Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จริยธรรมคอม ฯ

จริยธรรมคอม ฯ

Published by tamcomed50, 2020-11-11 15:56:56

Description: จริยธรรมคอม ฯ

Search

Read the Text Version

ใบความรู วิชาจริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร (Ethics and Computer Laws) 2-0-2 รหัสวชิ า 20204–2009 จุดประสงคร ายวิชา เพอ่ื ให 1. เขา ใจเกี่ยวกบั จรยิ ธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร 2. เขาใจในหลักกฎหมายท่ีเก่ียวขอ งคอมพิวเตอรและ พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร 3. เขาใจในหลักกฎหมายลขิ สิทธิ์ สิทธบิ ตั ร 4. มเี จตคติและกจิ นิสัยทด่ี ใี นการปฏบิ ตั งิ านคอมพิวเตอรดวยความละเอียดรอบคอบ และถกู ตอง สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรเู กย่ี วกับจริยธรรมในอาชพี คอมพวิ เตอร 2. แสดงความรูกฎหมายทเี่ ก่ียวของคอมพวิ เตอรและ พระราชบญั ญัติคอมพวิ เตอร 3. แสดงความรเู กี่ยวกับหลกั กฎหมายลขิ สทิ ธแ์ิ ละกฎหมายสทิ ธบิ ัตร คาํ อธิบายรายวิชา ศึกษาเกีย่ วกับจรยิ ธรรมในอาชพี คอมพิวเตอร หลกั กฎหมายวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร พระราชบญั ญตั ิคอมพิวเตอร กฎหมายลขิ สิทธิ์และ กฎหมายสทิ ธิบัตร

หนวยท่ี 1 บทบาทและความสําคญั ของอาชีพคอมพิวเตอร ความหมายของงานอาชีพคอมพิวเตอร งานอาชีพคอมพิวเตอร หมายถึงงานบริการดานคอมพิวเตอรตาง ๆ ซ่ึงมีความสัมพันธและเก่ียวของกับระบบ คอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศ ทั้งระบบฮารดแวร (Hard ware) ซอฟตแวร (Soft ware) และพิเพิลแวร (People ware) หรอื บคุ ลากรดา นคอมพวิ เตอร ขอบขายของงานอาชพี คอมพิวเตอร 1. งานบรกิ ารสารสนเทศ (Information Service) เปนงานบริการทางดา นขอมลู และขอเทจ็ จริงดา นตางๆ เปน กระบวนการในการรวบรวมขอมลู เก่ยี วกบั ความรู ขา วสารในทางการศึกษา อาชีพ สงั คม ตลอดจนความรูดา นอ่ืน ๆ ท่จี ะ เปนประโยชนตอการตัดสนิ ใจ การวางแผนในการดาํ เนินธรุ กิจศึกษาแนวโนมของธุรกิจ จึงเกิดงานบริการสนเทศดา นตาง ๆ อาทิ งานบริการสนเทศทางการศกึ ษา(Education Information) บรกิ ารสนเทศทางอาชีพ (Occupational Information) บรกิ ารสนเทศทางดานบคุ คลและสงั คม (Personal and Social Information) และท่ีนิยมใชบ ริการกัน มากทีส่ ุดในปจจุบันก็คือการใชบ รกิ ารอินเทอรเน็ต (Internet Service) 2. งานบรกิ ารดา นฮารดแวร เปน งานบรกิ ารท่เี ก่ียวขอ งกับระบบฮารด แวรคอมพวิ เตอรไดแกธ ุรกิจการคาดา น วสั ด-ุ อุปกรณและระบบเคร่ืองคอมพวิ เตอร, การประกอบคอมพวิ เตอร การติดต้ังระบบเครือขายคอมพิวเตอร,งานซอม บํารุงรักษาคอมพิวเตอร เปน ตน 3. งานบริการดานซอฟตแวร เปนงานบริการทางดานซอฟตแวรตาง ๆ ไดแก การติดตั้งโปรแกรม, การเขียน โปรแกรมและการใชงานโปรแกรมประยุกตส ําหรับงานตาง ๆ การสรา งและพัฒนาเว็บ,การบํารุงรักษาและแกไขปญหา ทางดา นซอฟตแวร รวมท้งั การนําซอฟตแวรประยุกตไปใชงานการประกอบอาชีพตาง ๆ เชน การเขียนแบบ,ออกแบบ ผลิตภัณฑ,การตกแตงภาพถาย,งานตัดตอวีดีโอและภาพยนตร งานบริการดานระบบฐานขอมูลตาง ๆ การจัดทํา โฆษณา โปรแกรมการเรยี นรู CAI ตาง ๆ เปน ตน 4. งานบริการเก่ียวกับการพัฒนาบคุ ลากรดานคอมพิวเตอรหรือ พิเพิลแวร เปนงานท่ีเก่ียวของกับบุคลากรท่ี ทาํ งานดานคอมพิวเตอร ต้งั แตร ะดบั ผูบ ริหาร นักออกแบบและวิเคราะหระบบ ไปจนถงึ ผูใชงานคอมพวิ เตอร (User) เปน งานท่ีใหความรูและพัฒนาบุคลากร เชน การจัดอบรมบุคลากรในหนวยงานตาง ๆ ใหสามารถใชง านโปรแกรมประยุกต การดูแล แกปญหาและการบํารุงรักษาระบบเบอ้ื งตน การพัฒนาบคุ ลากรในการสรางและพัฒนาซอฟตแวรตาง ๆ ขึน้ มา ใชงานเองได บุคลากรทางคอมพวิ เตอร คลากรทางคอมพิวเตอร หมายถึง คนที่มีความรูความสามารถในการใชหรอื ควบคุมใหก ารใชค อมพิวเตอรเ ปนไป อยางราบรน่ื อาจจะประกอบดวยคนเพียงคนเดยี วหรอื หลายคนชว ยกนั รับผดิ ชอบ โครงสรางของหนว ยงานคอมพิวเตอร 1. ฝา ยวิเคราะหแ ละออกแบบระบบงาน 2. ฝา ยเกยี่ วกับโปรแกรม 3. ฝายปฏิบัตงิ านเคร่อื งและบริการ

บคุ ลากรในหนวยงานคอมพิวเตอร 1. หวั หนาหนว ยงานคอมพวิ เตอร (EDP Manager) 2. หัวหนาฝายวเิ คราะหแ ละวางแผนระบบงาน (System Analyst หรือSA) 3. โปรแกรมเมอร (Programmer)4. ผูค วบคมุ เคร่อื งคอมพิวเตอร (Computer Operator) 5. พนกั งานจัดเตรยี มขอมลู (Data Entry Operator) บทบาทและหนาท่ีของบุคลากรทางคอมพิวเตอร บคุ ลากรทางคอมพวิ เตอรเปนองคป ระกอบทสี่ าํ คญั สวนหน่งึ ของระบบสารสนเทศคอมพวิ เตอร ทง้ั น้เี นื่องมาจาก การทํางานของคคอมพวิ เตอรจําเปน อยางยิ่งที่จะตองมีบุคลากรทางดา นคอมพิวเตอรเปน ผผูออกแบบและพัฒนาระบบ รวมท้ังการสั่งใหคอมพิวเตอรทํางานตามวัตถุประสงคที่ตองการบุคลากรทีมีความเก่ียวของกับระบบคอมพิวเตอร มี บทบาทและหนาทแ่ี ตกตา งกนั ขนึ้ อยกู บั ลักษณะของงานที่รับผิดชอบ ซ่งึ สามารถสรุปเปน ประเภทใหญ ๆ ไดดงั น้ี 1. เจาหนาท่ีปฏิบตั ิการ (operator) เปนผูรับผิดชอบดูแลเครื่องคอมพิวเตอรใหสามารถทํางานไดตามปกติ หาก เกิดปญ หาขดั ข้ืองเกีทื่ยวกับระบบจะตองแจงใหผูท่ีเก่ียวของ ไดทราบ เพอ่ื ทําการแกไข นอกจากน้เี จาหนา ที่ปฏิบัติการยัง ทาํ หนาทีบ่ ํารุงรกั ษาอุปกรณท่มี ีอยูใหส ามารถพรอมทีจ่ ะนําไปใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพเจา หนาทีป่ ฏิบัติการยังรวมถึง เจาหนาที่บันทึกขอมูลเขาสูระบบ (date - entry operator)ท่ีทําหนาท่ีปอนขอมูลเขาสูระบบ ตลอดจนจัดทํารายงาน และรวบรวมเอกสารคอมพวิ เตอรใหเปนระเบียบ 2. บุคลากรท่ีเกี่ยวของกับระบบ (system) และโปรแกรม (program)บุคลากรคอมพิวเตอรในกลุมนี้ ประกอบดวย 2.1 นักวิเคราะหและออกแบบระบบ (systems analyst and designer) ทําหนาท่ีศึกษาและรวบรวมความ ตองการของผูใชร ะบบ เพ่ือนํามาวิเคราะหและออกแบบระบบงานใหม และทําหนาท่ีเปนสอื่ กลางระหวางผูใชร ะบบและ นักเขยี นโปรแกรม (programmer) 2.2 ผูบริหารฐานขอมูล (database administrator ) ทําหนาที่ออกแบบและดูแลระบบฐานขอมูลคอมพิวเตอร ตลอดจนบํารุงรกั ษาและแกไขปญ หาทอ่ี าจเกดิ ขึ้นกับฐานขอมูลคอมพวิ เตอรข ององคก าร 2.3 นักพัฒนาโปรแกรมระบบ (system programmer) เปนผูเขียนโรแกรมควบคุมระบบคอมพิวเตอร ให คาํ ปรึกษาและแกไ ขระบบเม่อื เกิดปญหาท่เี ก่ยี วของกบั ระบบคอมพวิ เตอร 2.4 นกั พฒั นาโปรแกรมประยุกต (application programmer) เปน ผูเขยี นและพัฒนาโปรแกรมประยุกตตา ง ๆ โดยการนําผลท่นี ักวิเคราะหระบบไดออกแบบไวน ักเขียนโปรแกรมประยุกต จะตองทําการทดสอบ แกไขโปรแกรม ติดตั้ง และบาํ รงุ รกั ษาโปรแกรมท่พี ฒั นาขึน้ 3. ผูจัดการศูนยป ระมวลผลคอมพวิ เตอร (electronic data processing manager) ผูจดั การศนู ยคอมพิวเตอร หรือ EDP manager เปน บุคลากรระดบั บรหิ ารที่ทาํ หนา ท่ีกําหนดนโยบายและแผนการดาํ เนนิ งาน ของศนู ยคอมพวิ เตอร การวางแผนเรื่องงบประมาณและการจดั หาทรพั ยากรคอมพวิ เตอร ตลอดจนการสง เสรมิ และพัฒนาบุคลากรในหนว ยงาน ใหมคี วามรคู วามสามารถ ทันกบั เทคโนโลยีสมัยใหม 4. ผูใชคอมพิวเตอร (computer user) เปนผูใหขอมูลความตองการในการนําคอมพิวเตอรมาใชงานใน หนว ยงาน ตลอดจนเปนผใู ชระบบคอมพิวเตอรท ไี่ ดพ ัฒนาข้ึน หรือใชโปรแกรมประยุกตอ่นื ๆ พีเพิลแวร คือ ผูปฏิบตั งิ านตามกระบวนวิธีการในกิจกรรมตางๆ อันไดแก การสรางหรือเก็บรวบรวมขอมูล บาง กลุมอาจทําหนาที่ในการพัฒนาซอฟทแวรข ึ้นมาใหมๆ ตามความตองการและในการประมาลผล และอาจเปล่ียนแปลง

โปรแกรมทมี่ อี ยแู ลว ใหส อดคลองตามความตอ งการที่เปล่ียนแปลงในโอกาสตา งๆ จะเหน็ วา บคุ ลากรทางคอมพิวเตอรบาง กลุมทําหนาท่ีสรางกระบวนการวิธีการใหแกบุคลากรทางคอมพิวเตอรกลุมอ่ืนๆ ไดเพื่อใหการทํางานหรือใชงานดวย คอมพิวเตอรที่มีประสิทธิภาพ บุคคลท่ีเก่ียวของกับคอมพิวเตอรมีหลายประเภท ซ่ึงแตละประเภทก็มีหนาท่ีและความ รบั ผดิ ชอบแตกตางกันไปดังน้ี ผูใชงานคอมพิวเตอร (User) หมายถงึ ผใู ชงานคอมพวิ เตอรท ั่วไป สามารถทาํ งานตามหนาท่ี ในหนวยงานนนั้ ๆ เชน การพิมพงาน การปอนขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร การสงจดหมายอิเลก็ ทรอนกิ ส เปนตน ผูใช คอมพวิ เตอรไมจ ําเปนตอ งมีความรดู า นเทคนิคตา งๆ ของคอมพวิ เตอรกไ็ ด -ผูดูแลและซอมบํารุงเคร่ืองคอมพิวเตอร (Supporter) หมายถึงผูดูแลและคอยตรวจสอบสภาพเคร่ือง คอมพิวเตอรเพื่อใหมีสภาพความพรอมที่จะทํางานไดตลอดเวลา กลุมน้ีจะเรียนรูเทคนิคการรักษา ดูแลเครื่อง คอมพวิ เตอร ตลอดการตอ เชอื่ ม ตลอดจนการใชงานโปรแกรมตา งๆ คอนขางดี -ผูเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร (Programmer) หมายถึงผูเขียนโปรแกรมตามผูออกแบบและวิเคราะหระบบ คอมพิวเตอรเปนผูกําหนด เพื่อใหไดโปรแกรมท่ีตรงตามวัตถุประสงคการใชงานในองคกร กลุมนี้จะศึกษามาทางดาน ภาษาคอมพิวเตอรโ ดยเฉพาะ สามารถเขียนคาํ ส่ังคอมพิวเตอรโ ดยภาษาตางๆ ได และเปนนกั พัฒนาโปรแกรมใหคนอ่ืน เอาไปใชง าน -ผูออกแบบและวิเคราะหระบบคอมพิวเตอร (System Analysis) เปนผูท่ีมีหนาท่ีพิจารณาวาองคกรควรจะใช คอมพิวเตอรใ นลักษณะใดจึงจะเหมาะสม เกดิ ประโยชนส งู สุดและไดคุณภาพดี เปนผูอ อกแบบโปรแกรมกอนสงงานไปให โปรแกรมเมอรท าํ งานในสว นตอ ไป -ผบู รหิ ารระบบคอมพิวเตอร (System Manager) เปนผมู หี นา ทีบ่ ริหารทรพั ยากรทุกชนิดที่เก่ียวกบั คอมพิวเตอร ใหเ กิดประโยชนสูงสดุ แกองคกร ความรทู ี่จาํ เปนในงานอาชพี คอมพิวเตอร 1. จอภาพ ( Monitor ) เปนอุปกรณแ สดงผลที่มีความสาํ คญั มากท่สี ดุ เพราะจะตดิ ตอโดยตรงกบั ผูใช ชนิดของจอภาพท่ีใชใ นเครื่องพซี โี ดยทัว่ ไปจะแบงไดเ ปน 2 ชนดิ 1.1 จอซอี ารท ี (CRT : Cathode Ray Tube) โดยมากจะพบในคอมพวิ เตอรต งั้ โตะ ซ่ึงลักษณะ จอภาพชนิดน้ี จะคลายโทรทัศน ซึง่ จะใชห ลอดสญุ ญากาศ 1.2 จอแอลซดี ี ( LCD : Liquid Crystal Display ) ซ่ึงมี ลกั ษณะแบนราบ จะมี ขนาดเลก็ และบาง เม่ือ เปรยี บเทียบกับจอภาพแบบซีแอลที การทํางานนัน้ จะไมเหมอื นกบั จอแบบ CRT แมสกั นิดเดยี ว ซึ่งการแสดงภาพ นัน้ จะซับซอนกวามาก การทํางานนนั้ อาศยั หลกั ของการใชความรอนท่ีไดจ ากขดลวด มาทําการเปลย่ี นและ บงั คับ ใหผลกึ เหลวแสดงสีตา ง ๆ ออกมาตามท่ี ตองการซ่งึ การแสดงสนี ั้นจะเปน ไปตามท่ีกําหนด ไวตามมาตรฐานของแตล ะ บริษัท จงึ ทาํ ใหจ อแบบ LCD มี ขนาด ทีบ่ างกวาจอ CRT อยมู าก อีกท้งั ยังกนิ ไฟนอยกวา จึงทาํ ใหผูผ ลิตนาํ ไปใชง านกบั เครอื่ งคอมพิวเตอรแบบ เคลอ่ื นที่ โนตบคุ และเดสโนต ซึ่งทาํ ใหเครื่องมีขนาดท่ีบางและเล็กสามารถพกพาไปไดสะดวก ในสวนของการใชงาน

กับเคร่ือง เดสกท ็อปทว่ั ไป กม็ ีซง่ึ จอแบบ LCD นีจ้ ะมีราคาท่แี พงกวาจอทั่วไปอยูประมาณ 2 เทาของ ราคาในปจ จบุ ัน 2. เคส ( Case ) เคส คอื โครงหรือกลองสาํ หรบั ประกอบอุปกรณต า ง ๆ ของคอมพวิ เตอรไ วภายใน การ เรยี กชอ่ื และขนาด ของเคสจะแตกตางกนั ออกไป ซ่ึงในปจ จุบนั มหี ลายแบบทนี่ ิยมกนั แลวแตผ ซู ื้อจะเลือกซื้อตามความ เหมาะสมของงาน และสถานที่น้ัน 3. พาวเวอรซพั พลาย ( Power Supply ) เปนอปุ กรณท ่ที ําหนา ทีใ่ นการจา ยกระแสไฟฟา ใหกับช้ินสวน อปุ กรณค อมพิวเตอร ซึ่งถาคอมพิวเตอรม ีอุปกรณต อ พวงเยอะๆ เชน ฮารดดิสก ซดี รี อมไดรฟ ดีวดี ีไดรฟก ค็ วรเลือกพาว เวอรซ ัพพลายท่มี จี ํานวนวตั ตสูง เพอ่ื ใหสามารถ จายกระแสไฟไดเพยี งพอ 4. คยี บอรด ( Keyboard ) เปน อปุ กรณใ นการรับขอมลู ท่สี ําคัญทสี่ ดุ มลี กั ษณะคลา ยแปนพิมพ ของเคร่ือง พิมพด ดี มจี ํานวนแปน 84 - 105 แปน ขึน้ อยกู ับแปน ทเี่ ปน กลุม ตวั เลข (Numeric keypad) กลุมฟงกชัน (Function keys) กลุม แปน พเิ ศษ (Special-purpose keys) กลมุ แปนตวั อักษร (Typewriter keys) หรือกลุมแปน ควบคุมอน่ื ๆ (Control keys) ซ่งึ การส่ังงานคอมพวิ เตอรแ ละการทาํ งานหลายๆ อยางจาํ เปนตองใชแปนพิมพเ ปน หลัก 5. เมาส ( Mouse ) อุปกรณรับขอมูลท่ีนิยมรองจากคียบอรด เมาสจะชวยในการบงช้ีตําแหนงวาขณะนี้ กําลังอยู ณจุดใดบนจอภาพ เรียกวา \"ตัวช้ีตําแหนง (Pointer)\" ซ่ึงอาศยั การเลื่อนเมาสแทนการกดปุมบังคับทิศทางบน คียบอรด 6. เมนบอรด ( Main board ) แผนวงจรไฟฟาแผนใหญท่ีรวมเอาช้ินสวนอิเล็กทรอนิกสท่ีสําคัญๆมาไว ดวยกัน ซ่ึงเปนสวนท่คี วบคุม การทํางานของ อุปกรณตางๆ ภายในพีชที ั้งหมด มีลักษณะเปนแผน รูปรางสี่เหล่ียมแผนที่ ใหญท ส่ี ดุ ในพชี ี ที่จะรวบรวมเอาชิปและไอชี (IC = Integrated Circuit) รวมทัง้ การด ตอ พว งอืน่ ๆ เอาไวด ว ยกนั บนบอรด เพียงอันเดียวเคร่ืองพชี ที ุกเครอื่ งไมส ามารถทาํ งาน ไดถา ขาดเมนบอรด 7. ซีพียู ( CPU ) ซีพียูหรือหนวยประมวลผลกลาง เรียกอีกช่ือหน่ึงวา โปรเซสเซอร (Processor) หรือ ชิป (chip)นับเปน อปุ กรณท มี่ คี วามสําคัญมากที่สดุ ของฮารด แวร เพราะมีหนาทีใ่ นการประมวลผลจากขอ มูลที่ผูใชป อน เขามา ทางอปุ กรณน ําเขาขอ มลู ตามชดุ คาํ ส่งั หรือโปรแกรมทีผ่ ใู ชตอ งการใชงาน หนวยประมวลผลกลาง ประกอบดวยสวนสําคัญ 3 สว น คอื 1) หนว ยคาํ นวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit: ALU) หนวยคํานวณตรรกะ ทาํ หนา ทเ่ี หมือนกบั เครื่องคํานวณอยูในเคร่อื งคอมพวิ เตอร โดยทาํ งานเกีย่ วกับการคาํ นวณทางคณติ ศาสตร เชน บวก ลบ คณู หาร อีกท้ังยังมีความสามารถอีกอยางหนงึ่ ท่ีเคร่อื งคํานวณธรรมดาไมม ี คอื ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร หมายถึง ความสามารถในการเปรยี บเทยี บตามเงื่อนไขและกฎเกณฑทางคณติ ศาสตร เพ่ือใหไ ดคําตอบออกมาวา เงอื่ นไขน้ันเปน จรงิ หรอื เท็จ ได 2) หนวยควบคุม (Control Unit) หนวยควบคมุ ทําหนา ทีค่ วบคุมลาํ ดับขั้นตอนการประมวลผล รวมไปถงึ การประสานงานกับอปุ กรณน ําเขา ขอมูล อุปกรณแ สดงผล และหนวยความจาํ สํารองดว ย ซีพียูทมี่ จี าํ หนา ยใน ทอ งตลาดไดแ ก Pentium III , Pentium 4 , Pentium M (Centrino) , Celeron , Dulon , Athlon 8. การดแสดงผล ( Display Card ) การดแสดงผลใชสาํ หรบั เกบ็ ขอ มูลท่ีไดรบั มาจากซพี ียู โดยทก่ี ารดบาง รนุ สามารถประมวลผลไดใ นตวั การด ซ่ึงจะชวยแบงเบาภาระการประมวลผลใหซพี ยี ู จึงทาํ ใหการทํางานของคอมพิวเตอร

นั้นเร็วขนึ้ ดวย ซ่ึงตัวการดแสดงผลนั้นจะมีหนวยความจําในตวั ของมันเอง ถาตัวการดมหี นวยความจํามาก ก็จะรับขอมูล จากซีพยี ูไดม ากขน้ึ ซง่ึ จะชว ยใหก ารแสดงผลบนจอภาพมคี วามเร็วสงู ขน้ึ ดวย 9. แรม ( RAM ) ยอมาจากคําวา Random-Access Memory เปนหนวยความจําหลักแตไมถาวร ซึ่ง จะตองมีไฟมาหลอเลี้ยงอุปกรณตลอดในการทํางาน โดยถาเกิดไฟฟากระพริบหรือดับ ขอมูลที่ถูกบันทึกไวใน หนวยความจาํ จะหายไปทนั ที 10. ฮารด ดิสก ( Hard disk ) เปนอุปกรณท ี่ใชในการเก็บขอมลู หรือโปรแกรมตา งๆ ของคอมพิวเตอร โดย ฮารดดิสคจะมีลักษณะเปนรูปส่ีเหล่ียมที่มีเปลือกนอก เปนโลหะแข็ง และมีแผงวงจรสําหรับการควบคุมการทํางาน ประกบอยูที่ดานลาง พรอมกับชองเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง สวนประกอบภายในจะถูกปดผนึกไวอยาง มิดชิด โดยฮารดดิสคส วนใหญจ ะประกอบดวยแผน จานแมเ หลก็ (platters) สองแผนหรอื มากกวามาจัด เรียงอยูบนแกน เดยี วกนั เรยี ก Spindle ทําใหแ ผน แมเ หล็กหมุนไปพรอม ๆ กนั จากการขับเคล่ือนของมอเตอร แตละหนาของแผนจาน จะมีหัวอานเขียนประจําเฉพาะ โดยหัวอานเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคลายหวี สามารถเคลื่อนเขาออกระหวางแทร็ก ตา งๆ อยา งรวดเรว็ ซ่ึงอินเตอรเ ฟสของฮารด ดิสกท ี่ใชในปจจบุ ัน มีอยู 3ชนิดดว ยกนั 11. CD-ROM / CD-RW / DVD / DVD-RW เปนไดรฟสําหรับอานขอมูลจากแผนซีดีรอม หรือดีวีดีรอม ซ่ึงถาหากตอ งการบันทึกขอมูลลงบนแผน จะตองใชไดรฟทีส่ ามารถเขียนแผนไดคือ CD-RW หรือ DVD-RWโดยความเร็ว ของ ซีดีรอมจะเรียกเปน X เชน 16X , 32X หรอื 52X โดยจะมี Interface เดียวกับ Harddisk 12. ฟล็อปปดิสก ( Floppy Disk ) เปนอุปกรณท ่ีกําเนิดมากอนยุคของพีซีเสียอีก โดยเริ่มจากท่มี ีขนาด 8 นิ้วกลายมาเปน 5.25 น้ิว จนมาถึงปจจุบันซ่ึงอยูที่ 3.5 น้ิว ในสวนของความจุเร่ิมตนตั้งแตไมกี่รอยกิโลไบตมาเปน 1.44 เมกะไบต และ 2.88เมกะไบตตามลาํ ดับ ซอฟตแ วรคอมพิวเตอร Software (ซอฟตแวร) เปน องคป ระกอบของคอมพิวเตอรทีเ่ ราไมสามารถสมั ผัสจับตอ งไดโ ดยตรง เปน ชดุ คําสั่ง หรือโปรแกรม (Program) ท่ีเขียนขึ้นเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางาน ซอฟตแวรจึงเปนเสมือนตัวเช่ือมระหวางผูใชงานกับ คอมพวิ เตอรใ หส ามารถเขาใจกันได ซอฟตแวรแบง ออกเปน 2 ประเภท คือ 1. ซอฟตแวรร ะบบ 2. ซอฟตแวรป ระยุกต 1. ซอฟตแ วรร ะบบ (System Software หรอื Operating Software : OS) หมายถึงโปรแกรมท่ีทําหนาท่ีประสานการทํางาน ติดตอการทํางาน ระหวางฮารดแวรกับซอฟตแวรประยุกต เพื่อใหผูใชสามารถใช Software ไดอยางมีประสิทธิภาพ และทําหนาที่ในการจัดการ ระบบ ดูแลรักษาเคร่ือง การแปล ภาษาระดบั ต่าํ หรือระดับสูงใหเ ปน ภาษาเครื่องเพื่อใหเครื่องอา นได เขา ใจ ซอฟตแวรร ะบบ แบงได 4 ชนดิ ดังน้ี 1.1 ระบบปฏิบัติการ (Operating System) หมายถึง ชุดโปรแกรมท่ีอยูระหวางฮารดแวรและซอฟตแวร ประยุกตมีหนาท่ีควบคมุ การ ปฏิบัติงานของฮารดแวร และสนบั สนนุ คําสั่งสําหรบั ควบคุมการทํางานของฮารดแวรใหกับ ซอฟตแวรประยุกต เชน Windows XP , DOS , Linux , Mac OS X

1.2 ยูทิลิต้ี (Utility Program) เปนโปรแกรมท่ีทําหนาท่ีเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร ทําใหเคร่ือง ทํางานงายขึ้นเร็วข้ึน และการปองกันการรบกวนโดยโปรแกรมที่ไมพึงประสงค เชน โปรแกรมปองกันไวรัส , โปรแกรม Defrag เพอื่ จดั เรียงขอมลู บนฮารดดิสกใหม ทําใหก ารอานขอมูลเรว็ ขนึ้ , โปรแกรมยกเลิกการติดตง้ั โปรแกรม Uninstall Program , โปรแกรมบีบอัดไฟล (WinZip-WinRAR)เพื่อทําใหไฟลมีขนาดเล็กลง ,โปรแกรมการสํารองขอมูล(Backup Data) 1.3 ดีไวซไดเวอร (Device Driver หรือ Driver) เปนโปรแกรมท่ีทําหนาท่ีติดตอกับคอมพิวเตอรในสวนการ รับเขาและการสงออก ของแตละอุปกรณ เชน เมอื่ เราซื้อกลองวีดีโอมาใหมและตอ งการนําเอาวดี ีโอท่ีถายเสรจ็ นําไปตัด ตอท่ีคอมพิวเตอร ก็ตองติดตั้งไดเวอร หรือโปรแกรมที่ติดมากับกลอง ทําการติดตั้งที่เครื่องคอมพิวเตอรเพื่อใหเครื่อง คอมพวิ เตอรร ูจักและ สามารถรบั ขอมลู เขาและสงขอ มูลออกได โดยปกติโปรแกรม windows ที่เรามีอยูในเคร่ืองคอมพิวเตอรจะมีไดเวอรติดตั้งมาใหแลวโดยเราไมตอง ทําการ ตดิ ต้งั ไดเวอรเอง เชน ไดเวอรสาํ หรับเมาส ,ไดเวอรค ยี บ อรด, ไดเวอรสาํ หรับการใช USB Port , ไดเวอรเ ครอื่ งพมิ พ แตถา อปุ กรณใ ดไมส ามารถใชงานรว มกับเครื่องคอมพวิ เตอรไดก็ตองหาได เวอรมาตดิ ตั้งเพื่อใหส ามารถใชงานได ซ่ึงตอ งเปนได เวอรท พี่ ัฒนามาของแตล ะบรษิ ทั ผูผลติ อุปกรณ 1.4 ตัวแปลภาษา (Language Translator) คือโปรแกรมท่ีทําหนาที่แปลภาษาระดับต่ําหรือระดับสูงเพ่ือให เครื่อง คอมพิวเตอรเขาใจวาตองการใหทําอะไร เชน เม่ือโปรแกรมเมอรไดเขียนโปรแกรมเสร็จโดยเขียนในลักษณะ ภาษาระดับต่าํ (Assenbly) หรือภาษาระดับสูง (โปรแกรมภาษา C) เสร็จก็ตองมีตัวแปลภาษาเพ่ือใหเครือ่ งคอมพิวเตอร อา นเขาใจ เพราะเคร่อื งคอมพิวเตอรจ ะเขา ใจเฉพาะตัวเลข 0 กบั ตัวเลข 1 เทานน้ั ตัวแปลภาษาแบง ได 3 ตัวแปล ดังนี้ – แอสเซมเบลอ (Assembler) เปนตัวแปลภาษาระดับตํ่าใหเปนภาษาเครื่อง เชนแปลจากภาษา Assembly เปนภาษาเครือ่ ง – อินเทอพรีเตอร (Interpreter) เปนตัวแปลภาษาระดับสูงใหเปนภาษาเครื่องโดยแปลทีละบรรทัดคําส่ัง เชน โปรแกรมเมอรใ ชโปรแกรมภาษา Basic ในการพัฒนาโปรแกรมแลว แปลเปนภาษาเครอ่ื งทีละบรรทดั คาํ ส่งั – คอมไพเลอร (Compiler) เปนตัวแปลภาษาระดับสูงใหเปนภาษาเคร่ืองโดยแปลทั้งโปรแกรมทีเดียว เชน โปรแกรมเมอรใชโปรแกรมภาษา C ในการพัฒนาโปรแกรมแลวแปลเปนภาษา เคร่ืองโดยแปลท้ังโปรแกรม ทีเดียว ซึ่งจะเปน ทน่ี ยิ มมากกวา ขอ 2 2. ซอฟตแ วรป ระยกุ ต ซอฟตแวรประยุกตเปน โปรแกรมท่ใี ชส ําหรับทํางานตาง ตามทีต่ อ งการ เชน การทาํ งานเอกสาร งานกราฟก งาน นําเสนอ หรือเปน Software สาํ หรับงานเฉพาะดาน เชน โปรแกรมงานทะเบียน โปรแกรมการใหบริการเว็บ โปรแกรม งานดานธนาคาร ซอฟตแวรประยุกตแ บงเปน 2 ประเภท ดงั น้ี 2.1 ซอฟตแวรสําหรับงานเฉพาะดาน เปน Software ท่ีใชสําหรับงานเฉพาะดาน เชน Software สําหรับงาน ธนาคารการฝากถอนเงนิ Software สาํ หรบั งานทะเบียนนกั เรียน ซอฟตแ วรคิดภาษี ซอฟตแ วรการใหบ รกิ ารรา น Seven ฯลฯ

2.2 ซอฟตแวรสําหรบั งานท่ัวไป เปนซอฟตแวรทีใ่ ชสําหรับงานทั่วไป โดยในซอฟตแวร 1 ตัวมีความสามารถใน การทํางานไดหลายอยาง เชน ซอฟตแวรงานดานเอกสาร (Microsoft Word ) มีความสามารถในการสรา งงานเอกสาร ตา ง ๆ จดั ทาํ เอกสารรายงาน จัดทําแผน พับ จดั ทําหนงั สือเวียน จดั ทาํ สื่อสิง่ พมิ พ การใชง านทว่ั ไปก็จะมี Software ตางๆ เชน – ซอฟตแ วรง านดา นเอกสาร – ซอฟตแ วรงานนาํ เสนอ – ซอฟตแวรตารางคาํ นวณ – ซอฟตแวรงานกราฟก – ซอฟตแวรส ่อื ส่งิ พมิ พ ฯลฯ บทบาทของอาชพี คอมพิวเตอร 1.บทบาทของคอมพวิ เตอรในสถานศึกษา  คอมพวิ เตอรชว ยในงานบริหาร เชน การคดิ คะแนน  ทําทะเบียนบุคลากร  คอมพิวเตอรชวยในงานบริการ เชน งานหอ งสมดุ งานแนะแนว  คอมพิวเตอรช ว ยในการเรยี นการสอน 2. บทบาทของคอมพวิ เตอรใ นวงราชการ  คอมพวิ เตอรชวยในการทาํ ทะเบียนราษฎร  คอมพิวเตอรช วยในการนับคะแนนเลอื กตง้ั คิดภาษี อากร การบรหิ ารทั่วไป  คอมพวิ เตอรช ว ยในการรวบรวมขอมลู และสถิติ  การบรหิ ารงานท่ัวไปของหนวยงานราชการ ทําใหเ กดิ ความสะดวก รวดเร็ว ยง่ิ ขั้น 3. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานสงั คมศาสตร  คอมพวิ เตอรชวยในงานวจิ ัย เพอ่ื ใหไ ดค าํ ตอบออกมาอยางรวดเรว็ และถูกตอง 4.บทบาทของคอมพิวเตอรในวงการแพทย  คอมพิวเตอรชว ยในการบนั ทกึ  คนหาทะเบยี นประวัติผูปวย  คอมพวิ เตอรชว ยในการวินิจฉยั โรค เชน ตรวจคล่ืน สมอง บันทกึ การเตนของหัวใจ  คอมพวิ เตอรช วยในการคํานวณหาตําแหนง ท่ถี ูกตอง ของอวัยวะกอนการผา ตัด 5.และสื่อสาร  คอมพิวเตอรชว ยในการจองตั๋วเครอื่ งบนิ  คอมพิวเตอรชว ยในการเกบ็ ขอมูล สถิตขิ องผโู ดยสาร  คอมพิวเตอรช ว ยในการควบคมุ การจราจรทางอากาศ

6. บทบาทของคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ  คอมพวิ เตอรชว ยในการวางแผนธรุ กจิ  คอมพวิ เตอรชวยในการประเมนิ สถานการณทาาง เศรษฐกิจในอนาคตไดอยางแมนยาํ  คอมพวิ เตอรช วยงานธรุ การ เชน งานพสั ดุ งานภาษี การทาํ จดหมายโตต อบ 7. บทบาทของคอมพวิ เตอรใ นงานธนาคาร  คอมพิวเตอรชวยในการรบั ฝากและถอนเงนิ ท่ีเปนภาระกจิ ประจําของธนาคาร  คอมพวิ เตอรชว ยในการคดิ ดอกเบ้ียในอัตราตางๆ  คอมพิวเตอรช ว ยใหลูกคา ฝากถอนเงนิ ดวน หรือโอนเงินจากเครอื่ งไดโ ดยอตั โนมัติ (ATM) 8. บทบาทของคอมพวิ เตอรในงานวิศวกรรม  คอมพวิ เตอรช วยในการเขียนแบบ  คอมพวิ เตอรช ว ยในการควบคุมหุน ยนตใหท ํางาน  คอมพวิ เตอรช วยในการคาํ นวณโครงสราง วางแผน ควบคมุ การกอ สรา ง 9. บทบาทของคอมพวิ เตอรในงานวทิ ยาศาสตร  คอมพวิ เตอรชวยในการเปรียบเทียบ คัดเลือกขอ มูล  คอมพวิ เตอรช ว ยในการทดลองทเ่ี ปน อันตราย  คอมพวิ เตอรชว ยในการเดินทางของยานอวกาศ การถา ยภาพระยะไกล และการสื่อสารผา นดาวเทยี ม 10. บทบาทของคอมพวิ เตอรในรา นคา ปลกี  หา งสรรพสินคาใหญ ๆ ใชเคร่อื งคอมพิวเตอรค ิดเงินแทนเครอื่ งคิดเลข  การอานรหัสดวยเครือ่ งอาน (Barcode) บทบาทของระบบสารสนเทศดา นการเงิน ระบบการเงิน (financial system) เปรียบเสมือนระบบหมุนเวียนโลหิตของรางกายท่ีสูบฉีดโลหิตไปยังอวยั วะ ตาง ๆ เพื่อใหการทํางานของอวัยวะแตละสวนเปนปกติ ถาระบบหมุนเวียนโลหติ ไมด ี การทาํ งานของอวัยวะก็บกพรอง ซึ่งจะสง ผลกระทบโดยตรงตอระบบรางกาย ระบบการเงินจะเก่ียวกับสภาพคลอง (liquidity)ในการดําเนินงาน เก่ยี วของ กบั การจดั การเงนิ สดหมุนเวียน ถา ธุรกจิ ขาดเงินทนุ อาจกอ ใหเกดิ ปญหาข้นึ ท้ังโดยตรงและทางออม โดยทก่ี ารจดั การทาง การเงนิ จะมีหนาที่สําคญั 3 ประการ ดงั ตอ ไปน้ี 1. การพยากรณ (forecast) การศึกษา วิเคราะห การคาดกราณ การกําหนดทางเลือก และการวางแผน ทางดานการเงนิ ของธรุ กจิ เพื่อใชท รพั ยากรทางการเงินใหเ กดิ ประโยชนสูงสดุ โดยนักการเงนิ สามารถใชหลักการทางสถิติ และแบบจําลองทางคณติ ศาสตรมาประยุกต การพยากรณท างการเงนิ จะอาศัยขอมลู จากท้ังภายในและภายนอกองคการ ตลอดจนประสบกราณของผบู ริหารในการตดั สนิ ใจ

2. การจัดการดานการเงิน (financial management) เก่ียวของกับเรื่องการบริหารเงินใหเกิดประโยชน สูงสุด เชน รายรับและรายจาย การหาแหลงเงินทุนจากภายนอก เพ่ือที่จะ เพิ่มทุนขององคการ โดยวิธีการทางการเงิน เชน การกูยืม การออกหนุ หรือตราสารทางการเงินอ่ืน เปน ตน 3. การควบคุมทางการเงิน (financial control) เพื่อติดตามผล ตรวจสอบ และประเมินตวามเหมาะสมใน การดําเนินงานวาเปนไปตามแผนท่กี ําหนดหรือไม ตลอดจนวางแนวทางแกไขหรอื ปรับปรุงใหการดําเนินงานทางการเงนิ ของธุรกิจมีประสิทธิภาพ โดยท่ีการตรวจสอบและการควบคุมการทางการเงินของธุรกิจ สามารถจําแนกออกเปน 2 ประเภทดงั ตอไปน้ี – การควบคุมภายใน (internal control) – การควบคุมภายนอก (external control) ระบบสารสนเทศดานการเงิน (financial information system) เปนระบบสารสนเทศท่ีพัฒนาขึ้นสําหรับ สนับสนุนกิจกรรมทางดานการเงินขององคการ ต้ังแตการวางแผน การดําเนินงาน และการควบคุมทางดานการเงิน เพ่อื ใหการจัดการทางการเงนิ เกดิ ประสิทธิภาพสงู สดุ โดยที่แหลงขอมูลสาํ คญั ในการบรหิ ารเงินขององคก ารมีดังตอ ไปน้ี 1. ขอ มลู จากการดําเนินงาน (operating data) เปน ขอ มูลทีไ่ ดจากการปฏิบัตงิ านของธุรกิจ ซึง่ เปนประโยชน ในการควบคมุ ตรวจสอบ และปรบั ปรงุ แผนการเงินขององคการ 2. ขอมูลจากการพยากรณ (forecasting data) เปนขอมูลท่ีไดจากการรวบรวมและประมวลผล เชน การ ประมาณคาใชจายและยอดขายท่ีไดรับจากแผนการตลาด โดยใชเทคนิคและแบบจําลองการพยากรณ โดยที่ขอมูลจาก การพยากรณถ กู ใชประกอบการวางแผน การศึกษาความเปนไปได และการตดั สินใจลงทุน 3. กลยุทธองคการ (corporate strategy) เปนเครื่องกําหนดและแสดงวิสัยทศั น ภารกิจ วัตถุประสงค แนว ทางการประกอบธุรกิจในอนาคต เพ่ือใหองคก ารบรรลเุ ปาหมายทต่ี อ งการ โดยที่กลยทุ ธจะเปน แผนหลกั ทแ่ี ผนปฏิบัติการ อ่ืนตองถกู จัดใหสอดคลอ งและสงเสรมิ ความสาํ เรจ็ ของกลยทุ ธ 4. ขอมูลจากภายนอก (external data) ขอ มูลทางเศรษฐกจิ และการเงิน สงั คม การเมือง และปจจัยแวดลอม ที่มผี ลตอ ธุรกิจ เชน อัตราดอกเบยี้ อัตราแลกเปลย่ี น อัตราการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกิจ เปนตน โดยขอมูลจากภายนอก จะแสดงแนวโนม ในอนาคตทธ่ี รุ กิจตอ งปรับตวั ใหสอดคลอ งกับสถานการณ ระบบสารสนเทศดานการบัญชีและระบบสารสนเทศดานการเงินจะมีความสัมพันธกัน เนื่องจากขอมูลทางการ บัญชีจะเปนขอมูลสําหรับการประมวลผลและการตัดสินใจทางการเงิน โดยนักการเงินจะนําตัวเลขทางการบัญชีมา ประมวลผลตามทต่ี นตอ งการ เพื่อใหไ ดข อมลู สําหรับสนับสนุนการตัดสินใจทางการเงิน การจัดการการเงนิ 1. หนา ท่ีหลกั ทางการเงิน

1.1 การคาดการณทางการเงิน แสดงจํานวนเงินท่ีจะเขา สูกจิ การ แหลงทมี่ าการใชจ าย ตวั อยางการใชแบบจาํ ลอง กระแสเงนิ สด 1.2 การจัดการเงินทุน แหลงเงินทุน การกู ออกพันธบัตรเงินกู ออกหุน รวมกิจการ สามารถใชแบบจําลอง ทางเลือกตาง ๆ สําหรับบรหิ ารเงนิ 1.3 การตรวจสอบ (auditing) – เปน ไปตามแผนทก่ี ําหนดหรือแนวทางท่กี ําหนด – การตรวจสอบภายใน (internal audit) การเงนิ การปฏบิ ัตกิ าร – การตรวจสอบภายนอก (external audit) โดยผตู รวจสอบบญั ชอี ิสระ ผลการตรวจสอบทางการเงนิ จะได งบรายได งบกาํ ไรขาดทุน งบดุล 2. แหลง สารสนเทศทางการเงนิ 2.1 ขอ มูลประมวลผลธุรกรรม 2.2 ขอ มูลการคาดการณภ ายใน จากฝายตาง ๆ เชน ยอดขาย รายได 2.3 ขอมลู เงินทนุ (funding data) แหลงเงินทุน เงือ่ นไข การปน ผล การจายดอกเบ้ีย 2.4 ขอมูลกลุม หลกั ทรัพย (portfolio data) หลกั ทรพั ยทีก่ ิจการถอื ราคาตลาดหลกั ทรพั ย 2.5 ขอกําหนดกฎเกณฑของรฐั บาล เชน การลดคา เงนิ บาท อัตราดอกเบย้ี 2.6 ขอ มูลสภาวะภายนอก เชน ราคาหุน อัตราดอกเบย้ี ทิศทางของกิจการ 2.7 แผนกลยุทธ การกําหนดแผนการเงนิ จะตอ งสอดคลอ งกับแผนกลยุทธของกิจการ 3. ตวั อยา งระบบสารสนเทศทางการเงนิ 3.1 การจัดการเงนิ สดและหลักทรัพย (cash/credit/investment management) – ขอ มูลเงินสดรบั และออก – ใชส ําหรบั การลงทนุ กบั เงินทุนสวนเกิน – มีแบบจําลองทางคณิตศาสตรก ารเก็บเงินสด software 3.2 งบประมาณการลงทุน (capital budgeting) – การวเิ คราะห การลงทุนโรงงาน เคร่อื งจักร อุปกรณ ความเสี่ยง 3.3 การวางแผนการเงิน (financial planning) – ประเมนิ สมรรถนะทางการเงนิ ของธรุ กจิ ในปจจุบนั และทคี่ าดการณ – วิเคราะหท างเลือกทางการเงนิ ของกิจการ การประยุกตใ ชเทคโนโลยสี ารสนเทศในงานการเงนิ และการพาณิชย 1.บรกิ ารธนาคารทางอินเตอร บริการธนาคารทางอินเตอร (internet banking ) ธนาคารพาณชิ ยเร่มิ นําบริการธนาคารทางอินเตอรเน็ตมาใชต ง้ั แต ป พ.ศ.2543 โดยเนน การใหบรกิ ารดา นการทําธุรกรรมทางการเงนิ ผา ยเครือขายินเตอรนต็ ซง่ึ มรี ายละเอยี ดการใหบริการ ดังตอไปน้ี

1.บริการเปดบญั ชี 2.บริการสอยถามยอดบญั ชี,บรกิ ารขอรายการเดินบัญชี ยอดเงินคงเหลือในบัญชีออมทรัพย บัญชีเดินสะพัด บัญชีฝากประจํา บัญชีเงินฝากระยะยาว สินเช่ือบุคคล Speedy Loan และสินเชื่อเพื่อการเคหะ (Mortgage) หรือ ดูใบแจงยอดบัตรเครดิตไทยพาณิชยและบัตร Speedy Cash ผาน บรกิ าร e-Bill 3.บรกิ ารโอนเงิน ระหวา งบัญชีของตนเอง บญั ชีบุคคลอน่ื ทง้ั บญั ชีไทยพาณชิ ย บัญชตี างธนาคารหรือโอนเงนิ ตา งประเทศ จดุ เดนดานบริการ -สามารถสมคั รใชบ ริการไดด ว ยตนเองตลอด 27 ชม. โดยไมตองเดินทางไปสา ขา -เพ่ิมบญั ชีผรู ับโอนไดด วยตนเอง ดว ยระบบ One Time Password (OTP) -มีระบบรักษาความปลอดภัยของขอมูล ดวยการเขารหัสขอมูล (Data Encryption) ดวย Secured Layer (SSL) 128 bits -โอนเงนิ ระหวางบญั ชีตนเอง บุคคลอนื่ ใน SCB และตา งธนาคารแบบเขาบญั ชที นั ท/ี ตงั้ เวลาหักบัญชลี วงหนา 4.บริการชําระคาสนิ คาและบริการ ทั้งเติมเงินโทรศัพทมอื ถือ บัตรเครดิต คางวดเงินกู/เชาซ้ือ คาสาธารณูปโภคตาง ๆ คาบริการโทนศัพทเคลื่อนที่ บรกิ ารจา ยคา กวดวิชาออนไลน ฯลฯ 5.สมคั รบริการบตั รเครดติ และอนมุ ตั ิเบือ้ งตน เปนการสมัครผา นระบบอินเตอร แทนการไปสมัครทธ่ี นาคาร โดยทาํ การกรอกขอมูลผานระบบออนไลนทง้ั หมด และรอการอนุมัติจากทางธนาคาร โดยไมต อ งออกไปขา งนอ 2. ระบบชําระเงินอิเล็กทรอนิกส (E-Payment) คือ กระบวนการสงมอบหรือโอนส่ือการชําระเงินเพ่ือชําระราคา โดยผานสือ่ อิเลก็ ทรอนิกส เชน อินเทอรเ น็ต คอมพิวเตอร ระบบสื่อสารโทรคมนาคม โทรสาร โทรศพั ทม ือถือ เปน ตน ขนั้ ตอนการชาํ ระเงนิ 1.ตกลงซอ้ื สินคา กรอกขอ มลู บัตรเครดิต *ขอมลู สว นน้ีทางรานไมส ามารถเหน็ ได 2.สงขอมูลไปยงั Acquiring Bang (ธนาคารทฝ่ี า ยรานคา ใชบ รกิ ารอย)ู 3.Acquiring Bang ทาํ การตรวจสอบมายังธนาคารผอู อกบตั ร วาบัตรเปน ของจริงและสามารถใชไ ด 4.Acquiring Bang ทาํ การเรียกเก็บเงินจากธนาคารผูอ อกบัตรz 5.ธนาคารผูออกบัตรโอนเงนิ ไปยัง Acquiring Bang เขาสบู ญั ชรี า นคา 6.สง ขอมูลการชาํ ระกลบั ไปยังรา นคา 7.รานคา สงขอ มลู การชาํ ระกลับไปยังลกู คา เพอ่ื ยืนยนั การส่ังซ้อื (E-Payment) มกี ระบวนการการชาํ ระเงนิ ดวยบัตรเครดิตบนอินเตอรเ น็ต ซ่งึ เปน ทน่ี ิยมกนั มากที่สุด ดงั นี้ 1.สั่งซอ้ื และสงขอมลู เกย่ี วกับบัตรเครดิตไปใหผ ขู าย 2.ผขู ายยืนยนั สงขอ มูลการสง่ั ซ้ือกลบั มายังผูซอื้

3.ผูข ายรบั ขอ มูลการสงั่ ซ้อื (มองไมเห็นเลขบตั รเครดติ ) 4.ผูขายสง ขอ มูล Encrypted Payment ไปยังเคร่อื งบรกิ ารดา นการจายเงนิ ทาง online (Cyber Cash Server) 5.Cyber Cash Server รบั ขอมลู ผานทาง Fire wall ถอดรหสั ขอ มลู ลูกคาและสง ไปยงั ธนาคารผูขายและผูซ อ้ื 6.ธนาคารผูข ายรอ งขอใหธ นาคารผซู อื้ รบั จายเงนิ ตามจาํ นวนเงินตามยอดบตั รเครดิต 7.ธนาคารผูซ้อื ตรวจสอบขอ มลู แลวสงกลบั ไปวาอนุมัตหิ รอื ไม และ transfer ยอดเงนิ ใหผูข าย 8.Cyber Cash Server รบั ขอมูลสง ตอ ไปยังผขู ายเพอ่ื สงขอ มลู ไปยังผูซื้อตอ ไปปจจัยสูความสาํ เร็จ ปจจัยแหงความสาํ เรจ็ มี 4 ประเด็น คอื (1) การบริการลูกคา เทคโนโลยีตองเขาถึงไดงายและเปนมิตรกับประชาชน ลดข้ันตอนทางราชการท่ียุงยาก ซบั ซอ น ใหสารสนเทศทท่ี นั สมยั และตรงกับความตอ งการ (2) การออกแบบและประเมินผล บริการตองมีการบรหิ ารจัดการท่ดี ีและรกั ษาระบบใหมีเสถียรภาพแมในภาวะ วิกฤติ กําหนดนโยบายและกระบวนการรับขอรองเรียนท่ีชัดเจน ติดตามผลและปรับปรงุ ระบบชวยสรางการมีสวนรว ม อยางตอ เนือ่ ง (3) ความม่ันคง-ปลอดภัย บริการตองอํานวยความสะดวกในการทําธุรกรรมออนไลน และใหความสําคัญสูงสุด ตอความปลอดภัยในขอ มลู สว นบุคคล (4) การเหน็ คุณคาและความสาํ คัญ บรกิ ารท่ดี ีตอ งถูกใหความสาํ คญั ในลําดับสูงสุดจากทุกภาคสวน ผูน าํ ประเทศ นกั การเมอื งทอ งถิ่น เจา หนาทรี่ ะดับสงู และพนกั งานของรฐั ตองใหการสนบั สนุนกระบวนการเรียนรแู ละตอบขอสงสัยแก ประชาชนผา นการส่อื สารสองทางอยา งประสทิ ธภิ าพ (5) การรักษาความปลอดภัย ความตอ งการการรกั ษาความปลอดภัย (security requirements) มีองคป ระกอบ ดงั นี้ 1.ความสามารถในการระบุตัวตนได (Anthentication) 2.ความเปน หนงึ่ เดียวของขอมูล (Integriry) 3.ความไมส ามารถปฏเิ สธได (Non-repudiation) 4.สทิ ธิสวนบุคคล (Privacy) วิธีการรกั ษาความปลอดภัย • การใชร หสั (Encryption) • ใบรบั รองทางอเิ ล็กทรอนิกส (Electronic certificate) • โปรโตคอล (Protocols) ประโยชน e-payment ในองคกร 1.การส่ังชําระเงิน และการรบั ชาํ ระเงินมคี วามสะดวกมากย่งิ ขน้ึ ดว ยระบบ E - Pay ทานไมจําเปน ตองเดนิ ทางไปชาํ ระเงินดวยวิธีการเดิมๆ อีกตอไป ทานสามารถประหยัดเวลา และคาใชจายตางๆ เชน คาใชจายดานบุคคลากร และเวลาท่ีเสียไปจากการเดินทางรวมถึงความเสี่ยงจากการถือเงินสด เปนตน

2.เพ่ิมประสทิ ธิภาพดานการบริหารการเงิน เนอื่ งจากการบรกิ าร E - Pay เปนการชําระเงนิ แบบ Online และ Real Time จึงเพิ่มความสะดวกในกรณีที่ทาน ตองการสัง่ ชําระเงินเปนกรณีเรงดวนโดยไมจําเปนตองเดินทางเพื่อไปชําระเงินเหมือนระบบเดมิ โดยผูรบั เงนิ สามารถรับ เงินและนําเงินไปบริหารตอไดภายในระยะเวลาไมเกิน 3 นาที โดยไมตองรอการเคลียรริ่งของธนาคาร ถือเปนการเพ่ิม ประสทิ ธภิ าพในการบริหารเงินสดของบริษัทอกี ทางหน่ึง 3.ลดความผิดพลาดในการกรอกขอมูลการทํารายการ ระบบ E - Pay จะดึงขอมูลจากฐานขอมูลมาใช เชน เลขทบ่ี ัญชีผูมีอํานาจในการสั่งจาย ,วงเงินในการส่ังจาย เปน ตนทาํ ใหทานสามารถทํางานไดร วดเร็วและลดขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดพิมพเอกสารไดทําใหการดําเนินงาน ทางดา นบญั ชแี ละการเงนิ ของบริษทั จึงมีความสะดวก รวดเร็วและถกู ตอ งมากยงิ่ ข้ึน 4.การยนื ยนั การตดั บัญชีและการนาํ เงินเขาบัญชี ไมวาทานจะเปนผูส่ังชําระเงิน หรือรับชําระเงินก็จะไดรับขอความยืนยันการตัดบัญชี (Debit Advice) และ ขอความยืนยันการนาํ เงินเขา บญั ชี (Credit Advice) จากธนาคารผานระบบ E - Payเม่ือรายการชําระเงินเสรจ็ สมบูรณ โดยทานไมต อ งสอบถามผลของการทํารายการไปทีธ่ นาคารโดยตรง 5.เสริมสรา งความคลองตวั ในการทาํ งาน ทานสามารถเลือกใชบรกิ ารกับธนาคารตาง ๆ ที่เขารวมใหบริการ หรือเปล่ียนแปลงไปใชธนาคารอื่นในภายหลงั กท็ าํ ไดอยา งสะดวกโดยไมต อ งเปลีย่ นโปรแกรมหรือข้นั ตอนการทาํ งานแตอยา งใด 3.การบริหารจัดการคลงั สนิ คา และสนิ คา คงคลัง บริษัทฯใหบริการคลังสินคาในลักษณะท่ีจะทําใหลูกคาสามารถเพิ่มขึดการแขงขันจากตนทุนซัพพลายเชนท่ี สามารถควบคุมได ความชัดเจนของขอมูลและความไวในการตอบสนอง บริษัทสามารถลดเวลาในการตักเคลื่อนยาย สินคาและการจัดการสินคาในคลังลง 30% ถึง 50% กระบวนการการจัดการคลังสินคาของบริษัทฯสามารถควบคุม ความแมนยําของสินคาคงคลังของลูกคาไดในระดับ 99.99% ซึ่งทําใหตนทุนลดลงและสามารถสงสินคาใหลูกคาตาม ใบสั่งไดครบถวนมากข้ึน เวลาที่ใชในการจัดสงก็ลดลงจากสัปดาหเปนชั่วโมง เปนตน ลูกคาทุกรายมีความตองการที่ แตกตางกันเนื่องจากความตองการของตลาดและขอจํากัดดานการผลิตท่ีไมเหมือนกัน บริษัทฯสามารถใหบริการจัดกล ยทุ ธค ลังสนิ คาในลกั ษณะทใ่ี หผ ลประโยชนอ ยางเตม็ ที่ตอประสิทธภิ าพทางซพั พลายเชนทง้ั หมดของลกู คา บริษัทฯมีศูนยกระจายสินคา 3 แหง ศูนยแรกต้ังอยูกลางใจเมืองในซอยกลว ยน้ําไท ศูนยที่สองอยูที่ราษฎบ ูรณะ และศูนยหลักที่ถนนก่ิงแกว ซอย 21 ติดกับสนามบินสุวรรณภูมิ หรือประมาณ 12 กิโลเมตรไปทางตะวันออกของ กรุงเทพฯ บนถนนสายบางนา-ตราด ดวยขนาดพ้ืนที่จัดเก็บรวมกันทง้ั หมดมากกวา 60,000 ตร.ม. ศนู ยกระจายสินคา ทั้งหมดมีส่ิงอํานวยความสะดวกที่มีคุณภาพท่ีสามารถใชรวมกันได มีระบบปองกันอัคคีภัยเต็มรูปแบบ รวมไปถึงกลอง วงจรปดและระบบเตือนภัย ดวยระบบการจัดการคลังสินคาท่ีมีความทันสมัยเต็มรูปแบบชื่อ ISIS และการติดตอส่ือสาร ขอมลู ผานระบบอิเลคโทรนิคส หรอื EDI กับลูกคา ทําใหก ารจัดการใบคาํ สง่ั ซื้อตา งๆของลูกคา และขอ มลู สําหรบั ผูบริหาร สามารถทําใหเกดิ ข้นึ ไดอยางตรงเวลา

การสงสินคาไปยงั จดุ จายทนั ทที ร่ี ับสนิ คา (Cross-docking) การจัดการสินคา แบบ Cross-dock หรือการสงสินคาไปยังจุดจายทันทีที่รับสินคาโดยไมเก็บสตอกในคลังทําให สินคาของลูกคาเคลื่อนที่ไดอยางตอเน่ือง กระบวนการดังกลาวจะสามารถทําไดสําเร็จน้ันตองอาศัยความแมนยําในการ กําหนดเวลาเขาออกของทั้งตัวรถบรรทุกและตัวสินคา ใหเกิดขึ้นพรอมกัน บรษิ ัทฯมปี ระสบการณในการสรางระบบการ จดั การรปู แบบน้ีมาในสถานการณที่มคี วามยากในระดบั สงู การนําโปรแกรมคอมพิวเตอรมาประยุกตใชก บั การบริหารการเงนิ สําหรับเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผูประกอบการสามารถนํามาประยุกตใชกับการบริหารการเงินไดนั้น อาจ พัฒนาข้ึนโดยการเขียนโปรแกรมไวใชง านดวยตนเอง หรืออาจเลือกใชโปรแกรมสาํ เร็จรูปท่สี ามารถนํามาใชงานไดท ันทีก็ เปน ได ซ่ึงหนึง่ ในโปรแกรมทางคอมพวิ เตอรท่ีไดรบั ความนิยม และถูกนํามาใชก ับการบริหารการเงินอยางแพรห ลาย กค็ ือ โปรแกรม Microsoft Excel น่ันเอง โปรแกรม Microsoft Excel นัน้ ถกู นาํ มาประยกุ ตใ ชกับการบรหิ ารการเงนิ ทง้ั ในดานการจัดทาํ รายงานทางการ เงิน การวิเคราะหขอมลู ทางการเงิน การหามูลคา ของเงนิ ตามเวลา การพยากรณ และวางแผนทางการเงิน ทงั้ น้กี ็เพราะ Microsoft Excel เปนโปรแกรมประเภทกระดาษคํานวณ (Spread Sheet) ซ่ึงชวยในการทํางานที่เก่ียวของกับขอมูล ประเภทตวั เลขไดอยา งมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ียังมีฟงกช ่ันพิเศษทางการเงินซ่ึงเรียกวา \"Financial Function\" ซง่ึ เปน สูตรสําเรจ็ รปู สาํ หรบั การคํานวณหาขอมูลทางการเงินประเภทตา ง ๆ อกี ดวย การขยายตัวของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเปนเทคโนโลยีที่มีการแพรขยายอยางรวดเร็ว จนมีความสามารถในการใชงานเพิ่มขึ้น ขณะเดยี วกนั ก็มคี าราถกู ลง ผลของการพัฒนานี้ทาํ ใหมกี ารประยกุ ตใ ชงานกนั อยา งกวางขวาง สหรัฐอเมริกาเปนประเทศหน่ึงที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางชัดเจนในอดีตประเทศสหรัฐอเมริกาเปนประเทศ เกษตรกรรม มผี ลผลติ ทางดา นการเกษตรเปน สินคา หลัก ตอมามีการเปล่ยี นโครงสรางการผลติ เปนประเทศอุตสาหกรรม หากพิจารณาการใชงานคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารทั่วไปของโลก ปจจุบันมูลคาของสินคาทางดานเทคโนโลยี สารสนเทศไดขยายตวั อยางรวดเร็ว ส่ิงท่ีหนาสนใจคือพัฒนาแลว10ประเทศไดแกสหรัฐอเมริกา สิงคโปร ฟนแลนด ลักเซมเบิรก เนเธอรแ ลนด เขตบรหิ ารพิเศษฮอ งกง ไอซแ ลนดส วแี ดน แคนนาดา และสวิตเซอรแ ลนด ถาพิจารณาบรษิ ัทผูผลิตสินคา ทางเทคโนโลยีสารสนเทศพบวา ประเทศผูผลิตเพ่ือสงออกมีเพียงแคไมกี่ประเทศท่ัว โลกความกาวหนาของคอมพิวเตอรและเครือ่ งมือสื่อสาร ทําใหอุปกรณตางๆมีขนาดเล็กลงแตม ีความสามรเพิ่มขึ้น และ มีราคาถูกจนผูที่นาสนใจสามารถหาซื้อมาได แทบกลาวไดวาบทบาทของเทคโนโลยีารสนเทศจะเขามาเปนสวนหนึ่งใน ชวี ิตประจําวัน ปจจุบนั คอมพิวเตอรแ ละระบบส่อื สารไดประโยชนอยา งมากตอวงการธุรกิจ ทําใหทุกธุรกจิ มกี ารลงทนุ ขยายขอบเขต การใหบริการโดยใชร ะบบสารสนเทศกันมากข้ึน การใชง านเครือขายคอมพิวเตอร เชน อินเทอรเ นต็ มีอัตราการขยายตัว สูงมาก จนกลาวไดวาเปนอัตราการขยายตัวแบบทวีคูณ ผูคนบนโลกสามารถติดตอสื่อสารกันผานทางเครือขาย อินเทอรเ นต็ ไมได

กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร จดั ต้ังขึน้ เมอ่ื วนั ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545มอี าํ นาจหนาทีเ่ กย่ี วกับการวางแผน สงเสรมิ พฒั นา และดาํ เนนิ กิจการ ท่เี กยี่ วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร การอุตุนิยมวทิ ยา และการสถิติ ตอมาวันท่ี 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 คณะรฐั มนตรไี ดเสนอรางพระราชบญั ญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม เพ่ือจดั ตั้ง กระทรวงดิจิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมขึ้นมาแทนกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร และเมอ่ื วันท่ี 15 กนั ยายน พ.ศ. 2559 ไดมีการตราพระราชบญั ญตั ปิ รับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบบั ท่ี 17) พ.ศ. 2559 สงผลให กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตองสน้ิ สุดลง และจัดตั้งกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมข้ึนแทน กระทรวงเปล่ียนชอ่ื อยา งเปน ทางการเมอ่ื วันที่ 16 กนั ยายน 2559 ใชอักษรยอ ดศ. ตอมาในวันท่ี 15 กันยายน 2559 เว็บไซตราชกิจจานุเบกษา ไดเผยแพรประกาศพระราชบัญญัติ ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม (ฉบบั ท่ี 17) พ.ศ. 2559 โดยมีสาระสําคัญคือใหยกเลิกกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอื่ สาร และใหจ ดั ตง้ั กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คมข้นึ มาแทน (เปลีย่ นชื่อกระทรวง) ตอ มาในวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2559 มีการประกาศใชพระราชบัญญัตสิ ภาความม่ันคงแหงชาติ พ.ศ. 2559 โดยใหรัฐมนตรวี าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร เปนสมาชกิ สภาความมั่นคงแหงชาติ จึงเทากับให รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปนสมาชิกสภาความมั่นคงแหงชาติ ปลัดคนแรกของกระทรวง ไดแ ก นางทรงพร โกมลสุรเดชดํารงตําแหนง 1 เดือน 20 วันกอ นถูกโยกยา ยพนจากตําแหนง ปลัดกระทรวง และไดด าํ รง ตําแหนง ผูตรวจราชการพเิ ศษประจาํ สาํ นกั นายกรฐั มนตรีในวันท่ี 5 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2559 ในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 มีประกาศกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เร่ือง แตงตั้ง คณะกรรมการกล่ันกรองขอมูลคอมพิวเตอรตามพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2560 แตงตั้ง วิไลลักษณ ชุลีวัฒนกุล ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปนประธาน คณะกรรมการกล่ันกรองขอ มลู คอมพวิ เตอร โดยใหม ผี ลในวันท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 เปนตนไป ในวันท่ี 1 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 กระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ไดเปด ศูนยปองกันขาว ปลอม ขึน้ ในกระทรวง หรือทรี่ จู ักใน ศูนยเ ฟคนิวส

หนว ยที่ 2 คณุ สมบตั ิของพนกั งานคอมพิวเตอร คุณสมบัติของพนกั งานคอมพิวเตอร ในการทํางานของแตละอาชีพยอมจะตองมีคุณสมบัติที่แตกตางกันออกไป ตามลักษณะของงานในอาชีพนั้น ๆ แตส่ิงท่สี ถานประกอบการทุกแหงตอ งการพนกั งานท่เี ขามาทํางานในองคก รของตนเองนั้น ประการแรกที่สุดคือ ตองการ บุคคลกรที่มีความประพฤติดีท้ังทางกายทางวาจาและทางความคิด คือ ทําดี พูดดี คิดดี ทางกายจะตองมีความต้ังใจใน การทํางานดวยความขยันขันแข็ง มีความมานะอดทน แตงกายดว ยเสื้อผาสะอาดและสุภาพเรยี บรอ ย ทางวาจา โดยการ พูดจาดว ยถอยคาํ ท่สี ุภาพเรยี บรอย ออนนอ ม รูจักกาลเทศะท้ังตอหนาและลับหลงั พูดจาอยางมเี หตมุ ีผล ทางความคิด มี ความคิดเห็นแตในส่ิงท่ีดีงาม ดวยใจบรสิ ุทธิ์ คิดอยางผูมีสติกอนที่จะพูดทุกคร้ัง เปนหลักปฏิบัตสิ ําหรบั ผทู ี่คดิ ดี ซ่ึงเปนสิ่ง ปรารถนาอยางสูงสุดของทุกองคกร แตการท่ีจะใหไดบุคคลดังกลาวมาทํางานไดยากมาก ตองมีวิธีการคัดเลือกและ กล่ันกรองกันหลายรูปแบบ เพ่ือจะใหไดบ ุคคลที่สถานประกอบการตองการ สวนความรูและความสามสรถเปนคุณสมบตั ิ ที่สถานประกอบการสามารถวัดไดง า ยกวาอปุ นิสยั ใจคอของแตละบุคคล 1. คุณสมบตั ิของพนกั งานคอมพิวเตอร พนกั งานคอมพิวเตอรซ ึ่งเปนพนักงานที่สถานประกอบการมคี วามจําเปนอยางมาก สําหรับใหบริการลูกคา โดย จะเปนบุคคลท่ีจะตองมีความรูเก่ียวกับคอมพิวเตอร เพ่ือใหสามารถใชเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางถูกตอง ถาพนักงาน คอมพิวเตอรป ราศจากความรเู ก่ียวกับเคร่อื งคอมพิวเตอรแ ลว ยอมสรางความเสียหายแกธุรกจิ ในที่สดุ นอกจากพนักงานคอมพิวเตอรจ ะตองเปนผมู ีความรู และคุณสมบตั ิเฉพาะดานในเร่ืองท่เี ก่ียวกับวิชาชพี ทางดาน คอมพิวเตอรแ ลว พนักงานคอมพิวเตอรยังควรตองเปนผทู ี่มีคณุ สมบัติทั่ว ๆ ไป หรือกิจนิสัยที่ดีในการประกอบอาชีพ ซึ่ง สอดคลอ งกบั ความตอ งการของนายจา งดวยลักษณะของแรงงานท่ีพงึ่ ประสงคท ว่ั ไป จากการสํารวจสภาวะการมีงานทาํ ของหนวยงานตาง ๆ ของาํ นักงานคณะกรรมการศกึ ษาเอกชน (25325 : 97) พบวา คณุ สมบตั ิของแรงงานทนี่ ายจางตอ งการมี 2 ลกั ษณะกวาง ๆ คือ 1. คุณสมบัติดานวิชาการ เชน ขคะแนนเฉล่ียผลการเรียน ความรูทางดานภาษาอังกฤษ ความรูเทางดาน คอมพิวเตอร ฯลฯ 2. คุณสมบัติดานจริยธรรมและคุณธรรม เชน ความอดทน ความมีวินัย และความซื่อสัตยชาตรี (2536 : 58-61 ) ไดศึกษาเก่ียวกับคุณสมบัติของบัณฑิตที่สอดคลองกับความตองการของภาคเอกชน พบวา คุณสมบัติท่ี ภาคเอกชนเหน็ วาสาํ คญั มากคอื 2.1 คุณสมบัติดานบุคลิกภาพ ไดแก ความฉลาด ความมีหตุผล ความซ่ือสัตยสุจริต ความมีไหวพริบปฏิภาณ ความขยันหมั่นเพียร 2.2 คุณสมบัติดานความรแู ละประสบการณ ไกแก ความรูความเขาใจเกี่ยวกับงานที่ไดปฏิบัติอยู ความเอาใจ ใสและรับผิดชอบในขหนาที่การงาน บความคิดริเริ่ม ความรเู ฉพาะสาขาทเ่ี รยี นและความสามารถในการประยุกตวชิ าการ กับงานที่ทํา 2.3 คุณสมบตั ิของแรงงานทพ่ี ง่ึ ประสงคใ นภาคอุตสาหกรรม

จาการศึกษาของบัญญัติ ( 2533 : 31 ) พบวา คุณสมบัติพิเศษท่ีผูประกอบการตองการโดยเรียงลําดับจาก สําคญั มากไปหานอย มดี ังนี้ 1. ความรบั ผิดาํ ชอบ 2. ความซ่ือสั ตย 3. ความอดทน 4. ความขยันหมน่ั เพยี ร 5. การตรงตอ เวลา 6. สขุ ภาพแขง็ แรง คลอ งแคลววองไว 7. มีระเบียบวินยั 8. ความรัก ความผูกพนั ในองคกร 9. มนี ้ําใจ โอบออมอารี ชว ยเหล่อื เกอิ้ กลู 10. มีมนษุ ยสัมพันธดี 11. ความฉลาด ความคิดรเิ รมิ่ สรางสรรค 12. รักความสะอาด 13. มคี วามเชื่อม่ันในตนเอง 14. มีความชาํ นาญในเชงิ วิชาชพี 15. มีความสามคั คี 16. เช่อื ฟง ผูบ ังคับบญั ชา 2.ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข องพนกั งานคอมพิวเตอรที่สถานประกอบการตอ งการ ลักษณะท่ีพึงประสงคที่ตองการรับพนักงานคอมพิวเตอรเขาทาํ งานในหนว ยงานของตนน้ัน จะตองประกอบ ไปดวยองคป ระกอบ 3 ดาน คือ 2.1 ดา นพุทธพิ สิ ยั ( Cogmitive Domain ) 2.2 ดานจติ พิสยั ( Affective Domain ) 2.3 ดานทกั ษะพิสัย ( Psycho-motor Domain ) 2.1 ดา นพุทธิพสิ ยั ( Cogmitive Domain ) คอื ดานคามรู พนกั งานคอมพวิ เตอรจ ะตอ งเปน ผูทีม่ คี วามรูและ ความจําเก่ยี วกับคอมพวิ เตอรดงตอไปน้ี 2.1.1 มคี วามสามารถในการคดิ ขัน้ ตอนการทาํ งานของคอมพวิ เตอรอยางมรี ะบบ 2.1.2 มคี วามสามารถเขียนโปรแกรมภาษาใดภาษาหนึง่ 2.1.3 มีความสามารถใชโปรแกรมระบบปฏิบตั ิการเพอ่ื การควบคมุ การมาํ งานคอมพวิ เตอรไ ด 2.1.4 มคี วามสามารถพจิ ารณาเลอ่ื กงานไปประยุกตใชกบั คอมพิวเตอรได 2.1.5 มีความสามารถใชโปรแรมสําเรจ็ รปู กบั งานประจาํ วันได

2.1.6 มีความรเู ก่ียวกับคอมพิวเตอรแ ละวิธีการมํางานของเครื่องไดเปนอยา งดี 2.1.7 สามารถอา นคาํ ส่ังขอ ผดิ พลาดของเคร่อื งคอมพวิ เตอร และใชคาํ สั่งตดิ ตอ กบั เครอื่ งได 2.1.8 มคี วามรู ความเขาใจในการใช จัดเก็บ และดูแลบาํ รงุ รักษาอปุ กรณค อมพิวเตอรไดเ ปนอยา งดี 2.1.9 สมามรถใชถาษาไทยท่ีเกยี่ วของกับอาชพี ไดอยางถูกตอง 2.1.10 สามารถใชภษาองั กฤษไดป นอยางดี 2.1.11 สามารถติดตอสื่อสารทางธรุกจิ ดว ยเครือ่ งมอื สื่อสารได 2.1.12 มีความรูเ บือ้ งตน เก่ียวกบั งานทางดา นธรุ กิจ เชน ลักษณะของธรุ กิจ เอกสารท่ีใชใ นธรุ กิจ ดา นพุทธิพสิ ัย (Cognitive Domain ) สามารถแบง ระดบั ขนั้ ความรูไดดังนี้ 2.2 ดานจติ พสิ ัย (Affective Domain ) คอื ลักษณะกิจนสิ ัยของพนักงานคอมพวิ เตอรทสี่ ถานประกอบการ ตอ งการ มดี งั นี้ 2.2.1 จงรักภักดตี อองคก ร 2.2.2 ตรงตอ เวลา 2.2.3 ซื่อสตั ย สจุ ริต 2.2.4 ตดิ ตาม ใฝหาเทคโนโลยีใหม ๆ

2.2.5 มีความรบั ผิดชอบในหนา ที่ทไี่ ดร บั มอบหมาย 2.2.6 ขยนั อดทน 2.2.7 มมี นุษยสัมพนั ธ 2.2.8มีความคิดริเรมิ่ สรา งสรรค 2.2.9 มีคาวมกระตือรือรน 2.2.10 รักษาความลับขององคก ร 2.2.11 ตัดสนิ ใจไดถูกตอง 2.2.12 ทาํ งานดวยความระมัดระวงั ยึดหลกั ความปลอดภัย 2.2.13 ตอ งประยัดในการใชท รัพยากรในสาํ นักงาน 2.2.14 ใหค วามรว มมือในการพัฒนาวิชาชพี และสงั คม 2.2.15 มีระเบียบวินยั ในการทํางาน ดานจติ พสิ ยั (Affective Domain ) สามารถวัดลกั ษณะไดดังนี้ 2.3 ดานทักษะพิสัย (Psycho-motor Domain ) พนักงานคอมพิวเตอรจําเปนตองมีทักษะ คือ ความ ชํานาญทางดานคอมพวิ เตอร ดงั ตอ ไปน้ี 3.3.1 ใชโ ปรแกรมสาํ เรจ็ รูปไดรวดเร็วและมปี ระสิทธภิ าพ 3.3.2 ใชเครือ่ งคอมพิวเตอร และอปุ กรณร อบ ๆ ขา งไดร วดเร็วและถกู ตอง 3.3.3 สามารถเขยี นโปรแกรมภาษใดภาษาหน่ึงไดเ ปน อยา งดี 3.3.4 แกไขปญ หาเฉพาะหนาไดอ ยา งรวดเรว็ ดานทักษะพิสัย (Psycho-motor Domain ) สามารถวัดทักษะไดด ังนี้ 3. คณุ ลักษณะอาชีพ (Vocational Qualification) ของนกั เรยี นระดับ ปวช. กลมุ สาขาคอมพวิ เตอรธ รุ กจิ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดกําหนดมาตรฐานวิชาชีพอาชีวศึกษา ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขางานคอมพวิ เตอรธ รุกิจไวด ังนี้ ลักษณะงาน: เปนพนักงานคอมพิวเตอร สามารถใชเครอ่ื งคอมพิวเตอรในสํานักงาน รหู ลักการ เขียนโปรแกรม เบ้ืองตน ระบบเครอื ขา ยระยกุ ตใ ชโ ปรแกรมสาํ เร็จรปู และสามารถบํารงุ รักษาเคร่อื งคอมพิวเตอร

สมรรถนะ (Competency) 1) ความรู (Knowledge) มคี วามรคู วามเขา ใจเก่ยี วกบั 1.1 ระบบคอมพิวเตอร 1.2 หลกั การของระบบปฏิบัติการทใี่ ชก บั เคร่อื งคอมพวิ เตอร 1.3 การนําคอมพิวเตอรมาใชใ นการเสนอผลงาน 1.4 การจัดการฐานขอมูลและแฟม ขอมูลเบ้อื งตน 1.5 การทาํ งานแบบตารางงาน 1.6 การบาํ รุงรกั ษาเคร่อื งคอมพิวเตอรเบือ้ งตน 1.7 หลกั การเขยี นโปรแกรมเบอื้ งตน 1.8 หลกั การทาํ งานระบบเครือขาย 2) ทกั ษะ (Skill) 2.1 ใชค าํ สง่ั ของโปรแกรมระบบปฏิบตั กิ าร 2.2 ปฏิบตั กิ ารใชโปรแกรมสาํ เรจ็ รูปดานกราฟกนาํ เสนอผลงาน 2.3 ออกแบบสรางและใชคาํ ส่งั โปรแกรมการจดั การฐานขอมลู เบ้ืองตน 2.4 การใชโปรแกรมสําเร็จรปู ทาํ งานในสํานักงาน 2.5 ปฏิบัติเครื่องใชสาํ นกั งาน และการบาํ รงุ รกั ษาเคร่อื ง 2.6 ปฏิบตั ิการและวิเคราะหง านตามหลักการเขยี นโปรแกรมเบือ้ งตน 2.7 ใชระบบเครอื ขา ย และการนําเสนอผลงานในรูปแบบ Web Page ได 3)ลกั ษณะนสิ ยั 3.1 มคี วามกระตือรอื รน และรับผิดชอบในการทาํ งาน 3.2 มีความซอ่ื สตั ยสุจรติ 3.3 มีจติ สํานกึ ท่ดี ีตอ องคก ร 3.4 มีมนษุ ยสัมพนั ธ 3.5 การตรงตอ เวลา 3.6 ทาํ งานดวยความระมดั ระวงั ถือหลักความปลอดภยั ในการใชเ ครอื่ งมือและอุปกรณ 3.7 มีความละเอยี ดถถี่ ว นสขุ ุม และรอบคอบในการทํางาน 3.8 มีการพัฒนาดา นวิชาชีพและเทคโนโลยีท่ีเกย่ี วขอ ง 3.9 มีจรรยาบรรณในวิชาชพี คอมพิวเตอร 4. คุณลกั ษณะอาชพี (Vocational Qualification) ของนักเรยี นระดับ ปวส. กลุม สาขาคอมพวิ เตอรธุรกิจ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดกําหนดมาตรฐานวิชาชีพอาชีวศึกษา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขางานคอมพิวเตอรธ รุกจิ ไวด งั น้ี

ลักษณะงาน: เปนนกั คอมพิวเตอร สามารถนาํ ความรูแ ละทักษะไปประยกุ ตในการวิเคราะหออกแบบระบบ เขยี น โปรแกรมขัน้ พืน้ ฐาน ใชโปรแกรมสําเร็จรูปและประยกุ ตใ ชในงานธรุ กิจไดอยา งมีประสิทธภิ าพ สมรรถนะ 1)ความรู 1.1 ระบบคอมพวิ เตอร 1.2 หลกั การของระบบปฏิบตั ิการที่ใชกับคอมพิวเตอรตาง ๆ 1.3 การนาํ โปรแกรมสําเร็จรปู มาประยุกตใ ชในงานตา ง ๆ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.4 ระบบฐานขอมูล 1.5 ขัน้ ตนวิธีการในการวเิ คราะหและออกแบบรายงาน รวมถึงการเขยี นโปรแกรมเบอ้ื งตน 1.6 การทํางานระบบเครอื ขาย 1.7 การเลอื กซอื้ และตดิ ต้งั ระบบคอมพิวเตอร 1.8 บาํ รงุ เครื่องคอมพิวเตอร 2)ทกั ษะ 2.1 นาํ ระบบปฏิบัตกิ ารไปประยุกตใชในการพฒั นาระบบ และแกปญหาทางคอมพิวเตอร 2.2 วางแผนออกแบบฐานขอมลู ในระบบตาง ๆ 2.3 วิเคราะหและออกแบบระบบ รวมถงึ การเขียนโปรแกรมเบ้ืองตน 2.4 ประยุกตใชโ ปรแกรมสําเร็จรูปใหเหมาะสมกับงานตาง ๆ 2.5 ใชง านระบบเครือขา ยได 2.6 เลอื กซอ้ื Hardware และ Software ไดเ หมาะสม 2.7 ดแู ลรักษาอุปกรณค อมพิวเตอรไ ดอ ยางถูกวิธี 3)ลกั ษณะนิสยั 3.1 มีความซอื่ สัตยส จุ รติ และมคี วามรับผดิ ชอบ 3.2 ตรงตอ เวลา 3.3 มจี ิตสาํ นกึ ท่ีดตี อ องคกรและเพื่อนรว มงาน 3.4 มคี วามกระตือรอื รน ในการทํางาน 3.5 มีความละเอียด ถีถ่ ว น สุขมุ รอบคอบ และอดทนในการทาํ งาน 3.6 ใชว สั ดุอุปกรณของตนเองและสว นรวมอยางระมัดระวงั และคุณคา 3.7 ปฏิบตั งิ านวิชาชพี ดว ยความระมดั ระวัง ในดานความปลอดภัย 3.8 มกี ารพฒั นาดา นวชิ าชีพและเทคโนโลยที ่เี ก่ยี วขอ ง 3.9 มีความคิดรเิ ร่ิมสรางสรรค 3.10 สามารถจัดการ ตัดสินใจและแกไ ขปญหาตาง ๆ ไดอยา งเหมาะสมถกู ตอ ง 3.11 มีจรรยาบรรณตอ วิชาชีพ

สรุป คุณสมบัติของพนักงานคอมพิวเตอรในสถานประกอบการตาง ๆ ไมวาจะเปนหนวยงานราชการหรือเอกชน จะตองประกอบไปดวยลักษณะสําคัญ 3 ดาน คือ ดานความรู ดานกิจนิสัย และดานทักษะ แตส่ิงที่สถานประกอบการ ตองการมากท่ีสุดคือดานกิจนิสัย เพราะในการทํางานพนักงานที่มีอุปนิสัยที่ดียอมจะกอใหเกิดประโยชนตอองคกร มากกวาพนักงานท่ีนิสัยไมดีซ่ึงจะสงผลเสียตอการทํางานในหนวยงานฉะน้ันนักเรียนจะตองปฏิบัติตนใหเปนคนดี ขยันหมั่นเพยี รในการเรยี นเพอ่ื เสรมิ สรางความรูและทกั ษะในการออกไปประกอบอาชพี ในอนาคต

หนว ยที่ 3 แนวทางประกอบอาชีพทางดา นคอมพิวเตอร แนวทางประกอบอาชีพทางดานคอมพิวเตอร ปจจุบันอาชีพท่ีเกี่ยวกับคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทอยางสําคัญทุกหนวยงาน จึงทําใหมีผูสนใจหันมา ประกอบอาชีพทางดานคอมพิวเตอรกันมากขึ้น เพราะมีตําแหนงงานใหเลือกทําอยางมากมาย มีรายไดคอนขางดี และ สามารถพัฒนาตัวเองใหกาวหนาในหนาท่ีการงานใหสูงข้ึนไดอีกดวย โดยเปนท่ียอมรับกันวาผูท่ีมีความรูทางดาน คอมพวิ เตอร ยอ มจะหางานทําไดง า ยกวาผทู ีข่ าดความรแู ละประสบการณท างดานคอมพิวเตอร 1. แนวทางประกอบอาชีพทางดา นคอมพิวเตอร การประกอบอาชีพทางดานคอมพิวเตอร ปจจุบันคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวัน และท้ังในสถานที่ ทํางานราชการ ตลอดจนธุรกิจเอกชนตาง ๆ อยางมากมาย จนทําใหบุคลาการทางดานคอมพิวเตอรเปนที่ตองการของ หนว ยงานจํานวนมาก สาํ หรับงานอาชพี ท่เี กยี่ วขอ งกับคอมพิวเตอร สามารถจัดไดด ังตอ ไปนี้ 1) พนกั งานคอมพวิ เตอร (Key Operator) 2) พนกั งานเตรยี ม (Data Entry) 3) บรรณารกั ษคอมพวิ เตอร (Libralian Computer) 4) ผเู ขยี นโปรมแกรม (Programmer) 5) นักวิเคราะหระบบ (System Analysis) 6) นกั บริหารทางดา นคอมพวิ เตอร 7) ครู-อาจารยส อนคอมพิวเตอร 8) เจา ของธรุ กิจคอมพิวเตอร 9) พนักงานขายคอมพวิ เตอร 10) การเปดรานบรกิ ารใหเชา เคร่ืองคอมพิวเตอร 11) การรับพมิ พงานและนามบตั รดว ยคอมพิวเตอร 12) พนกั งานซอมเครอื่ งคอมพิวเตอร 2. คอมพิวเตอรทาํ อะไรไดบ าง คอมพวิ เตอรนนั้ มีขดี ความสามารถในการทาํ งานไดหลายรปู แบบ ไมว าจะแสดงขอ มลู ทางดาน 1) ขอความ ประกอบดว ย ตวั อกั ษร ตวั เลข และสญั ลักษณต า ง ๆ 2) รปู ภาพ ภาพนิ่ง ภาพเคลือ่ นไหว 3) เสยี ง 3. งานโดยท่ัว ๆ ไปทีค่ อมพิวเตอรส ามารถทําได คอื 1) งานผลติ เอกสาร 2) งานบัญชี การคาํ นวณ และการแสดงกราฟ 3) งานจดั การขอ มลู และฐานขอ มูล

4) งานบรรยายและการนําเสนอ 5) โปรแกรมชว ยการสอน(CAI) Computer Aided Instruction 6) งานทางดา นการออกแบบ 7) การติดตอ สือ่ สารระหวางประเทศ (Internet) 4. ตําแหนง งานทางดา นคอมพวิ เตอร ตําแหนงงานทางดานคอมพิวเตอรท่ีประกาศรับทางหนาหนังสือพิมพ และทาง Internet เชน WWW.JOBSDB.COM โดยมีตําแหนงงานใหเลือกทาํ งานมากมาย เพ่ือจะไดเ ตรยี มความพรอมในดานความรูและใหตรง กับความสนใจในการประกอบอาชีพในอนาคต สรุป การประกอบอาชีพทางดานคอมพิวเตอรปจ จุบันมีจํานวนมากไมวา เปนหนวยงานราชการหนวยงานเอกชน หรือ อาชีพสวนตัว นกั เรียนจะตองเลือกอาชีพใหตรงกับความรูแ ละความสามารถของตนเอง และติดตามเทคโนโลยีใหม ๆ ที่ เขามาอยา งไมหยุดนิ่ง ถาเราไมต ิดตามและใฝเรียนรูใหเทา ทนั เทคโนโลยเี หลา นี้ จะทําใหเ ปนคนลา สมยั และหางานทาํ ยาก หนว ยงานราชการระดับกระทรวงของไทย การบริหารแผนดินในตนรัตนโกสินทรนนั้ คงดําเนินตามแบบที่ไดทาํ มาแตครง้ั กรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี ผิดแต วามกี รมตาง ๆ เพ่ิมขึ้นบาง แตห ลักของการบริหารน้ัน คงมีอัครมหาเสนาบดี 2 ตําแหนง คือ สมุหกลาโหม วาการฝาย ทหาร สมหุ นายก วาการพลเรอื น ซึง่ แบงออกเปน กรมเมอื งหรือกรมนครบาล กรมวงั กรมคลงั และกรมนา คร้ันถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ซ่ึงทรงบรรลุนิติภาวะเสด็จข้ึนเสวยราชสมบัติดวย พระองคเ องเมื่อ พ.ศ. 2416 นัน้ เน่ืองจากพระองคไดเสด็จตางประเทศดูแบบแผนการปกครองที่ชาวยุโรป นํามาใชใน สิงคโปร ชวา และอินเดียแลว ทรงพระราชปรารภวา สมควรจะไดวางระเบียบราชการ บริหารสวนกลางเสียใหมตาม แบบอยางอารยประเทศ โดยจัดจําแนกราชการเปนกรมกองตา ง ๆ มหี นาทีเ่ ปนหมวดเหลา ไมกาวกายกัน ดังนั้นใน พ.ศ. 2418 พระองคจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหแยกกระทรวงพระคลังออกจากกรมทา หรือตางประเทศ และตั้งหอ รัษฎากรพพิ ฒั นทําหนา ท่เี กบ็ รายไดข องแผนดนิ ทุกแผนกขึ้นเปน คร้ังแรก ตอจากน้ัน ไดท รงปรับปรงุ หนาท่ขี องกรมตา ง ๆ ทีม่ อี ยมู ากมายเวลานั้นใหเปนระเบียบเรียบรอยโดยรวมเขาเปน กระทรวง กระทรวงหนึง่ ๆ ก็มีหนาทีอ่ ยางหน่ึงหรือหลายอยางพอเหมาะสม กระทรวงซ่ึงมีอยใู นตอนแรก ๆ เม่อื เรม่ิ เถลงิ ราชสมบัตนิ ้นั เพยี ง 6 กระทรวง[ตอ งการอา งอิง] คือ กระทรวงมหาดไทย มีหนา ท่ปี กครองหัวเมืองฝายเหนือ กระทรวงกลาโหม มหี นา ท่ปี กครองหัวเมอื งฝา ยใต และการทหารบก ทหารเรอื กระทรวงนครบาล มหี นา ท่ีบงั คับบัญชาการรกั ษาพระนคร คือปกครองมณฑลกรุงเทพฯ กระทรวงวัง มีหนา ทีบ่ งั คบั บญั ชาการในพระบรมมหาราชวงั กระทรวงการคลงั มหี นา ที่จดั การอันเกี่ยวของกับตางประเทศ และการพระคลัง กระทรวงเกษตรพานชิ การ มหี นา ท่จี ัดการไรน า

เพื่อใหเหมาะสมกับสมัย จึงไดเปล่ียนแปลงหนาทขี่ องกระทรวงบางกระทรวง และเพ่ิมอีก 4 กระทรวง รวมเปน 10 กระทรวง คอื กระทรวงการตางประเทศ แบงหนา ที่มาจากกระทรวงการคลงั เกา มหี นา ท่ีต้งั ราชทูตไปประจําสํานกั ตา งประเทศ เน่ืองจากเวลานั้นชาวยุโรปไดต้ังกงสุลเขามาประจําอยูในกรุงเทพฯ บางแลว สมเด็จกรมพระยาเทววงศวโรปการ เปน เสนาบดีกระทรวงน้ีเปนพระองคแรก และใชพ ระราชวังสราญรมยเปนสํานักงาน เริ่มระเบียบรา งเขียนและเก็บจดหมาย ราชการ ตลอดจนมขี าราชการผใู หญผ นู อยมาทํางานตามเวลา ซ่งึ นับเปนแบบแผนใหกระทรวงอน่ื ๆ ทําตามตอ มา กระทรวงยุติธรรม แตกอนการพิจารณาพิพากษาคดีไมไดรวมอยูในกรมเดียวกัน และไมไดรับคําสั่งจาก ผูบังคบั บัญชาคนเดียวกัน เปนเหตุใหวิธพี ิจารณาพิพากษาไมเหมอื นกัน ตา งกระทรวงตางตัดสนิ จึงโปรดเกลา ฯ ใหรวมผู พิพากษา ตั้งเปนกระทรวงยุติธรรมขึ้น กระทรวงโยธาธิการ รวบรวมการโยธาจากกระทรวงตาง ๆ มาไวที่เดียวกัน และใหกรมไปรษณียโทรเลข และ กรมรถไฟรวมอยูในกระทรวงนด้ี ว ย กระทรวงศึกษาธิการ แยกกรมธรรมการและสังฆการีจากกระทรวงมหาดไทย เอามารวมกับกรมศึกษาธิการ ตั้งขน้ึ เปน กระทรวงธรรมการมหี นา ทต่ี ้ังโรงเรียนฝกหัดอาจารยฝกหัดบุคคลใหเปนครู สอนวิชาตามวธิ ขี องชาวยุโรป เรยี บ เรยี งตําราเรยี น และต้งั โรงเรยี นขน้ึ ท่วั ราชอาณาจกั ร ท้ังน้ีไดทรงเริ่มจัดการตําแหนงหนาท่ีราชการดังกลาวตั้งแต พ.ศ. 2431 จัดใหมีเสนาบดีสภา มีสมาชิกเปน หัวหนากระทรวง 10 นาย และหวั หนา กรมยทุ ธนาธิการ กบั กรมราชเลขาธิการ ซึ่งมฐี านะเทากระทรวงก็ไดเขา นั่งในสภา ดวย รวมเปน 12 นาย พระองคท รงเปน ประธานมา 3 ปเศษ แตเดิมเสนาบดีมีฐานะตาง ๆ กัน แบงเปน 3 คือ เสนาบดีมหาดไทยกับกลาโหมมีฐานะเปนอัครมหาเสนาบดี เสนาบดีนครบาล พระคลัง และเกษตราธิการ มีฐานะเปนจตุสดมภ เสนาบดีการตางประเทศ ยุติธรรม ธรรมการและ โยธาธิการ เรียกกันวา เสนาบดีตําแหนงใหม คร้ันเม่ือมีประกาศ เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 จึงเรียกเสนาบดี เหมือนกนั หมด ไมเ รยี กอัครเสนาบดี

หนวยท่ี 4 บคุ ลิกภาพและการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพในการทาํ งาน ในการทํางานของทุกหนว ยงานยอมจะตองการบุคลากรท่มี ีบุคลิกลกั ษณะดมี ีความพรอมในหลาย ๆ ดาน เขามาทํางาน เพื่อใหเปนท่ปี ระทบั ใจแกผูเขามาตดิ ตองานในหนว ยงานนนั้ สรางความพึงพอใจแกผมู าใชบริการ เม่ือรู อยางนี้แลวทุกคนจึงมีความจําเปนที่จะตองพัฒนาตนเองท้ังบุคลิกภาพภายนอกท่ีเปนรางกายของเรา ใหมีสัดสวนที่ เหมาะสมตามเกณฑมาตรฐานของคนไทย เพื่อเปนที่ตองการของหนวยงานตาง ๆ สวนดานจิตใจอันเปนบุคลิกในก็ สามารถเหมือนกันหมดกค็ ือตองการทีจ่ ะรบั พนักงานในการเขาทาํ งานจากบุคคลท่ีมีความรู มคี วามเพียบพรอมท้งั รูปราง หนา ตา และจิตใจที่ดงี ามเขาทาํ งาน 1. บุคลิกภาพและการพฒั นาบุคลกิ ภาพในการทํางาน ในการเรียนวิชาจริยธรรมในอาชีพความพิวเตอร ซ่งึ ในเนือ้ หาวิชา ผูเรียนจะไดเรียนเก่ียวกับวิธีปฏิบัติ ตัวในการทํางานทางดานวิชาชีพคอมพวิ เตอร เพื่อนํามาใชกับงานสํานักงาน ในหนวยงานตา ง ๆ แลว ผูเรียนยังจะได เรียนเก่ียวกับการพัฒนาบุคลิกภาพดวย เพราะบุคลิกภาพก็มีสวนชวยสงเสริมทํางานในสํานักงานดวย เพราะสถาน ประกอบการใด ๆ กต็ าม เมอ่ื มคี วามตอ งการที่จะรบั สมคั รพนกั งานเขา ทํางานในสํานกั งานแลว นอกจากจะตองการผูท่ี มีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานทางดา นคอมพิวเตอรในสํานักงานไดแลว ยังตองการพนกั งานท่ีมีบคุ ลิกภาพท่ีดี สําหรับการทํางานในสํานักงานดวย เพ่ือเปนการชว ยสงเสริมการปฏิบัติงาน และสรางความสัมพันธท่ดี ีกับผูปฏิบัตงิ าน อนื่ ๆ และสรางการบริการแกผ มู าตดิ ตอ งาน 2. ความหมายของบคุ ลิกภาพ บุคลิกภาพ (Personality) หมายถึง บุคลิกลักษณะเฉพาะของแตละบุคคล ซึ่งจะประกอบไปดวย รปู รางหนาตา ลกั ษณะนิสัย อารมณ ความสนใจ ความสามารถ ตลอดจนความมีมนุษยสมั พันธก บั บุคคลรอบขา ง บุคลกิ ภาพจะประกอบไปดว ยลักษณะภายนอกและภายในของแตล ะบุคคล ทาํ ใหบคุ คลแตละคนนั้นมี สมรรถภาพทางรา งกายและจิตใจแตกตางกนั ออกไป - ลกั ษณะภายนอกทางรา งกายที่ทุกคนชื่นชอบ 1. มสี ว นสงู และน้าํ หนักตามเกณมาตรฐานของแตล ะชนชาติ 2. มผี ิวพรรณสวยงามเหมาะสมตามธรรมชาติของชนชาตินั้น ๆ เชน ชนชาตเิ อเชยี และชาวยุโรป ซง่ึ มี ความแตกตา งกนั 3. ชาวเอเชียจะมีผมเปนสีดํา ชาวยุโรปจะมีผมเปนมีทอง ท้ังนี้ขึ้นอยูกับสภาพอากาศและ สภาพแวดลอมของแตละทวีป 4. ความเขมแข็งของสุภาพบุรษุ และความนุมนวลของสุภาพสตรใี นแตละชนชาติ -ลักษณะภายใน ถือเปนนามธรรม หมายถึง ลักษณะภายในทางดานจิตใจ ดานอุปนิสัย ใจคอ ลักษณะความรูสกึ นึกคดิ ความราเริงแจมใจ ความประพฤติและพฤตกิ รรมของแตละบคุ คล 3. การพฒั นาบคุ ลิกภาพ

เน่ืองจากบุคลิกภาพเปนลักษณะของบุคคลโดยรวมของแตละบุคคล ซึ่งยอมแตกตางกันทั้งรูปรางราง หนา ตา ดา นอารมณส ังคม สติปญ ญา พฤติกรรม เพือ่ การกระทาํ ใด ๆ ตลอดจนการแสดงกริยาอาการตา ง ๆ ซ่ึงถือเปน ลักษณะนิสัยของแตละบุคคล ซึ่งจะตองมีการพัฒนาใหเปนที่ยอมรับนับถือกับผูที่พบเห็น สําหรับการเสริมสราง บุคลิกภาพใหเปนที่ยอมรับของบุคคลภายนอกก็จะเปนผูท่ไี ดรับความสําเร็จในการดํารงตนอยูในสังคมรอบตัวเราอยางมี ความสขุ ซง่ึ จะเปนประโยชนตอ การพัฒนาบคุ ลิกภาพ 4. ประโยชนของการพัฒนาบคุ ลิกภาพ มีดงั น้ี 1. สรา งเสรมิ สขุ ภาพใหแขง็ แรงตลอดเวลา ดวยการออกกําลังกาย 2. ทาํ ใหรางกายมีบุคลิกภาพท่ดี คี ลองแคลววองไว และสงา ผาเผย 3. เปน ผทู ีม่ คี วามรา เริง จติ ใจแจม ใส อารมณด ี 4. มกี ริ ยิ ามารยาท และพดู จาดวยถอ ยคาํ ทส่ี ุภาพเปนเสนห ก บั ผพู บเห็น 5. เปนผูทมี่ ีเหตุผลไมวูวาม มีความสุขมุ รอบคอบ มตี ิ และควบคุมตัวเองได 6. มีจติ ใจที่เขม แข็ง มีความอดทน ตอ สูกบั ปญหาและอปุ สรรคได 7. ยอมรับความเปนจริงของโลกมนุษย ซ่ึงประกอบไปดว ยสขุ และทุกข 8. มคี วามเชื่อมน่ั ในตวั เอง กลา คิดกลา ทาํ กลา แสดงออก หรอื กลาตดั สินใจ โดยอาศยั หลกั การและ เหตผุ ล 9. มีความคิดใฝหาความกาวหนา ในการงาน มีความคดิ รเิ ร่ิมและมีความกระตือรือรน มนี ํา้ ใจและเอือ้ อาทรผอู นื่ 10. ปรบั ปรุงตนเองใหเขากับสังคม และสิ่งแวดลอ มไดเปนอยางดี และสามารถสรางมนุษยสัมพันธท ี่ ดกี ับบุคคลรอบขา งไดอ ยางมีความสุข การพัฒนาบุคลิกภาพในวชิ าจรยิ ธรรมในอาชีพคอมพิวเตอร ผเู รียนจะไดรบั สง่ิ ดี ๆ ตอบแทน ดังนี้ 1. ไดร ับการพจิ ารณาเขาทํางานจากสถานประกอบการไดง า ยกวาบุคคลอืน่ 2. สรางภูมคิ มุ กันใหก บั ตนเองในการอยูรว มกันในสงั คม 3. สรางบคุ ลกิ และลกั ษณะนสิ ัยท่ีดีแกผพู บเหน็ 4. มีความเขา ใจและยอมรับกบั สิง่ ทเ่ี กิดข้นึ ในชีวิต 5. สรา งความกระตอื รือรน และใฝดตี ลอดเวลา 6. มคี วามคิดสรา งสรรคใ นการทาํ งาน 7. มคี วามสขุ ตอ การทาํ งานและในชีวิตประจาํ วัน 8. สรา งความเขา ใจกับบคุ คลอน่ื มีความโอบออ มอารี 9. ยอมรบั ฟงความคดิ เห็นของผูอ่นื ดว ยหลกั การและเหตุผล 10. สรางความหวังและกาํ ลงั ใจใหต นเอง

หนวยที่ 5 จรรยาบรรณวชิ าชีพ ความหมายความสําคัญของจรรยาบรรณวชิ าชพี ทม่ี าของจรรยาบรรณวชิ าชีพ ปวีณ ณ นคร ไดสรุปท่ีมาของจรรยาบรรณไววา ความประพฤติที่ปราศจากการควบคุมจะไมกอใหเกิดความ เปนระเบียบเรียนรอย ความดีงาม ความสงบสุขและความเจริญในตัวคน ดังน้ัน ในกิจการและในสังคมจึงตองมีการ ควบคุมความประพฤติ โดยกําหนดกฎเกณฑสําหรับยึดถือเปนแนวปฏิบัติ ในภาษาวิชาการเรียกวา “ปทัสถาน” หรือ บรรทดั ฐาน หรือศัพททางปรัชญาเรียกวา จรยิ ธรรม ซงึ่ ในภาคปฏบิ ัติมหี ลายรปู แบบ 1. รูปแบบทางศาสนา ถาเปนคําส่งั สอนหรอื คติธรรมเพอื่ ยึดถอื ปฏิบัติ เรียกวาศีลธรรม ถาเปนลักษณะเชงิ พฤติกรรมซ่งึ มอี ยใู นตวั คนแสดงออกมาจากตวั คน เรียกวา คณุ ธรรม 2. รูปแบบในวงการวิชาชพี ถาเปน ขอกําหนดกฎเกณฑอันเปนปทัสถานสําหรับผปู ระกอบวิชาชีพนั้นๆ ยึดถอื ปฏิบัติเรยี กวา “จรรยาบรรณ” ถา เปน ลกั ษณะเชิงพฤติกรรมที่มีอยูใ นผปู ระกอบวิชาชพี หรอื เปนการแสดงออกมาจากตัว คนเรยี กวา “จรรยา” 3. รปู แบบในวงงานหรอื ในหมูคน ถาเปน ขอ กาํ หนดกฎเกณฑอ ันเปนปทัสถานสาํ หรบั คนในวงงานหรือหมู เหลานนั้ ยดึ ถือปฏิบตั ิเรียกวา วินัย และที่เปน ลกั ษณะเชงิ พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกมาของคนในวงงานหรอื ในหมเู หลา นั้น ก็ เรยี กวาวินยั เชน กัน สรุป ทมี่ าของจรรยาบรรณ ก็คือ รปู แบบหน่ึงของจริยธรรมในวงการวิชาชีพเปน ขอกําหนดกฎเกณฑใ หผ ุ ประกอบวิชาชพี ยึดถือปฏิบตั ิ มีปกาศิตบังคบั ในระดับ “พึง” คอื พึงทาํ อยางน้นั พงึ ทาํ อยางนี้ ไมใ ชเ ปนการบังคบั โดย เดด็ ขาด แตผ ลสมั ฤทธ์ิหรือเปาหมายของจรรยาบรรณและศักดิศ์ รขี องผปู ระกอบวิชาชีพโดยมจี ุดมุงหมายเพื่อคนและเพือ่ งาน ดงั นัน้ ในแตล ะวชิ าชีพจึงไดก ําหนดจรรยาบรรณมากาํ หนดบทบาทหนา ที่ และพฤตกิ รรมของสมาชกิ ในวงกรวชิ าชีพ ความหมายของจรรยาบรรณวิชาชีพ เม่ือกลาวถึงจรรยาบรรณ มีคําศัพทอยู 3 คําท่ีไดมีการนําไปใชและมีความหมายคลายคลึงกันไดแก คําวา จริยธรรม จริยศาสตร และจรรยาบรรณ จริยธรรมเมื่อนําไปประยุกตใ ชกับกลมุ วิชาชีพเรียกวา“ จรรยาบรรณ” สวนคํา วาจริยศาสตร(ethics) หมายถึง ความรูท่กี ลาวถึงแนวทางการประพฤติทีถ่ ูกตอ งดีงาม จริยธรรม(morals) หมายถึงหลัก ความประพฤติทด่ี ีงามเพ่ือประโยชนแ หงตนและสังคม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ไดใหความหมายของคําวา จรรยาบรรณไวดังนี้ คือ จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติท่ีผูประกอบอาชีพการงานแตละอยางกําหนดขึ้น เพื่อรักษาและสงเสริมเกียรติคุณช่ือเสียงและ ฐานะของสมาชิก อาจเขียนเปนลายลักษณอ ักษรหรือไมก ็ได

ความสําคญั ของจรรยาบรรณวชิ าชีพ วริยา ชินวรรณโน ไดสรุปวาความสาํ คญั ของจรรยาบรรณวชิ าชีพไวว า ผทู ปี่ ระกอบวิชาชพี เปนผูทไี่ ดร ับการ ฝกฝนมีความรูความชํานาญสูงเกินกวาคนธรรมดาสามัญ เมื่อเปนเชนนั้นจึงมีโอกาสท่ีจะใชวิชาความรูของตนเพื่อหา ประโยชนโดยที่ประชาชนทั่วไปไมรูเทาทัน เชน แพทยอาจรักษาผูปวยแบบเล้ียงไข ตํารวจอาจใชตําแหนงหนาที่กล่ัน แกลงประชาชนเพ่ือแลกกับผลประโยชน หรือสนิ บน ครกู ็อาจเบียดเบียนหาผลประโยชนจ ากศิษย ซ่ึงตวั อยางมใี หเห็นใน ปจจุบัน ในท่ีสุดสังคมก็เรียกรอง จริยธรรมจากผูประกอบวิชาชีพ ซ่ึงไดมีการกําหนดข้ึนจากองคกรหรอื สมาคมวิชาชีพ น้นั ๆ โดยมีวตั ถุประสงคส าํ คัญอยู 3ประการไดแก 1. เปน แนวทางใหผ ปู ระกอบวชิ าชีพยึดถือปฏิบตั ิอยางถูกตอง 2. เพ่อื ใหว ิชาชพี คงฐานะ ไดร บั การยอมรับและยกยองจากสังคม 3. เพอ่ื ผดุงเกยี รตยิ ศและศักด์ิศรีแหง วชิ าชพี จากท่ีกลาวมาขางตน ทําใหตระหนักถึงความสําคัญของจรรยาบรรณวิชาชีพและมีความจําเปนอยางยิ่งท่ี วิชาชีพตาง ๆ จะตองมีจรรยาบรรณของตนเอง จรรยาบรรณเปนเคร่ืองมืออันสําคัญท่ีจะชวยใหผูประกอบวิชาชีพมี หลักการและแนวทางปฏิบัติตามทีถ่ ูกตองเหมาะสมอันจะนาํ มาซึ่งประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัตงิ าน รวมท้ัง ความเลื่อมใสศรัทธาและความเชื่อม่ันจากผูท่ีเก่ียวของ ขออัญเชิญพระราชดํารสั ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวท่ีได พระราชทานพระบรมราโชวาทแกบัณฑิตของมหาวิทยาลัยมหิดล ณ อาคารใหม สวนอัมพร เม่ือวันท่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ที่ไดเนน ความสําคญั ของจรรยาบรรณ ความวา “ การงานทุกอยางทุกอาชีพ ยอมจะมี จรรยาบรรณ ของ ตน จรรยาบรรณนั้นจะมีบัญญัติเปน ลายลักษณอักษรหรือไมก็ตาม แตก็เปนสิ่งที่ยึดถือกันวาเปนความดีงาม ท่ีคนใน อาชีพน้ันประพฤติปฏิบัติ หากผูใ ดลว งละเมิด ก็อาจกอใหเกิดความเสียหาย ทั้งแกบุคคล หมูคณะและสวนรวมได เหตุนี้ ผปู ฏิบัตงิ านในทกุ สาขาอาชีพ นอกจากจะมีความรใู นสาขาของตน ทั้งขอ ท่ีควรปฏบิ ตั ิ และไมพ งึ ปฏิบัติอยางเครง ครัดดวย จึงจะสามารถประพฤติปฏิบัตงิ านใหป ระสบความสําเรจ็ ไดร ับความเชอ่ื ถือยกยองในเกียรติ ในศกั ด์ิศรี และความสามารถ ดวยประการทงั้ ปวง” หลักการสําคัญของจรรยาบรรณวิชาชีพ 1. ความรักความศรัทธาในอาชีพ อาชพี ที่ผูป ระกอบวิชาชพี ถือปฏิบัตินั้นยอมเปนอาชีพท่สี จุ ริต ในการประกอบอาชีพกย็ อมไดร ับผลตอบแทนจาก วชิ าชีพนั้น ๆ ดังน้นั ความรักความศรทั ธาเปนสิ่งทจ่ี ําเปนอยางย่ิงที่ผปู ระกอบวิชาชพี พงึ มี เพ่อื เปนส่งิ ยดึ เหน่ยี วจิตใจและ กําหนดกรอบของการกระทําอนั จะสง ผลตอความเจรญิ กาวหนา ทางหนา ท่ีการงานและตอสถาบัน 2. ความซอ่ื สัตยสจุ ริต การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ นน้ั โดยเฉพาะผปู ระกอบวชิ าจาํ เปนตอ งมีความซ่ือสัตยส ุจริต ท้งั ในดานการทํางานใน หนา ที่ เพือ่ นรว มงาน รวมถึงหัวหนา งาน เพื่อจะทาํ ใหก ารทาํ งานสาํ เรจ็ ลลุ วงไปไดโดยไมกอ ใหเกดิ ปญหาท้ังระหวางการ ทํางานรวมไปถึงภายหลังจากการทํางานเสร็จส้ินไปแลวก็ตาม การใหความเคารพตอกฎระเบียบขอบังคับหรือ จรรยาบรรณในอาชีพ

อาชีพแตละอาชีพนั้นยอมมีกฎระเบียบขอบังคับตาง ๆ เพื่อเปนกรอบและแนวทางใหผูประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติ จรรยาบรรณวิชาชีพเปนตัวกําหนดใหผูประกอบวิชาชีพมีบุคลิกลักษณะตามแบบแผนของอาชีพโดยตองอาศัยผู ประกอบวิชาชพี ใหค วามเคารพและปฏิบัติตามจงึ จะบงั เกดิ ผล 2. ยกยอ งใหเกียรตผิ รู ว มวิชาชพี วิชาชีพแตละแขนงยอมมีเกียรติ การยกยองและใหเกียรติผูรวมวิชาชีพมีความสําคัญอยางย่ิง การชวยเหลือ เกอื้ กลู ซึ่งกันและกันเปน สิ่งสาํ คัญ สรางมติ รภาพทัง้ การทํางานและเรื่องการดําเนนิ กจิ กรรมตาง ๆ ทางสงั คม เพอ่ื ใหก าร ประกอบอาชพี ดําเนินไปอยางไมเ กิดขอขดั แยง และประสบผลสาํ เร็จ 3. การรวมกลมุ เพ่ือสรางความมน่ั คงในวิชาชพี เมื่อมีวิชาชีพเกิดขึ้นการที่จะทําใหองคกรนั้นมีความเขมแข็ง และเปนท่ีรูจักกันมากขึ้นในสังคม จําเปนตองมี การรวมกลุมทางสังคมเพ่ือผนกึ กําลังสรางสรรคสิ่งตางๆ ออกมาสูสาธารณะชน ทําใหเกิดการกอตัวขององคกรเพื่อเปน รากฐานความมัน่ คงทางวชิ าชพี ตอไป การปฏิบตั ิตนใหอยูใ นจรรยาบรรณวิชาชพี การท่ีบุคคลประกอบอาชพี ทจี่ ําเปนตองมพี รอ มทั้งประสบการณความสามารถในเรอื่ งวิชาการแลว ก็ยังตอง มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งจรรยาบรรณเปนเครอ่ื งมืออนั สาํ คญั ที่จะชว ยใหผปู ระกอบวิชาชีพมีหลักการและแนวทางปฏิบัติ ตามที่ถูกตองเหมาะสมอันจะนํามาซ่ึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน รวมท้ังความเล่ือมใสศรัทธาและ ความเช่อื มนั่ จากผทู ่เี ก่ียวขอ ง ดังน้ัน การปฏิบัติตนใหอยูในจรรยาบรรณวิชาชีพจึงเปรียบเสมือนตัวชี้วัดมาตฐานการปฏิบัติงานของผู ประกอบวชิ าชพี โดยมีหลกั ปฏบิ ัตดิ งั น้ี ความซื่อสัตย ปฏิบัติงานอยางมีเกียรติและซื่อสัตยตลอดเวลาที่ไดรวมงานท้ังกับผูรับบริการ และเพ่ือนรวมวิชาชีพ ดว ยกัน ซง่ึ เปน ตัวสาํ คญั ทีบ่ งบอกถงึ ความจรงิ ใจท้ังตอ หนาและลบั หลงั ความเปนกลาง ดําเนินกิจกรรมอยางยุติธรรมและไมลําเอียง ซึ่งจะตองปราศจากอคติหรือพิจารณามาเปนการลวงหนา ไม กอใหเ กดิ ความขัดแยง ในรูปแบบการแสดงออกตอ ผรู บั บริการวชิ าชีพและเพื่อนรวมวชิ าชีพ ความเปน อสิ ระ การปฏิบัติงานจะตอ งมีความเปนอิสระในการที่ใหบริการทางดานตางๆหรือบริการสาธารณะซ่ึงการดําเนนการ น้ันเปนไปอยางอิสระ แตผูประกอบวิชาชีพตองพึงระลึกอยูเสมอวาผลประโยชนที่ไดรับเปนไปอยางถูกกฎหมาย เปนไป ตามระเบยี บแบบแผนแลวขอ ตกลงท่ตี ้ังไว การรกั ษาความลับ

ผูประกอบวิชาชีพจะตองใหความนับถือธรรมชาติของความลับของขอมูลของผูรับบริการในการใหบริการทาง วิชาชีพและขอมูลควรไดรับการปกปดแกบุคคลท่ี 3 โดยปราศจากการขออนุญาตเฉพาะเร่ือง หรือเปนหลักเกณฑทาง กฎหมาย มาตรฐานวชิ าการและวิชาชีพ ผูประกอบวิชาชีพถูกคาดหวังวาจะตองมีมาตรฐานทั้งทางดานวิชาการและวิชาชีพตามคุณสมบัติวิชาชีพของผู ประกอบวิชาชีพ ซ่ึงเปนพื้นฐานในการปฏิบัติหนา ที่ท่ีเปน บรรทัดฐานเดียวกัน ประสบการณทางวิชาการและวิชาชพี จะ ถูกนํามาใชในการปฏิบตั หิ นา ท่ีโดยผรู ับบริการวชิ าชพี พงึ จะไดรับอยางเทาเทยี มกนั ความสามารถและความระมัดระวัง ผปู ระกอบวิชาชีพจะตอ งแสดงออกในการใหบริการทางวชิ าชีพดวยความระมัดระวงั ดวยความสามารถ และดวย ความขยนั หมนั่ เพยี ร เนือ่ งจาก มหี นาท่ีจะตอ งรกั ษาความรแู ละความชาํ นาญอยางตอเนื่อง พฤตกิ รรมทางจรยิ ธรรม ผูประกอบวิชาชีพจะตองประพฤติตนอยางมีจริยธรรมตลอดเวลาและตองรักษาช่ือเสียงท่ีดีในวิชาชีพ การให คาํ ปรึกษาแกผ รู บั บริการวชิ าชพี อยางเตม็ ความสามารถ กลาวโดยสรุป จรรยาบรรณในวิชาชีพ เปนประมวลมาตรฐานความประพฤติท่ีผูประกอบวิชาชีพจะตอง ประพฤติปฏิบัติ เปนแนวทางใหผูประกอบวิชาชีพปฏิบัติอยางถูกตองเพื่อผดุงเกียรติและสถานะของวิชาชีพน้ันก็ได ผูกระทําผิดจรรยาบรรณ จะตองไดรับโทษโดยวากลาว ตักเตือน ถูกพักงาน หรือถูกยกเลิกใบประกอบวิชาชีพได ซ่ึง จรรยาบรรณในวิชาจะเปนสิ่งสําคัญในการที่จะจําแนกอาชีพวาเปนวิชาชีพหรือไม อาชีพท่ีเปน “วิชาชีพ” นัน้ กําหนดให มีองคก รรองรับ และมกี ารกาํ หนดมาตรฐานของความประพฤตขิ องผูอยูในวงการวชิ าชีพซงึ่ เรียกวา “จรรยาบรรณ” สว น ลักษณะ “วิชาชีพ ” ท่ี สําคัญคือ เปนอาชีพท่ีมีศาสตรชั้นสูงรองรับ นอกจากน้ีจะตองมีองคกรหรือสมาคมวิชาชีพ ตลอดจนมี “จรรยาบรรณในวิชาชีพ” เพ่ือ ใหสมาชิกในวิชาชีพดําเนนิ ชีวิตตามหลกั มาตรฐานดงั กลา วหลกั ท่ีกําหนดใน จรรยาบรรณวิชาชพี ทั่วไป คือ แนวความประพฤตปิ ฏิบัตทิ ี่มตี อ วิชาชีพตอ ผเู รียน ตอ ตนเอง และตอ สังคม

หนว ยที่ 6 คุณธรรมจรยิ ธรรมในการทาํ งาน คุณธรรม จริยธรรมในการทาํ งาน คณุ ธรรม หมายถึง สภาพคุณงานมความดีและความถูกตองในการแสดงออกทัง้ กาย วาจา และใจของแตล ะ บุคคลซ่ึงยึดมน่ั ไวเปนหลกั ในการประพฤตปิ ฏิบตั ิจนเกดิ เปนนสิ ัย จริยธรรม หมายถึง กฎเกณฑท่ีเปน แนวทางในการประพฤติปฏิบัตติ นในสิ่งท่ีดีงาม เหมาะสม และเปนท่ีนยิ มชมชอบ หรอื ยอมรบั จากสังคม เพ่อื ความสนั ติสุขแหง ตนเองและความสงบเรยี บรอยของสงั คม ความสาํ คญั ของคณุ ธรรมจริยธรรม  ชวยใหชวี ิตดําเนินไปดวยความราบรืน่ และสงบ  ชวยใหมีสตสิ มั ปชญั ญะอยตู ลอดเวลา  ชว ยสรา งความมรี ะเบยี บวินัยใหแกบุคคลในชาติ  ชวยควบคมุ ไมใ หคนชวั่ มจี าํ นวนมากข้ึน  ชว ยใหมนษุ ยนําความรแู ละประสบการณมาสรา งสรรคแ ตส ง่ิ ท่ีมคี ณุ คา  ชวยควบคมุ ความเจริญทางดา นวตั ถแุ ละจิตใจของคนใหเ จรญิ ไปพรอม ๆ กนั คณุ ธรรมในการทํางาน คณุ ธรรมในการทาํ งาน หมายถงึ ลักษณะนสิ ยั ที่ดที ี่ควรประพฤติปฏิบัติในการประกอบอาชีพคณุ ธรรมสําคัญท่ี ชวยใหก ารทํางานประสบความสาํ เรจ็ มีดงั น้ี ความมีสตสิ ัมปชัญญะ หมายถงึ การควบคุมตนเองใหพ รอ ม มสี ภาพตน่ื ตัวฉบั ไวในการรบั รทู างประสาทสมั ผสั การใชปญ ญาและเหตผุ ลในการตัดสนิ ใจที่จะประพฤตปิ ฏบิ ัตใิ นเรือ่ งตา ง ๆ ไดอยางรอบคอบ เหมาะสม และถกู ตอ ง ความซ่ือสัตยสุจริต หมายถึง การประพฤติปฏิบัติอยางตรงไปตรงมาทั้งกาย วาจา และใจ ไมค ิดคดทรยศ ไมคดโกง และไมห ลอกลวงใคร ความขยันหม่ันเพยี ร หมายถึง ความพยายามในการทาํ งานหรือหนาที่ของตนเองอยางแขง็ ขัน ดว ยความมงุ ม่ัน เอาใจใสอยา งจรงิ จงั พยายามทําเรอื่ ยไปจนกวา งานจะสําเร็จ ความมีระเบียบวินัย หมายถึง แบบแผนทวี่ างไวเพ่ือเปนแนวทางปฏิบัติและดําเนินการใหถูกลําดับ ถูกท่ี มี ความเรยี บรอย ถูกตองเหมาะสมกับจรรยาบรรณ ขอบังคบั ขอตกลง กฎหมาย และศีลธรรม ความรับผดิ ชอบ หมายถึง ความเอาใจใสมงุ ม่ันตัง้ ใจตองาน หนาท่ี ดวยความผกู พนั ความพากเพยี ร เพอื่ ให งานสาํ เรจ็ ตามจดุ มงุ หมายที่กาํ หนดไว ความมีนํ้าใจ คอื ปรารถนาดมี ีไมตรจี ิตตองการชว ยเหลอื ใหทกุ คนประสบความสขุ และชาวยเหลือผูอ นื่ ใหพน ทุกข ความประหยัด หมายถึง การรูจักใช รูจักออม รูจักประหยัดเวลาตามความจําเปน เพ่ือใหไดป ระโยชนอ ยาง คุม คา ที่สดุ

ความสามัคคี หมายถึง การที่ทุกคนมีความพรอมทั้งกาย จิตใจ และความเปนน้ําหน่ึงใจเดียวกัน มี จดุ มงุ หมายทีจ่ ะปฏิบัตงิ านใหป ระสบความสาํ เรจ็ โดยไมมีการเก่ียงงอน จรยิ ธรรมในการทํางาน จรยิ ธรรมในการทาํ งาน หมายถงึ กฎเกณฑท ี่เปนแนวทางปกบิ ัตติ นในการประกอบอาชีพทถ่ี ือวาเปนสง่ิ ท่ีดีงาน เหมาะสม และยอมรับ การทาํ งานหรือการประกอบอาชีพตาง ๆ จะเนนในเรอื่ งของจริยธรรมท่มี คี วามแตกตางกันดังนี้ จริยธรรมในการทํางานทั่วไป จรยิ ธรรมท่นี ํามาซึ่งความสุขความเจริญในการทาํ งานและการดาํ รงชวี ติ เรียกวา มงคล 38 ประการ มงคล ชวี ิตทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การทาํ งานมดี ังน้ี ชํานาญในวิชาชีพของตน ( มงคลชีวิตขอท่ี 8 ) เปนการนาํ ความรูท่ีเลาเรียน ฝกฝน อบรม มาปฏิบัติใหเกิด ความชํานาญจนสามารถยึดเปนอาชพี ได ระเบียบวินัย ( มงคลชีวิตขอท่ี 9 ) การฝกกาย วาจาใหอยูในระเบียบวินัยทสี่ งั คมหรือสถาบันวางไวเ ปนแบบ แผน ก ลาววาจาดี( มงคลชีวิตขอที่ 10 ) คือ วจีสุจริต 4 ประการ ไดแก ความจริง คําประสานสามัคคี คํา สุภาพ คํามีประโยชน ทํางานไมค ่งั คางสับสน ( มงคลชีวติ ขอ ท่ี 14 ) ลกั ษณะการทาํ งานของคนโดยทั่วไปมี 2 แบบ คอื – การทาํ งานคงั่ คา งสบั สน คอื ทํางานหยาบยุงเหยงิ ทํางานไมส าํ เร็จ – การทาํ งานไมค่งั คา ง คือ การทาํ งานดีมรี ะเบยี บ ทํางานเตม็ ฝม ือ และทาํ งานใหเ สร็จ จรรยาบรรณวิชาชีพ จรรยาบรรณเกิดข้ึนเพ่ือมุงใหคนในวิชาชีพมีประสิทธิภาพ ใหเปนคนดีในการบรกิ ารวิชาชีพ ใหคนในวิชาชีพมี เกียรตศิ กั ด์ศิ รที ม่ี ีกฎเกณฑมาตรฐานจรรยาบรรณ จรรยาบรรณ มคี วามสําคัญและจําเปนตอทุกอาชีพ ทกุ สถาบัน และหนว ยงาน เพราะเปนทยี่ ดึ เหน่ียวควบคุม การประพฤติ ปฏิบัติดว ยความดงี าม ความสําคญั ของจรรยาบรรณ เพ่ือใหมนุษยสามารถอาศัยอยูรวมกันไดอยางสงบสุข จึงตองมีกฎ กติกา มารยาท ของการอยุรวมกัน ใน สังคมท่เี จริญแลวไมมองแตค วามเจริญทางวตั ถุ จรยิ ธรรมในการทาํ งานผูบ ริหาร

มีหริ ิโอตตปั ปะ เวนอคติ 4 ประการ มพี รหมวหิ าร 4 มสี งั คหวัตถุ 4 จรยิ ธรรมของผปู ระกอบอาชพี คา ขาย ตาดี หมายถงึ รูจกั สนิ คา ดขู องเปน สามารถคํานวณราคา กะตน ทนุ เกง็ กําไรไดแ มน ยําจัดเจนธรุ กจิ หมายถึง รูจักแหลงซื้อขายสินคา รูความเคลื่อนไหวและความตองการของตลาดพอมดวยแหลงทุนเปนที่อาศัย หมายถึงเปนท่ี เชื่อถือไววางใจในหมแู หลง ลงทุนใหญ ๆ จรรยาบรรณวชิ าชพี จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึง กฎเกณฑหรือแนวทางในการประพฤติปฏิบัติที่ผูประกอบอาชีพแตละอาชีพ กาํ หนดขึน้ เพือ่ รักษาและสงเสรมิ เกียรติ ชื่อเสียง ฐานะของสมาชิกและวงการวิชาชพี น้ัน ๆ ของสมาชิกทป่ี ระกอบอาชีพ นน้ั ๆ ตัวอยางจรรยาบรรณวชิ าชพี จรรยาบรรณของผปู ระกอบอาชีพคาขาย พงึ มสี ัจจะ คอื ความจรงิ ในอาชีพของตนและผูอ ่ืนที่ใชบ ริการของตนอยา งเครงครัด  พงึ มเี มตตากรุณาตอ ลกู คาเสมอหนา กัน ไมควรคดิ เอาประโยชนต น หรอื ผลกําไรลูกเดยี ว  พงึ เฉล่ียผลกาํ ไรผรู วมงานทกุ คนเสมอหนากนั  พึงใหเกยี รตแิ กล กู คา ทกุ คน ไมค ดโกง  พงึ หาวธิ ีการรวมมอื กับนักการคา อืน่ ๆ เพอ่ื ชวยเหลอื สงั คม  พงึ เสียภาษีอากรใหร ฐั อยางถูกตอ งเตม็ เมด็ เต็มหนว ย  พึงรับผดิ ชอบตอ ผูรว มงานทกุ คนดวยความเมตตาธรรม  พึงพดู จาไพเราะออนหวานและปฏิบตั ิตนเปนกลั ยณมติ รกบั ลูกคา ทุกคน  พึงบรกิ ารลูกคาใหรวดเร็วทันใจเทา ทีจ่ ะทาํ ได  พึงหาทางรว มมือ รวมแรง รว มใจกับรัฐบาลในการพฒั นาสังคม จรรยาบรรณครู 1. เลอื่ มใสการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุขดวยความบริสุทธิใ์ จ 2. ยึดมัน่ ในศาสนาทตี่ นนบั ถอื ไมลบหลดู หู มิน่ ศาสนาอนื่ 3. ตง้ั ใจส่งั สอนศษิ ย อุทศิ เวลาของตนใหศษิ ย 4. รกั ษาชื่อเสยี งของตนมใิ หข ึน้ ชือ่ วา เปนคนประพฤตชิ ่ัว

5. ถือปฏิบัตติ ามระเบียบและแบบธรรมเนยี มอันดีงามของสถานศกึ ษา 6. ถายทอดวชิ าความรูโ ดยไมบดิ เบือนและปดบงั อาํ พราง 7. ใหเ กียรติแกผอู นื่ ทางวชิ าการ ไมนําผลงานฃของผูใ ดมาแอบอางเปนของตน 8. ประพฤตอิ ยูใ นความซื่อสัตยสุจรติ 9. สุภาพ เรียบรอย เปนแบบอยา งทดี่ ใี หแกศิษย 10. รักษาความสามคั ครี ะหวางครูและชว ยเหลอื กันในหนาทกี่ ารงาน จรรยาบรรณแพทย 1. มเี มตตาจิตแกค นไข ไมเ ลือกชน้ั วรรณะ 2. มคี วามออนนอ มถอมตน ไมยกตนขม ทาน 3. มคี วามละอาย เกรงกลัวตอ บาป 4. มีความละเอยี ดรอบคอบ สขุ ุม มีสติใครครวญเหตุผล 5. ไมโ ลภเหน็ แกลาภของผปู วยแตฝ า ยเดียว 6. ไมโ ออวดวิชาความรูใหผอู น่ื หลงเชื่อ 7. ไมเ ปนคนเกียจคราน เผอเรอ มกั งาย 8. ไมล อุ ํานาจแกอ คติ 4 คอื ความลาํ เอยี งดวยความรกั ความโกรธ ความกลัว ความหลง (โง) 9. ไมห วั่นไหวตอ สง่ิ ท่เี ปนโลกธรรม 8 คอื ลาภ ยศ สรรเสรญิ สุข และความเสอ่ื ม 10. ไมม สี นั ดานชอบความมวั เมาในหมูอ บายมขุ จรรยาบรรณนักกฎหมาย 1. พึงถอื วางานดานกฎหมายเปน อาชพี ไมใชธุรกิจ 2. พึงถือวากฎหมายเปนเพยี งเครอื่ งมือของความยุตธิ รรม มิใชมาตราการความยตุ ธิ รรม 3. พึงถอื วานักกฎหมายทกุ คนเปน ท่ีพึงของประชาชนทกุ คนในดา นกฎหมาย 4. พงึ ถือวา ความยตุ ิธรรมอยูเหนอื อามิสสนิ จางหรอื ผลประโยชนใด ๆ 5. พงึ ถือวา ความยุติธรรมเปน กลางสําหรับทุกคน 6. พึงถือวา มนุษยทุกคนมสี ิทธใิ นเรื่องยุตธิ รรมเทาเทียมกัน 7. พึงขวนขวายหาความรใู หท ันเหตกุ ารณเสมอ 8. พึงงดเวนอบายมุขทัง้ หลายอนั เปน ส่ิงบั่นทอนความยตุ ิธรรม 9. พงึ รักษาเกยี รตยิ ่ิงกวาทรัพยสนิ ใด 10.พงึ ถือวาบุคคลมคี า เหนอื วตั ถุ จรรณยาบรรณทหาร 1. มีความจงรักภกั ดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ 

2. ยดึ มัน่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ 3. ยอมสละประโยชนส วนตน เพื่อผลประโยชนแหงชาติ 4. รักษาชอ่ื เสียง และเกียรตศิ ักดิข์ องทหาร 5. มคี ณุ ธรรม มคี วามซ่ือสตั ยสจุ ริต 6. ซอื่ ตรงตอ ตนเอง ผอู น่ื และครอบครวั 7. มีลักษณะผูนํา มีวินัย ปฏิบัติตามคําสั่งอันชอบธรรม ถูกตองตามกฎหมาย โดยเครงครัด และปกครองผูใต บังคับ บัญชา ดว ยความเปนธรรม 8. ตองไมใ ชตาํ แหนงหนาทเ่ี พ่ือแสวงหาประโยชนโดยมชิ อบ อันจักทําให เส่อื มเสียศักด์ิศรี และเกียรติภูมิของ ทหาร 9. ไมรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดจากผูใตบังคับบัญชา หรอื บุคคลอ่ืน อันอาจทําใหเปนที่สงสัย หรือเขาใจ วา มีการเลอื กปฏิบตั ิ หรือไมเ ปน ธรรม 10. ปฏิบัตติ อ บุคคลทม่ี าติดตอ เกยี่ วของอยา งเสมอภาคและเทาเทยี มกนั 11. รรู ักสามัคคี เพ่อื ประโยชนต อการปฏิบัตริ าชการทหาร 12. ตอ งบริหารทรัพยากรทีม่ ีอยูอยา งคมุ คา และเกดิ ประโยชนสูงสุดตอ ทางการทหาร 13. พัฒนาตนใหมีความรู ความสามารถ และทักษะในการปฏิบัติงาน เพื่อให เกิดประโยชนสูงสุดตอทาง ราชการทหาร 14. รกั ษาความลบั ของทางราชการทหารโดยเครงครดั คานิยม ความหมายของคา นยิ มมผี รู หู ลายทานไดใหค วามหมายไวด งั นี้ คานิยม มาจากคาํ ในภาษาอังกฤษวา “Value” และมาจากคําสองคาํ คือ “คา” “นยิ ม”เมอ่ื คําสองคํารวมกัน แปลวา การกําหนดคุณคา คุณคาท่ีเราตองการทาํ ใหเ กิดคุณคา คุณคาดังกลา วนี้มที ้งั คุณคาแทและคุณคา เทยี ม ซง่ึ คุณคา แทเปนคุณคาท่ีสนองความตองการในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สวนคุณคาเทียม หมายถึงคุณคาท่ีสนองความตองการ อยากเสพส่งิ ปรนเปรอช่วั คูช ว่ั ยาม คานิยม หมายถึง ส่ิงทีบ่ ุคคลพอใจหรอื เห็นวาเปนสิ่งที่มีคุณคา แลวยอมรับไวเปนความเช่ือ หรือความรสู ึก นกึ คิดของตนเอง คา นิยมจะสงิ อยใู นตวั บคุ คลในรูปของความเชื่อตลอดไป จนกวาจะพบกบั คา นยิ มใหม ซง่ึ ตนพอใจกวาก็ จะยอมรับไว เม่ือบุคคลประสบกับ การเลือกหรือเผชิญกับเหตกุ ารณ ละตองตัดสินใจอยางใดอยางหน่ึงเขาจะนาํ คา นิยม มาประกอบการตดั สนิ ใจทกุ ครงั้ ไป คา นยิ มจึงเปน เสมือนพ้นื ฐานแหง การประพฤติ ปฏิบตั ิของบุคคลโดยตรง “คา นิยม” หมายถึง ความเชื่อวาอะไรดี ไมดี อะไรควร ไมค วร เชน เราเชอ่ื วาการขโมยทรัพยของผอู ่นื การฆา สัตวตัด ชีวิต เปน ส่ิงท่ีไมดี ความกลาหาญ ความซอ่ื สตั ย เปนสงิ่ ทด่ี ี อิทธิพลของคา นิยมทม่ี ตี อ พฤติกรรมของบุคคล

รองศาสตราจารย สุพัตรา สุภาพ ไดกลา วถึงคา นิยมสังคมเมืองและคานิยมสังคมชนบทของสังคมไทยไวคอนขาง ชัดเจน โดยแบงคานิยมออกเปนคานยิ มของคนในสังคมเมืองและสังคมชนบทซงึ่ ลักษณะคา นิยมทั้งสองลักษณะ จัดไดวา เปนลักษณะของคานิยมท่ีทําใหเกิดมีอิทธิพลตอคานิยมท่ีมีตอพฤติกรรมของบุคคล ซ่ึงสามารถแสดงใหเห็นชัดเจนใน ตาราง คานิยมสงั คมเมอื ง คา นยิ มสงั คมชนบท ๑. เชอ่ื ในเร่อื งเหตุและผล ๑. ยอมรับบุญรบั กรรมไมโ ตแ ยง ๒. ขึ้นอยูกบั เวลา ๒. ข้นึ อยกู บั ธรรมชาติ ๓. แขงขันมาก ๓. เช่อื ถือโชคลาง ๔. นยิ มตะวันตก ๔. ชอบเส่ยี งโชค ๕. ชอบจัดงานพิธี ๕. นยิ มเคร่อื งประดับ ๖. ฟุมเฟอ ยหรหู รา ๖. นิยมคณุ ความดี ๗. นิยมวัตถุ ๗. นยิ มพธิ กี ารและการทําบุญเกนิ กาํ ลงั ๘. ชอบทาํ อะไรเปน ทางการ ๘. ชอบเปนฝายรับมากกวาฝายรกุ ๙. ยกยองผูมอี าํ นาจผมู ตี ําแหนง ๙. ทํางานเปน เลน ทาํ เลนเปน งาน ๑๐.วนิ ัย ๑๐. พ่ึงพาอาศยั กัน ๑๑. ไมร ักของสวนรว ๑๑. มีความเปน สวนตวั มากเกินไป ๑๒. พดู มากกวาทาํ ๑๒. รักญาติพ่ีนอง ๑๓. ไมชอบเหน็ ใครเหนอื กวา ๑๓. มคี วามสันโดษ ๑๔. เหน็ แกต วั ไมเ ช่ือใจใคร ๑๔. หวังความสขุ ชว่ั หนา อทิ ธิพลของคานิยมตอตัวบคุ คล คานิยมไมวา จะเปน ของบุคคลหรือคา นิยมของสังคม จะมอี ิทธิพลตอตวั บคุ คล ดังน้ี คือ ๑. ชว ยใหบ ุคคลตัดสินใจวา สิง่ ใดผดิ ส่งิ ใดถูก ดีหรือไมดี มีคณุ คา หรอื ไมม คี ณุ คา ควรทําหรือไมควรทาํ ๒. ชวยใหบคุ คลในการกําหนดทาทีของตนตอเหตกุ ารณท ่ตี นตองเผชญิ ๓. ชว ยสรา งมาตรฐาน และแบบฉบับจากการประพฤติปฏบิ ัติของบคุ คล ๔. มอี ทิ ธิพลเหนอื บุคคลในการเลอื กคบหาสมาคมกับบคุ คลอ่นื และเลือกกจิ กรรมทางสังคม ซึ่งตนจะตอ งเขาไปรวมดวย ๕. ชวยใหบ ุคคลกําหนดความคิดและแนวทางปฏบิ ตั ิ ๖. ชว ยเสริมสรางหลกั ศีลธรรม ซ่ึงบคุ คลจะใชในการพจิ ารณา การกระทาํ ของตนอยา งมีเหตุผล

หนว ยท่ี 7 กฎหมายดา นไอซีที ความเปนมาของกฎหมายICT สืบเนอ่ื งจากเม่ือวันท่ี 28 กมุ ภาพันธ 2539 คณะรัฐมนตรไี ดม มี ตเิ หน็ ชอบตอ นโยบายเทคโนโลยสี ารสนเทศแหงชาติ (ไอที 2000) เพ่ือพัฒนาสังคมและเสรมิ สรางความแขง็ แกรงทางดา นธุรกิจอุตสาหกรรม และการคาระหวางประเทศ ใน การกาวเขาสูยุคเศรษฐกิจใหมแหงศตวรรษที่ 21 โดยหนึ่งในมาตรการสําคัญของนโยบายดังกลาว คือ การปฏิรูป กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตอมาเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2541 คณะรัฐมนตรีไดมมี ติเห็นชอบใหคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติ ดําเนนิ โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เสนอโดยกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดลอ ม และ ใหคณะกรรมการฯ เปนศนู ยกลางดาํ เนินการและประสานงานระหวางหนวยงานตางๆ ท่ีกําลังดําเนินการจัดทํากฎหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศและกฎหมายอื่นๆ ที่เก่ียวของโดยมีศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ สํานกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแี หง ชาติ ทาํ หนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการฯ สาํ นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ โดยศูนยเทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกสและคอมพวิ เตอรแหงชาติ ใน ฐานะสํานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแหงชาติไดดําเนิน โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยี สารสนเทศ ซึ่งประกอบดว ยกฎหมาย 6 ฉบับ ไดแ ก -กฎหมายเกย่ี วกบั ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (เดิมเรียกวา “กฎหมายแลกเปลย่ี นขอมลู ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส”) -กฎหมายเก่ียวกับลายมือช่ืออิเล็กทรอนิกสตอมาไดมีการรวมหลักการเขากับกฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส และรวมเรียกช่ือเดียววา “กฎหมายวาดวยธุรกรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส” -กฎหมายเก่ียวกับการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานสารสนเทศใหทั่วถึงและเทาเทียมกัน (เดิมเรียกวา “กฎหมายลําดับ รองของรัฐธรรมนญู มาตรา 78” -กฎหมายเกยี่ วกับการคมุ ครองขอมลู สว นบคุ คล -กฎหมายการกระทําความผดิ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร( เดิมเรยี กวา “กฎหมายเกีย่ วกบั อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร“) -กฎหมายเก่ียวกับการโอนเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส

กฎหมาย ICT ทีค่ วรรู กฎหมายสารสนเทศหรือกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศมีไวเพื่อควบคุมไมใหมีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศไปใช ในทางที่ผิด กอใหเกิดความเสียหายในดานตาง ๆ ในตัวกฎหมายแทจริงแลวมีมากมายและสามารถตีความไดอยาง กวางขวาง สามารถสรุปส้ันๆได 10 ขอ ดังน้ี 1. หากเจา ของระบบหรอื ขอมูลไมอ นญุ าตแตมผี แู อบไปใชในระบบหรือพื้นท่ีมคี วามผดิ จําคกุ ไมเกนิ 6 เดอื น 2. หากแอบไปรูวิธีการเขาระบบคอมพิวเตอรของผูอื่นแลวเที่ยวไปปาวประกาศใหผูอ่ืนรูห รือทราบวิธีการเขาระบบ นน้ั ๆ จําคุกไมเ กิน 1 ป 3. ขอ มูลของผอู ื่นทเ่ี ขาเก็บรักษาไวแตแอบไปลว งขอ มูลของเขามา จําคุกไมเ กิน 2 ป 4. ในกรณีทีผ่ อู น่ื สงขอมูลผา นเครอื ขา ยคอมพวิ เตอรแ บบสว นตัวผูท ีไ่ ปดักจับขอมูลมา จาํ คุกไมเ กนิ 3 ป 5. ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอรหรือขอมูลของผูอื่นทํางานอยูแตมีคนไปปรับเปลี่ยนขอมูลหรือแกไขจนผิดเพี้ยนไป จากเดิมหรือทําใหเ กิดความเสยี หาย จําคกุ ไมเกิน 5 ป 6. ในกรณีที่คอมพิวเตอรของผูอ่ืนทํางานอยูแตมีผูมาแพรไวรัส โทรจัน เวิรม สปายแวรตาง ๆ จนระบบ ขอมลู คอมพวิ เตอรไ มสามารถใชงานไดต ามปกติหรือทาํ ใหเ กดิ ความเสยี หาย จาํ คกุ ไมเ กิน 5 ป 7. หากทําผดิ ในขอ ท่ี5 และขอ ท6่ี แลวเกดิ ความเสียหายอนั ใหญห ลวง โทษดงั กลาวมโี ทษจําคกุ ไมเกนิ 10 ป 8. ในกรณกี ารสงขอมลู สว นบุคคลหรืออเี มลไปยงั บุคคลตา ง ๆ ซํ้า ๆ โดยท่อี กี ฝายไมไ ดต องการขอมูลตาง ๆ ทส่ี งไปน้ี เลยจนทาํ ใหเกดิ ความราํ คาญใจ ปรับไมเกิน 1 แสนบาท 9. ในกรณสี รา งโปรแกรมหรือซอฟตแ วรเพอ่ื ใหใครนําไปทาํ เปนเรื่องแยๆ ดังที่กลาวมา จําคกุ ไมเ กนิ 1 ป 10. การเผยแพรร ปู ขอมลู ทม่ี ลี ักษณะเปนสอ่ื ลามกอนาจร จาํ คกุ ไมเ กิน 5 ป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook