Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best-Practice หลักสูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก 40 ชั่วโมง

Best-Practice หลักสูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก 40 ชั่วโมง

Published by NFE Changyai By Kru Chanachai., 2020-09-15 13:13:24

Description: หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ
หลักสูตรระยะสั้น 31 ชั่วโมงขึ้นไป
หลักสูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก 40 ชั่วโมง
ณ กศน.ตำบลช้างใหญ่ จำนวน 13 คน ระหว่างวันที่ 27-31 กรกฎาคม และ 3-5 สิงหาคม 2563

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนอื่ งรูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลกั สตู รระยะสนั้ 31 ชัว่ โมงขึ้นไป หลกั สตู รการสานผลติ ภณั ฑ์จากเสน้ พลาสติก 40 ช่ัวโมง กศน.ตำบลชา้ งใหญ่ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

ช่อื ผลงาน หลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งรูปแบบช้นั เรยี นวิชาชีพ หลักสตู รระยะสน้ั 31 ชว่ั โมงขน้ึ ไป หลักสตู ร “หลกั สูตรการสานผลิตภณั ฑ์จากเสน้ พลาสติก” ชอ่ื เจ้าของผลงาน นายชนะชัย อยั กลู 1. ความสำคัญและความเป็นมา สืบเนื่องจากนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ที่เน้นการจัดการศึกษาเพื่อการมีอาชพี มีรายได้และมีงานทำ โดยมีเป้าหมายในการเตรียมความพร้อมของประเทศไทยในทุกๆ ด้านในระยะเวลา 2 ปี เพื่อให้สามารถก้าวสู่ ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงกำหนดให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาแต่ละแหง่ ศึกษา วเิ คราะหศ์ กั ยภาพของตนเองในแตล่ ะพ้ืนที่ เพอื่ จัดการศึกษาในระดับพ้นื ที่ (Area Based) และพัฒนากลุ่มอาชีพใหม่ ให้มีศักยภาพและสามารถแข่งขนั ได้ในภูมภิ าคหลักของโลก โดยนโยบายดงั กล่าวสอดคล้องกับการทำงานของ กศน. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคน ทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ประเด็นที่ ๑ ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเหมาะสม เต็มตาม ศักยภาพในแต่ละช่วงวัย การพัฒนาหลักสูตรต้องสอดคล้องกับกลุ่มอาชีพใหม่ คือหลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิดสร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง โดยการพัฒนาเนื้อหาสาระที่มีองค์ความรู้ครบ วงจร ประกอบด้วย โครงสร้างของหลักสูตร 4 ขั้นตอน คือ ช่องทางการประกอบอาชีพ ทักษะการประกอบอาชีพ การบริหารจัดการและการจัดทำโครงการประกอบอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะและมีความมั่นใจในการ ประกอบอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนการสอน มีการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ในส่วนของการฝึกปฏิบัติ เนน้ การฝึกปฏิบตั จิ ริงเพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเกิดทักษะในด้านอาชีพ รวมทง้ั การเรยี นหรือศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและมองเห็นช่องทางการประกอบอาชีพนั้นอย่างครบวงจร วิทยากรที่จัดการเรียน การสอน เปน็ ผทู้ ่มี คี วามรู้ความชำนาญในอาชพี หรอื เปน็ ผทู้ ่ปี ระกอบการในอาชีพนั้น ๆ ในการนี้ กศน.อำเภอบางไทร ร่วมกับ กศน.ตำบลช้างใหญ่ เห็นว่าเพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการ ดำเนินงานของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ 2563 จึงจัดโครงการหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรระยะสั้น 31 ชั่วโมงขึ้นไป“หลักสูตรการ สานผลิตภณั ฑ์จากเสน้ พลาสติก จำนวน 40 ชัว่ โมง”เพื่อพัฒนาอาชพี และการมีงานทำใหส้ อดคลอ้ งตามความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย และศักยภาพของพื้นที่ และส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความ สามารถในการประกอบอาชีพ การทำหลกั สูตรการสานผลติ ภณั ฑจ์ ากเส้นพลาสติก เพือ่ ประกอบเปน็ อาชพี ท่ียั่งยนื ได้ 2. วัตถุประสงค์ เพอื่ ให้ผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะดงั น้ี 1. เพื่อให้ประชาชนผู้รับบริการมีความรู้ความเข้าใจในการทำหลักสูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเส้น พลาสติก 2. เพื่อให้ประชาชนผู้รับบรกิ ารมีทักษะในการผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก และสามารถต่อยอดเพื่อเพิม่ รายไดใ้ ห้แกค่ รอบครัว 3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ - ประชาชนทั่วไปในเขตพื้นที่ตำบลช้างใหญ่ที่สนใจ จำนวน 12 คน เข้าร่วมโครงการหลักสูตร การศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรระยะสั้น 31 ชั่วโมงขึ้นไป หลักสูตร “หลักสตู รการสานผลิตภณั ฑ์จากเสน้ พลาสติก จำนวน 40 ชว่ั โมง” เชิงคณุ ภาพ - ผู้เข้าร่วมอบรมร้อยละ 80 ได้รับความรู้และมีทักษะในหลักสูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเส้น พลาสติก

4. กระบวนการหรอื ข้ันตอนการดำเนนิ งาน 4.1 จัดทำเวทเี พ่ือสำรวจความต้องการดา้ นอาชีพของประชาชน 4.2 จัดทำแผนปฏิบตั ิการ 4.3 แต่งต้งั คณะกรรมการดำเนนิ งาน 4.4 ประสานงานวิทยากรและกลมุ่ เปา้ หมาย 4.5 ดำเนนิ กจิ กรรมตามปฏิทินปฏบิ ตั ิงาน 5. ผลการดำเนนิ งาน 5.1 ผลทเ่ี กดิ กับตนเอง (กศน.ตำบลช้างใหญ่) 5.1.1เกิดแนวคดิ ในการพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง 5.2 ผลทีเ่ กดิ กบั ผ้เู รียน 5.2.1 ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมที่จะพัฒนากระบวนการทำการสานผลิตภัณฑ์จากเส้น พลาสติก 5.2.2 ผู้เรียนได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำการสานผลิตภัณฑ์จากเส้น พลาสติกดว้ ยกนั เองกบั วทิ ยากรทห่ี ลากหลาย 5.2.3 ผเู้ รียนไดร้ ับการสนับสนนุ พฒั นาการศึกษาอยา่ งตอ่ เน่อื ง 5.2.4 ผู้เรียนได้แสดงออกถึงศักยภาพ สามารถลงมือปฏิบัติ และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ใน ชวี ิตประจำวันเพอ่ื ก่อรายได้เสรมิ ภายในครอบครัว 5.2.5 ผู้เรียนได้ตระหนัก และเห็นความสำคัญในคุณค่า คุณประโยชน์จากการฝึกอบรม หลักสูตรการสานผลติ ภัณฑ์จากเส้นพลาสตกิ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาตนเอง ครอบครัวและชุมชน ส่งผล ต่อความเชอื่ มน่ั ศรทั ธา และนำไปปฏิบัติพฒั นาตนเองจนเปน็ นิสยั 5.3 ผลทเี่ กดิ กับประชาชน 5.3.1 ประชาชนตระหนกั เห็นความสำคญั ของการพฒั นาอาชีพการทำการสานผลิตภัณฑ์ จากเสน้ พลาสติก 5.3.2 ได้เห็นและเรียนรู้กิจกรรมอาชีพท่ีมีอยู่ในชุมชน นำไปสู่พลังภาคประชาชนพัฒนา ตนเอง พัฒนาชุมชน จากการเรียนรู้ซึ่งกันและกันด้วยกิจกรรมจากหลักสูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติกเป็น ตัวเชอ่ื มโยง 5.3.3 มีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายจัดกิจกรรม เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และความ เข้มแข็งให้กบั ชมุ ชน 5.4 ผลทเี่ กิดกบั สังคม 5.4.1 สงั คมมแี หลง่ เรยี นรู้ ทส่ี อดคล้องกับความตอ้ งการของประชาชนในท้องถ่นิ 6. ปจั จัยความสำเร็จ 6.1 ประชาชนในพื้นที่ตำบลช้างใหญ่ให้ความสนใจ และมีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วม กจิ กรรม หลกั สตู รการสานผลิตภณั ฑจ์ ากเส้นพลาสตกิ เป็นอาชพี เสริม 6.2 ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายจัดกิจกรรม เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และความ เข้มแข็งใหก้ บั ชุมชน 7. ประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั ๗.๑ เป็นประโยชน์ต่อครูผู้สอน สถานศึกษา ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลช้างใหญ่ ในการพัฒนาการจัด กจิ กรรม ๗.๒ ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ ส่งเสริม สาธิตขั้นตอนการดำเนินงาน สามารถแลกเปลี่ยน เรียนรู้ การปฏบิ ตั งิ าน

คำนำ เอกสาร รายงานผลการดำเนินงานโครงการหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตร ระยะสั้น 31 ชั่วโมงขึ้นไป “หลักสูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก จำนวน 40 ชั่วโมง” ของ กศน.ตำบล ช้างใหญ่ นี้ จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการดำเนินงานด้านการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ของ กศน.ตำบล ภายใต้การดูแล ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางไทร โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือตรวจสอบข้ันตอนการ ดำเนนิ กจิ กรรม ประเมินผลและพัฒนาการดำเนนิ กจิ กรรมของ กศน.ตำบลช้างใหญ่ ผูจ้ ัดทำหวังเปน็ อย่างยิ่งวา่ เอกสารรายงานผลการดำเนินงานการจัดกจิ กรรมในคร้ังน้ี จะเป็นแนวทางใน การพฒั นางานและการจัดกจิ กรรมในครัง้ ตอ่ ไป นายชนะชัย อยั กูล ผจู้ ดั ทำ

สารบญั หนา้ คำนำ 1 สารบัญ 1 บทที่ 1 บทนำ 2 เหตุผลและความจำเปน็ 5 วตั ถปุ ระสงค์ 10 บทที่ 2 เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง 15 บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนินงาน 15 บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 15 บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 15 วตั ถปุ ระสงค์การดำเนนิ งาน 16 วธิ ีดำเนินการ อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนากจิ กรรม ภาคผนวก ภาพโครงการ

บทท่ี 1 บทนำ เหตผุ ลและความจำเปน็ การปฏริ ปู การศกึ ษาทีก่ ำลังดำเนนิ การในปัจจุบนั ตามพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช ๒๕๔๒ และก้าวเข้าสู่ยุคของการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองแล้วนั้น ในด้านการปฏิรูปหลักสูตรและการเรียนการสอน ตามนัยแห่งพระราชบัญญัติการศึกษาฉบับดังกล่าวได้เน้นการจัดกิจกร รมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญหรือท่ี เรียกว่าผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลางการเรียนรู้ (Learner Center) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรูด้ ังกล่าวจะใหผ้ ูเ้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง แห่งการเรยี นรู้ โดยมุง่ ใหผ้ ู้เรียนแต่ละคนได้พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ มีความรู้ ความสามารรถ นำเอา ประสบการณ์ไปใช้ในชวี ิตประจำวัน นอกจากกิจกรรมที่สนับสนุนให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะใฝเ่ รยี นใฝ่รู้แล้ว จำเป็นต้อง มีการจดั แหล่งเรียนรู้และสง่ิ อำนวยความสะดวกเพื่อสนบั สนนุ การเรียนในลกั ษณะดงั กลา่ วด้วย การใช้แหล่งเรียนรูม้ ีความสำคัญในกระบวนการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนเพราะผู้เรียนสามารถเรียนรู้จาก สภาพจริง การจัดการเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้จะเกี่ยวข้องกับบุคคล สถานที่ ธรรมชาติ หน่วยงาน องค์กร สถานประกอบการ ชมุ ชน และสง่ิ แวดล้อมอน่ื ๆ ซึ่งผ้เู รียน ผู้สอนสามารถศึกษาค้นควา้ หาความรู้หรือเรือ่ งท่ีสนใจได้ จากแหล่งเรียนรู้ทั้งที่เป็นธรรมชาติ และที่มนุษย์สร้างขึ้น ชุมชนและธรรมชาติเป็นขุมทรัพย์มหาศาลที่เราสามารถ คน้ พบความรู้ไดไ้ มจ่ บ ทำให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรแู้ ละสร้างองค์ความรดู้ ้วยตนเอง ในการนี้ กศน.อำเภอบางไทร ร่วมกับ กศน.ตำบลช้างใหญ่ เห็นว่าเพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการ ดำเนินงานของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของสำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ 2563 จึงจัดโครงการหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชพี หลักสูตรระยะสั้น 31 ชั่วโมงขึ้นไป“หลักสูตรการ สานผลติ ภัณฑจ์ ากเสน้ พลาสตกิ จำนวน 40 ชั่วโมง”เพ่ือพัฒนาอาชพี และการมงี านทำใหส้ อดคล้องตามความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย และศักยภาพของพื้นที่ และส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความ สามารถในการประกอบอาชีพ การทำหลกั สตู รการสานผลิตภัณฑ์จากเสน้ พลาสตกิ เพื่อประกอบเป็นอาชีพที่ยัง่ ยืนได้ วตั ถปุ ระสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ รียนมีคุณลักษณะดังน้ี 1. เพื่อให้ประชาชนผรู้ ับบริการมคี วามรคู้ วามเข้าใจในการทำหลักสูตรการสานผลติ ภณั ฑจ์ ากเส้นพลาสติก 2. เพื่อให้ประชาชนผู้รับบริการมีทักษะในการทำการสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติกและสามารถต่อยอด เพื่อเพ่มิ รายได้ใหแ้ ก่ครอบครัว

บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกย่ี วขอ้ ง ภูมิปัญญา หรือ Wisdom หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ที่นำมาไปสู่การปฏบิ ัติเพื่อแก้ไขปัญหา ของมนุษย์ หรือ ภูมิปัญญา คือ พื้นความรู้ของปวงชนในสังคมนั้น ๆ และปวงชนในสังคมยอมรับรู้ เชื่อถือ เข้าใจ รว่ มกนั เรียกว่า ภูมิปญั ญา ภมู ปิ ญั ญาไทย หมายถึง องคค์ วามรู้ ความสามารถและทักษะของคนไทยอนั เกดิ จากการสั่งสมประสบการณ์ที่ ผ่านกระบวนการเรียนรู้ เลือกสรร ปรุงแตง่ พัฒนา และถ่ายทอดสืบต่อกันมา เพ่ือใช้แก้ปัญญาและพัฒนาวิถีชีวิตของ คนไทยให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมและเหมาะสมกับยุคสมัย ภูมิปัญญาไทยนี้มีลักษณะเป็นองค์รวม มีคุณค่าทาง วัฒนธรรมเกิดขึ้นในวิถีชีวิตไทย ซึ่งภูมิปัญญาท้องถิ่นอาจเป็นที่มาขององค์ความรู้ที่งอกงามขึ้นใหม่ที่จะช่วยในการ เรียนรู้ การแก้ปัญหา การจัดการและการปรับตัวในการดำเนินวิถีชีวิตของคนไทย ลักษณะองค์รวมของภูมิปัญญามี ความเด่นชัดในหลายด้านเช่น ด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรม และหัตถกรรม ด้านการแพทย์แผนไทย ด้านการ จดั การทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม ด้านกองทนุ และธุรกจิ ชมุ ชน ด้านศลิ ปกรรม ดา้ นภาษาและวรรณกรรม ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณี และดา้ นโภชนาการ วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ เอกลักษณะและภมู ิปญั ญา ภูมิปัญญาชาวบ้าน หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น (Folk Wisdom) ได้มีผู้ความหมายดังนี้ กระทรวงศึกษาธิการ (2539 : 2)หมายถึง ความรู้ที่เกิดจากประสบการณใ์ นชวี ิตของคนเราผ่านกระบวนการศึกษา สังเกตคิดวิเคราะห์จน เกิดปัญญา และตกผลึกมาเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกันขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลาย ๆ เรื่อง ความรู้ดังกล่าวไม่ได้ แยกย่อยออกมาเป็นศาสตร์ เฉพาะสาขาวิชาต่าง ๆ อาจกล่าวไว้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นจัดเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้ สมัยใหม่ที่จะช่วยในการเรียนรู้ การแก้ปัญหา การจัดการ แลการปรับตัวในการดำเนินชีวิตของคนเรา ภูมิปัญญา ท้องถิ่นเป็นความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม ชุมชนและในการตัวของผู้รู้เอง หากมีการสืบค้นหาเพื่อศึกษา และนำมาใช้ก็ จะเป็นที่รู้จกั กันเกดิ การยอมรบั ถา่ ยทอด และพัฒนาไปสู่คนรุ่นใหมต่ ามยคุ ตามสมยั ไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริงเพ่ือสืบทอดแก่คน รุน่ หลังต่อไป ศักดิ์ชัย เกียรตินาคินทร์ (2542 : 2) ได้ให้ความหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ องค์ความรู้ความสามารถ ของชมุ ชนทสี่ ่งั สมสบื ทอดกนั มานาน เปน็ ความจรงิ แท้ของชุมชนเปน็ ศักยภาพทีจ่ ะใชแ้ กป้ ัญหา จัดการปรับตน เรียนรู้ และถา่ ยทอดสู่คนร่นุ ใหม่ เพ่ือให้ดำรงชวี ิตอยู่ได้อย่างผาสุก เปน็ แกน่ ของชุมชนท่จี รรโลง ความเปน็ ชาติให้อยู่รอดจาก ทกุ ข์ภัยพบิ ัติทัง้ ปวง และชาวมนษุ ยท์ ้งั หลายในปัจจุบัน จารุวรรณ ธรรมวัติ (2543 : 1) ได้ให้ความหมาย ของภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ แบบแผนการดำเนินชีวิตที่มี คุณค่าแสดงถึงความเฉลียวฉลาดของบุคคล และสังคมซึ่งได้สั่งสมและปฏิบัติต่อกันมา ภูมิปัญญาจะเป็นทรัพยากร บุคคล หรอื ทรัพยากรความร้กู ไ็ ด้ จากการศึกษาความหมายและแนวคิดของภูมิปัญญาของชาวบ้านที่กล่าวมาแล้วข้างต้นพอสรุปได้ว่า ภูมิปัญญาไทย หมายถึง ความรู้ ความสามารถในการดำเนินชีวิตอยู่ในพืน้ ที่นัน้ ๆ โดยใช้สติปัญญาสั่งสมความรู้อย่าง แพร่หลาย ผสมผสานความกลมกลืนระหว่างศาสนา สภาพภูมิอากาศ สภาพแวดล้อมการประกอบอาชีพ และ กระบวนการเหล่านี้มาจนหลายชั่วคนซึ่งจะเป็นวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์นั้นเกิดจากการเรียนรู้และสั่งสม ประสบการณ์เป็นระยะเวลายาวนาน โดยอาศัยภูมปิ ญั ญาทมี่ ีอยู่มาใช้ในการตั้งถ่นิ ฐาน การประกอบอาชีพการปรับตัว และแก้ปญั หาในการดำเนินชีวิต จนเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของธรรมชาติและสงั คม หัตถกรรมเครื่องจักสานเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนที่ส ำคัญยิ่งต่อการดำรงชีวิตตั้งแต่อดีตมาจนถึง ปัจจุบัน เป็นตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นภมู ิปญั ญาอันเฉลียวฉลาดของคนในท้องถ่ิน ที่ใช้ภูมิปัญญาที่มีอยู่ในชุมชนมา ประยุกต์ทำเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน ซ่ึงมีประโยชน์ในการดำรงชีวิต จะเห็นได้ว่าหัตถกรรม เครื่องจัก สานมีมานานแล้ว และได้มีการพัฒนามาตลอดเวลาโดยอาศัยการถ่ายทอดความรู้จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง สะท้อนให้เห็นการเรยี นรู้ ความร้ทู ส่ี ะสมทส่ี บื ทอดกันมาจากอดีตมาถึงปจั จบุ ันหรือทเ่ี รียกกันวา่ ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ดงั นนั้ กระบวนถ่ายทอดความรู้จงึ มคี วามสำคญั อย่างยิ่งที่ทำภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ น้ันคงอยู่ต่อเนื่องและยั่งยืนงาน จักสานเส้นพลาสติก คือ งานศิลปะอย่างหนึ่ง เพราะจะต้องสร้างสรรค์งานที่ออกมาจากจิตใจที่รักในงานจักสาน

จรรโลงเอกลักษณ์ และวัฒนธรรมในท้องถิน่ มีความพยายาม ความฉลาดหลกั แหลม ประยุกต์ พัฒนารูปแบบให้ดขี ึ้น เป็นภาชนะใช้สอย มีสีสันสวยงาม คงทน มีความน่าสนใจ เหมาะสำหรับนำไปใชส้ อยและเป็นของฝาก สามารถนำไป ประกอบเปน็ อาชพี หลกั หรืออาชพี เสรมิ สรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ตนเองและครอบครัวได้ การสานผลติ ภณั ฑจ์ ากเส้นพลาสตกิ การจักสานเป็นอาชีพที่ชาวบ้านหารายได้ช่วยจุนเจือครอบครวั ในยามที่เสร็จสิ้นจากการทำนา คนในชุมชน รู้จักและมภี มู ปิ ัญญาด้านการจักสานเป็นพ้ืนฐานอยู่แล้ว ซึ่งสบื ทอดมาจากบรรพบุรุษ รจู้ กั การนำหวาย ไม้ไผ่ ก้านลาน มาทำตะกร้า กระบุง ชะลอม ผลิตใช้สอยในครัวเรือน สมัยก่อนชาวบ้านจะทำไว้ใช้เอง การจักสานสืบทอดมาจาก บรรพบรุ ุษในถิ่นฐานเดมิ มผี ูท้ รงภูมปิ ญั ญาถ่ายทอดองคค์ วามรู้แบบดง่ั เดิม ซึ่งยังไมม่ กี ารพฒั นารปู แบบแต่อยา่ งใด จักสานเป็นผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม ที่บ่งบอกถึงความรุ่งเรือง ประเพณี วัฒนธรรมของพื้นบ้าน มีการสืบทอด เทคนิควิธีการมาหลายช่วงอายุคน ซึ่งมีพื้นฐานการพัฒนาลวดลายในแบบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมีพื้นฐานในการ ออกแบบจากสภาพการดำรงชีวติ วัฒนธรรม ประเพณี ความเชอื่ ศาสนา และธรรมชาตทิ แ่ี ตกตา่ งกันในแต่ละยุคสมัย เดิมสมัยก่อนในชุมชนมีการปลูกไม้ไผ่ หวาย ลาน มีกรรมวิธีการจักสานแบบโบราณใช้วัตถุดิบในพื้นที่นำมา จักสานเครื่องใช้ในครัวเรือน เมื่อก่อนนี้กลุ่มจักสานมีมาก ผลผลิตล้นตลาดราคาผลิตภัณฑ์ถูก แต่วัตถุดิบแพง กลุ่ม บ้านพรานจึงมีความคิดที่จะเปลี่ยนจากหวาย ไม้ไผ่เป็นจักสานพลาสติก ต่อมาเมื่อทางส่วนราชการมาสง่ เสริมให้การ สนับสนุน ใหม้ ีการจกั สานเชิงพาณิชย์ โดยมีชาวบา้ นมาเปน็ สมาชิกกลุ่ม ทำให้มีอาชีพเสริม มศี นู ย์การเรียนรู้ชุมชน มี สถานทฝ่ี กึ อบรม ในการออกแบบผลติ ภัณฑ์ เกดิ จากความต้องการของลูกค้าเป็นหลัก เน้นความสวยงาม ประณีตและ เรียบร้อยจากการที่ได้รับการสนบั สนุนจากหนว่ ยงานราชการต่าง ๆ ทำให้กลุ่มมีความเจริญก้าวหนา้ มากขึ้น ส่งผลให้ ชาวบา้ นได้มรี ายไดใ้ หก้ บั ครอบครัวอกี ทางหนึ่ง จักสานพลาสติก เป็นศิลปะการจักสานที่มีลวดลายสวยงาม การออกแบบ สีสันของเส้นพลาสติก ลวดลาย ต่าง ๆ ตามความต้องการของลูกค้า มีความละเอียดประณีต เรยี บร้อย ได้มาตรฐาน คงทน สมประโยชน์ ราคาไม่แพง มีการพัฒนารูปแบบทันสมัยอย่างต่อเนื่องและเป็นสากล แต่กระบวนการผลิตยังใช้แบบดั่งเดิม ทำให้มองเห็นคุณค่า และแสดงถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทย ซ่งึ เปน็ ความภาคภูมิใจของคนบา้ นพราน เป็นผลงานจากการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ทีป่ ระสานภูมปิ ญั ญาของคนรุ่นเก่ากบั คนรนุ่ ใหม่ ใหเ้ ขา้ กันได้อยา่ งลงตัวและเหมาะสม การส่งเสริมและการอนุรักษ์การจักสาน โดยให้มีการผลิตอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนารูปแบบตลอดเวลา จึงมีการถ่ายทอดให้กับผู้ที่ต้องการศึกษา เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพให้กับแม่บ้าน นักเรียน นักศึกษา ผู้ท่ี สนใจทั่วไป เพื่อเป็นการสืบสานภูมิปัญญาของคนรุ่นเก่าสู่คนรุ่นใหม่ได้อย่างมีคุณภาพและเป็นการอนุรักษ์ และ ป้องกันภูมิปัญญามิให้สูญหาย ปัจจุบันการจักสานพลาสติกของตำบลศรีพราน เปรียบเสมือนเป็นวิถีชีวิตของคนใน ชุมชนเนือ่ งจากเปน็ อาชีพเสรมิ ทท่ี ำใหเ้ กิดรายได้ดีทำให้คนในชุมชนมีรายได้ท่ีม่นั คง

บทท่ี 3 วิธีการดำเนินงาน ด้วย กศน.ตำบลช้างใหญ่ ได้จัดกิจกรรมโดยยึดประชาชนในตำบลเป็นสำคัญ ทำให้เกิดเนื้อหาสาระ ระยะเวลาการจัดกิจกรรม สถานที่ และลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ศักยภาพและความพร้อมของ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นการตอบสนองนโยบายของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ซง่ึ ไดด้ ำเนนิ การ ดังนี้ ขัน้ ตอนการดำเนินงาน ๑. ขัน้ วางแผน (Plan) ประกอบดว้ ย - สำรวจและวิเคราะห์ความต้องการ - รวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อจัดกระบวนการเรยี นรู้ - จัดทำแผนการจดั กจิ กรรม - แต่งตง้ั คณะทำงานและประชุมชีแ้ จงผเู้ ก่ียวข้อง - เขยี นโครงการ/ขออนมุ ตั โิ ครงการ ๒. ขน้ั ดำเนนิ การ (Do) ดำเนินการจัดอบรมโครงการหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรระยะสั้น 31 ชั่วโมงขึ้นไป หลักสูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก 40 ชั่วโมง ณ กศน.ตำบลช้างใหญ่ จำนวน 13 คน ระหว่างวนั ท่ี 27-31 กรกฎาคม และ 3-5 สิงหาคม 2563 โดยจัดอบรม ถึงหลักการและเหตุผลของโครงการ และ มอบหมายให้วิทยากรมหี น้าท่ีใหก้ ารสอน /ฝึกภาคปฎิบัตใิ หแ้ ต่กลมุ่ เป้าหมาย/คน ในตำบล ๓. ขัน้ ตรวจสอบ ( Check) - แบบประเมินความพึงพอใจ ๔. ขน้ั ปรับปรงุ แก้ไข (Action) - รวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมูล - ประชุมคณะทำงานเพอื่ ทราบผลการดำเนนิ งาน บทท่ี 4

ผลการดำเนนิ งาน จากการสำรวจความพงึ พอใจ โครงการหลกั สูตรการศึกษาต่อเนื่องรปู แบบชนั้ เรยี นวิชาชพี หลักสตู รระยะสั้น 31 ชั่วโมงขน้ึ ไป หลกั สูตรการสานผลติ ภัณฑ์จากเส้นพลาสติก 40 ช่วั โมง ของผู้เข้ารว่ มโครงการ โดยใช้แบบประเมนิ ความพึงพอใจ จำนวน 13 ฉบับ และได้รับกลับคืนมา จำนวน 13 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Excel ตามขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1. วิเคราะหข์ ้อมลู จากแบบสอบถามตอนที่ 1 โดยแจกแจงความถี่และค่าร้อยละ 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 โดยหาค่าเฉลี่ย ( X ) แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ ให้ระดับคะแนนในแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของ เบสท์ (Best. 1981 :182) ดังน้ี 4.51–5.00 หมายถึงความพึงพอใจอยใู่ นระดับดมี าก 3.51–4.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดี 2.51–3.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดับปานกลาง 1.51–2.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดับพอใช้ 1.00–1.50 หมายถึงความพงึ พอใจอยู่ในระดับปรับปรุง 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 3 ข้อมูลที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (RatingScale) โดยหา ค่าเฉลี่ย (X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมลู เชิงปริมาณ โดยใชเ้ กณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคำตอบและหาคา่ ความถี่ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ผู้เขา้ ร่วมโครงการดงั นี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตวั ของผ้ตู อบแบบสอบถาม ตารางท1่ี ข้อมูลทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จำแนกตาม เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา และอาชีพ ข้อมูลทั่วไป จำนวน รอ้ ยละ เพศ ชาย 1 7.69 หญงิ 12 92.30 อายุ ตำ่ กวา่ 15 ปี - - 15-39 ปี 1 7.69 40-59 ปี 7 58.33 60 ปีขึน้ ไป 4 33.33 การศกึ ษา ประถมศึกษา 6 46.15 มธั ยมศึกษาตอนตน้ 2 15.38 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2 15.38

ปรญิ ญาตรี 3 23.07 อ่นื ๆ - - อาชพี รบั จา้ ง 1 7.69 คา้ ขาย 4 30.76 เกษตรกรรม 1 7.69 รับราชการ - - อ่นื ๆ (แม่บ้าน) 6 46.15 จากตารางที่ 1 แสดงจำนวนผูต้ อบแบบสอบถามทงั้ หมด 13 คน เปน็ เพศหญงิ จำนวน 12 คน (คดิ เปน็ ร้อยละ 92.30) เป็นเพศชาย จำนวน 1 คน (คดิ เปน็ ร้อยละ 7.69) - ด้านอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมาก อายุ 40-59 ปี จำนวน 7 คน (คิดเป็นร้อยละ 58.33) รองลงมาช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 4 คน (คิดเป็นร้อยละ 33.33) และช่วงอายุ 15-39 ปี จำนวน 1 คน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.69) ตามลำดบั - ด้านการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีการศึกษาระดับประถมศึกษามากที่สุดจำนวน 6 คน (คิดเป็น ร้อยละ 46.15) รองลงมาคือการศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 3 คน (คิดเป็นร้อยละ 23.07) และระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายและระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 4 คน (คิดเปน็ ร้อยละ 15.38) ตามลำดับ - ด้านอาชีพ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีอาชีพอื่น ๆ (แม่บ้าน) มากที่สุด จำนวน 6 คน (คิดเป็นร้อยละ 46.15) รองลงมามีอาชีพค้าขาย จำนวน 4 คน (คดิ เปน็ ร้อยละ 30.76 ) และอาชพี รับจ้าง และอาชพี เกษตรกรรม จำนวน 2 คน (คดิ เป็นร้อยละ 7.69) ตามลำดบั สรุปผลการประเมินความพึงพอใจโครงการหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตร ระยะสนั้ 31 ชั่วโมงข้ึนไป หลักสูตรการสานผลติ ภัณฑ์จากเสน้ พลาสติก 40 ชั่วโมง ของตำบลช้างใหญ่ ไดด้ งั นี้ ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจของผู้เรียน/ผ้รู ับบรกิ าร โดยรวมและแยกเปน็ รายด้าน ตารางที่ 2 ความพงึ พอใจที่มีต่อโครงการโดยรวมและแยกเปน็ รายด้าน รายการประเมนิ ผลการประเมนิ 1. ดา้ นหลกั สตู ร ความหมาย X 4.35 ดี 2. ด้านวิทยากร 4.45 ดี 3. ดา้ นสถานท่ี/ระยะเวลา/ความพึงพอใจ 4.33 ดี รวม 4.37 ดี

จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการ โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดบั ดี ทุกรายการ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ ด้านวิทยากร รองลงมา ด้านหลักสูตร และด้าน สถานท/่ี ระยะเวลา/ความพึงพอใจ ตามลำดับ ตารางที่ 3 ความพงึ พอใจที่มีตอ่ โครงการ ดา้ นหลักสตู ร รายการประเมิน ผลการประเมิน 1. กิจกรรมทจี่ ดั สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร ความหมาย X 4.44 ดี 2. เนอ้ื หาของหลักสตู รตรงกับความตอ้ งการของผ้เู รยี น/ผู้รับบริการ 4.16 ดี 3. การจัดกิจกรรมทำให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหา ดี เป็น 4.42 4. ผู้เรยี น/ผรู้ ับบรกิ ารมีสว่ นรว่ มแสดงความคิดเหน็ ต่อการจดั ทำหลกั สตู ร 4.42 ดี 5. ผเู้ รียน/ผรู้ บั บรกิ ารสามารถนำความร้ไู ปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั 4.55 ดมี าก 6. สอ่ื /เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 4.11 ดี รวม 4.35 ดี จากตารางที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มตี ่อโครงการดา้ นหลักสตู ร โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับ ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถนำความรู้ไปปรับใช้ใน ชวี ิตประจำวัน รองมาอนั ดับสอง ด้านกิจกรรมท่ีจัดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และอันดับที่สามและที่ สี่เท่ากัน คือ ด้านการจัดกิจกรรมทำให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็นและด้านผู้เรียน/ ผู้รับบริการมสี ว่ นร่วม แสดงความคิดเห็นต่อการจัดทำหลกั สูตร อันดับสุดทา้ ยคอื สือ่ /เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรม มีความเหมาะสม ตามลำดับ

ตารางที่ 4 ความพงึ พอใจดา้ นวทิ ยากร รายการประเมนิ ผลการประเมิน 1.วทิ ยากร มคี วามรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรม ความหมาย X 4.57 ดมี าก 2.วิทยากรมเี ทคนิค กระบวนการจดั กิจกรรม 4.42 ดี 3.วทิ ยากรมีการใชส้ ่ือทสี่ อดคล้องและเหมาะสมกับกจิ กรรม 4.37 ดี 4.วทิ ยากรมีคณุ ธรรม จริยธรรม 4.50 ดี 5.บุคลกิ ภาพของวิทยากร 4.38 ดี รวม 4.45 ดี จากตารางที่ 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการด้านวิทยากรโดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับ ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ วิทยากร มีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรม อันดับสองคือวิทยากรมีคุณธรรม จริยธรรม อันดับสาม คือ วิทยากรมีเทคนิค กระบวนการจัดกิจกรรม อันดับสี่ คือ บคุ ลิกภาพของวทิ ยากร และอนั ดับสุดทา้ ย คือวทิ ยากรมกี ารใช้ส่อื ทีส่ อดคล้องและเหมาะสมกับกจิ กรรม ตามลำดบั ตารางที่ 5 ความพึงพอใจด้านสถานท/ี่ ระยะเวลา/ความพงึ พอใจ รายการประเมนิ ผลการประเมนิ 1. สถานทีใ่ นการจัดกจิ กรรม ความหมาย X 4.04 ดี 2. ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมเหมาะสม 4.35 ดี 3. ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้รับบริการต่อการเข้าร่วม กจิ กรรม 4.60 ดมี าก รวม 4.33 ดี จากตารางที่ 5 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการด้านสถานที่/ระยะเวลา/ความพึง พอใจ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ ความพึงพอใจในภาพรวม ของผู้รับบริการต่อการเข้าร่วมกิจกรรม อันดับสองคือ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม และอันดับสุดท้าย คือ สถานทใ่ี นการจัดกิจกรรม ตามลำดบั

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ผลการดำเนินโครงการหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรระยะสั้น 31 ชั่วโมงข้ึน ไป หลักสูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก 40 ชั่วโมง ที่เข้าร่วมโครงการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผล ความพงึ พอใจของผู้เรียน/ผรู้ ับบริการท่ีมีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายดา้ น โดยใชแ้ บบสอบถามจำนวน 13 ฉบับ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็น ของเบสท์ (Best. 1981 : 182) วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย (X) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมาย ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคำตอบ และหาค่าความถ่ี สรุปผลการประเมินความพงึ พอใจของผูเ้ รียน/ผู้รบั บรกิ าร จากแบบประเมินความพงึ พอใจสรุปผลได้ ดังน้ี 1. ด้านหลักสูตร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีตอ่ โครงการดา้ นหลักสูตร โดยรวม และรายด้าน อย่ใู นระดบั ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อนั ดบั หนึง่ คือ ผู้เรยี น/ผรู้ บั บรกิ ารสามารถนำความรู้ไป ปรับใช้ใน ชีวิตประจำวนั รองมาอันดับสองคือ กิจกรรมที่จดั สอดคล้องกับวัตถุประสงคข์ องหลักสตู รอนั ดบั สามและส่ี เท่ากัน คือ การจัดกิจกรรมทำให้ผู้เรยี น/ผู้รับบริการสามารถคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็นและ ผู้เรียน/ผู้รับบริการมี ส่วนร่วม แสดงความคิดเห็นต่อการจัดทำหลักสูตร อันดับสุดท้ายคือ สื่อ/เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม ตามลำดับ 2. ด้านวิทยากร พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการด้านวิทยากรโดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับ ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ มีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรม อันดับ สองคือวิทยากรมีคุณธรรม จริยธรรม อันดับสาม คือ วิทยากรมีเทคนิค กระบวนการจัดกิจกรรม อันดับสี่ คือ บุคลกิ ภาพของวิทยากร และอันดบั สุดท้าย คอื วิทยากรมกี ารใช้สอ่ื ท่สี อดคล้องและเหมาะสมกบั กจิ กรรม ตามลำดับ 3. ด้านสถานที่/ระยะเวลา/ความพึงพอใจ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการด้าน สถานที่/ระยะเวลา/ความพึงพอใจ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่ง คือ ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้รับบริการต่อการเข้าร่วมกิจกรรมอันดับสองคือ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม เหมาะสม และอันดบั สดุ ทา้ ย คอื สถานทีใ่ นการจดั กิจกรรม ตามลำดบั ผลการดำเนนิ งาน 1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรระยะสั้น 31 ชว่ั โมงข้ึนไป หลกั สูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก 40 ชวั่ โมง ความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้า ร่วมโครงการไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้ 2. ผูเ้ ข้าร่วมโครงการฯ ไดใ้ ห้ความรว่ มมอื ร่วมใจ และลงมอื ทำเปน็ อย่างดี 3. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี ปญั หาและอุปสรรคในการปฏบิ ตั งิ าน -

ขอ้ เสนอแนะ -

ภาคผนวก แบบประเมินความพงึ พอใจ

โครงการหลกั สตู รการศึกษาต่อเนอื่ งรปู แบบช้นั เรยี นวิชาชพี หลกั สูตรระยะสัน้ 31 ชว่ั โมงขึน้ ไป หลกั สูตรการสานผลิตภัณฑ์จากเสน้ พลาสติก 40 ชว่ั โมง ระหวา่ งวันท่ี 27-31 กรกฎาคม และ 3-5 สงิ หาคม 2563 ณ กศน.ตำบลชา้ งใหญ๋ หมู่ 3 ตำบลช้างใหญ่ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไป ให้ทำเครื่องหมาย √ ลงในช่อง ทีต่ ้องการ เพศ ชาย หญิง อายุ ต่ำกว่า 15 ปี 16 – 29 ปี 30 -39 ปี 40 – 59 ปี 60 ปีขึ้นไป กล่มุ อาชีพ รบั ราชการ ค้าขาย เกษตรกร รบั จ้าง อนื่ ๆ ระบุ..................................... กลุม่ เป้าหมาย ผ้นู ำทอ้ งถนิ่ อบต./เทศบาล อสม. เกษตรกร แรงงานไทย ทหารกองประจำการ แรงงานต่างดา้ ว อ่ืนๆระบ.ุ ......... ระดบั การศกึ ษา ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย ปริญญา อ่ืนๆระบุ................... ตอนที่ 2 ท่านมีความพงึ พอใจต่อบริการการจดั กิจกรรมในเร่อื งต่อไปน้มี ากน้อยเพยี งใด (โดยใส่เครอ่ื งหมาย ✓ ในชอ่ งทต่ี รงกบั ระดบั ความพงึ พอใจของท่าน) ระดบั คะแนน ท่ี รายการ มากทส่ี ุด มาก ปาน นอ้ ย น้อย คา่ เฉล่ีย ระดบั ความพงึ 5 กลาง สุด พอใจ 4 3 21 ดา้ นหลักสตู ร 1 กิจกรรมท่จี ัดสอดคล้องกับวตั ถุประสงค์ของหลกั สตู ร 2 เนอื้ หาของหลักสตู รตรงกบั ความตอ้ งการของผ้เู รียน 3 การจดั กจิ กรรมสง่ เสริมให้ผ้รู ับบรกิ ารสามารถคิดเป็น ทำเป็น แกป้ ัญหาเปน็ 4 ผู้รับบริการมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ ต่อ การจัดทำหลกั สูตร ด้านการจัดกิจกรรมหรอื การเรียนรู้ 5 จดั กิจกรรมสอดคล้องกับผ้เู รียน 6 จัดกิจกรรมเปน็ ไปตามลำดบั ข้ันตอนจากง่ายไปยาก 7 กิจกรรมส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจหรอื มี ทักษะตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้ 8 มกี ารวัดผลประเมนิ ผลตามจุดประสงคข์ องหลกั สตู ร 9 นำผลการประเมนิ มาปรับปรุงการจัดกิจกรรมและ หลกั สตู ร ดา้ นวทิ ยากร 10 เป็นผู้มีความรูแ้ ละความชำนาญในเร่อื งที่สอน 11 มกี ารเตรยี มตัวและมีความพร้อมในการสอนหรือจัด กจิ กรรม

ด้านวิทยากร 12 ถ่ายทอดความรู้ได้ชดั เจน เขา้ ใจงา่ ย 13 เอาใจใสแ่ ละสังเกตการณเ์ รียนรขู้ องผ้เู รียน ใหค้ วาม ชว่ ยเหลือจนผู้เรียนเข้าใจหรอื ปฏิบตั ิได้ ดา้ นสือ่ และวสั ดุอปุ กรณ์ 14 สอ่ื และวัสดอุ ุปกรณ์มคี วามทันสมัย 15 สอ่ื และวัสดุอปุ กรณ์มีจำนวนเพยี งพอกับผ้เู รียน 16 มสี อื่ และวสั ดุอุปกรณ์สอดคล้องกบั ข้ันตอนการจดั กิจกรรมหรือการเรียนรู้ 17 มีแหล่งเรยี นรู้ตอบสนองต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ 18 แหลง่ เรยี นรมู้ บี รรยากาศเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ ดา้ นผลท่ไี ด้รบั จากการเรยี นรู้หรือการเขา้ ร่วม กิจกรรม 19 มีความรแู้ ละความสามารถที่ไดร้ บั จากการเรยี นหรือ เขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ 20 มีความม่นั ใจในการนำผลท่ีได้จากการเรยี นรู้ไป ประยุกตใ์ ช้ 21 มีความเชื่อมั่นต่อความสามารถของสถานศึกษาใน การจดั กจิ กรรม ดา้ นความพงึ พอใจต่อการให้บรกิ าร 22 เจา้ หนา้ ที่ใหบ้ ริการดว้ ยความเตม็ ใจ 23 สถานศกึ ษามีข้ันตอนการใหบ้ ริการท่ีรวดเรว็ 24 เจ้าหนา้ ท่ใี หข้ ้อมลู รายละเอยี ดต่างๆ ชดั เจน 25 เจา้ หนา้ ท่ใี ห้บรกิ ารด้วยความเปน็ ธรรมและเสมอ ภาค 26 สถานศึกษาจดั หาสิ่งอำนวยความสะดวกให้ ตอนที่ 3 ความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ ........................................................ ......................................................................................... ............................. .............................................................................................................................................................................

รปู ภาพกจิ กรรม โครงการการจัดการศึกษาตอ่ เนื่อง รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตรการสานผลติ ภัณฑ์จากเส้นพลาสตกิ จำนวน 40 ชว่ั โมง ระหว่างวันท่ี 27-31 กรกฎาคม และ 3-5 สิงหาคม พ.ศ. 2563 สถานทจี่ ัด ณ กศน.ตำบลช้างใหญ่ หมู่ 3 ตำบลชา้ งใหญ่ อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา