Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษา2564

คู่มือนักศึกษา2564

Published by tamcomed50, 2021-05-12 08:12:37

Description: คู่มือนักศึกษา2564

Search

Read the Text Version

ปกี ารศึกษา 2564 คู่มอื นกั ศึกษา วทิ ยาลยั เทคโนโลยีบางปะกงบริหารธรุ กจิ www.bbc-bangpakong.ac.th + วทิ ยาลยั ฯดี ใกล้บา้ น บรรยากาศการเรียนทีอ่ บอุน่ คณุ ภาพดี เป็นทย่ี อมรบั ... ตอ้ งเรียนท่ี

คำนำ วทิ ยาลยั เทคโนโลยบี างปะกงบริหารธุรกิจ เปิดรบั นักศึกษาใหม่ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ เขา้ เรียนในหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ และหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชา การบัญชี สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และ สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทลั เพื่อช้ีแจงแนวทางและขอความร่วมมือในการจัดการศึกษาให้ลุล่วง เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษา โดยตรง ในการจัดกจิ กรรมปฐมนิเทศนักศกึ ษาใหม่ ประจาปี ๒๕๖๔ น้ี วิทยาลัย ฯ ไดจ้ ดั ทาเอกสาร คูม่ อื นกั ศกึ ษาวทิ ยาลยั เทคโนโลยบี างปะกงบริหารธุรกิจขึ้น เพื่อมอบใหน้ ักศกึ ษาใหม่ทกุ คน ไดเ้ ก็บ ไว้ใช้ศึกษารายละเอียดการเรียน การประพฤติปฏิบัติ เป็นคู่มือประจาตัว จนกว่าจะจบการศึกษา ในโอกาสตอ่ ไป วทิ ยาลยั เทคโนโลยีบางปะกงบรหิ ารธรุ กิจ

สำรบญั หนำ้ ข้อมลู ท่วั ไป ๑ ผ้บู รหิ ำร ๓ กำรจัดกำรศึกษำภำยในวิทยำลัย กำหนดกำรเปิด – ปิดภำคเรียน ๔ กำรปฏบิ ตั ิตนเพอื่ รกั ษำสิทธแิ ละประโยชน์ทำงกำรเรยี น ๕ กำรวดั ผลกำรศกึ ษำ ๖ วธิ กี ำรประเมนิ ผลกำรเรยี น ๖ กำรติดต่อรบั หลักฐำนผลกำรเรยี น ๗ กำรขอเปลี่ยนแปลงหลกั ฐำน ๘ กำรขอพกั กำรเรียน ๘ คำช้ีแจงภำพถำ่ ยตดิ หลกั ฐำนที่ตอ้ งกำร 9 ด้ำนวิชำกำร โครงสร้ำงหลกั สูตรประกำศนียบตั รวิชำชีพ ๑๐ โครงสร้ำงหลกั สูตรประกำศนยี บัตรวิชำชีพช้ันสูง ๑๑ ด้ำนกำรพัฒนำกจิ กำรนักศกึ ษำ มำตรฐำนคณุ ภำพนกั ศึกษำ ๑๒ แนวปฏบิ ัติในกำรเป็นนกั ศกึ ษำทีด่ ี ๑๓ ระเบียบปฏบิ ตั ทิ ่ัวไป ๑๔ กำรขำดเรยี น ๑๕ กำรขออนุญำตออกนอกบริเวณวทิ ยำลยั ฯ ๑๖ กำรแสดงควำมเคำรพ ๑๖ กำรใช้ยำนพำหนะท้ังภำยในและภำยนอกบริเวณวทิ ยำลัย ฯ ๑๗ ระเบยี บกำรพกพำโทรศัพท์เคลื่อนท่ี (สมำรท์ โฟน) ในวิทยำลัย ฯ 18 ดำ้ นธรุ กำรและกำรเงิน กำรลงทะเบียนนกั ศกึ ษำ ๒๐ โครงกำรประกนั อุบัตเิ หตุสำหรบั นักศกึ ษำ ๒๑ กำรกูย้ มื กองทนุ ใหก้ ูย้ มื เพื่อกำรศกึ ษำ (กยศ.) ๒๒ เบอรโ์ ทรศพั ท์ตดิ ตอ่ วิทยำลยั บำงปะกงบริหำรธุรกิจ 25 ภำคผนวก ระเบยี บเคร่อื งแตง่ กำยนกั ศกึ ษำวิทยำลัยเทคโนโลยบี ำงปะกงบรหิ ำรธรุ กิจ ๒๖

ห น้ า | 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไป ชื่อสถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยบี างปะกงบรหิ ารธรุ กิจ Bangpakong Business Administration Technological College แก้วเจ้าจอม ตราสัญลกั ษณ์ ต้นไม้ประจาวทิ ยาลัย ฯ จอม พระพทุ ธรูปประจาวทิ ยาลยั ฯ อักษรย่อ วทบ. ปรัชญา “สรา้ งคนดี มคี วามรู้ สู่สงั คม” วสิ ยั ทัศน์ “มุง่ ผลติ ผ้เู รยี นใหม้ ีคุณลกั ษณะทดี่ ี มคี วามรู้และทักษะทางอาชพี กา้ วสู่ประชาคมอาเซียน” เอกลักษณ์ “ทกั ษะวชิ าชพี ดี มีคณุ ธรรม” อัตลักษณ์ “มที ักษะ พร้อมรับใชส้ งั คม” สีประจาโรงเรียน สฟี ้า หมายถงึ คนมีความรู้ สีสม้ หมายถงึ คนดี ประพฤตดิ ี มีคุณธรรม มมี ารยาท ความเปน็ มาของโรงเรยี น วทิ ยาลยั เทคโนโลยีบางปะกงบริหารธุรกจิ จดั ตัง้ เปน็ สถานศกึ ษาเมอื่ พ.ศ. 2540 ชอื่ โรงเรยี น บางปะกงบริหารธุรกิจ เปิดสอนระดับ ปวช. พาณิชยกรรม สาขาบัญชี การขาย คอมพิวเตอร์ธุรกิจ พ.ศ. 2554 เปลย่ี นเป็นวิทยาลัยเทคโนโลยบี างปะกงบรหิ ารธุรกิจ สถานทตี่ ง้ั โรงเรียน เลขท่ี 1/425 หมู่ 14 ซอย 7/3 ถนน จรัลยานนท์ ตาบลบางววั อาเภอบางปะกง จังหวัด ฉะเชงิ เทรา รหัสไปรษณีย์ 241๓0 โทรศัพท์ 038 – 538 - 809 , ๐๘๐ – ๒๐๙ – ๙๐๓๓ โทรสาร 038 – 53๘ – 8๑๐ รหัสสถานศึกษา 1324100028 สังกัดสานกั งาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา สภาพภูมศิ าสตร์ และชุมชน .................................................................................................................... เป็นพื้นที่ราบลุ่มแม่น้าบางปะกง อยู่ในอาณาเขตของหมู่บ้านบูรพาซิต้ี ตาบลบางวัว อาเภอ บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา วิทยาลัยเทคโนโลยีบางปะกงบริหารธุรกิจ ตั้งอยู่ในหมู่บ้านบูรพาซิต้ี เขตเทศบาลบางวัวคณารักษ์ อาเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ห่างจากตัวจังหวัด ประมาณ 22 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 45 กิโลเมตร ลักษณะชุมชนเป็นชุมชนเมือง และ นิคมอุตสาหกรรม ลักษณะประชากร ประกอบอาชีพ รับจ้าง มีสานักงานท่ีดิน บริษัท ร้านค้าปลีก ใหญ่ – เล็ก วิทยาลัยมีสัมพันธ์อันดีกับชุมชนในความรว่ มมือจัดกจิ กรรมต่าง ๆ เช่น ให้ชุมชนเข้ามาใช้ สถานท่ีสาหรับจัดการประชุมวันขึ้นปีใหม่ แห่เทียนพรรษา วันเฉลิมพระชนมพรรษา การรณรงค์ ตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ การรณรงค์เลอื กต้งั และใช้เปน็ สถานท่ีในการเลือกตง้ั ระดบั ต่าง ๆ

ห น้ า | 2 เขตพ้นื ท่ีบริการ จงั หวดั ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ชลบุรี กรุงเทพมหานคร และจงั หวัดในภมู ิภาค หรือตา่ ง ภูมิภาค ไม่จากัดพ้นื ท่ี การคมนาคม รถประจาทาง สายฉะเชงิ เทรา กรงุ เทพ (บางนา-ตราด) ฉะเชงิ เทรา-ชลบุรี รถสองแถวสายสนั้ ในทอ้ งถิ่น รถจักรยานยนต์รบั จ้างในท้องถิน่ ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนิกส์ [email protected] การสื่อสารทางสังคมออนไลน์ www.facebook.com/bbc.bangpakong เวบ็ ไซตว์ ิทยาลัย ฯ http://www.bbc-bangpakong.ac.th/ เว็บไซต์ | ตารางเรียน / ข่าวสาร ฯลฯ

ห น้ า | 3 ผบู้ ริหาร ตาแหน่ง - ชอ่ื - สกุล คุณวฒุ ิสงู สดุ สาขาวิชา/วิชาเอก ขอ้ มูลการดารงตาแหนง่ ปริญญาเอก 1) ผรู้ ับใบอนญุ าต การเมืองการปกครอง ตง้ั แต่ 27 กนั ยายน พ.ศ. 2542 นายวรศกั ด์ิ วัชรกาธร (D.P.A.) (Public Administration) ถึงปจั จบุ นั ปริญญาเอก 2) ผู้จัดการ การเมืองการปกครอง ตง้ั แต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 นางโสภี วัชรกาธร (D.P.A.) (Public Administration) ถึงปจั จบุ นั ปริญญาเอก ต้ังแต่ ๑ สงิ หาคม พ.ศ. 2557 3) ผ้อู านวยการ Administration ถึงปัจจบุ นั นางสาวกรองแกว้ เตก๊ สงวน ( Ph.D.) of Education ตง้ั แต่ ๑ สิงหาคม พ.ศ. 2557 ปริญญาเอก ถงึ ปัจจบุ นั 4) รองผู้อานวยการ dministration ฝ่ายธุรการและการเงนิ ( Ph.D.) of Education ตง้ั แต่ 1 เมษายน พ.ศ. 2558 ถึง นายวงศกร วชั รกาธร ปัจจบุ ัน ปริญญาโท วทิ ยาศาสตร์ศึกษา 5) รองผ้อู านวยการ ฝ่ายวชิ าการ นางสาวภาณี มณีชม

ห น้ า | 4 การจัดการศกึ ษาภายในวทิ ยาลยั เปดิ ทาการสอน โดยใชห้ ลักสูตรของกรมอาชวี ศึกษา 2 ระดับชนั้ คือ 1. ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) หลกั สูตร 3 ปี รบั ผู้จบ ม.3 หรอื เทียบเทา่ เข้าศึกษา ตอ่ ในสาขาวิชาพณิชยการ สาขางานต่างๆ ดังนี้  สาขางานการบญั ชี  สาขางานการตลาด  สาขางานคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ 2. ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สูง (ปวส.) หลักสตู ร 2 ปี รับผู้จบปวช. และ ม.6 หรอื เทียบเท่าเข้าศกึ ษาตอ่ ในสาขาวิชาต่างๆ ดังนี้  สาขาวิชาการบญั ชี  สาขาวชิ าการตลาด  สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจิทัล กาหนดการเปดิ – ปิดภาคเรียน รอบเช้า ระดบั ปวช. และปวส. เรียนวนั จนั ทร์ – วันศกุ ร์ ระหว่างเวลา 8.30 – 15.30 นาฬิกา โดยจัดการเรยี นดังนี้ ระดับปวช. - ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น พ.ค. – ต.ค. - ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรยี น พ.ย. – มี.ค. - ภาคฤดรู อ้ น เวลาเรยี น เม.ย. – พ.ค. รอบพิเศษ ระดับปวช. และปวส. เรยี นวนั อาทติ ย์ ระหวา่ งเวลา 8.30 – 16.20 นาฬิกา โดยแบง่ การเรยี นดังน้ี ระดบั ปวช. - ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน พ.ค. – ก.ย. - ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน พ.ย. – ก.พ. - ภาคเรียนที่ 3 เวลาเรยี น มี.ค. – พ.ค. - ภาคเรียนที่ 4 เวลาเรยี น พ.ค. – ก.ย. - ภาคเรยี นท่ี 5 เวลาเรียน พ.ย. – ก.พ. - ภาคเรียนที่ 6 เวลาเรยี น มี.ค. – พ.ค. - ภาคเรียนที่ 7 เวลาเรียน มิ.ย. – ก.ย. - ภาคเรยี นที่ 8 เวลาเรยี น พ.ย. – ก.พ.

ห น้ า | 5 ระดับ ปวส. ( จบ ปวช.) - ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น พ.ค. – ก.ย. - ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรียน พ.ย. – ก.พ. - ภาคเรียนท่ี 3 เวลาเรียน มี.ค. – พ.ค. - ภาคเรยี นที่ 4 เวลาเรียน พ.ค. – ก.ย. - ภาคเรยี นท่ี 5 เวลาเรยี น พ.ย. – ก.พ. ระดบั ปวส. ( จบ ม.6) - ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น พ.ค. – ก.ย. - ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน พ.ย. – ก.พ. - ภาคเรียนท่ี 3 เวลาเรยี น มี.ค. – พ.ค. - ภาคเรยี นที่ 4 เวลาเรียน พ.ค. – ก.ย. - ภาคเรียนที่ 5 เวลาเรยี น พ.ย. – ก.พ. - ภาคเรียนที่ 6 เวลาเรียน มี.ค. – พ.ค. ทั้งนี้ การเปิด – ปิดภาคเรยี น จะมกี ารกาหนดวันท่ี โดยทางวิทยาลยั ฯ จะประกาศให้ทราบ ล่วงหนา้ การปฏิบัติตนเพอื่ รกั ษาสิทธแิ ละประโยชน์ทางการเรียน 1. นักศกึ ษาทกุ คนจะมีอาจารย์ทีป่ รกึ ษาเพือ่ ดแู ลและให้คาปรึกษาแนะนาตลอดหลักสูตร 2. นกั ศึกษาใชบ้ ริการจากห้องสมดุ โดยปฏิบตั ิตนตามระเบยี บของการใชห้ อ้ งสมดุ 3. นกั ศึกษาใชบ้ รกิ ารจากหอ้ งพยาบาล โดยปฏบิ ัติตนตามระเบยี บของการใชห้ ้องพยาบาล 4. คุณสมบตั ขิ องนกั ศกึ ษา ที่มสี ิทธิเข้าสอบปลายภาคเรียน - มีเวลาเรียนไมน่ ้อยกว่า 80% ของแต่ละรายวิชา - ไม่ค้างชาระค่าธรรมเนียมการเรียน ค่ากิจกรรมต่างๆ หรือการส่งหนังสือคืน ห้องสมุด - มีบตั รประจาตวั นักศกึ ษาและบตั รเข้าห้องสอบ - แต่งกายถกู ระเบียบของวิทยาลัย ฯ - เข้าห้องสอบตรงเวลาหรือช้าได้ไม่เกิน 15 นาทีของเวลาสอบในรายวิชาน้ัน หาก เข้าห้องสอบไม่ทัน ต้องได้รับอนุญาตจากผู้บริหาร มิฉะนั้นผลการเรียนในรายวิชาน้ันจะถูกปรับเป็น “ม.ส.” 5. ในวันประกาศผลการเรียน นักศึกษาต้องมาฟังผลการเรียนด้วยตนเอง หากมีรายวิชาใดท่ี ติด “ม.ส.” ให้ย่ืนคาร้องขอแก้ “ม.ส.” (หากไม่มาฟังผลสอบอาจหมดสิทธ์ิยื่นคาร้องขอแก้ “ม.ส.”) นักศึกษาที่ติด “ม.ส.” ให้ยื่นคาร้องขอแก้ “ม.ส.” ให้เสร็จภายใน 10 วัน นับจากวันประกาศผลการ สอบ ถ้าไม่ย่ืนคาร้องขอแก้“ม.ส.”ภายใน 10 วัน นักศึกษาต้องเสียค่าหนว่ ยกิตละ 250 บาท ต่อ 1 หน่วยการเรียน และต้องดาเนินการแก้ไขก่อนเปิดภาคเรียน โดยตัดสินผลการเรียนในรายวิชาน้ัน ตามปกติ สาหรับนักศึกษาภาคพิเศษ ฝ่ายวิชาการจะดาเนินการประกาศผลการเรียนที่บอร์ดฝ่าย วิชาการ หากนกั ศกึ ษาท่ีมีรายวชิ าใด ทีต่ ิด “ม.ส.” ใหน้ ักศกึ ษาที่ติด “ม.ส.” ให้ย่ืนคารอ้ งขอแก้ “ม.ส.” ให้เสร็จภายใน 2 สัปดาห์ (ในวันและเวลาราชการ) ถ้าไม่ย่ืนคาร้องขอแก้“ม.ส.”ภายใน 2 สัปดาห์ นกั ศึกษาตอ้ งเสียค่าหนว่ ยกิตละ 250 บาท ตอ่ 1 หน่วยการเรียน

ห น้ า | 6 6. ในแต่ละปีการศึกษา ถ้านักศึกษาไม่เข้าร่วมกิจกรรมตามทาวิทยาลัย ฯ กาหนดและ นักศกึ ษาไมผ่ ่านกิจกรรมในแต่ละปีการศึกษา นกั ศกึ ษาต้องชาระคา่ หนว่ ยกิต 3 หน่วยกิต (750 บาท) ในการซ่อมวชิ ากิจกรรมในปกี ารศกึ ษานั้น ๆ 7. ในการเรียนแต่ละปีการศึกษา มีท้ังหมด 3 เทอม ถ้านักศึกษาไม่สามารถมาเรียนได้ ต้อง รกั ษาสภาพการเปน็ นักศึกษา “เทอมละ 500 บาท ตอ่ 1 ภาคเรียน” การวดั ผลการศึกษา การวัดผลและประเมินผลหลักสูตรของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพทุกระดับ ถือการเข้า เรียนสม่าเสมอ เป็นเรอ่ื งสาคัญ นกั ศึกษาจะตอ้ งมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 80% เวลาเรยี น 18 สปั ดาห์ ตอ่ 1 ภาคเรยี น กาหนดเวลาเรยี น 80% ดังน้ี เวลาเรียน คาบ/สัปดาห์ เวลาเต็ม(คาบ) เวลา 80% (คาบ) มีสทิ ธขิ าด/ลา ได้ (คาบ) 1 18 14.4 4 2 36 28.8 7 3 54 43.2 11 4 72 57.6 14 5 90 72 18 6 108 86.4 22 7 126 100.8 25 8 144 115.2 29 9 162 129.6 32 10 180 144 36 วธิ กี ารประเมินผลการเรียน 1. ตวั เลขแสดงระดับผลการเรียนในแตล่ ะรายวิชามีดังต่อไปนี้ 4.0 หมายถึง ผลการเรียนอยูใ่ นเกณฑด์ ีเย่ยี ม (ชว่ งคะแนน 80 - 100) 3.5 หมายถงึ ผลการเรยี นอยู่ในเกณฑด์ ีมาก (ช่วงคะแนน 75 - 79) 3.0 หมายถึง ผลการเรียนอยู่ในเกณฑด์ ี (ช่วงคะแนน 70 - 74) 2.5 หมายถึง ผลการเรียนอยใู่ นเกณฑ์ดพี อใช้ (ชว่ งคะแนน 65 - 69) 2.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยูใ่ นเกณฑพ์ อใช้ (ชว่ งคะแนน 60 - 64) 1.5 หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑอ์ ่อน (ช่วงคะแนน 55 - 59) 1.0 หมายถึง ผลการเรยี นอยใู่ นเกณฑ์อ่อนมาก (ช่วงคะแนน 50 - 54) 0 หมายถงึ ผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์(ตก) (ช่วงคะแนน 0-49) 2. รายวิชาใดทแี่ สดงระดบั ผลการเรียนตามขอ้ 1 ไมไ่ ด้ จะไดร้ บั ผลเป็นตัวอกั ษร ดังต่อไปน้ี ข.ร. หมายถงึ ขาดเรยี น ไม่มีสิทธเ์ ข้าสอบปลายภาคเรยี น เน่ืองจากมเี วลาเรยี น ต่ากวา่ ร้อยละ 80 โดยไมใ่ ชเ่ หตสุ ุดวสิ ัย (ลงทะเบียนเรียนใหม,่ ตัดสนิ ผลการเรยี นตามปกติ)

ห น้ า | 7 ม.ส. หมายถงึ ไมส่ มบรู ณ์ เนือ่ งจากไมส่ ามารถเขา้ รับการประเมนิ ครบทุกคร้งั และ/ หรือ ไม่ส่งงาน อันเป็นส่วนประกอบของการเรียน รายวิชาตามกาหนด ด้วยเหตุจาเป็นอัน สดุ วสิ ัย ม.ส. กรณีท่ี 1 มคี ะแนนเกบ็ ครบทกุ ช่องแต่ขาดสอบปลายภาคเนอื่ งจาก - เกิดเหตุสดุ วสิ ยั ( เจ็บปว่ ย มใี บรบั รองแพทยย์ ืนยนั , ตอ้ งทางานในวนั เรยี น, ตอ้ งมี ใบรับรองการทางานจากหัวหน้างาน) คิดคะแนนสอบปลายภาคตามจริง - ไม่มเี หตุผลท่สี มควร (ต่ืนสาย, รถติด) คิดคะแนนคร่ึงหน่งึ ของคะแนนทีส่ อบได้ ม.ส. กรณีท่ี 2 มีคะแนนระหวา่ งภาคไม่ครบทกุ ช่อง - โดยใหน้ กั ศกึ ษาย่ืนคาร้องขอแก้ ม.ส. ท่ีฝ่ายวชิ าการภายในเวลา 10 วัน นับแตว่ ัน ประกาศผลการเรยี นรายวิชา โดยตดั สินผลการเรียนตามปกติ 3. การตดั สนิ ผลการเรยี นเป็นระดบั 0 (ศนู ย)์ มกี รณดี งั ต่อไปนี้ 3.1 มีคะแนนรวมทั้งหมดครบทกุ ช่อง ตงั้ แต่ 0 - 49 คะแนน 3.2 ผลการเรยี นได้ ข.ร. 3.3 ทาการทุจริตหรอื สอ่ เจตนาทุจริตในการสอบ - การแก้ 0 (ศูนย์) กรณี 3.1 (มีคะแนนรวมทั้งหมดครบทุกช่อง ต้ังแต่ 0 - 49 คะแนน) ให้นักเรียน นักศึกษาย่ืนคาร้องขอแก้ 0 (ศูนย์) ที่ฝ่ายวิชาการภายในเวลาท่ีกาหนดจะต้อง ลงทะเบยี นเรยี นซา้ - การแก้ 0 (ศูนย์) กรณี 3.2 ( ผลการเรียนได้ ข.ร. ) ให้นกั ศึกษาลงทะเบยี นเรียนซ้า ในรายวิชานนั้ ที่ฝา่ ยวชิ าการ - การแก้ 0 (ศูนย์) กรณี 3.3 (ทาการทุจริตหรือส่อเจตนาทุจริตในการสอบ) ให้ ครูผู้สอนจดั สอบใหม่ หรือใชข้ ้อสอบชุดเดมิ ขน้ึ อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน) โดยนักศึกษาย่ืนคาร้องขอ แก้ 0 (ศูนย์) ที่ฝ่ายวิชาการภายใน 10 วันนับตั้งแต่วันประกาศผลการเรียนรายวิชาและตัดสินผลการ เรยี นเป็น 1 หากไม่มาแก้ภายในเวลาทกี่ าหนดจะตอ้ งลงทะเบียนเรยี นซา้ 4. การเรยี นรเี กรด สาหรับนักศกึ ษาที่ประสงค์จะยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงข้ึน เปิดให้ขอรีเกรดไดท้ ุกภาคเรียนโดยประสานกับอาจารย์ประจาวิชา ขอ้ กาหนดดังนี้ - เขยี นคารอ้ งขอรีเกรดท่ีฝา่ ยวิชาการ และชาระคา่ รเี กรด หนว่ ยกติ ละ 250 บาท - ดาเนนิ การได้ทุกรายวชิ าทตี่ อ้ งการปรบั คา่ ระดบั ผลการเรียนให้สงู ข้ึน - ตดิ ตอ่ อาจารย์ประจาวชิ าท่ตี อ้ งการปรับค่าระดับผลการเรยี น - ดาเนนิ การภายในเวลาทีก่ าหนด คอื ภายใน 10 วนั หลงั การประกาศผล หมายเหตุ กรณกี ารแก้ไข 0 ข.ร. ม.ส. หากนกั ศกึ ษาไม่ดาเนินการในชว่ งเวลา - วนั ทกี่ าหนด จะเสียคา่ ใช้จา่ ยในอัตรา หนว่ ยกิตละ 250 บาท การตดิ ตอ่ รับหลกั ฐานผลการเรยี น ระเบียบการตดิ ต่อ ให้มาติดต่อที่ฝา่ ยวิชาการในเวลาราชการ นกั ศึกษา ปัจจบุ นั เวลามาตดิ ตอ่ ต้องแตง่ เครื่องแบบนักศึกษา สาหรบั นักศกึ ษา ท่ีสาเร็จการศึกษาแล้วขอให้แตง่ กายสภุ าพ เอกสาร หลกั ฐานท่ีติดต่อขอรับมี 2 อย่างคือ - ใบรบั รอง

ห น้ า | 8 - ใบ รบ.1 1.1การขอใบรับรอง ( มอี ายุ 60 วัน ) - ต้องมาตดิ ตอ่ ล่วงหน้า 3 วนั ในเวลาราชการ - สาเนาบตั รประชาชน ๑ ๒ - ยนื่ ใบคารอ้ งพรอ้ มรปู ถ่ายขนาด 1 น้วิ จานวน 1 รปู - ชาระค่าธรรมเนียมฉบับละ 5๐ บาท (ยกเวน้ ฉบับแรก) 1.2การรับรองใบแสดงผล (รบ. 1 ) - ตอ้ งตดิ ต่อล่วงหนา้ 5 วัน ๑ ๒ - ย่ืนคารอ้ งพรอ้ มรปู ถ่าย 1 นิ้ว จานวนเท่าที่ตอ้ งการขอ - ชาระคา่ ธรรมเนยี มฉบับละ 10๐ บาท (ยกเว้นฉบับแรก) การขอเปล่ยี นแปลงหลักฐาน การขอเปลี่ยนแปลงหลักฐานต่างๆ เช่น ชื่อตัว สกุล/วัน เดือน ปีเกิด และท่ีอยู่ของนักศึกษา และผู้ปกครอง - ย่ืนคาร้อง - นาหลกั ฐานเปล่ยี นฉบบั จรงิ พร้อมถา่ ยสาเนาเอกสารอย่างละ 1 ฉบับ - สาเนาถ่ายเอกสารทะเบยี นบ้าน การขอพกั การเรียน สาเหตุ - เจ็บปว่ ยทแี่ พทย์แนะนาใหพ้ กั รักษาตวั นาน - เกดิ อุบตั ิเหตุ กะทันหัน และต้องพักรักษาตวั นาน วธิ ดี าเนนิ การ - หากอยใู่ นช่วงหลงั เปดิ ภาคเรยี น 7 วัน ทาการในแต่ละภาคเรยี น ต้องมาติดตอ่ ขอพักการเรยี น โดยชาระคา่ รักษาสภาพ นักศึกษาภาคเรียนละ 500 บาท (จะ ขอพักการเรียนไดต้ ิดตอ่ กัน 2 ภาคเรียนเท่านน้ั ) - ในระดบั ปวช. นักศกึ ษาต้องนาผู้ปกครองมาติดต่อย่ืนคาร้องพรอ้ มกนั การขอลาออก - นักศกึ ษา ตอ้ งนาผปู้ กครองมาติดต่อยน่ื คาร้องพรอ้ มกนั - ต้องไมค่ ้างชาระเงนิ คา่ บารุงการศึกษาและค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ (ถา้ ม)ี - ต้องไมค่ า้ งการคืนหนังสอื ห้องสมุด - หลักฐานทโ่ี รงเรยี นออกใหม้ ี ดงั นี้ 1. ใบรบั รองผลการเรียน (รบ. 1) กรณีออกระหวา่ งเรียน

ห น้ า | 9 คาชีแ้ จงภาพถ่ายตดิ หลักฐานท่ีต้องการ นกั ศกึ ษาชาย (ปวช. – ปวส. ) ๑ 1. รูปถ่าย 1 ๒ นิว้ 2. ทรงผมตามระเบยี บของสถานศึกษา 3. เสื้อตามสถาบันกาหนด 4. ไม่สวมเครอ่ื งประดบั 5. ไมส่ วมแวน่ ตา ยกเวน้ แว่นสายตาสีขาว 6. พ้นื หลงั เป็นสีน้าเงนิ นกั ศกึ ษาหญงิ (ปวช. – ปวส. ) ๑ 1. รูปถา่ ย 1 ๒ นิ้ว 2. ทรงผมจดั เกบ็ ไว้ใหเ้ รียบร้อย 3. เสื้อตามสถาบนั กาหนด 4. ไมส่ วมเครอ่ื งประดับ 5. ไมส่ วมแว่นตา ยกเวน้ แวน่ สายตาสีขาว 6. พนื้ หลังรูปสีน้าเงิน รูปนักศกึ ษาหญิง ระดบั ปวช. รปู นกั ศกึ ษาชาย ระดบั ปวช. รูปนกั ศกึ ษาหญิง ระดับ ปวส. รูปนกั ศึกษาชาย ระดบั ปวส.

ห น้ า | 10 ด้านวิชาการ โครงสรางหลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี วุฒิ ปวช. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม โครงสรา้ งหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (2562) ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาพณชิ ยการ ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 จะต้องศึกษารายวิชาจาก หมวดตา่ ง ๆ และเขา้ ร่วมกิจกรรมเสริมหลักสตู ร เรยี นไมน่ อ้ ยกว่า 103 หน่วยกิต ตามโครงสร้างตอ่ ไปนี้ 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไมน่ อ้ ยกว่า 22 หนว่ ยกิต 1.1 กลุม่ วชิ าภาษาไทย (ไม่น้อยกวา่ 3 หนว่ ยกิต) 1.2 กลมุ่ วิชาภาษาต่างประเทศ (ไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ ) 1.3 กล่มุ วิชาวิทยาศาสตร์ (ไม่น้อยกวา่ 4 หน่วยกิต) 1.4 กลุม่ วชิ าคณติ ศาสตร์ (ไม่น้อยกวา่ 4 หนว่ ยกิต) 1.5 กลมุ่ วิชาสังคมศกึ ษา (ไม่นอ้ ยกว่า 3 หน่วยกติ ) 1.6 กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา (ไม่น้อยกว่า 2 หน่วยกิต) 2. หมวดวชิ าสมรรถนะวชิ าชีพ ไม่นอ้ ยกว่า 71 หนว่ ยกิต 2.1 กลมุ่ สมรรถนะวิชาชพี พ้นื ฐาน (21 หน่วยกิต) - กลุ่มวิชาเรียนร่วมหลกั สตู ร (9 หน่วยกติ ) - กลมุ่ วิชาเรียนรว่ มประเภทวิชา กลุ่มสาขาวิชา สาขาวิชา 2.2 กลุม่ สมรรถนะวิชาชพี เฉพาะ (24 หนว่ ยกิต) 2.3 กลุ่มสมรรถนะวชิ าชพี เลอื ก (ไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกติ ) 2.4 ฝกึ ประสบการณ์สมรรถนะวิชาชพี (4 หนว่ ยกติ ) 2.5 โครงงานพฒั นาสมรรถนะวิชาชพี (4 หนว่ ยกติ ) 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่น้อยกว่า 10 หน่วยกิต 4. กจิ กรรมเสริมหลักสูตร (2 ชัว่ โมงตอ่ สปั ดาห)์ รวมไม่น้อยกวา่ 103 หนว่ ยกิต จบไมน่ ้อยกวา่ 103 หน่วยกิต

ห น้ า | 11 โครงสรางหลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู วุฒิ ปวส. ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กจิ ผสู้ าเร็จการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ สงู พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชา บรหิ ารธุรกจิ จะตอ้ งศกึ ษารายวิชาจากหมวดวชิ าตา่ ง ๆ รวมไม่นอ้ ยกว่า 83 หนว่ ยกติ และเขา้ ร่วม กิจกรรมเสริมหลกั สูตร ดงั โครงสร้างต่อไปนี้ 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกว่า 21 หนว่ ยกติ 1.1 กลุ่มวิชาภาษาไทย (ไมน่ ้อยกวา่ 3 หนว่ ยกิต) 1.2 กลมุ่ วชิ าภาษาตา่ งประเทศ (ไม่นอ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต) 1.3 กล่มุ วิชาวทิ ยาศาสตร์ (ไมน่ อ้ ยกว่า 3 หน่วยกิต) 1.4 กลุ่มวชิ าคณติ ศาสตร์ (ไม่น้อยกวา่ 3 หนว่ ยกติ ) 1.5 กล่มุ วชิ าสงั คมศาสตร์ (ไมน่ ้อยกว่า 3 หน่วยกติ ) 1.6 กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ (ไมน่ ้อยกว่า 3 หน่วยกิต) 2. หมวดวิชาสมรรถนะวชิ าชพี ไมน่ อ้ ยกว่า 56 หน่วยกติ 2.1 กลุ่มสมรรถนะวชิ าชีพพน้ื ฐาน (15 หนว่ ยกติ ) 2.2 กลมุ่ สมรรถนะวิชาชพี เฉพาะ (21 หนว่ ยกิต) 2.3 กลุม่ สมรรถนะวิชาชพี เลอื ก (ไม่นอ้ ยกว่า 12 หนว่ ยกิต) 2.4 ฝกึ ประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ (4 หน่วยกิต) 2.5 โครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี (4 หน่วยกติ ) 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต 4. กจิ กรรมเสริมหลักสูตร (2 ช่ัวโมงตอ่ สัปดาห์) รวมไมน่ อ้ ยกว่า 83 หนว่ ยกิต จบไมน่ ้อยกว่า 83 หนว่ ยกติ

ห น้ า | 12 ด้านการพฒั นากจิ การนักศึกษา ฝ่ายพัฒนากิจการนักศึกษา มีภารกิจหลัก คือพัฒนานักศึกษาให้สมบูรณ์ตามอัตลักษณ์ที่ วิทยาลัยตั้งเจตนารมณ์ไว้ ในส่วนของการ เป็นคนดี โดยวิทยาลัยได้กาหนดคุณลักษณะความเปน็ คนดี เปน็ ทตี่ อ้ งการของสังคมไว้เปน็ มาตรฐานคุณภาพดงั น้ี มาตรฐานคณุ ภาพนกั ศกึ ษาวทิ ยาลัยเทคโนโลยบี างปะกงบริหารธรุ กิจ ระดับคุณภาพ ของคณุ ลกั ษณะที่ดี ระดบั 1 (ต้องปรับปรุง) หมายถงึ ปฏิบตั ิดตี ามคาส่งั คาบอก ถ้าไมม่ ใี ครบอก หรือสัง่ ก็จะไม่ ปฏบิ ตั ิ ระดบั 2 (คอ่ นข้างด)ี หมายถงึ คิดดี และ ปฏบิ ัติได้เองบอ่ ย ๆ โดยไม่มีใครบอก หรอื ส่ัง ระดบั 3 (ดี) หมายถึง ผู้เรียนปฏบิ ัติดีไดเ้ องจนเปน็ นสิ ยั ระดบั 4 (ดมี าก) หมายถึง ผเู้ รียนปฏบิ ัติดีแลว้ และชวนใหผ้ อู้ น่ื ,เพอ่ื น ปฏบิ ัติดีดว้ ย ระดับ 5 (ดีเยย่ี ม) หมายถึง ผู้เรียนนาการปฏิบตั ทิ ีด่ นี น้ั ไปใช้ในครอบครัว, สังคม รายละเอียดแสดงพฤติกรรมของนกั ศึกษาท่ีมใี นมาตรฐานด้านคุณลกั ษณะของผเู้ รียน คุณลกั ษณะท่ี 1 ผู้เรียนมีระเบียบวนิ ัย การปฏิบตั ติ นตามกฎ ระเบยี บของสถานศึกษา สังคม ประเทศชาตแิ ละดาเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ศาสนาท่ีตนนับถือ พฤติกรรม : 1. เข้าแถวเคารพธงชาติทันตามเวลา และสวดมนตท์ ุกวัน 2. แตง่ กาย เรยี บรอ้ ย ถกู ต้องตามระเบยี บทง้ั ในและนอกวทิ ยาลัย 3. เคารพเช่อื ฟังครูอาจารย์ และ ผทู้ ่ีควรเคารพ 4. มสี มั มาคารวะ สุภาพออ่ นน้อมไหว้ กราบไดเ้ หมาะสมตามโอกาส คณุ ลกั ษณะที่ 2 มคี วามรบั ผิดชอบ ปฏิบัติหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายทง้ั ดา้ นการเรียน ครอบครวั สังคม และประเทศชาติ ตามบทบาท หน้าท่ีจนสาเร็จ พฤตกิ รรม: 1. รักษาช่ือเสียงที่ดีของตนและวิทยาลัย 2. ทางานและหนา้ ทีพ่ ิเศษต่างๆ อย่างเต็มความสามารถ 3. เขา้ เรียน เข้าร่วมกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา 4. ทาความสะอาดในเขตความสะอาดท่รี บั ผดิ ชอบ คณุ ลักษณะที่ 3 มคี วามซอ่ื สัตย์ สุจริต การปฏบิ ัตติ นดตี รงตามความเปน็ จริงทางกาย วาจา ใจ ทง้ั ต่อตนเอง และผอู้ ่ืน พฤติกรรม : 1. ยอมรับการกระทาของตนเองไม่โทษผูอ้ ่ืน 2. เกบ็ สิง่ ของได้แล้วส่งคนื เจ้าของ 3. พดู จาสุภาพ ไมพ่ ดู โกหก 4. รว่ มกิจกรรมท่เี ป็นวฒั นธรรมและประเพณีไทย

ห น้ า | 13 คุณลักษณะที่ 4 มีความขยนั อดทน การปฏิบัติตนในการศกึ ษาเลา่ เรยี นอยา่ งตั้งใจ มีความมุ่งมนั่ ใฝศ่ ึกษาหาความรู้ พฤติกรรม : 1. ตัง้ ใจขณะเรียนในห้อง 2. ต้ังใจทางานที่ครมู อบหมาย ส่งครบตามกาหนด 3. ศึกษาหาความรเู้ พิม่ เตมิ อยู่เสมอ 4. หนักแน่นไมห่ ลงใหลไปกับสง่ิ เร้าใจต่าง ๆ คณุ ลกั ษณะท่ี 5 รจู้ กั พ่งึ ตนเอง และเปน็ ทพี่ ึง่ ของผูอ้ นื่ ได้ การแสดงพฤติกรรมท่ที าสง่ิ ต่าง ๆได้ด้วยตนเองตามวยั ช่วยเหลอื ผอู้ น่ื ร้จู กั การให้ และการ รับอยา่ งมเี หตุผลและเขา้ ร่วมกิจกรรมเพอ่ื ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม พฤตกิ รรม: 1. กระทาการงาน ปฏบิ ตั ิหนา้ ทไ่ี ดด้ ้วยตนเอง 2. ช่วยเหลอื เพือ่ นในเรือ่ งการเรียนตกั เตือนเพือ่ นเมอ่ื ทาความผิด 3. ร้จู กั การเกบ็ ออม ใชส้ ิง่ ของอย่างคุ้มค่า 4. ใช้เหตผุ ลในการประพฤตปิ ฏบิ ัติตน คณุ ลกั ษณะท่ี 6 มมี นุษยสัมพันธ์ การแสดงพฤติกรรมท่อี ยู่รว่ มกบั ผูอ้ ืน่ ได้ดว้ ยดี พฤตกิ รรม: 1. ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ ของเพื่อนรว่ มงาน 2. รว่ มมือกบั เพือ่ น ทางานตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย จนสาเรจ็ 3. ร้จู ักแบง่ ปัน เสยี สละประโยชนส์ ว่ นตัวได้ 4. มีนา้ ใจ ช่วยเหลือผู้อื่น แนวปฏบิ ัติในการเปน็ นกั ศึกษาที่ดี เพอ่ื ใหก้ ารรกั ษาระเบียบวินัยของนกั ศึกษา วทิ ยาลยั เทคโนโลยีบางปะกงบรหิ ารธุรกจิ ดาเนิน ไปด้วยความเรียบร้อย ให้มีความประพฤตทิ ่ดี งี าม เหมาะสม จงึ ได้กาหนดหลกั ปฏบิ ตั ิตนของนกั ศกึ ษา ไว้ดังนี้ 1. นักศกึ ษาจะตอ้ งปฏบิ ตั ิใหอ้ ยใู่ นกฎระเบยี บวินัยของวิทยาลัยอยา่ งเครง่ ครดั และจะตอ้ งแตง่ กายใหเ้ รียบร้อยตั้งแตอ่ อกจากบ้านจนถึงวทิ ยาลยั และภายนอกสถานท่ีอืน่ ๆ 2. นกั ศกึ ษาจะตอ้ งแขวนบตั รประจาตวั นกั ศึกษาทกุ ครง้ั ทเ่ี ขา้ วทิ ยาลัยทกุ วนั (ค่าบตั ร 150 บาท) 3. นกั ศกึ ษาจะตอ้ งมาให้ทันขา้ แถวเคารพธงชาตแิ ละสวดมนต์พรอ้ มกันเมื่อถึงเวลา 8.30 น. 4. เม่ือเลกิ แถวเคารพธงชาตินักศึกษา ทุกคนจะต้องเดนิ ใหเ้ ป็นระเบยี บเขา้ ห้อง HOME ROOM เพือ่ พบอาจารย์ทปี่ รกึ ษาและเขา้ ห้องเรยี นตามตารางเรยี นใหเ้ รียบรอ้ ย กรณที ี่มาสาย 1. นักศึกษาคนใดที่ไม่ทันเข้าแถวเคารพธงชาติและไม่ได้เข้าห้อง HOME ROOM กับอาจารย์ท่ี ปรกึ ษา จะเชค็ การมาสาย และใน 1 เดือน มาไม่ทันเขา้ แถว 5 คร้งั ฝ่ายปกครองจะเรียกพบ พร้อมตกั เตอื น

ห น้ า | 14 2. นักศึกษาคนใดที่มาสาย (หลังเวลา 08.45 น.) ตอนเช้าถือมาว่า มาสาย และจะต้องไปขอ ใบอนุญาต เขา้ หอ้ งเรยี นกับฝ่ายปกครองกอ่ น จึงจะเข้าห้องเรียนได้ โดยเช็คช่อื ขาดเรียนในวิชา แรกทันที 3. ถา้ นักศกึ ษาคนใดมาสายเปน็ เวลา 10 วนั ฝา่ ยปกครองจะโทรศพั ท์แจ้งผูป้ กครองใหร้ ับทราบ ถงึ พฤตกิ รรมการมาสายของนักศึกษา - ในกรณที ่นี กั ศกึ ษา ไมส่ ามารถมาทันเข้าแถวเคารพธงชาตไิ ด้ เช่น อาจเนอื่ งมาจากบ้านไกล ช่วยเหลอื ผปู้ กครอง - ทางฝา่ ยปกครองยนิ ดีจะออกใบอนุญาตมาสายให้ แตต่ อ้ งมีเหตผุ ลที่ชัดเจนเพยี งพอและ ไดร้ ับการยืนยันจากผปู้ กครอง หมายเหตุ ถา้ นกั ศกึ ษามาสายภายใน 1 เทอม ไม่ทันเขา้ แถว ต้องซ่อมเข้าแถว(08.30 นาฬิกา) ตอน ปดิ เทอมให้ครบ ถึงจะเลอ่ื นชนั้ เรยี นได้ ระเบียบปฏบิ ัตทิ ัว่ ไป 1. การลา - ลากิจต้องลาลว่ งหนา้ อย่างน้อย 3 วัน โดยตอ้ งขอใบลาที่ฝ่ายวิชาการและตอ้ งให้ผู้ปกครอง รับรอง การลากจิ ในครง้ั น้ันๆ ( บางเรอื่ งการลากจิ ต้องใช้หลักฐานการลากิจแนบมากบั ใบลากจิ ด้วย) - ลาป่วย ให้เขียนใบลาป่วยได้ในวันรุ่งขึ้นท่ีมาเรียนหรือไม่เกนิ 3 วัน นับจากวันที่มาเรียน โดย ขอใบลาที่ฝ่ายวชิ าการและต้องให้ผ้ปู กครองรบั รองหากลาป่วยเกิน 3 วนั ตอ้ งมใี บรับรองแพทย์ แนบการลาปว่ ยมาด้วย (ใบรับรองแพทย์ต้องเปน็ สถานพยาบาลของรัฐเท่านน้ั ) **** หากนักศึกษาหยุดเรียนโดยไม่เขยี นใบลากิจหรือลาปว่ ยจะถอื ว่าเปน็ การขาดเรียนจะมีผล ต่อการเรยี นของนักศกึ ษา ซ่ึงตอ้ งมีเวลาเรยี นไมต่ ่ากว่า 80 % ของเวลาเรียนทงั้ หมดของแต่ละ รายวิชาและวิชากิจกรรมต้องมีเวลาเรียน ไม่ต่ากว่า 60 % ของเวลาเรียนทั้งหมดในวิชา กจิ กรรม หากขาดเรียนเกินจะไมม่ ีสิทธิเขา้ สอบและได้รบั ผลการเรยี นวชิ านนั้ ว่า “ ข.ร.” 2. การสอบ - การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรยี น ทางฝา่ ยวชิ าการอนญุ าตให้สอบย้อนหลงั ไดใ้ นกรณีท่ี 1. ประสบอบุ ตั ิเหตุในวนั ท่มี ีการสอบและตรวจสอบได้ว่าเป็นความจรงิ 2. ป่วยไม่สามารถมาสอบได้ โดยมีใบรับรองแพทย์แนบมาขอคาร้องย้อนหลงั ได้ - ในการร่วมกิจกรรมทางโรงเรียน โรงเรียนจะออกหนังสือแจ้งให้ผู้ปกครองทราบก่อน ลว่ งหนา้ เพ่ือขออนญุ าตทกุ ครง้ั - วันหยุดเรียนประจาสปั ดาห์ผปู้ กครองสามารถตรวจสอบได้จากเวบ็ ไซต์วิทยาลยั ฯ หรอื เฟซบกุ๊ ของวิทยาลัย ฯ ข้อปฏบิ ัตขิ องนักศกึ ษาภาคพเิ ศษ 1. การเขา้ สอบปลายภาค นกั ศกึ ษาต้องแต่งกายดว้ ยเครื่องแบบนักศึกษา (หากมี ความจาเปน็ อนญุ าตให้ใสช่ ุดสภุ าพได้)

ห น้ า | 15 2. ในการสอบเกบ็ คะแนน หากมีปัญหาเรื่องการขาดสอบ ให้ตดิ ต่อโดยตรงกบั อาจารย์ผู้สอน (ให้อยใู่ นดุลยพินิจของอาจารย์ผู้สอน) 3. การสอบปลายภาคเรยี น นกั ศกึ ษา ไม่ควร ขาดสอบ หากมีความจาเปน็ ตอ้ งขาด สอบให้ปฏิบตั ิ ดงั นี้ 3.1 ยนื่ คารอ้ งขอสอบยอ้ นหลงั ทีฝ่ ่ายวิชาการ (ไมเ่ กนิ 1 สปั ดาห์หลงั จากวัน สอบ) โดยแนบเอกสาร เพ่ือใช้เปน็ หลักฐานในการขาดสอบ เช่น - ใบรับรองแพทย(์ ควรเป็นสถานพยาบาลของรัฐ) - หลกั ฐานการทางานในวนั สอบ (สาเนาบัตรตอก/ตารางการทางาน ใบลาจากตน้ สังกดั เปน็ ต้น) ฯลฯ 3.2 หากนักศกึ ษามีความจาเป็นตอ้ งขอลากจิ โดยการลากิจน้นั ตรงกบั วัน สอบ ขอใหล้ าลว่ งหน้าพรอ้ มทง้ั ย่ืนคารอ้ งขอสอบยอ้ นหลงั ไวเ้ ลย 3.3 ฝา่ ยวชิ าการจะเปน็ ผกู้ าหนด วนั และเวลาสอบย้อนหลงั ใหส้ อบ 3.4ในการขาดสอบปลายภาค มีเหตุผล อยู่ 3 กรณี ที่นักศกึ ษามสี ทิ ธิขอสอบ ย้อนหลังได้โดยไม่ถูกตดั คะแนนทสี่ อบ คอื o ป่วย และเข้ารบั การรกั ษาทสี่ ถานพยาบาล o ประสบอบุ ัติเหตุ ในวันสอบและสามารถตรวจสอบไดว้ า่ เป็นจรงิ o ไดร้ บั มอบหมาย ให้ทางานในวนั สอบ 4. ในการสอบปลายภาค นอกเหนอื จาก ข้อ 3. นักศึกษา มสี ทิ ธิขอสอบยอ้ นหลังได้ โดยจะถูกตดั คะแนน 1 ใน 4 ของคะแนนที่สอบได้ เชน่ สอบได้ 12 คะแนน จะถูกหัก 3 คะแนนเหลอื เป็นคะแนนที่สอบได้จริง 9 คะแนน 5. หากตอ้ งการย้ายภาคเรยี น / เปล่ยี นชื่อ – สกลุ / พักการเรยี น / ขอใบ รบ.1 ฯลฯ ให้ตดิ ตอ่ โดยย่นื ขอใบคารอ้ งท่ัวไปท่ฝี า่ ยวชิ าการ 6. หากต้องการขอใบคารอ้ ง ให้ติดตอ่ โดย ยนื่ ขอใบคาร้องที่ฝ่ายวชิ าการ 7. หากต้องการลาออก ให้ตดิ ต่อขอใบลาออกที่ฝ่ายวิชาการ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- *** ระเบียบการตดั คะแนนพฤตกิ รรม (งานพฒั นาวินยั ) *** การมาเรียนของนักศกึ ษา ภาคปกติ - นกั ศึกษาจะตอ้ งมาใหท้ นั เข้าแถวเคารพธงชาตแิ ละสวดมนต์พรอ้ มกนั เมือ่ ถงึ เวลา 08.30 หลังทากิจกรรม หนา้ เสาธงเรยี บร้อยแลว้ เสร็จ(ประมาณ 10 – 15 นาที) ถือวา่ นกั ศึกษามา สาย (ตดั คะแนน 5 คะแนน ในคะแนนพฤติกรรม) “(หลงั เวลา 08.45 น.) ตอนเชา้ ถอื มาวา่ มาสาย” – *** กรณีมาสาย หน้าท่ี 14 *** การมาเรียนของนักศึกษา ภาคพิเศษ - นกั ศกึ ษาเข้าห้องเรียน เวลา 09.00 น. หลังเวลา 09.30 น. ถือว่า นักศึกษามาสาย (ใหอ้ าจารย์ผ้สู อนในรายวชิ านั้น ๆ สามารถหักคะแนนไดต้ ง้ั แต่ 2 คะแนนถึง 5 คะแนน ใน การมาเรียน ของนกั ศกึ ษาการเรียนในแต่ละคร้ัง เช่น “1 วิชาเรียน 4 ครง้ั ” สามารถหกั คะแนน สงู สุดได้ 20 คะแนน)

ห น้ า | 16 การแตง่ กายของนกั ศึกษา ภาคปกติ - นักศกึ ษาทแ่ี ต่งกายผิดระเบยี บ ตักเตือน 1 คร้งั ผดิ ระเบยี บครั้งท่ี 2 หกั 10 คะแนน (ในคะแนนพฤตกิ รรม) - วันสอบ(กลางภาคและปลายภาค) นักศกึ ษาที่แต่งกายผดิ ระเบียบ หัก 10 คะแนน (ในแต่ละวิชาที่สอบในวันนนั้ ๆ) การแต่งกายของนักศึกษา ภาคพิเศษ - นกั ศึกษาภาคพเิ ศษสามารถแต่งกายในชดุ นกั ศึกษาและชุดกีฬาสีได้ ในการเรยี นครงั้ ท่ี 1 ถึง ครั้งที่ 3 ของการเรยี นในแต่ละรอบ ในการเรยี นคร้ังที่ 4 (สอบ) นักศึกษาแตง่ กายในชุดนกั ศกึ ษาทท่ี าง วทิ ยาลยั ฯ กาหนดเทา่ น้นั (ผดิ ระเบียบหักคะแนนไม่เกนิ 10 คะแนน ในแต่ละวิชาทสี่ อบในวันน้นั ๆ) การลาในทกุ กรณี - การลาของนกั ศกึ ษา ภาคปกติ ขอใบลาท่ีฝ่ายวชิ าการตอ้ งลาลว่ งหนา้ อยา่ งนอ้ ย 3 วนั (เวน้ แต่กรณฉี กุ เฉิน ลาล่วงหน้าได้ อยา่ งนอ้ ย 1 วัน โดยท่ผี ูป้ กครองต้องโทรศัพทม์ าตดิ ตอ่ กบั ทางวิทยาลัย ฯ ) และให้อาจารย์ ประจาวชิ าทน่ี กั ศกึ ษาเรียนในวันทลี่ าเซ็นรบั ทราบในการลาครัง้ น้ัน นกั ศึกษาไม่ปฏิบตั ติ ามถอื วา่ ขาดเรียน หักคะแนน 5 คะแนน (ในคะแนนพฤติกรรมหรือคะแนนในหน่วยการเรยี นนน้ั ๆ) - การลาของนกั ศึกษา ภาคพเิ ศษ ตอ้ งลาล่วงหน้า อย่างนอ้ ย 1 อาทติ ย์ โดยต้องขอใบลาที่ฝ่ายวิชาการและใหอ้ าจารย์ประจาวิชาที่ นกั ศึกษาเรยี นในวันท่ลี าเซ็นรับทราบในการลาครงั้ น้นั นกั ศึกษาไมป่ ฏบิ ัติตามถอื วา่ ขาดเรียน หกั คะแนน 5 คะแนน (ในแต่ละวิชาทส่ี อบในวนั นน้ั ๆ) - หมายเหตุ การลายอ้ นหลัง ลาได้ 2 กรณี คอื 1. การลายอ้ นหลงั เนื่องด้วยการปว่ ยหรือประสบอุบัติเหตุ ต้องมีใบรับรองแพทย์ (อนญุ าตให้ลายอ้ นหลงั ได)้ 2. การลาย้อนหลงั เนื่องด้วยการทางาน โดยมหี ลักฐานการทางานในวันทล่ี า(หยุดเรยี น) เช่น สาเนาบัตรตอก/ตารางการทางาน/ใบลาจากตน้ สังกดั เป็นต้น (อนญุ าตให้ลาย้อนหลงั ได)้ -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การขาดเรยี น การโดดเรียน หนเี รียน ไมเ่ ข้าวิทยาลัยฯ 1. นักศกึ ษาคนใดท่ีขาดเรยี นติดต่อกันเปน็ เวลา 15 วนั และไม่ได้มาติดตอ่ กบั ทางวทิ ยาลัย ฯ เลยวา่ ไม่มาเพราะสาเหตใุ ด จะถูกคัดชือ่ อกหรอื จาหน่าย 2. ใน 1 เดือน ฝ่ายปกครองจะส่งไปรษณียบัตรแจ้งการมาสาย การหยุดเรียน การโดดเรียน และการหนเี รยี นให้ผปู้ กครองทราบ 1 ครงั้ (ทกุ ๆ สน้ิ เดือน) หรอื ประกาศลงใน Website ของวทิ ยาลยั ฯ 3. ถา้ ฝ่ายปกครองทราบวา่ นกั ศกึ ษาคนใด โดดเรียน หนเี รยี น ขณะอยูใ่ นเคร่อื งแบบนักศกึ ษา ของวิทยาลัยฯ โดยไม่แจ้งหรือขออนุญาตจากฝ่ายปกครอง จะด้วยเหตุใดก็ตามนักศึกษา คนนั้นมีความผิดและฝ่ายปกครองจะเชิญผู้ปกครองมาพบ (เบื้องต้นโทรแจ้งผู้ปกครอง รับทราบโดยทนั ท)ี่

ห น้ า | 17 4. ในกรณีทนี่ ักศึกษา โดดเรยี น หนเี รยี น หรืออยูใ่ นสภาพไมเ่ หมาะสมอาจจะถูกชุดเฉพาะกิจ (สารวัตรนักเรียน) จับได้แล้วถูกนาตัวไปไว้ใน สภอ.บางปะกง รอให้ฝ่ายปกครองของ วิทยาลัย ฯ ไปรบั แต่ฝา่ ยปกครองวทิ ยาลัยฯ จะไปรับกต็ ่อเม่อื ผู้ปกครองนกั ศกึ ษาไปด้วยเท่าน้ัน 5. ถ้านักศึกษาคนใด กระทาความผิดในเรื่องการทะเลาะวิวาทไม่ว่าภายนอก หรือภายใน วิทยาลัย ฯ หรือเล่นการพนนั ในวิทยาลัย ฯ ฝ่ายปกครองขอเชิญผู้ปกครองพบ พร้อมกบั ตกั เตอื น ลงภาคทัณฑแ์ ละพักการเรยี นเป็นเวลา 5 วนั ในกรณีทีน่ ักศึกษาที่ถกู พกั การเรียนต้องปฏบิ ตั ิตนดังน้ี 5.1 ถูกตดั คะแนนพฤตกิ รรมในรายวชิ า วิชาละ 5 คะแนน 5.2 จะตอ้ งมาวทิ ยาลยั ฯ ทุกวันตามเวลาทก่ี าหนด 5.3 จะต้องอยู่ในความควบคุมดูแลของฝ่ายปกครองมาสาย ขาดเรียน หยุดเรียน ไม่ได้ และถูกควบคมุ ความประพฤตติ ลอด 1 ภาคเรียน 6. นักศกึ ษาคนใดติดยาเสพตดิ มาจากท่ีอน่ื ทางวิทยาลยั ฯ ยนิ ดใี ห้ผูป้ กครองพาไปบาบัด รักษาให้ดีขนึ้ และสามารถกลับเขา้ มาเรยี นได้ตามปกติ 7. ในกรณีนักศึกษามียาเสพติดไว้ในครอบครองหรือมีไว้เพ่ือการจาหน่าย (จริง) ไม่ว่าจะ กระทาภายในหรือภายนอกกต็ าม หรือว่ากระทาผดิ อย่างร้ายแรง ทางฝา่ ยปกครองจะดาเนนิ การ โดย ส่งตัวใหเ้ จ้าหนา้ ท่ีตารวจดาเนนิ คดตี ามกฎหมาย การขออนญุ าตออกนอกบรเิ วณวิทยาลัย เมื่อนักศึกษามาถงึ วิทยาลัยฯ แล้วจะต้องอยู่ในความดูแลของครู อาจารย์ จะออกนอกบริเวณ วิทยาลัย ไม่ได้โดยเดด็ ขาดจนกวา่ จะถึงเวลาเลิกเรียน หากนักศึกษามีธุระจาเป็นต้องออกนอกบรเิ วณ วทิ ยาลยั ฯ ใหป้ ฏิบตั ิดังน้ี 1. ขอใบอนุญาตออกนอกบริเวณวิทยาลัย ฯ จากฝา่ ยปกครองพรอ้ มกรอกรายละเอียดต่าง ๆ ให้ชัดเจน นาไปให้อาจารย์ท่ีปรึกษาและอาจารย์ประจาช้ันวชิ าน้นั ๆ เซ็นรับทราบแล้วจึง จะไปใหฝ้ า่ ยปกครองเซ็นอนญุ าตเป็นอันดับสดุ ท้าย 2. นักศึกษาจะมีบัตรออกนอกบรเิ วณวทิ ยาลัย ฯ ควบคไู่ ปดว้ ย 3. เมื่อนักศึกษากลบั เขา้ มาภายในวทิ ยาลัยฯ แลว้ ตอ้ งแจง้ ใหฝ้ า่ ยปกครองทราบพรอ้ มคนื บตั ร การแสดงความเคารพ นักศึกษาทุกคนจะต้องให้ความเคารพนับถือ เช่ือฟังอาจารย์ทุกท่านที่ประจาอยู่ภายใน วทิ ยาลยั มีวิธปี ฏิบตั ติ ามวฒั นธรรมไทย ยิ้มไหว้ ทกั ทาย ดว้ ยใจบรสิ ทุ ธ์ิ ดังนี้ 1. เมื่อนักศึกษาเดินผ่านอาจารย์ใหแ้ สดงความเคารพด้วยการยืนตรงและยกมือไหว้ หรือพบ เหน็ อาจารย์ภายนอกวิทยาลัย ฯ แสดงความเคารพโดยการไหว้ เชน่ กนั 2. เม่ือนักศึกษายืนพูดกับอาจารย์จะต้องยืนในลักษณะท่ีสารวม เม่ือพูดเสร็จให้แสดงความ เคารพ 3. เมื่อผู้ปกครอง / พระสงฆ์ รวมถึงบุคคลภายนอกเข้ามาในวิทยาลัย ฯ นักศึกษาต้องให้ ความเคารพตอ้ นรบั อยา่ งมสี ัมมาคารวะ

ห น้ า | 18 4. นกั ศกึ ษาใหม่ควรให้เกียรติแกน่ ักศกึ ษารุน่ พ่ี เม่อื พบปะกนั ควรไดท้ กั ทายปราศรัย ย้ิม ไหว้ ตามควรแกว่ ยั และโอกาส 5. พูดคุย สนทนา ด้วยถอ้ ยคาที่สุภาพเหมาะสมกับวยั ระวังการใชเ้ สยี งดงั รบกวน ไม่กลา่ วคา หยาบ 6. รกั เคารพสถาบัน ช่วยกนั รกั ษา หรือสร้างชื่อเสียงที่ดใี ห้กับวทิ ยาลัย การใชย้ านพาหนะท้ังภายในและภายนอกบริเวณวทิ ยาลัย ฯ 1. การขบั ขีย่ านพาหนะ ต้องปฏิบัตติ ามกฎจราจรโดยเครง่ ครัดกรณีเป็นมอเตอร์ไซค์ใหเ้ ปิดไฟ ใสห่ มวกตลอดการขบั ขี่ 2. เม่ือถึงประตูวิทยาลัย ฯ ใหน้ ักศึกษาทกุ คนลงจากมอเตอรไ์ ซค์ และทาความเคารพอาจารย์ ที่ดูแลความเรียบร้อยประจาหน้าประตูวิทยาลัย ฯ และพระพุทธรูปประจาวิทยาลัย ฯ พร้อมนารถไป จอดในสถานท่ีทว่ี ิทยาลยั ฯ ไดก้ าหนดไวใ้ ห้จอดอยา่ งเรยี บร้อย 3. นักศึกษาคนใดทนี่ ารถมาวิทยาลัย ฯ จะตอ้ งมาแจ้งทะเบียนและยีห่ อ้ รถที่ฝา่ ยปกครอง ๔. นักศึกษาคนใดไมป่ ฏิบตั ติ ามกฎจราจรของทางวิทยาลยั ฯ จะต้องถกู ปรับ(เสียค่าปรบั ) ตาม โครงการถนนสขี าวในวทิ ยาลยั ฯ คณะกรรมการนักศึกษา คณะกรรมการนกั ศึกษา มาจาก คณะท่ีมาจากการเลือกตง้ั และ คณะทม่ี าจากการแต่งตัง้ คณุ สมบตั ิ 1. เป็นนกั ศกึ ษาทกี่ าลงั ศกึ ษาอยู่ในวทิ ยาลัยเทคโนโลยีบางปะกงบริหารธรุ กจิ 2. มคี วามประพฤตเิ รยี บร้อย 3. มคี วามเสียสละตอ่ ส่วนรวม / สามารถชว่ ยเหลืองานตา่ ง ๆ ภายในวทิ ยาลยั ฯด้วยความเตม็ ใจเมอ่ื ครูอาจารย์ขอความร่วมมือ 4. มีมนุษยสมั พนั ธท์ ดี่ ี มีมารยาทในการเข้าสังคม สามารถทางานรว่ มกบั คนอื่นได้ มีความ กระตอื รือรน้ มคี วามคดิ สร้างสรรค์ เรื่อง ระเบียบการพกพาโทรศัพท์เคลอื่ นที่ (สมารท์ โฟน) ในวิทยาลัย ฯ ตามคาสงั่ ที่ 30 / ๒๕61 สง่ั ณ วนั ที่ 12 เดอื นมิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕61 เพื่อให้เกิดประโยชน์กับนักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง และป้องกันปัญหาต่างๆ ท่ี อาจจะเกิดข้ึนได้ในอนาคตจึงอนุญาตให้นักเรยี น นักศึกษา นาโทรศัพท์เคล่ือนท่ีมาที่วิทยาลัย ฯได้ แต่ ผู้เรยี นจะต้องปฏิบัตติ ามระเบียบของวิทยาลัย ฯ เร่อื งการพกพาโทรศพั ท์เคล่ือนที่มาวิทยาลัย ฯ อย่าง เครง่ ครัด ดงั นี้ 1. การนาโทรศัพท์มาวิทยาลยั ฯ เพื่อใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน เทา่ นนั้ 2. ถ้ามีความจาเป็นจะต้องใช้โทรศัพท์ ติดต่อ สื่อสาร กับ ผู้ปกครอง จะต้องข้อ อนุญาตจากอาจารย์ผู้สอนก่อน(ระหว่างการเรียนการสอน) หรือใช้ระหว่างช่วงเวลาพักต่าง ๆ ที่ วทิ ยาลัย ฯ กาหนด

ห น้ า | 19 3. ในขณะท่อี ย่ใู นหอ้ งเรียน / ห้องประชมุ / ห้องสอบ ครผู ู้สอนรวบรวมโทรศพั ท์ของ นกั เรียน นักศกึ ษาไว้หน้าชั้นเรยี นหรอื เก็บในภาชนะเก็บอุปกรณ์ตามความเหมาะสม และห้ามเปดิ เสียง เครื่องโทรศัพทโ์ ดยเด็ดขาด ยกเวน้ ได้รบั อนุญาตจากครผู สู้ อนในคาบเรยี นน้นั ๆ 4. ในขณะทอ่ี ยใู่ นวทิ ยาลยั ฯ ห้ามนกั ศกึ ษาใชโ้ ทรศพั ท์เพอ่ื วัตถุประสงคอ์ ื่น ๆ นอกจาก ใช้ประกอบการเรียนการสอน และติดต่อกับผู้ปกครองเท่านั้น (ห้ามไลฟ์สดในทุกกรณี) และห้ามชาร์จ แบตเตอรโ่ี ทรศพั ทห์ รืออุปกรณ์อืน่ ๆ 5. หากนกั ศึกษากระทาผิด ตามขอ้ 1 - 4 ขอ้ หน่งึ ข้อใด จะถกู ยึดโทรศัพท์และใบเตือน ก่อน 1 ครง้ั และเชญิ ผูป้ กครองมารบั โทรศพั ท์คืน ถ้ากระทาความผดิ ครั้งที่ 2 ยดึ โทรศพั ท์และใบเตือน เป็นระยะเวลา 1 ภาคเรียน (และดตู ามความเหมาะสม) ตดั คะแนนพฤติกรรม 10 คะแนน และจะคืน ให้ในวนั สดุ ทา้ ยของการสอบปลายภาคเรยี น โดยผูป้ กครองจะต้องมาขอรับคืนด้วยตนเอง ทง้ั น้ีนกั เรียน นักศกึ ษา ตอ้ งเกบ็ รกั ษาโทรศพั ทเ์ คลือ่ นทห่ี รืออปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ อืน่ ๆ ให้ ปลอดภยั หากเกดิ เหตกุ ารณ์สญู หายและหาผู้รับผิดชอบไมไ่ ด้ทางวิทยาลัย ฯ จะไมร่ ับผิดชอบใดๆ ทงั้ สนิ้ หมายเหตุ คาส่ังดงั กลา่ วบังคับใช้กับนกั ศกึ ษาภาคปกติและภาคพเิ ศษทกุ ช้นั ปกี ารศกึ ษา

ห น้ า | 20 ดา้ นธรุ การและการเงิน การลงทะเบียนนกั ศกึ ษา 1. ลงทะเบียนตามวันและเวลาที่ทางวทิ ยาลัยฯ กาหนดให้ ภาคปกติ ภาคเรียนที่ 1 เดอื นมีนาคมในวนั ประกาศผลการเรยี นของภาคเรียนนน้ั ภาคเรยี นที่ 2 เดือนตุลาคมในวนั ประกาศผลการเรียนของภาคเรียนนน้ั ภาคพิเศษ การจ่ายค่าเทอมจ่ายกอ่ นสอบ 3 อาทิตย์แรก หลกี เลีย่ งการจ่ายค่าเทอมในวันสอบ (เฉพาะกรณฉี กุ เฉนิ เท่านั้น) 2. คา่ บริการอ่ืน ๆ 2.1 ในภาคเรียนที่ 1 / 25๖4 ระดบั ชัน้ ปวช.(ภาคเชา้ ) จานวน 1,000 บาท ต่อเทอม ระดับชั้น ปวช.(ภาคพิเศษ) จานวน 1,000 บาท ต่อเทอม หมายเหตุ นักศกึ ษาทอ่ี ายุเกนิ ๒๕ ปี จานวน ๓,000 บาท ต่อเทอม (มเี รียนภาคฤดรู อ้ น) 2.2 ระดับชนั้ ปวส.(ภาคพเิ ศษ) - ศษิ ยเ์ กา่ ๓,000.- บาท ทกุ ภาคเรียน (เรยี นตอ่ เน่ือง) - นักศึกษาใหม่ 4,500.- บาท ทกุ ภาคเรยี น จา่ ยครบลด 500 บาท ในเทอมนั้นๆ (จ่ายคร้ังเดยี ว 4,000 บาท) 2.3 ในการโอนเกรดจากสถาบนั อืน่ มีคา่ โอนเกรด หนว่ ยกิตละ 100 บาท ตอ่ วิชา 3. การจ่ายชาระคา่ เทอม - ลงบนั ทึกการจ่ายชาระเงินในสมดุ บนั ทึกการรับเงนิ - นักเรียน – นักศึกษา จะได้รบั ใบเสร็จทันทเี่ มอ่ื ชาระเงนิ - ใหน้ ักเรียน – นักศกึ ษา เกบ็ ใบเสรจ็ ไวอ้ ยา่ ใหห้ ายเพื่อประโยชน์ของตวั นักศกึ ษา 4. การตรวจสอบค่าเทอม สามารถตรวจสอบไดท้ ุกวันอาทิตย์ท่ี 3 ของทกุ เดือนติดต่อไดท้ ีฝ่ ่าย ธรุ การและการเงิน - กรณีจานวนเงนิ ค้างชาระขาด - เกิน ให้นกั เรยี นรวบรวมใบเสรจ็ มาติดตอ่ ฝา่ ยการเงิน เพือ่ ขอตรวจความถูกตอ้ ง - กรณที ี่ทาใบเสร็จหาย ให้นกั เรียนติดตอ่ ไดท้ ฝี่ า่ ยธรุ การและการเงนิ กอ่ นสอบลว่ งหน้า 1 อาทิตย์ 5. การเบกิ ค่าเล่าเรยี น - นักเรยี น-นกั ศึกษา ต้องชาระคา่ ธรรมเนียมการเรยี นใหค้ รบจานวนก่อน - นาเอกสารใบเสรจ็ รวบรวมทั้งหมด(ตัวจริง) มาทาเรื่องท่ีฝา่ ยธรุ การและการเงนิ - นาเอกสารท้ังหมดนาไปเบิกตน้ สังกัด

ห น้ า | 21 ๖. การผอ่ นชาระค่าเทอม - เขียนเอกสารผ่อนชาระค่าเทอมท่ฝี ่ายธุรการและการเงิน ก่อนสัปดาห์สอบ ๑ อาทิตย์ คอื เขยี นสปั ดาหท์ ี่ ๑ – ๓ เท่านั้น สัปดาหส์ อบไม่ใหด้ าเนินการใด ๆ นอกจากจ่ายคา่ เทอมเท่าน้นั 7...นกั ศกึ ษาเข้าเรียนระหว่างหลักสูตร - ในกรณีท่ีนักศกึ ษามาเรียนตอ่ ระหวา่ งหลกั สตู ร ระดบั ชน้ั ปวช. เทอมละ 3,000 บาท (ภาคปกตแิ ละภาคพิเศษ) ระดับชน้ั ปวส. เทอมละ 4,500 บาท โครงการประกนั อบุ ัตเิ หตุสาหรบั นักศกึ ษา เยาวชนเปน็ ทรัพยากรท่ีสาคญั การมีอนาคตท่ดี มี ีหน้าท่ีการงานท่ีดีเป็นส่ิงท่ีทุกคนตั้งความหวัง ไว้เมื่อจบการศึกษา แต่ในปัจจุบันจากสถิติของสานักงานคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยแห่งชาติ ปรากฏว่าประเทศไทยมสี าเหตขุ องการเสียชีวติ และพิการตา่ ง ๆ มาจากอบุ ตั ิเหตุเปน็ อนั ดับหนงึ่ จะเห็น ได้ว่าอุบัติเหตุมีมากข้ึน ทาให้เสียชีวิตและทรัพย์สินเป็นจานวนมาก ทางวิทยาลัยเทคโนโลยีบางปะกง บริหารธุรกิจ (BBC) ตระหนักถึงคุณค่าของเยาวชนผู้มีอนาคต จึงได้จัดโครงการประกันอุบัติเหตุ นักเรียน-นักศึกษาเพือ่ ช่วยแบ่งเบาภาระค่าใชจ้ ่ายที่อาจเกดิ ขน้ึ เม่ือนกั เรยี น - นกั ศึกษา ต้องประสบกับ อุบัติภัยที่คาดไม่ถึง โดยในปีการศึกษาแรก ทางวิทยาลัย ฯ เป็นผู้ชาระค่าประกันให้นกั เรียนทุกคนฟรี (สาหรับ ปวช.) ความคุ้มครอง ให้ความคุ้มครองอุบัติเหตุท่ัวโลกตลอด 24 ชั่วโมง ระยะเวลา 3 ปี เต็ม เริ่มตั้งแต่เปิดภาค เรียนที่ 1 จนจบการศึกษา ขณะศึกษาและประกอบกิจกรรมต่าง ในสถานศึกษาหรือนอกสถานศึกษา พักผ่อนอยู่กับบ้านเดินทางไป-กลับ ระหว่างบ้านกับสถานศึกษา ทัศนศึกษา เดินทาง ทางบก ทางนา้ ทางอากาศ เลน่ หรือซ้อมกฬี า การขบั รถ ขจ่ี ักรยานยนต์ และภัยจากอบุ ัติเหตอุ น่ื ๆ ค่าชดเชยค่ารักษาพยาบาล ในกรณีท่ีได้รับบาดเจ็บเนื่องจากอุบัติเหตุ จะจ่ายค่ารักษาพยาบาล ค่าผ่าตัด ค่าเอ็กซเรย์ ค่าจ้างพยาบาลพิเศษ ตามความเป็นจริงท่ีเกิดขึ้นในวงเงินไม่เกินท่ีระบุไว้ในสัญญา กรมธรรม์ และ เหตุการณ์นั้นต้องไม่เกิน 52 สัปดาห์ (ผู้ปกครองสารองจ่ายค่ารักษาพยาบาลก่อน จะได้รับเงิน ประกนั กลับคนื ในเวลาตอ่ มา) ค่ารักษาพยาบาลวงเงินไมเ่ กิน 10,000 บาท ตอ่ 1 กรณี และเสียชีวิต 100,000 บาท (ชดเชยตามความเหมาะสม) เบ้ียประกัน 260 บาท / คน /ปี (สาหรับนักเรยี น – นักศกึ ษา ปวช. ฟรี 3 ปี) เอกสารขอรบั เงินค่ารกั ษาพยาบาล “อบุ ัตเิ หตุ” 1. ใบรับรองแพทย์ 2. ใบเสร็จรับเงนิ ฉบบั จริง 3. บตั รประกันอุบตั เิ หตขุ องนักเรยี น-นกั ศึกษา

ห น้ า | 22 เอกสารขอรบั เงินประกนั อบุ ตั เิ หตุ(กรณเี สียชวี ิต) 1. สาเนาใบมรณะบตั รผู้เสียชีวติ (ประทับเจา้ หน้าท่ตี ารวจเซน็ ชอ่ื กากับด้วย) 2. สาเนาบันทกึ ประจาวนั ของเจา้ หนา้ ทีต่ ารวจ (ประทบั เจา้ หนา้ ท่ีตารวจเซน็ ชื่อกากับดว้ ย) 3. สาเนารายงานการชนั สตู รพลกิ ศพจากเจ้าหนา้ ท่ตี ารวจ (เซ็นชอื่ กากับดว้ ย) 4. สาเนาทะเบยี นบา้ น, ผู้เอาประกนั , ผู้รับผลประโยชน์ หรือบิดา มารดา (เซ็นชอ่ื กากบั ดว้ ย) 5. บตั รประชาชนผู้เอาประกัน (บัตรนกั ศกึ ษา) 6. สาเนาใบสาคญั การสมรสของบิดา มารดา (สาหรับบิดา, มารดาทีร่ บั ประโยชน์) 7. สาเนาบัตรประชาชนผูร้ บั ประโยชน์ หรอื บิดา มารดา (หมายเหตุ รอสนิ ไหมทดแทนประมาณ 30 วนั ทาการ) การกูย้ มื กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศกึ ษา (กยศ.) การพจิ ารณาคดั เลอื กผกู้ ้ยู ืมเงนิ นักเรียนหรอื นกั ศกึ ษาท่ีจะขอกู้ยืมเงินเพอื่ การศกึ ษา จะต้องมคี ณุ สมบตั ิท่วั ไปและไมม่ ลี กั ษณะ ตอ้ งหา้ ม ดังน้ี ก. คณุ สมบตั ิท่วั ไป ดังนี้ (1) มีสญั ชาติไทย (2) ศกึ ษาหรือไดร้ ับการตอบรบั ใหเ้ ข้าศกึ ษาอยู่ในสถานศกึ ษาที่ร่วมดาเนนิ งานกบั กองทนุ (3) เปน็ ผขู้ อกู้ยืมเงนิ เพ่ือการศึกษาในการเข้าศกึ ษาท่สี ถานศกึ ษาเพียงแหง่ เดยี วในคราวภาค การศกึ ษาเดียวกนั (4) มผี ลการเรียนดีหรอื ผา่ นเกณฑก์ ารวัดและประเมินผลของสถานศึกษา (5) มีความประพฤติดี ไม่ฝ่าฝืนระเบยี บขอ้ บังคับของสถานศกึ ษาขั้นร้ายแรงหรอื ไมเ่ ปน็ ผทู้ ม่ี ี ความประพฤตเิ ส่ือมเสีย เช่น หมกมนุ่ ในการพนัน เสพยาเสพตดิ ให้โทษ ดม่ื สุราเป็นอาจิณหรือเทีย่ วเตร่ ในสถานบันเทงิ เรงิ รมย์เปน็ อาจิณ เป็นตน้ ข. ลักษณะต้องหา้ ม ดังนี้ (1) เป็นผู้สาเรจ็ การศึกษาระดับปริญญาตรใี นสาขาใดสาขาหน่งึ มากอ่ น เวน้ แต่จะไดก้ าหนด เป็นอยา่ งอืน่ ในคณุ สมบตั เิ ฉพาะสาหรบั การใหเ้ งนิ กยู้ ืมเพื่อการศึกษาลกั ษณะหนง่ึ ลักษณะใด (2) เปน็ ผู้ปฏิบตั งิ านและรับเงินเดือนหรือค่าจ้างประจาในหนว่ ยงานของรฐั หรอื เอกชน ใน ลักษณะเต็มเวลาเวน้ แตจ่ ะไดก้ าหนดเป็นอยา่ งอืน่ ในคณุ สมบัติเฉพาะสาหรบั การใหเ้ งนิ กยู้ มื เพ่อื การศกึ ษาลกั ษณะหนง่ึ ลักษณะใด (3) เป็นบุคคลลม้ ละลาย (4) เป็นหรอื เคยเป็นผู้ได้รบั โทษจาคุกโดยคาพพิ ากษาถึงทีส่ ดุ ให้จาคุก เว้นแต่เปน็ โทษสาหรบั ความผดิ ทไ่ี ดก้ ระทาโดยประมาทหรอื ความผดิ ลหโุ ทษ (5) เปน็ หรอื เคยเป็นผทู้ ี่ผิดนดั ชาระหน้กี ับกองทนุ เวน้ แตไ่ ดช้ าระหน้ีดงั กลา่ วครบถว้ นแลว้ นอกจากที่กาหนดในขอ้ ก. และ ข. นกั เรยี นหรอื นักศึกษาผู้จะขอก้ยู ืมเงนิ เพ่อื การศกึ ษาในลกั ษณะใด ลักษณะหนง่ึ ต้องมคี ุณสมบัตเิ ฉพาะและไมม่ ลี กั ษณะต้องห้ามเฉพาะอื่นตามทค่ี ณะกรรมการประกาศ กาหนดสาหรบั การให้ก้ยู มื เงนิ เพอื่ การศกึ ษาในลกั ษณะนนั้ ๆ ด้วย 1.1 คณุ สมบตั ิเฉพาะของนักเรยี นหรอื นกั ศึกษาผู้ก้ยู ืมเงินกองทนุ

ห น้ า | 23 (1) เป็นผู้ทม่ี ีรายได้ต่อครอบครัว ไม่เกนิ สองแสนบาทตอ่ ปี ให้นกั เรียนหรอื นักศึกษาผ้ขู อกยู้ ืมเงนิ แนบหลักฐานใบสรปุ ยอดเงินเดอื นทไ่ี ดร้ บั ทั้งเดอื น (สลิปเงินเดอื น)หรือสาเนาบัตรสวสั ดิการแห่งรัฐ เว้นแต่ครอบครัวที่ไมม่ ีรายได้ประจาหรือไม่มีบัตร สวสั ดกิ ารแห่งรฐั ให้จดั หาเจ้าหน้าท่ีของรฐั เจา้ หน้าที่ของรฐั ผ้รู บั บาเหน็จบานาญ สมาชกิ สภาเขต สมาชิกสภากรงุ เทพมหานคร ผวู้ ่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือหวั หนา้ สถานศกึ ษาที่นกั เรยี นหรอื นักศึกษาผูข้ อกยู้ ืมเงนิ ศกึ ษาอยู่ เปน็ ผู้รบั รองรายได้เพ่ือให้กองทุนใชป้ ระกอบการพจิ ารณารายได้ต่อ ครอบครวั ดงั กลา่ วดว้ ย (2) เปน็ ผทู้ ีม่ ีอายุในขณะที่ขอกู้ยืมเงนิ กองทนุ โดยเมอ่ื นับรวมกับระยะเวลาปลอดหน้ี 2 ปี และระยะเวลาผ่อนชาระอีก 15 ปี รวมกันแลว้ ต้องไมเ่ กนิ 16 ปี (3) เปน็ ผ้ทู ีเ่ ข้าศึกษาในระดบั การศึกษามัธยมปลาย (สายสามญั /สายอาชพี ) ระดับอาชีวศึกษา (ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สงู อนุปรญิ ญา/ปริญญาตร)ี หรอื ระดับอุดมศกึ ษา (อนปุ ริญญา/ปริญญาตร)ี (4) เปน็ ผทู้ ท่ี าประโยชนต์ อ่ สังคมหรือสาธารณะในระหว่างปีการศกึ ษากอ่ นหนา้ ปีการศกึ ษาท่ี จะขอกูย้ ืมเงิน โดยมีหลักฐานการเข้ารว่ มโครงการ/กจิ กรรมทม่ี ปี ระโยชนต์ อ่ สังคมหรือสาธารณะท่ี นา่ เชือ่ ถือตามจานวนช่วั โมงที่กาหนดสาหรับผู้ขอกูย้ มื เงินแตล่ ะกลมุ่ (ก) กรณีเปน็ ผู้ก้ยู ืมเงินรายใหม่ หรอื เปน็ ผกู้ ูย้ มื เงินรายเกา่ เปลีย่ นระดับการศึกษาท่ีศกึ ษาใน ระดบั อนปุ รญิ ญาหรือปรญิ ญาตรี ไม่กาหนดจานวนชวั่ โมง (ข) กรณเี ป็นผู้กยู้ ืมเงินรายเก่าเล่ือนชั้นปที กุ ระดบั การศึกษา ไมน่ ้อยกว่าสามสิบหกชว่ั โมง เอกสารและหลักฐานทใี่ ชป้ ระกอบการพิจารณาผ้กู ู้ยมื เงนิ 1. แบบคาขอกยู้ ืมเงินทีจ่ ัดพมิ พ์ออกจากระบบ e-Studentloan 2. แบบคาขอกยู้ ืมเงนิ กองทุนเงินให้กูย้ มื เพ่ือการศกึ ษา (กยศ.101) พรอ้ มเอกสารประกอบ ดังน้ี  สาเนาบัตรประจาตวั ประชาชนของผู้ย่นื คาขอกู้ยมื เงิน  สาเนาบัตรประจาตวั ประชาชนของบดิ า และมารดา หรือผูป้ กครอง  สาเนาบัตรประจาตวั ประชาชนของคู่สมรสของผยู้ ่นื คาขอกู้ยืมเงนิ (ถ้ามี)  สาเนาทะเบยี นบา้ นของผูย้ ่นื คาขอกู้ยืมเงนิ บิดาและมารดาหรอื ผู้ปกครอง คสู่ มรส (ถา้ มี)  เอกสารประกอบการรับรองรายได้  มีรายได้ประจา  ไมม่ รี ายได้ประจา (กยศ.102) ให้นกั เรยี นหรอื นักศกึ ษาผ้ขู อกู้ยมื เงินแนบหลักฐานใบสรปุ ยอดเงินเดือนท่ไี ด้รับท้ังเดอื น(สลิปเงินเดอื น) หรือสาเนาบตั รสวัสดิการแห่งรัฐ เว้นแต่ครอบครัวทไ่ี ม่มีรายได้ประจาหรอื ไมม่ บี ัตรสวสั ดิการแหง่ รฐั ให้ จัดหาเจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐ เจ้าหนา้ ที่ของรฐั ผูร้ ับบาเหน็จบานาญ สมาชกิ สภาเขต สมาชิกสภากรงุ เทพมหานคร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร หรือหวั หนา้ สถานศึกษาทีน่ ักเรยี นหรือนกั ศึกษาผู้ขอกู้ยืมเงนิ ศึกษาอยู่ เป็นผู้ รบั รองรายได้ เพ่อื ใหก้ องทนุ ใช้ประกอบการพิจารณารายได้ตอ่ ครอบครวั ดงั กล่าวด้วย  แผนผงั แสดงท่ีตั้งของท่อี ยู่อาศัย พร้อมรปู ถา่ ยที่อย่อู าศัยของบดิ า มารดา หรอื ผูป้ กครอง  ใบแสดงผลการศกึ ษา / สาเร็จการศกึ ษาในปีการศกึ ษาที่ผ่านมา  บนั ทกึ กิจกรรมจติ อาสา  หนงั สือแสดงความคิดเหน็ ของอาจารย์แนะแนวหรอื อาจารยท์ ีป่ รึกษา (กยศ.103)  อนื่ ๆ (ถา้ มี)......................................................................................................................

ห น้ า | 24 หมายเหตุ : (ก) กรณีผู้ขอกู้ บิดา มารดา ผปู้ กครอง และ/หรือคู่สมรสของผ้ขู อกู้ยมื เงิน มีการ เปล่ียนแปลง ชอ่ื - สกุล ให้แนบสาเนาเอกสารหลักฐานประกอบการพจิ ารณา (ข) กรณบี ิดา มารดา ของผขู้ อก้เู สยี ชีวิต ใหแ้ นบสาเนาใบมรณะบตั ร หรือสาเนาทะเบียน บา้ นที่ประทบั คาว่า “ตาย” ประกอบการพจิ ารณา (ค) กรณบี ดิ า มารดา ของผู้ขอกู้ยมื เงนิ หย่ารา้ ง (กรณจี ดทะเบียนสมรส) ใหแ้ นบสาเนาใบ หย่ารา้ งประกอบการพิจารณา (ง) สาเนาเอกสารทกุ ฉบับต้องลงลายมือชอ่ื โดยเจ้าของเอกสาร เชน่ สาเนาบัตรประจาตัว ประชาชนของบดิ า บดิ าต้องเปน็ ผ้รู ับรองสาเนาถูกต้อง เปน็ ตน้ กาหนดการใหก้ ู้ยมื เงนิ กองทนุ เงนิ ใหก้ ้ยู มื เพ่ือการศกึ ษา ประจาปกี ารศึกษา 2563 ข้ันตอน กาหนดเวลา 1 เม.ย. - 30 มิ.ย. 2564 ภาคเรียนท่ี 1 1 เม.ย. - 31 ก.ค. 25๖4 1.ผขู้ อกยู้ ืมเงนิ รายใหม่ลงทะเบยี นขอรหสั ผ่านลว่ งหน้า (Pre-register) ไม่เกิน 31 ส.ค. 2564 โดยยังไมต่ ้องระบสุ ถานศึกษา(สาหรับผูก้ ยู้ ืมรายเงนิ รายเกา่ ไมต่ ้อง ดาเนนิ การข้นั ตอนนี้) ไมเ่ กนิ 15 ก.ย. 2564 2.ผ้ขู อกู้ยืมเงินยื่นแบบคาขอกยู้ ืนเงินผา่ นระบบ e-Studentloen 1 ก.ย. - 30 พ.ย. 25๖4 3.สถานศึกษาบันทกึ รอบวงเงนิ ประกาศรายช่อื ผู้ได้รบั การคัดเลอื กให้ ไม่เกนิ 31 ม.ค. 2565 กู้ยมื เงินสถานศกึ ษาตรวจสอบสัญญากู้เงินและ / หรือยนื ยันแบบ ไม่เกิน 15 ก.พ. 2565 ลงทะเบยี นเรียน 4.สถานศกึ ษาส่งเอกสารสญั ญากูย้ มื เงินและแบบลงทะเบยี นเรยี นให้ ผู้บริหารและจัดการเงินใหก้ ู้ยมื ภาคเรยี นท่ี 2 1.ผขู้ อกยู้ ืมเงินยื่นแบบคายืนยันการขอก้ยู นื เงินผ่านระบบ e- Studentloen 2.สถานศึกษาตรวจสอบและยืนยนั แบบลงทะเบียนเรยี น 3.สถานศกึ ษาสง่ เอกสารแบบลงทะเบยี นเรยี นใหผ้ บู้ ริหารและจัด การเงนิ ใหก้ ยู้ มื

ห น้ า | 25 *** สาหรับสถานศกึ ษาทีม่ กี ารจัดการเรยี นการสอนแบบ 3 ภาคเรยี น นักเรยี นหรอื นกั ศกึ ษาทีข่ าดแคลนทนุ ทรพั ย์ กองทุนจะให้กู้ยืมเพือ่ การศึกษาไม่เกินขอบเขต การใหก้ ูย้ ืมเพื่อการศกึ ษา ประเภทวชิ า สถานศกึ ษาหรอื ระดับช้นั การศกึ ษา และหลักสตู รท่ีจะใหก้ าร กู้ยืมเพื่อการศกึ ษา ตามที่กาหนดไว้ในแต่ละรายการ ดังนี้ ระดบั การศึกษา/สาขาวิชา คา่ เลา่ เรยี นและ ค่าครอง รวม ค่าใชจ้ า่ ยที่ ชีพ บาท/ 1. มธั ยมศึกษาตอนปลาย เกี่ยวเน่ืองกับ 2. ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) การศกึ ษา บาท/ราย ราย/ปี 3. ปวท. / ปวส. หรือเทียบเทา่ กองทนุ จะให้กูย้ ืมไมเ่ กิน บาท/ราย/ปี ปี ขอบเขตการใหเ้ งนิ กู้ยืมเพอื่ การศึกษาประเภทวิชาและ สาขาวิชา ดงั นี้ 14,000 14,400 28,400 3.1 ประเภทวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ ศิลปกรรม คหกรรม และ 36,000 57,000 อุตสาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว 21,000 3.2 ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม เกษตรกรรม ประมง อุตสาหกรรมส่ิงทอ เทคโนโลยสี ารสนเทศการสอ่ื สาร 25,000 28,800 53,800 วิทยาศาสตร์สุขภาพ 3.2.1 สาขาชา่ งอาศยาน ช่างเทคนิคระบบขนสง่ ราง การ 60,000 28,800 88,800 ตรวจสอบโดยไมท่ าลายการเดินเรอื 30,000 28,800 58,800 3.2.2 สาขาอ่นื ๆ นากจาก 3.2.1 เบอรโ์ ทรศพั ท์ตดิ ตอ่ วิทยาลัยบางปะกงบรหิ ารธุรกจิ 1. 085 – 955 – 5503 อ.กมลชนก ผู้รับติดต่อ 2. 038 – 538 – 809 สายตรงวิทยาลยั ฯ 3. 080 – 209 – 9033 โทรศัพท์เคลอื่ นท่วี ทิ ยาลัย ฯ 4. 0๙๖ – ๙๙๑ – ๕๑๔๔ ผ้อู านวยการ ฯ

ห น้ า | 26 ภาคผนวก

ห น้ า | 27 ระเบียบเคร่อื งแตง่ กายนกั ศกึ ษาวิทยาลัยเทคโนโลยบี างปะกงบริหารธรุ กิจ ระดับ ปวช. เขม็ กลดั เคร่อื งหมายวทิ ยาลยั ฯ เสื้อสูทสีกรมทา่ ตดิ อกดา้ นขวา มเี ครื่องหมายวทิ ยาลัย ฯ ด้านซา้ ย ตุ้งติง้ เครอื่ งหมายวิทยาลยั ฯ หวั เขม็ ขัด มเี คร่อื งหมายวิทยาลยั ฯ ตรงกลาง เนทไทสกี รมทา่ สายเข็มขัดสีดา เสื้อแขนยาวสขี าว กระโปรงสีกรมทา่ ความยาว 18 นิว้ รองเทา้ สดี า มีส้น 1 นวิ้ ขึ้นไป

ห น้ า | 28 ระเบียบเคร่ืองแตง่ กายนกั ศกึ ษาวิทยาลัยเทคโนโลยบี างปะกงบริหารธุรกจิ ระดบั ปวช. เขม็ กลดั เครื่องหมายวิทยาลัย ฯ เส้ือเช้ิตแขนยาวสี ตดิ อกด้านขวา ขาว เนทไทสกี รมทา่ เสื้อสูทสีกรมท่า มีเครอ่ื งหมายวิทยาลยั ฯ ดา้ นซา้ ย หวั เขม็ ขัด มีเครื่องหมาย วิทยาลัย ฯ สายเข็มขัดสีดา กางเกงขายาวสกี รมท่า รองเท้าสุภาพบรุ ษุ สีดา

ห น้ า | 29 วิทยาลยั เทคโนโลยบี างปะกงบริหารธุรกจิ (BBC) รายละเอยี ดเครอ่ื งแบบนักศกึ ษา หลักสูตรประกาศวชิ าชพี ช้ันสูง เคร่ืองแบบนักศกึ ษาหญิง ระดบั ปวส. เส้ือเชติ้ แขนส้ัน สขี าว เสื้อเขา้ รปู ใสท่ ับในกระโปรง ตดิ ต้งุ ต้ิงที่ปกเสือ้ ดา้ นซ้าย ตดิ เขม็ กลัดตราวิทยาลยั ฯ อกด้านขวา เข็มขดั หนงั สีดา หัวเข็มขัดตราวทิ ยาลยั ฯ กระโปรงส้ันเหนอื หวั เข่าหรอื ยาว สีดา

ห น้ า | 30 วิทยาลยั เทคโนโลยบี างปะกงบริหารธรุ กิจ (BBC) รายละเอยี ดเครือ่ งแบบนักศกึ ษา หลักสตู รประกาศวชิ าชีพชน้ั สูง เคร่อื งแบบนกั ศกึ ษาชาย ระดับ ปวส. เสอ้ื เชต้ิ แขนยาวหรือแขนส้นั สขี าว ผกู เนคไทสีดา ติดเขม็ กลัดตราวทิ ยาลัย ฯ เขม็ ขัดหนังสีดา หัวเขม็ ขัดตราวทิ ยาลยั ฯ กางเกงขายาวทรงแสลค สดี า

สร้างคนดี มีความรู้ สูส่ งั คม www.bbc-bangpakong.ac.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook