Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อหา pdf

เนื้อหา pdf

Published by aruntip angkab, 2021-03-13 04:11:09

Description: เนื้อหา pdf

Search

Read the Text Version

การมองเหน็ ดวงตาช่วยให้เรามองเหน็ สง่ิ ต่างๆรอบตัว การมองเหน็ จะเกดิ ขน้ึ ไดเ้ มอื่ มีแสงจากวัตถุทีเ่ รากาลงั มองตกกระทบกับตัวรบั ภาพในดวงตา และส่งข้อมูลไปยังสมอง สมองส่วนรบั ภาพจะจดั เรียงแปลผล ข้อมลู และสร้างเป็นภาพให้รู้สึกมองเห็นได้ หนา้ ทข่ี องตา ตาทาหน้าที่ในการมอง ซ่ึงประสิทธิภาพในการมองเห็นจะอยู่ท่กี ารทางานของอวยั วะของลกู ตา หลายสว่ นประกอบกัน เม่ือเรามองวัตถุแสงท่ีตกกระทบวัตถุจะผ่านรูม่านตาสู่เลนส์ผา่ นเข้าไปในช่องว่าง ภายในลูกตาไปยงั จอประสาทตา หน้าท่ีของเลนส์คือ ปรับให้แสงจากวัตถุตกทจี่ อประสาทตาให้ชัดเจนทสี่ ุด ภาพท่ีตกทจี่ อประสาทตาจะ เป็นภาพหัวกลบั ซง่ึ สมองจะทาหนา้ ทใ่ี นการแปลงภาพให้เห็นเหมือนภาพจรงิ ไม่กลับหวั จอประสาทตา จะมเี ซลล์สาหรับรับแสงนับล้าน ๆ เซลล์ที่มีรปู ร่างเปน็ แท่งและกรวย เรยี กวา่ Light receptors เซลล์ รปู แทง่ จะรบั แสงในท่มี ืดหรือแสงน้อยไดด้ ี สว่ นเซลล์รูปกรวยจะรับสีและแสงทีส่ ว่างกวา่ ไดด้ ี จอ ประสาทตาจะเปล่ยี นพลังงานจากแสงทีไ่ ด้รับให้เป็นกระแสไฟฟ้า สง่ ผา่ นไปยงั เส้นประสาทตา (Optic nerve) ท่ีอย่ดู ้านหลังตรงสู่สมอง สมองจะแปลสญั ญาณไฟฟา้ ที่ได้รบั เปน็ ภาพหวั ต้ัง วิธีดูแลถนอมดวงตา 1. รับประทานอาหารทม่ี ีประโยชนใ์ หค้ รบ 5 หมู่ ออกกาลังกายสม่าเสมอ นอนหลบั พักผอ่ นให้ เพียงพอ ตลอดจนมจี ิตใจแจ่มใส 2. ปก ป้องดวงตาดว้ ยการสวมแวน่ กันแดด เมอ่ื ต้องอยู่กลางแดดจ้า ลดพัดแรงทม่ี ีฝนุ่ ละออง โดยเฉพาะชาวนา ชาวสวน และผทู้ ี่ตอ้ งขับขี่รถจักรยานยนต์ 3. สวม ใส่แวน่ ตาหรือเครอ่ื งมือปอ้ งกันทุกครั้ง เมือ่ ปฏบิ ัติงานทีม่ ีความเส่ียง เชน่ การเจยี รเหล็ก ตอกตะปู เคร่ืองเช่อื ม น้ายาสารเคมี กรด ด่าง ฯลฯ 4. ดโู ทรทศั น์ในที่ ทีม่ ีแสงสว่างอยา่ งนอ้ ย 20 แรงเทยี น และอยู่ห่างจากจอเป็น 5 เท่าของขนาด ความกวา้ งของจอภาพ 5. งดดืม่ ของมึนเมา สรุ า และบหุ รี่

6. ควรระมัดระวงั อุบัติเหตุที่อาจเกดิ ข้นึ ได้ตลอดเวลา โดยการสวมหมวกกันนอ็ คเมอ่ื ขบั ข่ี รถจักรยานยนต์ รัดเข็มขดั นิรภัยเมื่อขบั ขี่รถยนต์ หรือสวมอุปกรณป์ อ้ งกนั ทุกครัง้ เมอ่ื เล่นกฬี าทม่ี ี ความเส่ียง เชน่ ฟนั ดาบ มวย เบสบอล กอลฟ์ ฯลฯ 7. ควร ทดสอบสายตาตนเอง โดยการปดิ ตาทีละข้าง หรอื พบจักษุแพทย์ เพื่อตรวจสุขภาพเป็น ประจาทุกปี โดยเฉพาะเด็กๆ และควรนายาหยอดตาท่ใี ชอ้ ยู่ติดตวั มาดว้ ยเมอ่ื พบแพทย์ 8. ควรตรวจเชค็ สุขภาพกายอ่ืนๆ ด้วย เพราะโรคทางกายบางโรคมีผลตอ่ ระบบการมองเห็น เชน่ เบาหวาน ความดันสงู โรคหัวใจ เป็นตน้ 9. ไม่ควรใชส้ ายตาติดต่อกันเกิน 1 ช่วั โมง โดยไม่พักสายตา 10. ไม่ควรซอ้ื ยาหยอดตาใชเ้ อง เพราะยาบางตัวมีส่วนผสมของเสตียรอยด์ อาจทาใหเ้ ป็นโรคตอ้ หิน ได้ 11. ไมค่ วรขยี้ตา เพราะอาจทาให้กระจกตาเปน็ แผล หรือตาติดเช้ือได้จากมอื สกปรก 12. ไมซ่ ื้อนา้ ยามาล้างตาเองโดยไม่จาเปน็ เพราะอาจเกิดภาวะตาแหง้ ระคายเคืองได้

การดมกลน่ิ การรับกลน่ิ เกิดระหว่างจมูกและสมองส่วนหน้าทส่ี ่งต่อสัญญาณไปยังสมองให้แปลข้อมลู วา่ เปน็ กลน่ิ อะไร หอมหรือเหม็น จมกู เปน็ อวยั วะรับสมั ผัสท่สี าคญั อย่างหนึง่ ของร่างกาย โดยทาหน้าที่รับกล่นิ ของสง่ิ ท่อี ยู่ รอบๆตัวเรา เชน่ กล่ินอาหาร กลน่ิ ดอกไม้ ฯลฯ นอกจากนี้ยงั เปน็ ทางผา่ นของอากาศที่เราหายใจอยู่ ตลอดเวลา โดยทาหนา้ ท่ีกรองอากาศ ปรับอณุ หภมู ิ และความช้ืนของ อากาศก่อนท่ีจะเข้าสปู่ อด คือ ถ้า อากาศเย็น จมูกจะปรบั ให้อุ่นขน้ึ ถ้าอากาศแห้งมาก จมูกจะใหอ้ ากาศ ซมุ่ ชื้น นอกจากนี้จมกู ยังชว่ ยใน การปรบั เสียงทเ่ี ราพดู ให้กังวานน่าฟังอีกด้วย การดูแลรักษาจมูก 1. รักษาจมูกให้สะอาดอยู่เสมอ หลกี เล่ียงการเข้าไปอยู่ท่ๆี มฝี นุ่ ละอองมากๆ 2. ไม่เขา้ ไปในบรเิ วณที่มีกลิ่นฉนุ เหมน็ หรือใสน่ ้าหอมกลน่ิ รนุ แรง เพราะทาให้ประสาทรบั กล่ิน เส่อื มลง 3. ไม่ใช้นิ้วหรือของอ่ืนๆ เชน่ ปากกา ดินสอ กระดาษ แหย่จมูกเล่น เพราะอาจทาให้จมูกอักเสบ หรอื เปน็ อันตรายได้ 4. ไม่ถอนขนจมูกหรอื ตัดให้ส้นั เพราะขนจมูกมปี ระโยชน์ในการกรองฝุ่นละออง เชอื้ โรค และส่งิ อ่ืนๆ ทีอ่ าจปนเขา้ มากับลมหายใจ ไม่ให้เข้าสชู่ อ่ งจมูกและปอดได้ 5. เวลาจามใหใ้ ชผ้ ้าเช็ดหน้าหรือกระดาษนมุ่ ๆ ปดิ ปากไว้ อย่าใชม้ อื บบี หรอื อุดจมกู ไว้จนแน่น 6. เวลาสง่ั น้ามูกใหใ้ ช้ผา้ เช็ดหน้าหรือกระดาษนุ่มๆ รอไวท้ ีจ่ มูก แล้วค่อยๆสั่งนา้ มูก โดยส่งั พรอ้ ม กันท้ังสองข้าง ไม่ควรใชม้ ือบบี จมกู แล้วจึงสง่ั นา้ มูก 7. เมือต้องการดมกล่ินของบางอย่าง เพ่ือที่จะทราบวา่ เป็นอะไร อย่าใช้จมูกจ่อจนใกล้แล้วสูด หายใจ เพราะอาจเปน็ อนั ตรายได้ เช่น การสูดดมสารเคมีบางชนิด ฉะนั้นจงึ ควรให้ จมกู อยู่ห่างของน้นั พอประมาณ แล้วใชม้ อื โบกใหก้ ล่ินโชยเขา้ จมูก โดยสูดกล่นิ เพียงเล็กนอ้ ย

8. เม่อื มีอาการผิดปกตเิ กิดขึ้นที่จมกู เชน่ คัดจมูก เลอื ดกาเดาไหล ปวดจมูกหรอื อื่นๆ ควรไปให้ แพทย์ตรวจรกั ษา

การได้ยิน หู เป็นอวัยวะรับเสียงของคนเรามีโครงสร้างและกลไกลในการทางานทมี่ ปี ระสิทธิภาพช่วยให้ สามารถรับฟังเสยี งที่มีความดังในระดบั ต่างๆ จากภายนอกผ่านแก้วหเู ข้าสู่หูช้นั ใน ทาให้เราได้ยนิ สียง รอบข้าง เม่อื หูเกดิ ความผดิ ปกติควรพบแพทย์ทันทเี พราะอาจนาไปสโู่ รคร้ายแรงได้ หูเป็นอวัยวะรบั สัมผัสที่ทาหนา้ ท่ีในการได้ยนิ เสียง หขู องคนแบ่งไดเ้ ปน็ 3 สว่ น คือ หสู ว่ นนอก หสู ่วนกลาง และหูสว่ น หสู ่วนนอก ประกอบด้วยใบหแู ละช่องหูซง่ึ นาไปสหู่ ูสว่ ยกลางใบหมู ีกระดูกออ่ นค้าจุนอยู่ ภายใน หูมตี อ่ มสรา้ งไขมาเคลือบไว้ทาใหผ้ นังช่องหูไม่แหง้ และป้องกันอันตรายไม้ให้แมลงและฝุ่นละอองเข่าสู่ ภายใน ต้านการติดเชื้อแบคทเี รยี และเช้ือราได้ เมอ่ื มีมากจะสะสมกลายเปน็ ข้ีหซู ่งึ จะหลดุ ออกมาเอง จึง ไมค่ วรใหช้ ่างตัดผมแคะหูให้ เพราะอาจเป็นอนั ตราย ทาให้เยื่อแกว้ หขู าดและกลายเป็นคนหูหนวก ตรง รอยต่อระหว่างหสู ว่ นนอกกับหสู ่วนกลาง มีเย่ือบางๆกน้ั อยเู่ รยี กวา่ เยื่อแกว้ หู (ear drum หรอื tympanic membrane) ซงึ่ สามารถส่ันได้เมือ่ ไดร้ บั คลน่ื เสียง เช่นเดียวกบั หนังหน้ากลองเม่ือถูกตีหูส่วน นอกจงึ ทาหนา้ ที่รบั คลนื่ เสยี งและเปน็ ช่องใหค้ ลื่นเสยี งผ่าน หสู ว่ นกลาง มลี ักษณะเป็นโพรง ติดต่อกบั โพรงจมูกและมที ่อติดตอ่ กับคอหอย ทอ่ นีเ้ รียกว่า ทอ่ ยสู เตเชยี น (Eustachian tube) ปกตทิ ่อนี้จะตบี แต่ในขณะเค้ียวหรอื กลนื อาหารทอ่ น้ีจะขยับเปิดเพื่อ ปรบั ความดนั 2 ด้านของเยอื่ แก้วหูให้เท่ากัน นอกจากน้ีเมอื่ ความดันอากาศภายนอกลดลงหรือสงู กว่า ความดนั ในหูส่วนกลางอย่างรวดเร็ว ความแตกต่างระหว่างความดันอากาศภายนอกและภายในหู ส่วนกลางอาจทาใหเ้ ยอื่ แก้วหูถูกดันใหโ้ ปง่ ออกไป หรือถูกดันเข้า ทาให้การส่นั และการนาเสียงของเยือ่ แกว้ หูลดลง เราจะรู้สึกว่าหูอือ้ หรอื ปวดหู จึงมีการปรับความดันในชอ่ งหูส่วนกลางโดยผ่านแรงดนั อากาศบางส่วนไปทางทอ่ ยูสเตเชียน นอกจากนี้ภายในหูส่วนกลางประกอบดว้ ยกระดูก 3 ชิน้ ได้แก่ กระดูกคอ้ น (milieus)กระดกู ทัง่ (incurs) และ กระดูกโกลน (stapes) ยึดกนั อยูเ่ มอ่ื มกี ารสั่นสะเทือน เกดิ ขน้ึ ทเ่ี ย่อื แก้วหูจะถ่ายทอดมายงั กระดูกคอ้ นและกระดูกท่งั ทาให้กระดูกหู 2 ชนิ้ นเ้ี คลอื่ นและเพิม่ แรงส่นั สะเทือนและสง่ แรงสั่นสะเทอื นนี้ต่อไปยังกระดกู โกลนเพอื่ เข่าสู่หูสว่ นในต่อไป คลน่ื เสียงทผ่ี ่านเข้า มาถึงหูสว่ นในจะขยายแอมพลจิ ดู ของคลืน่ เสยี งเพ่ิมจากหสู ่วนนอกประมาณ 22 เท่า

หูสว่ นใน (Middle ear) ประกอบดว้ ยประสาทที่เกย่ี วกบั การได้ยนิ และการทรงตัวของร่างกาย รวมเรียกว่า Labyrinth ซึง่ ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนที่เปน็ กระดกู (Osseous labyrinth) และส่วนที่ เป็นเน้อื เยอ่ื (Membranous labyrinth) โดยส่วนทเี่ ปน็ กระดกู ประกอบด้วย Vestibule cochlea และ Semicircular canals มสี ว่ นท่เี ป็นเนอ้ื เยอื่ อยู่ภายใน วิธกี ารดูแลสุขภาพหู ควรใช้ผ้าสะอาดชบุ น้าบิดหมาดเชด็ บรเิ วณใบหู และรูหูเทา่ ทน่ี ิ้วจะเชด็ ไปถงึ ไดเ้ ทา่ น้ัน สาหรบั ขี้ หู เป็นกลไกลธรรมชาติที่ช่วยใหค้ วามชุ่มชน้ื กบั ผิวในชอ่ งหู เป็นสง่ิ ท่ีรา่ งกายผลิตข้ึนโดยธรรมชาติ อาจจะ แห้งหรอื เปียก หากมีจานวนมากจะรว่ งหรือไหลออกมาเองไม่จาเปน็ ตอ้ งป่นั หรือแคะหู เม่ือเป็นหวัด เจ็บ คอ ไมค่ วรสัง่ น้ามูกแรงๆ หรอื อุดจมูกข้างใดข้างหน่ึงในขณะสั่งน้ามูกเพราะจะทาให้เชอื้ โรคในคอและ จมกู ดันเขา้ สู่หชู ้ันกลางทาให้เกิดการติดเชื้อ เป็นน้าหนวกได้ สว่ นผู้ทีม่ ีอาการของโรคหวัด ภูมแิ พ้ มักมีแนวโนม้ ทีจ่ ะเกิดโรคหูชั้นกลางอักเสบจากการติดเชือ้ แทรกซ้อนจึงควรหลีกเล่ียงสิ่งท่กี อ่ ให้เกิดอาการแพ้ ทานยาเพ่อื บรรเทาอาการของโรค ท่ีสาคัญควรดูแล สุขภาพให้แข็งแรง โดยการออกกาลังการอย่เู สมอ นอกจากนีค้ วร ระวงั อย่าให้หไู ด้รบั การกระทบกระแทกแรงๆ เชน่ การตบหดู ้วยมือทั้งสองข้าง เพราะจะทาใหเ้ ย่ือแกว้ หฉู ีกขาด หรือกระดูกหูหลุดจนเปน็ เหตใุ ห้การได้ยนิ ลดลง อีกทงั้ หลีกเล่ยี งการ ตะโกนหรอื ทาเสียงดงั ใส่กัน รวมท้ังเล่ยี งแหลง่ ทีม่ ีเสียงดังอึกทกึ เชน่ เสยี งเคร่ืองจักรในโรงงาน หาก หลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ควรใสเ่ ครื่องปอ้ งกนั เสยี ง และหากต้องทางานในท่ีทเี่ สียงดงั มากๆควรได้รบั การตรวจการ ไดย้ นิ ทุกๆ 6 เดอื น เสียง เปน็ คลน่ื กลทเี่ กิดจากการสัน่ สะเทือนของวัตถุ เมอ่ื วัตถเุ กิดการสนั่ สะเทอื น จะทาใหเ้ กิด การอัดตวั และขยายตวั ของคลื่นเสยี ง และถูกสง่ ผ่านตัวกลางทเี่ ป็นสสารอยู่ในสถานะ ก๊าซ ของเหลว ของแข็ง (คลื่นเสียงจะไมผ่ า่ นสุญญากาศ) ไปยงั หู ทาให้ได้ยินเสยี งเกดิ ข้ึน แหล่งกาเนิดเสยี งตามธรรมชาติ หมายถงึ แหลง่ กาเนิดเสียงทใ่ี ห้เสยี งทเ่ี กิดข้ึนเองโดย ธรรมชาติ เชน่ เสียงสัตว์ ต่างๆ หรอื เสยี งทเ่ี กิดจากปรากฏการณท์ างธรรมชาติหรือเสียงเสียดสีหรอื กระทบกันด้วยวิธีการเกิดเสียงหลายรปู แบบ เช่น เสียงนา้ ตก เสยี งคลน่ื กระทบฝงั่ เสียงสัตว์ร้อง เสยี ง ลม เสียงฟ้าร้อง ฟา้ ผ่า เป็นต้น เสียงฟา้ ร้อง ฟ้าผ่า เสยี งคลนื่ กระทบฝ่งั เสยี งสัตว์รอ้ ง

แหลง่ กาเนิดเสียงท่มี นษุ ยส์ ร้างขนึ้ หมายถึง แหล่งกาเนิดเสยี งท่ใี หเ้ สยี งทเี่ กิดขึ้นจากการ กระทาของมนุษยด์ ้วยวธิ ีการต่างๆ หรอื เกดิ จากการทากิจกรรมในหลายรูปแบบ เชน่ การดีด การสี การ ตี และการเปา่ ที่มนุษย์เปน็ ผ้กู ระทากับวตั ถนุ ัน้ จนทาให้วัตถนุ ้นั เกิดการสั่น เกิดเปน็ เสียงขน้ึ จนกลายเป็น แหล่งกาเนิดเสียงท่ีมนษุ ยส์ รา้ งข้นึ เสียงตบมอื เสยี งเคาะประตู เสยี งสีไวโอลนิ การชิมรส ลิ้น เปน็ กลา้ มเนือ้ ซง่ึ สามารถเคล่อื นไหวไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่วในหลายทศิ ทาง ทาหน้าทช่ี ว่ ยในการ กลืน และรบั สัมผัสรสชาตติ ่างๆ สามารถบอกความแตกต่างของรสชาตไิ ด้ เนอื่ งจากมปี มุ่ รับรสเลก็ ๆ มากมายกระจายอย่บู นล้นิ คือ รสหวาน อยู่บรเิ วณปลายลิน้ รสเค็ม อยบู่ รเิ วณปลายลน้ิ และข้างลน้ิ รสเปร้ียวอยูบ่ ริเวณข้างล้นิ รสขม อยบู่ รเิ วณโคนล้ิน

- รสหวาน ได้จาก นา้ ตาลต่างๆ น้าผึ้ง เคก้ ขนมหวานต่างๆ แตงโม ลาไย ฯลฯ - รสเค็ม ไดจ้ าก เกลือ นา้ ปลา ฯลฯ

- รสเปร้ียว ได้จาก มะนาว น้าสม้ สายชู ฯลฯ - รสขม ได้จาก มะระ บอระเพด็ ฯลฯ วิธีทาความสะอาดล้ิน 1. ใชอ้ ปุ กรณ์ทาความสะอาดล้ิน ไม้ขดู ลิ้น ท่ีทาจากพลาสติกรปู ตัว U โดยทาการใชไ้ มข้ ูดล้ิน ขูด จากโคนลนิ้ มาทางด้านหน้าของล้นิ ทาสกั 3-4 ครัง้ จะเห็นคราบอาหารตดิ ออกมา ทาวันละ 2 ครง้ั ต่อวัน ตอนเช้าตืน่ นอน และหลังอาหารเย็นกอ่ นนอน 2. กินกลีบกระเทยี มเลก็ น้อย เพื่อฆา่ เชอื้ แบคทเี รยี และเป็นการทาความสะอาดลน้ิ ของเรา 3. เมอื่ แปรงฟันให้หยอดเกลอื จานวนเล็กน้อยบนลน้ิ ของเรา แลว้ แปรงล้นิ ประมาณ 1 นาที จากนนั้ บว้ นปากด้วยน้าสะอาด โดยทาเชน่ น้ี 2 ครง้ั ต่อวนั 4. ปากแห้ง และการสญู เสียน้าของร่างกายกระต้นุ ให้เกิดลิ้นเปน็ ฝา้ ขาว การด่มื นา้ ใหเ้ พยี งพอ ระหว่างวนั จะชว่ ยหลีกเลย่ี งได้ 5. ทาความสะอาดฟนั และลนิ้ โดยใช้ไหมขัดฟัน ใชน้ ้ายาบว้ นปากฆ่าเช้ือโรคอยา่ งนอ้ ย 2 คร้ังต่อวนั 6. เลิกสูบบุหรี่ การสูบบหุ รท่ี าใหป้ ่มุ ของลิ้นอักเสบ และนาไปสกู่ ารสะสมของเซลล์ที่ตายแลว้ โดย สิ่งเหลา่ น้ีทาใหเ้ กดิ สิง่ แวดล้อมที่เหมาะสมในการเจรญิ เติบโตของแบคทเี รีย 7. หลกี เลยี่ งการด่ืมแอลกอฮอล์ แอลกอฮอล์มผี ลกระทบต่อลนิ้ ใน 2 ทางในเวลาเดยี วกนั มันทาให้ ป่มุ ของลน้ิ เกิดการอักเสบ และยังทาใหเ้ กดิ การสูญเสยี น้าในร่างกายอีกดว้ ย

การสมั ผสั การรบั สัมผัส หมายถงึ กระบวนการที่เกิดข้ึนกบั ร่างกายภายหลังเมื่อมีส่งิ เรา้ ตา่ งๆ ทาให้ รา่ งกายรสู้ ึกอย่างใดอย่างหน่งึ ขึน้ มา คนเรามีประสาทสัมผัสท้ังหา้ ดา้ น มอื และผวิ หนังเป็นประสารท สมั ผัสที่รบั รคู้ วามรู้สึก นมุ่ แข็ง เยน็ ร้อน เปียก และแหง้ ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook