Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore best ภาคีเครือข่าย1

best ภาคีเครือข่าย1

Published by นิภาพร พระคำสอน, 2021-04-23 08:56:41

Description: best ภาคีเครือข่าย1

Search

Read the Text Version

๑ Best Practices ภาคเี ครอื ขา่ ยดเี ดน่ โดย กศน.ตาบลชาตติ ระการ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอชาตติ ระการ สานกั งาน กศน. จงั หวดั พษิ ณโุ ลก

๒ -ก- คานา Best Practice เปน็ วธิ กี ารทางานทด่ี ที ่ีสุดในแต่ละเรอื่ ง ซ่งึ สามารถเกดิ ขึน้ ได้ในทุก หน่วยงาน จากหลาย ช่องทาง ทั้งตัวผู้นา ผู้ร่วมงาน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือภาวะปัญหา และการ ริเร่ิมสร้างสรรค์ พัฒนาท่ีมีข้ันตอน เมื่อมวี ิธีการทางานทด่ี ตี ้องทาผ่านการเล่าเรื่องที่เป็นการทางาน ของตนเองมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในลักษณะของ การแลกเปล่ียนข้ามสายงาน ข้ามหน่วยงานโดย เกิดข้ึนในระดับบุคคล ระดับกลุ่มคน และระดับหน่วยงาน ย่อย Best Practice ท่ีได้ควรมีการบันทึก เขียนรายงานเพื่อการศึกษาพัฒนา และเผยแพร่ได้ ซึ่งจะเกิด ประโยชน์อยา่ งยิ่ง กศน.ตาบลชาตติ ระการ ขอขอบคุณ ภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ที่ให้ความรู้ คาแนะนา และให้คาปรึกษาเป็นแนวทาง ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์สาหรับผู้นาไปใช้จัด กิจกรรมการเรยี นรู้ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพหากพบข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับ ไว้แก้ไข ปรับปรงุ ด้วยความขอบคณุ ยิง่ จัดทาโดย นางสาวนิภาพร พระคาสอน กศน.ตาบลชาตติ ระการ มีนาคม ๒๕๖๔

๓ -ข- สารบัญ เรือ่ ง หน้า ชื่อผลงาน ภาคเี ครือข่ายดเี ดน่ ๔ ๔ - ขอ้ มลู ท่วั ไป ๕ - ประเภทผลงานแนวปฏิบตั ทิ ่ีดี ตามภารกิจต่อเนื่อง ๕ - ชอ่ื หนว่ ยงาน/ สถานศึกษา/ ผเู้ สนอผลงาน ๕ - บทคัดย่อ ๕ - ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา (ความสาคญั ของผลงาน “แนว ๖ ปฏบิ ตั ทิ ่ีดี”) ๖ - วัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายของการดาเนินการ ๗ - กระบวนการดาเนินงาน ๗ - ผลการดาเนนิ งาน ๘ - ประโยชน์ที่ได้รับและการเผยแพร่ ๑๐ - กลยุทธห์ รือปจั จัยทท่ี าใหป้ ระสบความสาเร็จ ๑๐ - ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ๑๑ - การอา้ งองิ (ระบุแหล่งอ้างอิง เอกสารอ้างอิง ฯลฯ) ๒๐ - ภาคผนวก - คณะผ้จู ัดทา

๔ ชื่อผลงาน ภาคเี ครอื ข่ายดีเด่น ขอ้ มูลทั่วไป ๑. ช่ือ (นาย/นาง/นางสาว/ชนั้ ยศ)..........บวั ววิ .......................นามสกลุ .......ลาสม............................... อาย.ุ .............๕๐...............ปี ระดบั การศึกษา.........มัธยมศกึ ษาตอนปลาย.................................... ภมู ปิ ัญญา/ปราชญช์ าวบา้ น ดา้ น............หตั ถกรรม......................................................................... ๒. ทอี่ ยปู่ ัจจุบัน เลขท่ี.......๖๗/๑..........หมทู่ ี.่ ......๔..........ตาบล/แขวง..........ชาติตระการ.................. อาเภอ/เขต...........ชาตติ ระการ.............................จังหวัด.........พิษณโุ ลก....................................... โทรศัพท์.......................-...........................................โทรสาร...................-...................................... โทรศัพท์มือถอื .....๐๘๖-๒๐๓๐๐๖๗.......................E-mail………………-…………………………………… ๓. อาชีพ...........เกษตรกรรม................................................................................................................. สถานทท่ี างาน........ศูนยเ์ รยี นร้ไู รบ่ วั เงนิ เลขที่ ๔๖/๓ ม.๙.......................................................... ตาบล/แขวง...........ชาติตระการ...............................อาเภอ/เขต........ชาตติ ระการ......................... จงั หวดั ....................พษิ ณุโลก...................................โทรศัพท์............๐๘๖-๒๐๓๐๐๖๗................ โทรสาร........................-......................................... E-mail…………………-………………………..………. ๔. ประวัติผลงาน ท่ใี ห้สนับสนุนกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (โดยระบุชือ่ หน่วยงาน หรอื องค์กรท่ีท่านเข้าร่วมกิจกรรม) ๔.๑ กศน.ตาบลชาติตระการ กศน.อาเภอชาติตระการ จังหวดั พิษณโุ ลก ๔.๒ กศน.ตาบลบ่อภาค กศน.อาเภอชาติตระการ จังหวัดพษิ ณโุ ลก ๔.๓ สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพิษณโุ ลก ๔.๔ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จังหวดั พิษณุโลก ๔.๕ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลบ่อภาค อาเภอชาติตระการ จงั หวัดพษิ ณุโลก ๔.๖ สานกั งานจัดหางานจังหวดั พษิ ณุโลก ๔.๗ ศูนย์เรยี นรู้สตรีจงั หวัดพษิ ณโุ ลก ๔.๘ ศนู ยเ์ รยี นรู้การฝึกอาชพี สตรแี ละครอบครวั จังหวดั ลาปาง

๕ ๑. ประเภทผลงานแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดี ตามภารกิจตอ่ เน่อื ง - ประเภท ภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดีเดน่ ๒. ชื่อหน่วยงาน/ สถานศึกษา/ ผู้เสนอผลงาน กศน.ตาบลชาติตระการ หมบู่ ้าน นาจาน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จังหวัดพษิ ณุโลก รหัสไปรษณยี ์ ๖๕๑๗๐ สงั กัด กศน.อาเภอชาติตระการ สานกั งาน กศน.จงั หวดั พษิ ณโุ ลก โทรศพั ท์ ๐๕๕-๓๘๑๔๘๗ โทรสาร ๐๕๕-๓๘๑๔๘๗ ชอ่ื – ช่อื สกลุ ผเู้ สนอผลงาน นางสาวนิภาพร พระคาสอน โทรศพั ทม์ ือถือ ๐๙๙-๓๘๑-๙๗๓๕ E-mail [email protected] ๓. บทคดั ยอ่ ความรู้เช่ยี วชาญเฉพาะด้าน คอื องค์ความรูด้ ้าน................หตั ถกรรม................. องค์ความร้ภู มู ปิ ญั ญาท้องถ่ินการทอผ้าพืน้ เมืองถอื เปน็ ศิลปะและหัตถกรรมหรอื งานฝมี ืออย่าง หนึ่งของชมุ ชน การทอผ้าพื้นเมืองเปน็ ภมู ปิ ัญญาท่ีมมี าแต่โบราณ มีการสั่งสมองค์ความรู้ขึ้นมาจากประสบการณ์ ของชีวติ สงั คม และในสภาพแวดลอ้ ม ท่แี ตกต่างกนั และมีการถา่ ยทอดสืบต่อกนั มาเปน็ วฒั นธรรม จากคนรุน่ หนงึ่ ส่คู นอกี รนุ่ หนึ่ง ข้าพเจ้าในฐานะทเี่ ปน็ ผนู้ าชุมชน และเป็นผูท้ ี่มคี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณด์ า้ น การทอผา้ พ้ืนเมือง ซึ่งเปน็ เอกลักษณ์ของบา้ นนาจาน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาตติ ระการ จงั หวัดพิษณโุ ลก โดยได้รับการยกย่องเป็นปราชญ์ชาวบ้าน องคค์ วามรดู้ ้านการทอผา้ พืน้ เมือง จากหนว่ ยงานราชการตา่ งๆ เชน่ กศน.อาเภอชาตติ ระการ พัฒนาชุมชนอาเภอชาตติ ระการ เป็นต้น ๔. ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา (ความสาคญั ของผลงาน “แนวปฏิบตั ทิ ี่ดี”) ปัจจุบันนี้ไม่ค่อยมีลูกหลานหรือวัยรุ่นมาสืบทอดการทาการหัตถกรรมเพราะถือว่าเป็นเร่ืองท่ี ยุ่งยากและซับซ้อนหลายขั้นตอน อีกทั้งปัจจุบันยังมีสื่อและเทคโนโลยีเข้ามามากมาย จึงทาให้หาซ้ือขายและ ขนส่งกันได้ง่ายมาก จึงทาให้ไม่มีใครอยากจะมาฝกึ หดั การทางานฝมี ือตา่ งๆในชุมชน ทางด้านปราชญ์จึงสืบสานและพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ด้านการทอผ้าพ้ืนเมือง ท้ังจาก การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองผ่านช่องทางต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ องค์ความรู้ด้าน ทกั ษะการย้อมสี เทคนิคการทอผ้า และคิดค้นการทอผ้าลายใหม่ๆ ตลอดจนการอนุรักษ์ลายดั้งเดิมของชุมชนไว้ การค้นหาข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยี และการเข้าร่วมอบรมกับหน่วยงานราชการต่างๆ ท่ีจัดกิจกรรมให้ความรู้ เกี่ยวกบั การทอผ้า รวมถงึ การศึกษาหาแนวทางการพัฒนาต่อยอดผ้าทอ การวางแผนธุรกิจ มีการแปรรูปการทอ ผ้าพ้ืนเมืองเป็น การตัดเย็บเสื้อผ้าสาเร็จรูปแบบต่างๆ การแปรรูปจากผ้าขาวม้ามาตัดเย็บเป็นย่ามและการตัด เย็บกระเป๋าแฟชั่น เป็นต้น รวมถึงการนาผลิตภัณฑ์ต่างๆ ท่ีเกิดจากการต่อยอดพัฒนาองค์ความรู้ผ่านช่องทาง ตลาดนัดออนไลน์ของ อาเภอชาติตระการ และ OOCC ของ กศน.ตาบลชาติตระการ การค้นคว้าหาความรู้อยู่ เสมอสามารถนาความรู้ท่ีได้รับมาใช้ในการปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพ และ ตรงกับความตอ้ งการของตลาดได้มากขนึ้

๖ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอชาติตระการ จงึ ได้จัดทาการ คดั เลอื ก ภมู ปิ ัญญา/ปราชญ์ชาวบ้านดเี ด่นขนึ้ เพ่ือส่งเสรมิ ให้ปญั ญาชนรุ่นหลังได้รู้จกั และอยากสืบทอดดา้ น หตั ถกรรม อีกทง้ั ยังสามารถเรยี นรู้ดา้ นอาชพี เปน็ การฝกึ ทักษะพืน้ ฐานอาชีพ ซง่ึ เปน็ แนวทางการประกอบ อาชีพ ทาใหป้ ระชาชนมีรายไดเ้ สรมิ สามารถนาไปประกอบอาชีพให้กับตนเองและครอบครัวได้ ๕. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดาเนนิ การ ๕.1. วตั ถุประสงค์ของการดาเนินงาน 1) เพือ่ เป็นการอนุรักษ์และสืบสานวฒั นธรรมภูมิปญั ญาท้องถน่ิ 2) เพ่อื เปน็ การเพิ่มมลู ค่าใหก้ ับผลติ ภัณฑ์จากภูมิปญั ญาท้องถ่ิน 3) เพื่อสง่ เสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรว่ มกันของ กศน.อาเภอชาตติ ระการ ชุมชน และ ภมู ิปญั ญา/ปราชญ์ชาวบา้ น ๕.๒. เปา้ หมายของการดาเนินงาน การปลกุ จิตสานึกให้คนในท้องถ่นิ ตระหนักถงึ คณุ คา่ แก่นสารและความสาคัญของภมู ิปญั ญา ทอ้ งถนิ่ สง่ เสรมิ สนับสนุนกิจกรรมที่ร่วมอนุรักษภ์ ูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่นซ่ึงเปน็ เอกลักษณ์ของท้องถิ่น และการพัฒนา สร้างสรรคแ์ ละปรบั ปรงุ ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ใหเ้ หมาะสมกับยุคสมยั และเกิดประโยชน์ในการอาเนินชวี ิตประจาวัน โดยใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ เปน็ ฐานในการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ๖. กระบวนการดาเนนิ งาน ๖.๑. วิธดี าเนนิ การ 1. สารวจภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินในด้านตา่ ง ๆ ชองท้องถ่นิ ๒. การประสานความรว่ มมือระหว่างผ้นู าชมุ ชน ชาวบ้าน และภูมิปญั ญาในท้องถ่ิน ๓. การถอดองค์ความรู้ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ขอ้ มูลภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ประเภทตา่ ง ๆ ๔. ดาเนนิ การจัดทาข้อมลู สารสนเทศรปู แบบต่าง ๆ เพื่อประโยชนใ์ นการเผยแพร่และการใช้ ประโยชน์ ๕. ตดิ ตามและประเมินผลร่วมกบั หน่วยงานเครือข่ายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๖. สรุปและจดั ทารายงานผลการดาเนินงาน และเผยแพร่ไปยังหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ๖.๒. ตัวช้ีวดั ความสาเรจ็ 1. คนในชมุ ชนตระหนกั ถึงความสาคญั และเหน็ คุณค่าของภูมปิ ัญญาในท้องถน่ิ เพ่ิมขนึ้ 2. คนในชมุ ชนมกี ารอนุรักษ์และสบื สานวัฒนธรรมภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ และการเพ่ิมมลู ค่าใหก้ ับ ผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น 3. ขอ้ มูลสารสนเทศเก่ียวกับภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ทห่ี ลากหลายและเพ่ิมขึ้น

๗ ๖.๓. การประเมนิ ผลและเคร่ืองมือการประเมนิ ผล 1. ประเมนิ จากการถอดองค์ความร้ภู มู ิปัญญาในท้องถิ่นในด้านตา่ ง ๆ 2. ขอ้ มูลภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ และการเผยแพร่ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ในรปู แบบต่าง ๆ ๗. ผลการดาเนินงาน 7.1 ปราชญ์ได้มกี ารบริหารจัดการ พฒั นาความร้ดู ้านการทอผ้าของคนในชุมชน โดยการจัดตั้งกลมุ่ ทอ ผ้าขน้ึ ในหมู่บา้ นนาจาน เพอ่ื รวบรวมองค์ความรู้ด้านการทอผ้า การพฒั นาคน การพฒั นารูปแบบการทอผา้ ให้ เปน็ องค์กรแหง่ การเรยี นรูเ้ สรมิ สร้างศกั ยภาพในชมุ ชน สามารถนาภมู ปิ ัญญาพนื้ บา้ น มาใชใ้ นการแกป้ ญั หาและ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน ช่วยให้เกิดการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ในชมุ ชนสามารถยกระดบั ความรู้ก่อใหเ้ กิด การสรา้ ง ความรูใ้ หม่ สร้างงานได้ เพ่มิ คณุ คา่ ทางจิตใจ หากมีการจดั การความรู้ที่สนองตอบต่อความต้องการของ ชมุ ชนและเครอื ข่ายต่างๆ ในสังคมจะเป็นการสรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ เป็นชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ซึ่งเปน็ ฐานราก ทมี่ ่นั คงอันจะนาไปสู่ความเข้มแขง็ ทาง วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ข้ึนได้ในสังคมท้องถิ่น 7.2 การนาเทคโนโลยมี าใชพ้ ัฒนาองค์ความร้ดู า้ นการทอผา้ พืน้ เมือง ขา้ พเจ้าดาเนินการให้ลักษณะการ จัดเก็บข้อมูล องคค์ วามรู้ รูปแบบ ทักษะ เทคนคิ วิธีการต่างๆ ในการทอผ้าพืน้ เมืองให้เปน็ หมวดหมู่ เปน็ ระบบ ง่ายต่อการคน้ คว้าหาขอ้ มลู เพ่ิมเติม รวมถึงการคิดส่งิ ของเคร่ืองใชต้ ่างๆ เพ่อื ทาให้การเรยี นรู้การทอผา้ พน้ื เมือง เป็นไปได้ง่ายขึ้น มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านเครือข่ายสงั คมออนไลนผ์ ่าน Internet หรอื เรยี กว่า Social Network ผ่านชอ่ งทาง Facebook ในการประชาสมั พันธ์ข้อมลู ข่าวสาร กิจกรรม และผลติ ภัณฑผ์ า้ ทอของทาง กล่มุ อยา่ งต่อเน่ือง ๗.๓ ปราชญ์ได้รบั การสนบั สนุน และสง่ เสริมจากหนว่ ยงานภาครัฐ ซงึ่ มกี ารพัฒนาความรูจ้ ากองค์ ความรูภ้ ูมปิ ญั ญาพื้นบา้ นในด้านการทอผา้ พ้นื เมือง มกี ารพัฒนามาเป็นองค์ความรูเ้ ฉพาะกลมุ่ ความรูท้ ี่มี เอกลกั ษณ์ของกลมุ่ และมคี วามโดดเดน่ โดยการนาความรู้ด้ังเดิมท่มี ีมาใชใ้ นการทอผา้ พน้ื เมือง และพัฒนาวิธกี าร ทอ การย้อมผ้า การออกแบบลวดลายให้สอดคล้องกบั ยุคสมยั รวมถึงการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ผ้าทอเปน็ ผลิตภณั ฑ์ ตา่ งๆ เชน่ กระเป๋าจากผ้าทอพื้นเมือง เสือ้ จากผา้ ทอพื้นเมือง ของที่ระลึกจากผา้ ทอพ้นื เมอื ง เปน็ ต้น พร้อมทั้ง การจัดตง้ั กลุ่มเป็นศูนยเ์ รยี นรู้ชมุ ชนท่องเท่ียว OTOP นวตั วิถี ใชเ้ ป็นสถานทแี่ ลกเปลยี่ นเรียนรู้ของสมาชิกใน กลมุ่ แหล่งเรยี นรขู้ องชมุ ชนบ้านนาจาน ชมุ ชนตาบลข้างเคียง และแหลง่ ศกึ ษาดงู านของหน่วยงานต่างๆ เชน่ การใช้เปน็ สถานที่ศกึ ษาดงู านการฝกึ ประสบการณ์เรียนรู้ตามสภาพจริงผู้เข้ารบั การพฒั นาตามโครงการพัฒนา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหนง่ ผ้อู านวยการสถานศึกษาและรอง ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ณ กศน.อาเภอชาตติ ระการ นายยะฝาด สนั หมาน ๘. ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับและการเผยแพร่ ๘.๑. ประโยชน์ท่ไี ด้รับ ปราชญ์ได้รับการเชิญเปน็ วทิ ยากรถา่ ยทอดองค์ความร้เู กย่ี วกับการทอผ้าพื้นเมือง และการต่อ ยอดผลติ ภัณฑ์จากการแปรรูปผ้าทอ ท้ังผา้ ทอลายด้ังเดิม ผา้ ทอลายประยุกต์ ผา้ ขาวม้า มาเปน็ เส้อื กระโปรง กระเปา๋ ยา่ ม ตลอดจนการนาภมู ปิ ัญญาการจักสานมากประยุกต์กบั ลายการทอผ้าพัฒนาตอ่ ยอดใหค้ วามรู้ใน การทาตะกร้าและกระเปา๋ จากเส้นพลาสตกิ เป็นตน้ ดงั น้ี

๘ 1. วทิ ยากรสอนการตัดเย็บ ตาบลป่าแดง ของ กศน.อาเภอชาตติ ระการ 2. วทิ ยากรสอนการสานกระเปา๋ จากเสน้ พลาสติก ตาบลบอ่ ภาค 3. วิทยากรสอนการทอผา้ ขาวมา้ และตัดเย็บ ไร่บัวเงิน ตาบลชาตติ ระการ 4. วทิ ยากรสอนการทาไม้กวาดดอกหญ้า ตาบลบ่อภาค 5. วิทยากรสอนตัดเย็บ ไรบ่ ัวเงิน ตาบลชาตติ ระการ ๘.๒. การเผยแพร่ สอื่ ในการเผยแพร่องค์ความรู้ของปราชญ์คอื เปน็ ผูถ้ ่ายทอดองค์ความรู้ การสื่อสารด้วยคาพูด โดยตรง เนน้ การสาธิต และการฝกึ การปฏบิ ัตใิ ห้กับผู้รับบรกิ าร เพ่ือให้ได้รับความรทู้ ชี่ ัดเจนแน่นอน นอกจากส่ือ ที่ตัวตัวบคุ คลแล้ว ยงั มสี ถานท่ีฝกึ อบรมซ่งึ ขา้ พเจา้ ได้ดาเนินการจัดเปน็ หมวดหมใู่ นการให้บรกิ ารแตล่ ะกจิ กรรม เช่น หมวดหมู่ขององค์ความรู้ด้านการทอผา้ จะมีอุปกรณ์การทอผา้ ตง้ั แต่ข้นั ตอนแรกจนถึงขน้ั ตอนสดุ ทา้ ย หมวดหมู่ของการแปรรปู ผ้าทอ มุมตดั เย็บผลติ ภัณฑ์ จะมีการฝกึ สอนการออกแบบ การเขียนแบบ ข้นั ตอนการ ตัดเย็บ และการเผยแพร่องค์ความรู้ผา่ นชอ่ งทาง Internet ๙. กลยทุ ธห์ รือปัจจยั ทที่ าให้ประสบความสาเรจ็ การเปน็ แบบอย่างท่ดี ีของภูมิปัญญา/ปราชญ์ชาวบา้ น 1. มีแนวทางในการพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนเองของปราชญ์โดยการสะสมเป็นองค์ความรู้ ประสบการณ์ท่ีได้รับถ่ายทอดมา จากแนวความคดิ ทเ่ี ช่อื มน่ั วา่ คนในชมุ ชนคดิ เอง ทาเอง แก้ปัญหาเอง เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และส่ังสมมา เป็นเวลานาน ข้าพเจ้าได้หม่ันฝึกฝนและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นการเข้าร่วมการอบรมกับหน่วยงาน ต่างๆ และการเป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ด้านการทอผ้าพื้นเมือง การตัดเย็บเส้ือผ้า การตัดเย็บ กระเป๋า การสานเส้นพลาสติก เป็นต้น นอกจากน้ีข้าพเจ้ายังได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับเทคนิค ขั้นตอนต่างๆ ท่ีเก่ียวกบั การทอผ้า การตลาดผ่านทางชอ่ งทางสอื่ ออนไลน์ต่างๆ เพื่อเก็บรวบรวมเป็นองค์ความรู้ รกั ษา และสบื ทอดตอ่ ไป 2. มจี ติ อาสาทจ่ี ะเผยแพร่องคค์ วามรู้ ปราชญ์ในฐานะที่เป็นท้งั ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินดา้ นหัตถกรรมการทอผา้ พืน้ เมือง และในฐานะผู้นา ชมุ ชน (ผ้ใู หญ่บ้านหมทู่ ่ี 4 บา้ นนาจาน) ทาให้ข้าพเจ้าได้มีโอกาสในการเผยแพร่องค์ความรู้ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ให้กบั หน่วยงานราชการตา่ งๆ และชมุ ชนของตนเอง และชุมชนใกล้เคียง การทางานจติ อาสาในการเผยแพร่องค์ ความรใู้ หช้ ุมชนน้ัน เราสามารถปลกู จิตสานึกในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน และ ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนได้ จิตแหง่ การใหโ้ ดยเตม็ ใจสมัครใจอิม่ ใจ ซาบซึง้ ใจ ปตี สิ ขุ ทพี่ รอ้ มจะเสยี สละเวลา แรงกาย แรงสติปัญญา เพื่อสาธารณประโยชนใ์ นการทากจิ กรรมหรอื สิง่ ที่เป็นประโยชนแ์ ก่ผอู้ ่นื โดยไมห่ วงั ผลตอบแทน และมีความสุขท่ีไดช้ ่วยเหลอื ผ้อู ่ืน การสง่ เสรมิ องค์ความรดู้ า้ นการทอผ้า การต่อยอดอาชพี การต่อ

๙ ยอดความรู้เรื่องการตัดเยบ็ ในการหนา้ กากอนามัยแบบผา้ มาช่วยแก้ปญั หาเร่ืองสุขภาพอนามยั ของคนในชุมชน เชน่ การเกิดโรคระบาดโควิด-19 ถอื ว่าเปน็ การส่งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ของคนในชุมชน 3. มีเครือข่ายมาร่วมในการจดั การเรียนรู้ ปราชญ์มีโอกาสท่ีได้ร่วมงานกับหน่วยงานภาคท้ังในอาเภอชาติตระการ ในจังหวัดพิษณุโลก และหน่วยงานจากต่างจังหวัด ในการสนับสนุนส่งเสริมงบประมาณในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้การทอ ผ้าพนื้ เมอื ง การแปรรปู ผลิตภณั ฑจ์ ากผ้าทอพ้ืนเมอื ง ผ้าขาวมา้ เป็นเสือ้ กระเป๋ารูปแบบต่างๆ และการสานต่อ ศิลปหัตถกรรม ดังน้ี ๑) องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลชาติตระการ ๒) สานกั งานจดั หางาน จงั หวดั พิษณุโลก ๓) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอชาติตระการ ๔) องค์การบริหารส่วนตาบลบ่อภาค ๕) สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอชาติตระการ ๖) ศนู ยเ์ รยี นรกู้ ารฝึกอาชพี สตรแี ละครอบครัว จงั หวดั ลาปาง ๗) ศูนย์เรยี นรู้สตรี จังหวดั พษิ ณโุ ลก 4. มผี ลงานเปน็ ที่ยอมรับ/เป็นท่ศี กึ ษาดูงาน การพฒั นาองค์ความรูใ้ หเ้ ป็นทีย่ อมรับให้มีประสิทธภิ าพให้กับผูท้ ่ศี ึกษาเรยี นรู้ ผู้รบั บรกิ าร ให้มี ทกั ษะ มคี วามรู้ และมีการขยายขอบเขตความรู้ความสามารถอยา่ งต่อเนื่อง โดยการถ่ายทอดความรูใ้ หค้ นใน กลมุ่ ก่อน แล้วตอ่ ยอดไปในชมุ ชน ส่งผลทาให้เกดิ กระบวนการเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนื่อง สมาชิกในกลุ่มเกิดการ ยอมรบั ความคิดใหมๆ่ และแบง่ ปนั พรอ้ มท้งั การสร้างองค์ความรรู้ ูปแบบต่างๆ เปน็ การสร้างต้นทุนทม่ี ีความ คุ้มค่าใหก้ บั ชุมชน ชุมชนเตม็ เปี่ยมไปด้วยทนุ ความรู้ และเป็นทศี่ กึ ษาดงู านให้กับหน่วยงานตา่ งๆ และบุคคลที่มี ความสนใจได้ การพัฒนาความรขู้ องสมาชิกในกลมุ่ สรา้ งองค์ความรู้แห่งความสุข ทาให้การศึกษาดูงานมี ประสทิ ธิภาพบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของการพัฒนาบุคลากร และองคก์ รแหง่ ความสขุ ไปพร้อมๆ กนั ในการศึกษา เรยี นรูแ้ บบพอเพยี ง และสงั คมนา่ อยคู่ ู่องค์ความรู้นา่ รักษา - มผี ลงานเป็นท่ยี อมรับ คอื ได้รับเกียรตบิ ัตร เพื่อแสดงวา่ บ้านนาจาน หมู่ ๔ ตาบลชาติ ตระการ อาเภอชาติตระการ จังหวดั พษิ ณโุ ลก ได้พฒั นาตนเองตามระบบมาตรฐานงานชมุ ชน (มชช.) ประเภทชุมชน โดยสามารถเรยี นรู้พัฒนาชุมชนตามระบบมาตรฐานการพัฒนาชมุ ชน และผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ผล - เปน็ ท่ศี ึกษาดงู าน o นักเรียนโรงเรียนชาติตระการวิทยา O การใช้เปน็ สถานทศี่ กึ ษาดงู านการฝกึ ประสบการณ์เรียนร้ตู ามสภาพจรงิ ผู้เข้ารับการ พฒั นาตามโครงการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารง ตาแหนง่ ผู้อานวยการสถานศึกษาและรองผู้อานวยการสถานศกึ ษา ณ กศน.อาเภอชาติตระการ นายยะฝาด สันหมาน

๑๐ 5. มีผ้เู รียนนาองคค์ วามรไู้ ปปฏบิ ตั ิ ปราชญ์มโี อกาสในการเป็นวิทยากรในการให้ความรู้ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น กศน. อาเภอชาตติ ระการ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลชาตติ ระการ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลบ่อภาค สานักงานพัฒนา ชุมชนอาเภอชาติตระการ ศูนย์เรียนรู้สตรี จังหวัดพิษณุโลก สานักงานจัดหางาน จังหวัดพิษณุโลก และศูนย์ เรียนรู้การฝึกอาชีพสตรีและครอบครัว จังหวัดลาปาง ซึ่งผู้เรียนสามารถนาองค์ความรู้ท่ีได้รับไปปฏิบัติต่อยอด อาชพี ของตนเองได้ จึงขอยกตัวอยา่ งดังนี้ 1) นางใคร โคกน้อย บ้านเลขท่ี ๒๖/๑ หมู่ ๔ บ้านนาจาน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติ ตระการ จงั หวัดพิษณโุ ลก (การทอผ้า) 2) นางลิขิต ยาจาปา บ้านเลขท่ี ๙/๑ หมู่ ๔ บ้านนาจาน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติ ตระการ จงั หวดั พิษณุโลก (การทอผา้ ) 3) นางแบน ภัยวงค์ ๖๘/๑ หมู่ ๔ บ้านนาจาน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จงั หวดั พษิ ณุโลก (การทอผ้า) 4) นางลาไพร มาพันนะ บา้ นเลขที่ ๓๖ หมู่ ๔ บ้านนาจาน ตาบลชาตติ ระการ อาเภอชาติ ตระการ จังหวัดพษิ ณุโลก (การตัดเยบ็ ) 5) นางสาวณฐกานต์ ทาสีดา ๑๒๖ หมู่ ๑ บ้านนาตอน ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติ ตระการ จงั หวดั พิษณโุ ลก (ตดั เย็บ/สานกระเป๋าจากเสน้ พลาสตกิ ) ๑๐. ปญั หาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ ปญั หาอปุ สรรค การอนุรักษ์ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นยังอยูเ่ ฉพาะในกลมุ่ ผูส้ ูงอายุ ต้องสร้างความตระหนักให้เด็กและเยาวชนได้ เหน็ คุณค่าของการอนรุ กั ษ์ภูมิปัญญาท้องถ่ินเพ่ิมมากขึน้ ขอ้ เสนอแนะ การจัดองค์ความรู้ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นทีเ่ ปน็ เอกลักษณใ์ นชมุ ชนให้มีการเผยแพร่ทหี่ ลากหลายช่องทาง และการสง่ เสรมิ สนบั สนุนการแปรรูปผลิตภณั ฑ์ในชมุ ชนให้ตรงตามความต้องการของยุคสมัยทเี่ ปลี่ยนไป ๑๑. การอ้างอิง (ระบุแหล่งอ้างอิง เอกสารอ้างอิง ฯลฯ) เอกสารประกอบการอบรม แนวทางการนาเสนอแนวปฏบิ ตั ทิ ่ดี ี (Best Practice) สถาบันพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยภาคเหนือ สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

๑๑ ๑๒. ภาคผนวก

๑๒ ได้รับการยกยอ่ งเปน็ ปราชญ์ชาวบ้าน องค์ความร้ดู ้านการทอผ้าพืน้ เมือง ศนู ย์เรยี นรู้ดา้ นการทอผา้ พืน้ เมือง การจดั แสดงสินค้าของกลุ่มทอผา้ เป็นวิทยากรการทากระเป๋าจากเส้นพลาสติก

๑๓ เป็นวทิ ยากรการทาตะกรา้ จากเส้นพลาสติก เป็นอาสาสมัครการทาหน้ากากอนามยั รว่ มประชมุ และถอดองค์ความรู้ ด้านการทอผา้ รว่ มกับหน่วยงานตา่ งๆ ร่วมงานถนนสายวัฒนธรรมวิถชี ุมชนคนพิษณุโลก

๑๔ กลมุ่ เปน็ ศูนย์เรียนรูช้ ุมชนท่องเท่ียว OTOP นวัตวถิ ี และใช้เป็นสถานท่ีแลกเปล่ยี นเรียนรูข้ องสมาชิกในกล่มุ

๑๕ การใชเ้ ปน็ สถานที่ศกึ ษาดงู านการฝกึ ประสบการณเ์ รียนรู้ตามสภาพจรงิ ผูเ้ ข้ารับการพฒั นาตาม โครงการพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้ังให้ดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการ สถานศึกษาและรองผู้อานวยการสถานศึกษา ณ กศน.อาเภอชาตติ ระการ นายยะฝาด สนั หมาน วทิ ยากรสอนการตดั เยบ็ ตาบลปา่ แดง ของ กศน.อาเภอชาติตระการ

๑๖ วทิ ยากรสอนการสานกระเป๋าจากเส้นพลาสตกิ ตาบลบ่อภาค วทิ ยากรสอนการทอผ้าขาวมา้ และตัดเย็บ ไรบ่ วั เงนิ ตาบลชาตติ ระการ

๑๗ วิทยากรสอนการทาไมก้ วาดดอกหญ้า ตาบลบ่อภาค วทิ ยากรสอนตัดเย็บ ไรบ่ วั เงิน ตาบลชาตติ ระการ

๑๘ มีเครือข่ายมารว่ มในการจัดการเรยี นรู้

๑๙ ผลงานเป็นท่ยี อมรับ เปน็ ที่ศกึ ษาดงู าน

๒๐ คณะทางาน ท่ีปรกึ ษา กันตง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอชาติตระการ ๑. นางพรสวรรค์ ภาศรี ครู ๒. นายรุ้งภธู ร ลว้ นมงคล ครผู ้ชู ว่ ย ๓. นางสาวชมพูนุช บญุ ประกอบ ครอู าสาสมัครฯ ๔. นางสาวประยูร คณะทางาน พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาติตระการ ๑. นางสาวนภิ าพร ยศปญั ญา ครอู าสาสมัครฯ ๒. นางสาวภาณมุ าศ ผู้เรยี บเรียง/จัดพิมพ์รปู เล่ม/ออกแบบปก นางสาวนิภาพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาติตระการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook