั 4.3 ปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพ ปัจจุบันได้มีการนำคำว่าระบบบริการสุขภาพไปใช้ใน ความหมายที่แตกต่างกันซึ่งผู้ศึกษาจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจให้ชัดเจนในเบื้องต้นในบางแห่งการกล่าวถึง ระบบบริการสุขภาพอาจจะกำหนดเพียงโครงสร้างองค์กร การให้บริการโดยระบบการแพทย์ตะวันตกที่มี แพทย์และบุคลากรวิชาชีพต่างๆ เป็นผู้ให้บริการ ในขณะที่นักมานุษยวิทยาทางการแพทย์ให้ความหมาย โดยรวมถึงกิจกรรมต่างๆ ในการให้การรักษาพยาบาลผู้ปว่ ย ซ่งึ รวมความเชือ่ ทางศาสนา และความเชื่อพ้ืนบ้าน ต่างๆ ด้วย หากพิจารณาความหมายอย่างกว้างของระบบบริการสุขภาพ อาจมีความหมายรวมถึงการสร้าง สิ่งแวดล้อมทีส่ ง่ เสริมสุขภาพ การเสรมิ สร้างศกั ยภาพต่างๆ ที่ทำให้ประชาชนสามารถรักษาสขุ ภาพของตนเอง ให้ดี การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลผู้ป่วย การฟื้นฟูสภาพผู้พิการ ซึ่งเป็นการพิจารณาองค์รวมของระบบ บริการเพื่อสุขภาพ บนพื้นฐานของความมั่นคงทางสังคม (Social solidarity) จะเห็นได้ว่า ระบบบริการ สุขภาพเป็นระบบทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั ระบบตา่ งๆ ของสังคม และก่อเกดิ บนพืน้ ฐานความเชื่อ คุณค่า วฒั นธรรม และ ประวัตศิ าสตร์ของแต่ละชาติ 5. องคป์ ระกอบของสุขภาพ ในอดตี คำวา่ สุขภาพ หมายถึง สุขภาพกายเปน็ หลัก ต่อมาจงึ ได้รวมสุขภาพจิตเขา้ ไปดว้ ย เพราะเห็นว่า คนทมี่ สี ุขภาพกายสมบรู ณแ์ ข็งแรง แต่สขุ ภาพจติ เสือ่ มโทรมหรอื เป็นโรคจิตกไ็ ม่สามารถดำเนนิ ชีวติ เป็นปกติสุข ได้ ซ้ำร้ายอาจจะทำร้ายผู้อื่นได้อีกด้วย ปัจจุบัน คำว่า สุขภาพ มิได้หมายความเฉพาะสุขภาพกายและ สุขภาพจิตเท่านั้น แต่ยังได้รวมถึงสุขภาพสังคม และสุขภาพจิตวิญญาณอีกด้วย จึงสามารถสรุปได้ว่าใน ความหมายของ \"สขุ ภาพ\" ในปัจจบุ ัน มีองค์ประกอบ 4 สว่ น ด้วยกันคือ 5.1 สุขภาพกาย (Physical Health) หมายถึง สภาพที่ดีของร่างกาย กล่าวคือ อวัยวะต่างๆอยู่ใน สภาพที่ดี มีความแข็งแรงสมบูรณ์ ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ร่างกายสามารถทำงานได้ตามปกติ และมี ความสัมพนั ธก์ บั ทกุ ส่วนเปน็ อยา่ งดี และก่อใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพที่ดใี นการทำงาน 5.2 สุขภาพจิต (Mental Health) หมายถึง สภาพของจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ มีจิตใจเบิก บานแจม่ ใส มใิ ห้เกดิ ความคับข้องใจหรือขัดแย้งในจิตใจ สามารถปรับตัวเขา้ กับสังคมและส่งิ แวดล้อมได้อย่างมี ความสุข สามารถควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งผู้มีสุขภาพจิตดี ย่อมมีผลมาจาก สุขภาพกายดีด้วย ดังท่ี John Lock ได้กล่าวไว้ว่า “A Sound mind is in a sound body” คือ “จิตใจท่ี แจ่มใส ย่อมอยู่ในรา่ งกายท่สี มบรู ณ์”

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสขุ ภาพดผี ู้สงู วัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๑๕ 5.3 สุขภาพสังคม (Social Health) หมายถึง บุคคลที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สุขสมบูรณ์ มี สภาพของความเป็นอยู่หรือการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ไม่ทำให้ผู้อื่น หรือสังคม เดอื ดรอ้ น สามารถปฏิสัมพนั ธแ์ ละปรบั ตัวให้อยูใ่ นสงั คมไดเ้ ป็นอย่างดีและมีความสุข 5.4 สุขภาพจิตวิญญาณ (Spiritual Health) หมายถึง สภาวะที่ดีของปัญญาที่มีความรู้ทั่ว รู้เท่าทัน และความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผลแหง่ ความดีความชว่ั ความมปี ระโยชน์และความมโี ทษ ซึ่งนำไปสู่ความมี จิตอนั ดงี ามและเอ้อื เฟอ้ื เผอื่ แผ่ 6. มิติทางดา้ นสุขภาพ ในองค์ประกอบสขุ ภาพทงั้ 4 ด้านนน้ั แตล่ ะดา้ นยังมี 4 มิติ ดงั น้ี 6.1 การส่งเสริมสุขภาพ เป็นกลไกการสร้างความเข้มแข็งให้แก่สุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสังคม และสขุ ภาพจิตวิญญาณ 6.2 การป้องกันโรค ได้แก่ มาตรการลดความเสี่ยงในการเกิดโรค รวมทั้งการสร้างภูมิคุ้มกันเฉพาะโรค ด้วยวิธกี ารต่างๆ นานา เพอื่ มใิ หเ้ กดิ โรคกาย โรคจิต โรคสงั คม และโรคจิตวิญญาณ 6.3 การรักษาโรค เมื่อเกิดโรคขึ้นแล้ว เราต้องเร่งวนิ ิจฉัยโรคว่าเป็นโรคอะไร แล้วรีบให้การรักษาด้วย วิธที ่ไี ดผ้ ลดีทีส่ ุดและปลอดภยั ท่ีสุดเท่าท่ีมนุษย์จะรูแ้ ละสามารถให้การบริการรักษาได้ เพ่ือลดความเสียหายแก่ สขุ ภาพ หรอื แม้แตเ่ พ่อื ปอ้ งกันมใิ หเ้ สยี ชีวิต 6.4 การฟื้นฟูสภาพ หลายโรคเมือ่ เปน็ แลว้ ก็อาจเกิดความเสียหายต่อการทำงานของระบบอวัยวะหรือ ทำใหพ้ ิการ จงึ ตอ้ งเรม่ิ มาตรการฟ้ืนฟใู หก้ ลับมามีสภาพใกล้เคยี งปกติท่ีสุดเทา่ ทจ่ี ะทำได้ ทง้ั การส่งเสริมสขุ ภาพ และการปอ้ งกนั โรคน้ี เราเรียกรวมกนั ว่า \"การสรา้ งสุขภาพ\" เปน็ การทำก่อน เกดิ โรค ส่วนการรักษาโรค และการฟืน้ ฟูสภาพนี้ เราเรยี กรวมกันว่า \"การซอ่ มสขุ ภาพ\" เป็นการทำหลังจาก เกิดโรคแล้ว และเป็นที่เชื่อกันวา่ \"การสร้างสขุ ภาพ\" มีประสิทธิผลดีกว่า และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า \"การซ่อม สุขภาพ\" เนื่องจาก \"การสร้างสุขภาพ\" เป็นสิ่งที่ประชาชนสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ส่วน \"การซ่อม สุขภาพ\" ตอ้ งอาศัยหน่วยงานด้านการแพทยเ์ ป็นหลกั แม้ว่าสุขภาพโดยองค์รวมแล้วจะเป็นภาวะของมนุษย์ที่เชื่อมโยงกันทั้ง ทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม แต่ในเรื่องของสถิติสาขาสุขภาพนั้น มีข้อจำกัดในการศึกษาทำให้ในขั้นต้นจะกล่าวถึงเฉพาะ สขุ ภาพทางกาย และสุขภาพทางจิต เท่าน้ัน 7. สุขภาพองค์รวม สุขภาพของมนุษย์ประกอบด้วยร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญาขณะเดียวกันการดำรงชีวิตก็มิอาจ แยกตัวอยูโ่ ดดเด่ียวได้หากยังต้องมีความสมั พันธก์ ับคนอ่ืน เริ่มจากพ่อ แม่ ญาติพ่นี ้องไปจนถึงผู้คนในสังคมด้วย เหตนุ บ้ี ุคคลต้องมสี ขุ ภาพทางกายและจติ ใจจะต้องสัมพันธ์กันดว้ ยดีควบคู่ไปกับความสมั พันธ์ทางสังคมถึงจะทำให้ เกิดภาวะสุขภาพที่ดีได้ แม้จะปลอดโรคหรือปัจจัยทางกายภาพที่เป็นตัวก่อโรคก็ใช่ว่าบุคคลจะมีสุขภาพหรือสุข ภาวะท่ดี ไี ด้ การเสรมิ สรา้ งสุขภาพในลกั ษณะต่าง ๆ จึงเป็นการปรับตัวให้เขา้ กบั สงิ่ แวดลอ้ มอย่างสมดุล ครอบคลมุ ร่างกายทั่วทุกระบบ การปรับตัวลักษณะนี้นอกจากการปรับตัวทางด้านร่างกายแล้วต้องมีการปรับตัวด้าน พฤติกรรมและการปรับตัวระดับจิตสำนึก หากเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องย่อมก่อให้เกิดแบบแผนในระดับบุคคล เรียกว่า วิถีชีวิต บุคลิกภาพ และอุปนิสัย หากเกิดขึ้นอย่างสอดคล้องทัง้ ชมุ ชนหรือสังคมยอ่ มกลายเปน็ วัฒนธรรม สุขภาพซึ่งเป็นเรื่องของดุลยภาพในท่ามกลางปฏิสมั พันธ์กับสิ่งแวดล้อมรวมทั้งแนวทางในการรักษาสุขภาพที่เนน้ การดำรงชีวิตให้มีความประสานสอดคล้องกับกฎเกณฑ์ธรรมชาติ การส่งเสริมใหบ้ ุคคลมีชีวติ ที่สมดุลบคุ คลแต่ละ คนจะมีบทบาทมากที่สดุ ในการดแู ลสุขภาพของตนเอง บุคคลภายนอกหรือเทคโนโลยีมีส่วนช่วยหนุนเสริมเทา่ นน้ั การมีสุขภาพดีไม่ใช่ขึ้นอยู่กับความก้าวหน้าทางการแพทย์เพียงอย่างเดียวแต่ขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมที่ดีรวมทั้งมี ครอบครวั ทอี่ บอ่นุ และชุมชนทเ่ี ออ้ื อาทรตอ่ กัน

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสุขภาพดผี ู้สงู วัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๑๖ สรุป สุขภาพคือวิถีแห่งชีวิต สุขภาพเป็นเสมือนหนึ่งวิถีทางหรือหนทางซึ่งจะนำบุคคลไปสู่ความสุขและ ความสำเร็จต่างๆ นานาได้ ลักษณะของสุขภาพดี โดยภาพรวม คือ ร่างกายมีการพัฒนาสมวัย ร่างกาย สามารถปฏิบัตภิ ารกิจไดอ้ ย่างปกติ ตอบสนองตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มไดเ้ หมาะสม สามารถปรบั ตัวใหส้ มดลุ ได้ มีกลไก ป้องกนั อันตรายอย่างเหมาะสมจากมุมมองต่างๆ ทนี่ ำเสนอ สุขภาพ คอื ความสุขกายสบายใจ มีชวี ติ ชวี า และ มีคุณค่า จะต้องครอบคลุมสิ่งที่สำคัญ 4 ประการคือภาวะทั่วไปของร่างกายและจิตใจจะต้องแข็งแรง สมบรู ณ์ มีสุขภาวะทางจติ วิญญาณ จะต้องปราศจากโรคหรือความทุพพลภาพ จะต้องเปน็ ผทู้ ่ีสามารถดำรงตน และปฏบิ ัติภารกจิ ตา่ งๆ ในสังคมไดเ้ ปน็ ปกตสิ ุข ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ ประกอบด้วยปัจจัยด้านตัวบุคคล ได้แก่ พันธุกรรม พฤติกรรม ดำรงชีวิต ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก และปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพ \"สุขภาพ\" ในปัจจุบัน มี องค์ประกอบ 4 ส่วน ด้วยกันคือ สุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพสังคมและสุขภาพจิตวิญญาณ ในมิติ ทางด้านสุขภาพ ขององค์ประกอบสุขภาพทั้ง 4 ด้านนั้น แต่ละด้านมี 4 มิติ คือ การส่งเสริมสุขภาพ การ ปอ้ งกันโรค การรกั ษาโรค และการฟน้ื ฟูสภาพ การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ในระดับบุคคล ครอบครัวและชุมชน เป็นแนวทางสำคัญในการสร้าง สุขภาพตามแนวทางการสาธารณสุขแนวใหม่ที่ให้ความสำคัญ ต่อ “การสร้างสุขภาพ นำการซ่อม สุขภาพ” การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวมครอบคลุมการสร้างเสริมสุขภาพท้งั ทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม จิตวิญาณ และยังหมายรวมถึงสิ่งแวดล้อมและนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาศักยภาพของ บุคคล เสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง การจัดปรับระบบบริการสุขภาพที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ และกระจายให้สามารถเข้าถึงได้ ตลอดจนการจัดส่ิงแวดล้อมที่เอือ้ ต่อการสร้างเสรมิ สุขภาพ กิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม อาทิ อาหารและโภชนาการสร้างสุขภาพ การ ผ่อนคลายความเครียด การดูแลด้านจิตใจและการเรียนรู้วิธสี ร้างสมาธิ การหลีกเล่ียงสิ่งแวดล้อมทีไ่ ม่เอื้อต่อ สุขภาพ การพักผ่อนที่เพียงพอ การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย เพศ และสภาพร่างกาย การป้องกัน โรค การคัดกรองโรค และการคน้ หาโอกาสเสยี่ ง อาทิ การคดั กรองเบาหวาน ความดนั โลหิตสูง มะเรง็ เต้า นมและมะเร็งปากมดลูก การแบ่งปันความรัก และสร้างสัมพันธภาพระหว่างคนรอบข้าง รวมทั้งตนเอง การ แสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรค์ การสร้างสมั พนั ธภาพทางจิตวญิ ญาณและการดูแล รวมท้ังการพัฒนาปญั ญา การประเมินภาวะสุขภาพตามดัชนีในระดับจังหวัด-ภาค-ประเทศ ระดับชุมชน ระดับครอบครัวและ บุคคล ใน 5 หมวด คือ หมวดที่ 1 : สุขภาพร่างกาย จิตใจพฤติกรรมสุขภาพ หมวดที่ 3 : ครอบครัว ชุมชน สังคม หมวดที่ 4 : สภาพแวดล้อม และ หมวดที่ 5 : ระบบบริการสุขภาพ แนวทางการส่งเสรมิ สขุ ภาพ 1. วธิ ีการสรา้ งเสริมสุขภาพของตนเองสามรถปฏิบตั ิไดด้ ังนี้ 1. รับประทานอาหารทม่ี คี ุณค่าทาสงโภชนาการหลากหลายไม่ซำ้ ซาก โดยเฉพาะผกั ผลไมค้ วรมีทกุ ม้ือ 2. ออกกำลังสม่ำเสมอ ทำจิตใจให้เบิกบาน จะช่วยคลายความเครียดและป้องกันภาวะเสี่ยงเกิดโรค เก่ียวกบั ข้อตอ่ กระดกู และโรคหัวใจ รวมทัง้ ระบบการไหลเวียนของโลหติ 3. ทำสมาธิ เลน่ โยคะ หรอื การนวดเพอ่ื สุขภาพเพอ่ื ผอ่ นคลายความเครยี ด 4. ละเวน้ สารเสพตดิ ทุกชนิดทีจ่ ะบ่ันทอนสุขภาพ 5. หลีกเลี่ยงความเสี่ยงท่จี ะกอ่ ให้เกิดอุบัติเหตุ 6. ตรวจสขุ ภาพประจำปี ซงึ่ เป็นการดแู ลและสง่ เสรมิ สุขภาพที่ดมี าก

สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการสุขภาพดผี สู้ ูงวยั ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๑๗ วิธกี ารลดความเสี่ยงทางสุขภาพ ซึง่ สามารถทำได้ดงั น้ี 1. ผ้ทู อ่ี ยใู่ นภาวะเส่ยี งต่อการตโิ รคควรฉีดวัคซีนป้องกนั โรค 2. รกั ษาความสะอาดของใชต้ ่างๆ 3. ไม่คลุ กคลกี ับผู้ป่วย 4. ไมร่ ับประทานอาหารสุกๆดิบ 5. ออกกำลังสม่ำเสมอ 6. ลา้ งมือใหส้ ะอาดกอ่ นรบั ประทานอาหาร หลังจากถ่ายอจุ จาระ 7. ติดตามข้อมูลขา่ วสารเก่ยี วสุขภาพ 8. ไมใ่ ช้สง่ิ ของร่วมกบั ผูป้ ว่ ย 9. ทำลายเชอื้ โรคให้ถูกวิธี กำจดั แหล่งเพาะพนั ธ์เุ ช้ือโรค 10.การควบคุมสขุ าภิบาล อาหาร น้ำดม่ื และน้ำนม 11.จดั ส่งิ แวดลอ้ มใหถ้ ูกสุขลักษณะ 12.ใหค้ วามรอู้ บุ ัตเิ หตุและการปอ้ งกนั การประเมินสุขภาพส่วนบุคคลของตนเอง การประเมินสุขภาพส่วนบุคคลของตนเองจะเป็นแนวทางในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้มีสุขภาพดีที่ ย่งั ยนื ตลอดไป การประเมินสุขภาพส่วนบคุ คลประกอบด้วยรายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. ความสะอาดส่วนบคุ คล 2. การกินอาหารที่มปี ระโยชน์ 3. การพกั ผ่อนใหเ้ พียงพอ 4. การวางทา่ ทางทถ่ี ูกต้อง 5. การออกกำลังกายพอสมควร 6. การรจู้ กั รกั ษาความสะอาดของบ้านเรือนของตน 7. การทำจิตใจใหผ้ ่องใส 8. การรจู้ ักปอ้ งกันอุบตั เิ หตุ 9. การควบคุมและหาทางป้องกันโรคติดตอ่ 10.การตรวจสุขภาพร่างกายอยา่ งสม่ำเสมอ 11.การสวมเสื้อผ้าและใช้ของใช้ทสี่ ะอาด และจัดเก็บใหเ้ ปน็ ระเบยี บ 12.การมคี วามรูเ้ ก่ยี วกบั การที่จะรกั ษาสุขภาพพลานามยั ใหแ้ ข็งแรง ประโยชนข์ องการส่งเสรมิ สขุ ภาพ 1. มีสุขภาพดีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ทำให้ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคมได้ อยา่ งปกตสิ ุข 2. โอกาสเกดิ โรค การเจบ็ ปว่ ย และความผดิ ปกติตา่ งๆมนี อ้ ยมาก 3. ไม่เสียเวลาในการเรียน เน่อื งจากไม่เจบ็ ปว่ ย 4. ไม่เสียค่าใชจ้ ่ายในการรักษาอาการเจบ็ ปว่ ยต่างๆ 5. มพี ฒั นาการทางด้านร่างกายเป็นไปตามปกติ

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสุขภาพดผี ู้สูงวัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๑๘ แนวทางการสร้างเสรมิ และพฒั นาสุขภาพของชมุ ชน การสร้างเสรมิ สุขภาพชุมชนของบุคคลในชุมชนตอ้ งได้รับความร่วมมือจากทุกคนในชุมชน เพื่อนำไปสู่ การมีสุขภาพและคณุ ภาพที่ดขี องคนในชุมชน และสงั คมโดยส่วนรวม รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ได้กำหนดให้คนไทยทุกคนได้รับโอกาสและมีความเสมอภาคเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการด้าน สุขภาพ และได้รับบริการสุขภาพที่ได้มาตรฐานเดียวกัน โดยไม่คำนึงถึงเศรษฐกิจและสังคม กระทรวง สาธารณสุขได้ดำเนินการรณรงค์การสร้างสุขภาพภายใต้กลยุทธ์ “รวมพลังสร้างสุขภาพ” โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ทุกกลุ่มทุกวัยมีความรู้และทักษะด้านสุขภาพ โดยมุ่งเน้นให้ศูนย์สุขภาพชุมชนและ สถานีอนามัยเป็นหน่วยบริการสุขภาพหลัก ในการดำเนินงานประสานและเชื่อมโยงกับองค์กรภาคี เครือข่าย สุขภาพชุมชนท้ังส่วนกลางและสว่ นภูมภิ าค มีบทบาทสำคัญในการผลกั ดันให้นโยบาย ดังกล่าวสัมฤทธผิ ลและ บรรลเุ ปา้ หมาย การดำเนินงานสร้างเสริมและพัฒนาสุขภาพของชุมชนของกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดไว้อย่างเป็น รูปธรรม ได้แก่ ๑. ส่งเสริมใหป้ ระชาชนรวมกันจัดกิจกรรมด้านสขุ ภาพในรูปของชมรมด้านสุขภาพครอบคลมุ ทุกชุมชน และหมู่บ้านโดยยึดแนวคิด “ใช้พื้นฐานบูรณาการทุกภาคส่วน สร้างกระบวนการเรียนรู้สู่วิถีชุมชน” อันจะทำ ให้เกดิ การสร้างสขุ ภาพที่ยัง่ ยืนและถาวร ซง่ึ เนน้ กจิ กรรมสรา้ งสขุ ภาพตาม นโยบาย ๖ นโยบาย ๖ อ มดี งั นี้ ๑. ส่งเสริมให้คนไทยทุกกลุ่มอายุ ออกกำลังกาย วันละ ๓o นาที อย่างน้อย ๓ วันต่อสัปดาห์อย่าง สม่ำเสมอ ๒. สง่ เสรมิ ให้คนไทยเลอื กซ้อื และบริโภค อาหาร ท่ีสะอาดมคี ุณค่า และปลอดสารปนเป้อื น ๓. ส่งเสรมิ ใหค้ นไทยสร้าง อนามัย สิ่งแวดล้อมในชมุ ชนเพ่ือความสะอาดปลอดภยั ของท่ีอยู่อาศัยและ พัฒนาสิง่ แวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ต่อสุขภาพ ๔. ส่งเสริมให้คนไทยมี อารมณ์ ที่ดี และร่วมเป็นส่วนหนึ่งในชมรมต่างๆ เช่น ชมรมสร้างสุขภาพของ วยั ทำงาน เพอ่ื การมีสุขภาพจิตทีด่ ีและแจ่มใส ๕. ส่งเสริมให้คนไทยปลอดโรค อโรคยา โดยเฉพาะโรคที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตในลำดับแรกๆคือ มะเรง็ หวั ใจ เบาหวาน ๖. สง่ เสรมิ ให้คนไทยลด ละ เลิก อบายมุข เพื่อลดปญั หาสุขภาพท่ีเกิดจาก บหุ รี่ สรุ า สารเสพติดและ การพนันในชมุ ชน ๒. บทบาทของการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมและพัฒนาสุขภาพของบุคคลในชุมชน คือ การร่วม กิจกรรมท่เี อื้ออำนวยให้ผู้คนในชุมชนมีการพัฒนาคุณภาพชวี ิตที่ดีข้ึน เชน่ ชมรมผูส้ ูงอายุ กลุ่มทูบีนัมเบอร์ วนั ชมรมแอโรบกิ กล่มุ ประชาคม ชมรมสรา้ งสุขภาพ กล่มุ กีฬา ๓. ชมรมสร้างสุขภาพ (Health Promotion Club) หมายถึง กลุ่มบุคคลที่มีความสนใจในกิจกรรม เหมอื นๆ กัน ซง่ึ เปน็ ชมรมหรือกลุ่มที่มีอย่แู ล้วในชุมชน หรอื มารวมกลุ่มกนั ใหม่ แลว้ สมัครเป็นเครือข่ายชมรม สรา้ งสขุ ภาพกบั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ของกระทรวงสาธารณสขุ มีการแลกเปล่ยี นเรยี นรดู้ า้ นสขุ ภาพ ๔. การมีส่วนร่วมในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมชุมชน ดังนั้นคนในชุมชนจึงควรมีส่วนร่วมในการช่วยลด ปญั หาภาวะโลกร้อน ดงั น้ี - รณรงค์ให้คนในชุมชนลดการใช้พลงั งานในบา้ น - ใชห้ ลอดไฟแบบประหยดั เชน่ หลอดตะเกยี บ หลอดผอม - การข่จี กั รยาน หรือใชว้ ิธีเดนิ เมอื่ ไปทำธรุ ะใกลบ้ า้ น - จัดส่งิ แวดลอ้ มในบา้ นให้น่าอยู่ - ใช้ผลติ ภณั ฑท์ ม่ี สี ว่ นช่วยในการดแู ลส่งิ แวดล้อม

สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการสุขภาพดผี สู้ ูงวยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๑๙ - ใชน้ ำ้ อย่างประหยดั และคุม้ คา่ - ปลูกตน้ ไมใ่ นบรเิ วณบา้ น - ลดปรมิ าณการใชถ้ ุงพลาสตกิ - สนบั สนุนสินคา้ และผลิตภณั ฑเ์ กษตรในทอ้ งถน่ิ - จดั ตัง้ ชมรมหรือจัดตงั้ กจิ กรรมรณรงคส์ ิ่งแวดล้อมในชุมชน .การสร้างเสริมสุขภาพตนเองทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ การที่นักเรียนจะสามารถสร้างศักยภาพของตนในการจัดการกับปัญหาทางอารมณ์และความเครียดน้ัน ควรจะพิจารณาวธิ กี ารสรา้ งศักยภาพของตนเองต่อไปนี้ 1.) การสรา้ งเสรมิ สุขภาพตนเองทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และจติ วิญญาณ โดยมีวธิ กี าร ดำเนินชีวติ ที่ส่งเสริมสุขภาพ (Healthy lifestyles) เพอ่ื ใหม้ สี ุขภาพดีและคงอยู่ ซงึ่ สามารถต้านทานกับปัญหา ทางอารมณ์และความเครยี ดได้ โดยปฏิบตั พิ ฤติกรรมดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การรับประทานอาหารใหถ้ ูกหลกั โภชนาการหรอื โภชนบญั ญตั ิ 2. การเปลี่ยนแปลงนสิ ัยที่เปน็ อันตรายต่อร่างกาย เช่น การใช้ยานอนหลบั การดื่มกาแฟ การ ใชส้ ารเสพติด 3. ออกกำลังกายอยา่ งถูกวธิ ีและสม่ำเสมอ จะชว่ ยให้รา่ งกายสดชน่ื โลหิตไหลเวียนสะดวก 4. การพักผอ่ นและนอนหลับให้เพียงพอกับความตอ้ งการของรา่ งกาย 5. อยู่ในสถานทท่ี ีอ่ ากาศบรสิ ุทธิ์ โดยหลีกเลี่ยงมลพษิ หรอื หาโอกาสเดนิ ทางไปตา่ งจังหวัด 6. การขับถ่าย ต้องฝึกให้ขับถ่ายเป็นประจำสม่ำเสมอ เพื่อขจัดของเสียมิให้ตกค้างในร่างกาย เปน็ เวลานาน 7. สภาพแวดล้อม จัดสร้างสภาพแวดล้อมให้น่าอยู่ถูกสุขลักษณะ สร้างบรรยากาศที่ดีทั้งใน บา้ น โรงเรียน และชมุ ชน 8. อารมณ์ ฝึกการผ่อนคลายจติ ด้วยวธิ ีตา่ งๆ เช่น สมาธิ โยคะ ฝกึ หายใจ เปน็ ตน้ สร้างอารมณ์ ขัน เช่น อ่านหนังสือขำขัน ดูการแสดงหรือฟังเทปตลก ดูรายการบันเทิงทางโทรทัศน์ หาโอกาสเข้าใกล้ผู้มี อารมณข์ ัน เปน็ ต้น ความรสู้ ึกทดี่ ีหรือการหวั เราะจะชว่ ยกระตุ้นให้รา่ งกายหลั่งฮอร์โมนเอ็นโดฟิน (สารแห่งความสุข) ออกมา ฮอร์โมนจากความเครียดจะลดลง จำนวนเม็ดเลือดขาวจะเพิ่มขึ้น ทำให้ภูมิคุ้มกันของร่างกา ยมี ประสิทธิภาพในการปอ้ งกันโรคได้ดขี ึน้ 9. สรา้ งและพัฒนาความอดทนและความต้านทานใหก้ ับร่างกายเพื่อ จะไดต้ ่อสู้กับความเครียด ได้ โดยอาศัยสภาพของรา่ งกาย 10. เรียนรู้ที่จะผ่อนคลายและวิธีที่จะทำให้มีความรู้สึกที่ดีขึ้น อาจทำโดยการนวดเพื่อผ่อน คลาย

สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการสุขภาพดผี สู้ ูงวัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๒๐ 2.) รู้จักตนเอง เพื่อจะได้สามารถสร้างแผนการบริหารจัดการทางอารมณ์และความเครียดของ ตนได้ การรู้จักตนจะได้จากการประเมินข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง (Self-assessment) เช่น ความสามารถ ความ ถนัด ทักษะการติดต่อสื่อสาร ฯลฯ และสามารถวิจารณ์ตนเองได้ ความสามารถในการรู้จักตนเองนี้จะช่วยให้ คลายความไมส่ บายใจหรือความเครียดบางอยา่ งได้ 3.) มีความสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่น สัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอื่นจะป้องกันการเกิดปัญหาทาง อารมณ์และความเครียดได้ โดยมีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในด้านการพูด การฟัง การเขียน การแสดงออก ทางกาย และสามารถแสดงออกตามทตี่ นต้องการ และป้องกนั สทิ ธสิ ่วนบุคคล (Assertiveness) ได้ ปญั หาทาง อารมณแ์ ละความเครยี ดบางครั้งเกดิ จากการไม่กล้าพูดหรือแสดงออกเพ่ือรกั ษาสิทธขิ องตนได้ 4.) การพัฒนาทักษะชีวติ เปน็ ทกั ษะความสามารถในการหลกี เลยี่ งความเครียดหรือปอ้ งกันส่ิงท่ี เป็นบอ่ เกิดของความเครียด อาจกล่าวอีกนัยหน่ึงได้วา่ เป็นการหรหิ ารจัดการสิ่งแวดล้อมของชีวิตให้มีลักษณะ ท่ีไมก่ ่อใหเ้ กิดความเครียด โดยการวางแผนตั้งเปา้ หมายในชวี ติ การบริหารเวลาและทกั ษะการแกป้ ัญหา ทักษะ เหล่านี้จะช่วยป้องกันปัญหาทางอารมณ์และความเครียดได้ดี เพราะล้วนเป็นสาเหตุของการเกิดความเครียด หากบคุ คลไม่สามารถบรหิ ารส่ิงดงั กลา่ วได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 5.) การปรบั เปล่ียนบคุ ลิกภาพของตนเอง จากการศึกษาวิจยั พบว่าบุคลกิ ภาพของตนเองบุคคล มีความสัมพันธ์กับความเครียด และทำให้เกิดโรคที่สัมพันธ์กับความเครียด หากนักเรียนได้เรียนรู้ลักษณะ บางอย่าง และวิเคราะห์ตนเองว่ามีบุคลิกภาพลักษณะใด ก็จะสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือสร้าง บุคลิกภาพลักษณะที่ดีนั้น เพื่อหลีกเลี่ยงจากความเครียดได้ ลักษณะของบุคลิกภาพ มีดังนี้ ได้มีการแบ่ง ออกเปน็ 2 ชนิด คือ บคุ ลกิ ภาพชนิด ก (Type A) และบคุ ลกิ ภาพชนิด ข (Type B) ซงึ่ มบี คุ ลิกภาพที่แตกต่าง กันอย่างเห็นได้ชัด และบุคลิกภาพชนิด ก. จะเป็นบุคลิกลักษณะที่นำไปสู่การมีความเครียดได้ ซึ่งจะแตกต่าง จากบคุ ลิกภาพชนดิ ข. กล่าวคอื ผ้ทู ีม่ บี คุ ลิกภาพชนิด ข. จะปฏบิ ตั ิกิจกรรมต่างๆ โดยปราศจากความเครียด มี ชีวติ ท่มี คี วามสุข รู้จักผ่อนคลาย ทำงานโดยมกี ารวางแผน เป็นตน้ ดังรายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ บคุ ลกิ ภาพ Type A : มีบคุ ลิกลักษณะดังนี้ 1. ชวี ติ เตม็ ไปด้วยการแข่งขนั อยูต่ ลอดเวลา 2. มีเรือ่ งหรืองานเรง่ ดว่ นทต่ี ้องแข่งกบั เวลาเป็นประจำ 3. พยายามทีจ่ ะทำงานให้มากข้นึ และเร็วข้นึ 4. แสดงกิริยาที่ไม่เป็นมิตรกับบุคคลอื่น และตามใจตนเอง ดดยเฉพาะกับบุคคลที่หยุดยั้งการทำงาน ของตนใหช้ ้าลง 5. รู้สึกว่าตนเองไม่สามารถผ่อนคลาย และทำตัวเองให้มีความสุขในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ ช่วง พักผ่อนหรอื มีเวลาวา่ ง

สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการสขุ ภาพดีผสู้ ูงวัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๒๑ 6. พดู เร็ว 7. ไม่สามารถเผชญิ และแก้ปัญหาอันเปน็ สาเหตุของความเครยี ดได้ 8. มีความรู้สึกว่าตนเองไม่มีความปลอดภัย ถ้าไม่สามารถที่จะบังคับ ควบคุมบุคคลหรือสิ่งแวดล้อมท่ี เขา้ มาเกย่ี วขอ้ งกบั ชวี ติ ของตน บคุ ลิกภาพ Type B : มบี คุ ลิกลักษณะดงั นี้ 1. ผ่อนคลายและไม่มคี วามกดดนั 2. เรียนรู้ทจี่ ะมชี ีวติ อย่อู ยา่ งเป็นสุข 3. มีความสขุ ท่ีจะอยกู่ ับเพื่อนฝูงและครอบครัว 4. ให้เวลาตนเองทจี่ ะพฒั นาตนให้เป็น “คน” ทีส่ มบูรณ์ 5. มีความตอ้ งการหรือพยายามทจ่ี ะประสบความสำเรจ็ โดยปราศจากความเรง่ ด่วน

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสขุ ภาพดผี สู้ งู วยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๒๒ บทที่ ๓ สรปุ ผลการดำเนนิ งาน ขน้ั ตอนการดำเนินงานในการจัดกจิ กรรม โครงการสุขภาพดีผสู้ งู วยั ปลอดภัยจากโควดิ - 19 แบบออนไลน์ จำนวน ๖ ช่วั โมง เป้าหมาย จำนวน ๓๐ คน จดั ได้ ๓๕ คน วนั ท่ี 2๑ สงิ หาคม พ.ศ.๒๕๖๔ ณ กศน.อำเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา มดี งั น้ี ๑. ข้ันวางแผน (Plan) ๑.๑ สำรวจความต้องการ วิเคราะหค์ วามต้องการ ของกลุ่มเปา้ หมาย ๑.๒ ประชมุ ชีแ้ จงผเู้ ก่ยี วขอ้ งและแตง่ ตั้งคณะ ดำเนนิ งาน ๑.๓ จัดทำหลักสตู ร/ อนุมตั ิหลกั สตู ร ๑.๔ ประสานเครือข่าย ๒. ขัน้ ดำเนินการ (Do) ดำเนนิ การจัดกจิ กรรม ๒.๑ จัดฝึกอบรม โครงการสุขภาพดีผสู้ ูงวัย ปลอดภยั จากโควดิ - 19 แบบออนไลน์ 1. อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพดีผสู้ ูงวยั ปลอดภัยจากโควดิ - 19 แบบออนไลน์ 2. จัดกระบวนการเรยี นรู้เร่อื งโครงการสุขภาพดีผสู้ งู วัย ปลอดภยั จากโควดิ - 19 แบบออนไลน์ เวลา กจิ กรรม ๐๘.๓๐ น. – ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียนผรู้ ว่ มโครงการฯ แบบออนไลน์ ๐๘.๓๐ น. – ๐๙.๐๐ น. ประธานในพธิ ีกล่าวเปดิ โครงการและบรรยายพิเศษเรอ่ื ง ทกั ษะการดูแลผสู้ งู อายุให้ปลอดภยั จากโรค Covid –๑๙ แบบออนไลน์ ๐๙.๐๐ น. – ๐๙.๓๐ น. การทำแบบทดสอบออนไลน์ Google Form กอ่ นเรยี น จำนวน 30 ขอ้ (วิทยากรโดย นายชนะชยั อัยกลู ) ๐๙.๓๐ น. – ๑๐.๓๐ น. เรื่องจติ วทิ ยาสำหรบั ผสู้ ูงอายุ เรื่องหลักการดูแลผสู้ ูงอายุเบอื้ งตน้ เรอ่ื งโรคท่พี บบ่อยในผสู้ งู อายุ (วิทยากรโดย นายขวัญชัย จติ รถี นิ ) ๑๐.๓๐ น. – ๑๑.๓๐ น. เร่ืองกจิ กรรมนนั ทนาการสำหรบั ผสู้ ูงอายุ เรื่องอาหารสำหรบั ผ้สู ูงอายุ เรอ่ื งผสู้ ูงอายกุ ับการออกกำลังกายใหร้ ่างกายแข็งแรง (วทิ ยากรโดย นายสมพร จิตรเี หมิ ) ๑๑.๓๐ น. – ๑๒.๓๐ น. พัก ๑๒.๓๐ น. – ๑๓.๓๐ น. เรื่องการเรียนรู้ ฟ้าทะลายโจร เรอ่ื งการปลูกฟา้ ทะลายโจร (วิทยากรโดย นายชนะชัย อัยกูล) ๑๓.๓๐ น. – ๑๔.๓๐ น. เรื่องผลติ ภณั ฑ์ยาและสมุนไพรฟา้ ทะลายโจรสู้โรคโควิด-๑๙ เร่อื งกฏหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งกับฟ้าทะลายโจร (วทิ ยากรโดย นายขวัญชัย จิตรถี นิ ) ๑๔.๓๐ น. - ๑๕.๓๐ น. เร่ืองเสน้ ทางการประกอบอาชีพและประมวลสรปุ ข้อมลู การเรยี นรู้ เรอ่ื งการเรยี นร้แู ละแหลง่ การเรยี นรู้ (วิทยากรโดย นายสมพร จิตรเี หมิ ) ๑๖.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. วิทยากรบรรยายสรปุ และตอบขอ้ ซักถามอนื่ ๆ จากผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ทำแบบทดสอบออนไลน์ Google Form หลังเรียน จำนวน 30 ข้อ เพ่อื รับเกยี รติบตั ร

สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการสขุ ภาพดีผ้สู ูงวยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๒๓ ๓. ขัน้ ตรวจสอบ (Check) ๓.๑ ประเมินความพงึ พอใจ (แบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์) ๓.๒ การนิเทศติดตามผล ๔. ขนั้ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Action) ๔.๑ นำผลการนเิ ทศมาปรบั ปรงุ พัฒนา ขอ้ มูลผู้เขา้ รว่ มโครงการ เปา้ หมายผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการจำนวนทง้ั หมด ๓๐ คน จดั ได้ ๓๕ คน ๑. เพศ เพศชาย จำนวน ๒๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๐๐ เพศหญงิ จำนวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๐๐ รวม จำนวน ๓๕ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ ๒. อายุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ โดยมอี ายุเฉลีย่ ต้ังแต่ กวา่ ๑๕ ปี จำนวน ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๕.๗๒ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จำนวน ๓๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๘.๕๗ อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จำนวน ๓ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จำนวน ๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๕.๗๑ อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จำนวน ๒ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ และอายุ ๖๐ ปีข้นึ ไป จำนวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จำนวน ๓๕ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ ๓. ระดบั การศึกษา จำนวน ๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๕.๗๑ ตำ่ กว่าประถมศกึ ษา จำนวน ๒ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๓๔.๒๙ ประถมศกึ ษา จำนวน 1๒ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๐.๐๐ มธั ยมศึกษาตอนต้น จำนวน ๒๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐0.00 อนปุ รญิ ญา/ปว.ส. จำนวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๐.๐๐ ปริญญาตรี จำนวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐.๐๐ สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี จำนวน ๓๕ คน รวม ๔. ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการฯ โดยเฉลี่ยประกอบอาชีพ รบั จ้าง จำนวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๑๕ คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๒.๘๕ เกษตรกร จำนวน ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ 0๕.๗๒ คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๒.๘๕ คา้ ขาย จำนวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๑.๔๓ คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ พ่อบา้ น/แม่บ้าน จำนวน ๑ คน อาชพี อนื่ ๆ จำนวน ๑๑ คน รวม จำนวน ๓๕ คน

สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการสุขภาพดีผสู้ ูงวัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๒๔ ผลการดำเนินงาน ๑. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ที่ตั้งเป้าหมายไว้ จำนวน ๓๐ คน จัดได้ ๓๕ คน ประกอบอาชีพ ตามกลุ่มเปา้ หมาย ๓๕ คน ๒. วทิ ยากรใหค้ วามรู้ โดยวธิ ีการบรรยาย วิธีการสาธิต และวธิ กี ารฝึกปฏบิ ตั จิ ริง ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากที่สุด (ตามเอกสารบทที่ ๔ แบบสอบถามความพงึ พอใจและสรปุ แบบสอบถามความพงึ พอใจ) ปัญหาและอปุ สรรคในการปฏบิ ตั ิงาน สถานการณ์โควดิ -๑๙ ทำให้การจดั กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เน่อื งโครงการ/กจิ กรรมต่างๆ รวมถงึ การเข้า พน้ื ที่ การรวมกลุ่ม เปน็ ไปค่อนขา้ งยากมาก ขอ้ เสนอแนะ สถานการณ์โควดิ -๑๙ เปล่ยี นรูปแบบจดั แบบออนไลน์

สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการสุขภาพดีผู้สงู วัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๒๕ บทที่ ๔ สรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการ สุขภาพดีผสู้ งู วยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ จำนวน ๖ ชว่ั โมง วนั ที่ 2๑ เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 256๔ สถานทีจ่ ัด ณ กศน.อำเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ข้อมูลพืน้ ฐานของผู้ประเมนิ ความพึงพอใจ คำช้ีแจง แบบประเมินความพงึ พอใจ มี ๒ ตอน ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป คำชี้แจง โปรดใส่เครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ ง  ที่ตรงกบั ข้อมูลของทา่ นเพยี งช่องเดียว เพศ  ชาย  หญงิ อายุ  ตำ่ กวา่ ๑๕ ปี  ๑๕-๒๙ ปี  ๓๐-๓๙ ปี  ๔๐-๔๙ ปี  ๕๐-๕๙ ปี  ๖๐ ปีขนึ้ ไป ระดับการศึกษา  ตำ่ กวา่ ประถมศึกษา ประถมศึกษา  มัธยมศกึ ษาตอนตน้  มัธยมศกึ ษาตอนปลาย  อนปุ รญิ ญา/ปว.ส.  ปรญิ ญาตรี  สงู กวา่ ปริญญาตรี  อ่ืนๆ โปรดระบุ............................................................................................. ประกอบอาชีพ  ผนู้ ำทอ้ งถ่นิ  อบต./เทศบาล  พนักงานรัฐวิสาหกิจ  ทหารกองประจำการ  เกษตรกร  รับราชการ  ค้าขาย  รบั จ้าง  อสม.  แรงงานต่างด้าว  พอ่ บ้าน/แม่บา้ น  อน่ื ๆ โปรดระบุ..........................

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสขุ ภาพดผี ูส้ ูงวัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๒๖ ตอนที่ ๒ ดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมและความพงึ พอใจของผู้เรียน/ผรู้ บั บรกิ าร คำชี้แจง โปรดใสเ่ ครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ ง  ทต่ี รงกับความคิดเห็นของทา่ นเพียงช่องเดียว ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย ท่ีสดุ กลาง ที่สดุ ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจดา้ นเน้ือหา 1 เน้ือหาตรงตามความต้องการ 2 เน้อื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนอ้ื หาปจั จบุ นั ทนั สมยั 4 เนอื้ หามปี ระโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม 5 การเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย 9 วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในเรื่องท่ถี า่ ยทอด 11 วทิ ยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ว่ นรว่ มและซักถาม ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก 13 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 14 การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอนื่ ๆ................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการสุขภาพดีผู้สงู วยั ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๒๗ บทที่ ๕ สรปุ แบบสอบถามความพงึ พอใจ โครงการ สขุ ภาพดีผสู้ งู วัย ปลอดภัยจากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ วนั ท่ี 2๑ เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 256๔ สถานท่จี ดั ณ กศน.อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตอนที่ ๑ ข้อมูลทว่ั ไป ผเู้ ขา้ อบรม โครงการสขุ ภาพดีผสู้ งู วัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ เป้าหมาย ๓๐ คน จดั ได้ ๓๕ คน ๑. เพศ เพศชาย จำนวน ๒๑ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๐.๐๐ เพศหญงิ จำนวน ๑๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๔๐.๐๐ รวม จำนวน ๓๕ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ 35 30 25 20 15 10 5 0 คน ชาย หญิง รวม

สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการสุขภาพดีผสู้ งู วัย ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๒๘ ๒. อายุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๐.๐๐ โดยมอี ายเุ ฉลี่ยต้ังแต่ กวา่ ๑๕ ปี จำนวน ๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๘๕.๗๒ อายุ ๑๕ –๒๙ ปี จำนวน ๓๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐๘.๕๗ อายุ ๓๐ –๓๙ ปี จำนวน ๓ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ อายุ ๔๐ –๔๙ ปี จำนวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐๕.๗๑ อายุ ๕๐ –๕๙ ปี จำนวน ๒ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๐๐.๐๐ และอายุ ๖๐ ปขี น้ึ ไป จำนวน ๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม จำนวน ๓๕ คน 35 รวม 30 ชาย 25 20 30-39 40-49 50-59 60 ปีขนึ้ ไป รวม 15 10 5 0 ต่ากวา่ 15 ปี 15-29 ชาย หญิง รวม

สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการสขุ ภาพดีผู้สูงวยั ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๒๙ ๓. ระดบั การศึกษา จำนวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ ต่ำกวา่ ประถมศึกษา จำนวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๕.๗๑ ประถมศกึ ษา จำนวน 1๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๔.๒๙ มธั ยมศึกษาตอนต้น จำนวน ๒๑ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๖๐.๐๐ มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน ๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ อนุปรญิ ญา/ปว.ส. จำนวน ๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๐0.00 ปรญิ ญาตรี จำนวน ๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๐๐.๐๐ สูงกว่าปรญิ ญาตรี จำนวน ๓๕ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ รวม 35 30 25 20 15 10 รวม 5 0 ชาย ชาย หญิง รวม

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสุขภาพดผี สู้ ูงวยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๓๐ ๔. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉลีย่ ประกอบอาชพี รบั จ้าง จำนวน ๒๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๕๗.๑๕ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐๒.๘๕ เกษตรกร จำนวน ๑ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0๕.๗๒ คิดเป็นรอ้ ยละ ๐๒.๘๕ คา้ ขาย จำนวน ๒ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๓๑.๔๓ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐ พอ่ บา้ น/แม่บ้าน จำนวน ๑ คน อาชพี อน่ื ๆ จำนวน ๑๑ คน รวม จำนวน ๓๕ คน 35 30 25 20 15 10 รวม 5 0 ชาย ชาย หญิง รวม

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสขุ ภาพดีผสู้ ูงวยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๓๑ ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจตอ่ การจัด โครงการสขุ ภาพดผี สู้ งู วัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ วนั ที่ 2๑ เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 256๔ สถานทีจ่ ดั ณ กศน.อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา เป้าหมาย ๓๐ คน จัดได้ ๓๕ คน ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเน้ือหา มาก มาก ปาน น้อย น้อย 1 เน้อื หาตรงตามความต้องการ ท่ีสดุ กลาง ทีส่ ุด 2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนอ้ื หาปจั จุบันทันสมยั ๒๗ ๖ ๒ - - 4 เนอื้ หามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ๒5 ๗ ๓ - - ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม ๓๐ 2 ๓ - - 5 การเตรียมความพร้อมกอ่ นอบรม ๒๙ ๓ ๓ - - 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา ๒7 ๕ ๓ - - 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย ๒๘ ๖ 1 - - 9 วธิ ีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ๒๔ ๖ ๕ - - ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร ๒๕ ๕ ๕ - - 10 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเรอ่ื งท่ถี ่ายทอด ๒๖ ๕ ๔ - - 11 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สอ่ื เหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซกั ถาม ๒๕ ๕ ๕ - - ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก ๒๖ ๕ ๔ - - 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก ๒๙ ๓ ๓ - - 14 การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อให้เกดิ การเรียนรู้ 15 การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา ๓๐ 2 ๓ - - ๒๘ ๖ 1 - - ๒๙ ๔ ๒ - - สว่ นประเมนิ ผลความพึงพอใจด้วยเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยรวม มีคา่ คะแนน ๑ คะแนนและเกณฑร์ ะดบั ความพึงพอใจเป็นน้ี มคี ่าคะแนน ๒ มคี ่าคะแนน ๓ ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ปรบั ปรุง มคี า่ คะแนน ๔ ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ พอใช้ มคี ่าคะแนน ๕ ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ปานกลาง ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ดี ระดับความพงึ พอใจ / ความคิดเหน็ ดีมาก

สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการสขุ ภาพดีผู้สงู วยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๓๒ และคา่ คะแนนเฉลย่ี มีเกณฑด์ ังนี้ หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เหน็ ปรบั ปรงุ คะแนนเฉลยี่ ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ พอใช้ คะแนนเฉลี่ย ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เห็น ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ดี คะแนนเฉลยี่ ๓.๕๐ – ๔.๕๐ หมายถงึ ระดับความพงึ พอใจ / ความคดิ เห็น ดมี าก คะแนนเฉลย่ี ๔.๕๐ – ๕.๐๐

สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการสขุ ภาพดผี ูส้ งู วยั ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๓๓ สรุปความพึงพอใจในภาพรวม จากการจัดกิจกรรม โครงการ สุขภาพดผี สู้ งู วัย ปลอดภัยจากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ วันที่ 2๑ เดือนสงิ หาคม พ.ศ. 256๔ สถานที่จดั ณ กศน.อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา เปา้ หมาย ๓๐ คน จดั ได้ ๓๕ คน พบว่าแบบสอบถามท้ัง ๑๕ ขอ้ ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับ “ดีมาก” ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเนื้อหา มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ ที่สดุ กลาง ท่ีสุด 2 เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ 3 เนอ้ื หาปจั จบุ นั ทันสมัย ๒๗ ๖ ๒ - - 4 เนือ้ หามีประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ๒5 ๗ ๓ - - ๓๐ 2 ๓ - - ๒๙ ๓ ๓ - - 30 25 20 15 10 5 0 มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสุขภาพดีผสู้ ูงวยั ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๓๔ ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม มาก มาก ปาน น้อย น้อย 5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม ท่ีสุด กลาง ท่สี ุด 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา ๒7 ๕ ๓ - - 8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย ๒๘ ๖ 1 - - 9 วิธีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ๒๔ ๖ ๕ - - ๒๕ ๕ ๕ - - ๒๖ ๕ ๔ - - 30 25 20 15 10 5 0 มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยที่สดุ

สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการสุขภาพดผี ู้สงู วยั ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลช้างใหญ่ | ๓๕ ขอ้ รายการประเมินความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรอ่ื งที่ถ่ายทอด ท่สี ุด กลาง ท่สี ุด 11 วทิ ยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใช้สอ่ื เหมาะสม 12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีส่วนรว่ มและซกั ถาม ๒๕ ๕ ๕ - - ๒๖ ๕ ๔ - - ๒๙ ๓ ๓ - - 30 25 20 15 10 5 0 มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ

สรุปผลการดำเนินงานโครงการสขุ ภาพดีผูส้ งู วัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๓๖ ขอ้ รายการประเมนิ ความพึงพอใจ ระดบั ความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอำนวยความสะดวก มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย 13 สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวก ที่สุด กลาง ทส่ี ดุ 14 การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแก้ปัญหา ๓๐ 2 ๓ - - ๒๘ ๖ 1 - - ๒๙ ๔ ๒ - - 30 25 20 15 10 5 0 มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ

สรปุ ผลการดำเนนิ งานโครงการสุขภาพดีผ้สู งู วยั ปลอดภยั จากโควิด – ๑๙ แบบออนไลน์ กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ | ๓๗

ภาพประกอบการจดั กิจกรรม โครงการ สขุ ภาพดีผสู้ ูงวัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ วนั ท่ี 2๑ เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 256๔ สถานที่จดั ณ กศน.อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ภาพประกอบการจดั กิจกรรม โครงการ สขุ ภาพดีผสู้ ูงวัย ปลอดภยั จากโควดิ – ๑๙ แบบออนไลน์ วนั ท่ี 2๑ เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 256๔ สถานที่จดั ณ กศน.อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

บรรณานุกรม สสส.สำนกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ https://www.thaihealth.or.th/ ค่มู อื ประชาชน การเรียนรู้ : ชวี ิต สุขภาพ และฟ้าทะลายโจรสูโ้ รคโควิด - 19

ที่ปรกึ ษา คณะผู้จดั ทำ นางสาวมุกดา แข็งแรง ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอภาชี นางสาววิชชุตา แกว้ โมรา รักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบางไทร นางสาวหทยั รตั น์ ศริ แิ กว้ บรรณารักษช์ ำนาญการ นางสาวฐติ พิ ร พาสี ครู คศ.๑ ครูผ้ชู ่วย คณะทำงาน/ผรู้ วบรวมข้อมูล นายสมพร จติ รเี หิม ครู กศน.ตำบล นายชนะชัย อัยกูล ครู กศน.ตำบล นายขวญั ชยั จิตรีถิน ครู กศน.ตำบล สรุปผล/รายงานผล/จดั พิมพ์รูปเล่ม ครู กศน.ตำบล นายชนะชัย อยั กูล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook