[ก] คำนำ เอกสารรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self- Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ นี้ จัดทาขึ้นเพ่ือ สรุปผลการดาเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาในรอบปีการศึกษาว่ามีประสิทธิผลเพียงใด นอกจากน้ี ยังเป็นการวิเคราะห์ผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษาในภาพรวมระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาว่า สามารถจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานมีคุณภาพในระดับใด ตลอดจนการสังเคราะห์ผล จุดแข็งและจุดท่ีควรพัฒนา ของสถานศึกษา เพ่ือหาแนวทางในการส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้มี การพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและยั่งยืนยิ่งข้ึนไป อีกทั้ง ทาให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต ๑ และสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได้ข้อมูลสารเทศในภาพรวม ทงั้ ระดับเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาและระดับประเทศ เพ่ือการกาหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในปงี บประมาณตอ่ ไป สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ขอขอบคุณผู้อานวยการ สถานศึกษาในสังกัดที่เป็นผู้นาในการขับเคลื่อนระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ตลอดจน รองผู้อานวยการสถานศึกษา หัวหน้างานแผนงาน หัวหน้างานประกันคุณภาพการศึกษา และหัวหน้า กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีเป็นแกนนาสาคัญในการจัดระบบและดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ท่ีให้คาแนะนาในการสังเคราะห์ผล การประเมินตนเองในครั้งนี้ รวมท้ังทีมงานของกลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ที่จัดทาเอกสาร “รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ระดบั เขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑” นี้ได้สาเร็จเรียบร้อย อย่างมีคุณภาพท่ีดเี ยย่ี ม สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสาร “รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑” นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ ครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้อง ในการ นาไปใช้เพือ่ พฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศึกษาต่อไป (นายถนอม บญุ โต) รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รักษาราชการแทน ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑
สำรบัญ [ข] คานา หนา้ สารบัญ ก สารบญั ตาราง ข บทสรุปสาหรบั ผู้บรหิ าร ค ตอนที่ ๑ บทนา จ ตอนที่ ๒ ขอ้ มูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาในสังกดั 1 ตอนท่ี ๓ ผลการสงั เคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาตามมาตรฐาน 8 13 การศึกษา ตอนที่ ๔ ผลการวเิ คราะห์ประสิทธภิ าพและโอกาสในการพฒั นาคณุ ภาพของ 39 สถานศกึ ษา 51 บรรณานุกรม 52 ภาคผนวก เครื่องมือการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามแนวทางการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) สาหรบั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา คณะผู้จัดทา
[ค] สำรบัญตำรำง ตาราง หน้า ๑ จานวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรอ่ืน จานวนนักเรียนตามระดับช้ัน 8 ทีเ่ ปดิ สอนจาแนกตามกลุ่มโรงเรยี น ๒ จานวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรอื่น จานวนนักเรียนตามระดับชั้นท่ี 10 เปิดสอนจาแนกตามขนาดสถานศึกษา ๓ สรุปผลประเมินคุณภาพภายนอกรอบล่าสุดของสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ 12 การศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ๔ ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สารและการคิดคานวณ 14 ๕ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น 15 และแก้ปัญหา ๖ ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 16 ๗ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 17 ๘ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 18 ๙ ความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐานและเจตคติต่องานอาชีพ 19 ๑๐ การมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมท่ดี ีตามทสี่ ถานศึกษากาหนด 20 ๑๑ ความภมู ใิ จในท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย 21 ๑๒ การยอมรับที่จะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย 22 ๑๓ สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม 23 ๑๔ มเี ปา้ หมายวิสยั ทัศนแ์ ละพันธกจิ ทีส่ ถานศึกษากาหนดชดั เจน 24 ๑๕ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา 25 ๑๖. มีการดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา 26 และทุกกลุ่มเป้าหมาย ๑๗. มกี ารพัฒนาครู และบคุ ลากรใหม้ คี วามเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ 27 ๑๘. มีการจัดสภาพแวดล้อมทางทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้ 28 อยา่ งมีคุณภาพ ๑๙ มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ 29 เรียนรู้ ๒๐ จดั การเรียนร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริงและสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้ 30 ๒๑ ใช้สอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรทู้ ่เี อือ้ ตอ่ การเรียนรู้ 31 ๒๒ มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก 32 ๒๓ ตรวจสอบและประเมินผ้เู รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น 33
[ง] สำรบัญตำรำง (ต่อ) ตาราง หนา้ ๒๔ มีการแลกเปลย่ี นเรียนรูแ้ ละใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลับเพ่อื พัฒนาและปรบั ปรงุ การจัดการ 34 เรยี นรู้ 35 ๒๕ แสดงรายการสงั เคราะหจ์ ุดเด่นของสถานศกึ ษา 36 ๒๖ แสดงรายการสงั เคราะหจ์ ุดควรพัฒนาของสถานศกึ ษา 38 ๒๗ แผนการดาเนนิ งานเพอ่ื ยกระดับคุณภาพการศึกษาใหส้ งู ขึ้น 40 ๒๘ ผลการวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษาระดับการศึกษา 48 ขั้นพ้นื ฐาน ๒๙ สรปุ ผลการวิเคราะห์ประสทิ ธิภาพและโอกาสในการพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑ รายสถานศกึ ษา
[จ] บทสรุปสำหรบั ผ้บู ริหำร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ได้ดาเนินการสังเคราะห์ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ จานวน ๖๗ แห่ง พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีจานวนครูผู้สอนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้ังแต่ ๒๐ คนข้ึนไป จานวน ๖๓ แห่ง (ร้อยละ ๙๔.๐๓) และมีสถานศึกษาที่มีจานวนครูผู้สอนต่ากว่า ๒๐ คน จานวน 4 แห่ง (ร้อยละ ๕.๙๗) มีผู้บริหารสถานศึกษาปฏิบัติงานในสถานศึกษาครบทุกสถานศึกษา จานวน ๖๗ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.๐๐) สถานศึกษามีจานวนนักเรียนต้ังแต่ ๑๒๐ คนข้ึนไป ทุกสถานศึกษา จานวน ๖๗ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.๐๐) และเป็นสถานศึกษาท่ีมีวัตถุประสงค์ปกติทั่วไป ทุกสถานศกึ ษา จานวน ๖๗ แห่ง (รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐) ผลกำรประเมนิ คณุ ภำพมำตรฐำนกำรศกึ ษำของสถำนศึกษำโดยรวม ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด โดยรวม มีคุณภาพอยู่ในระดับยอดเย่ียม โดยแยกเป็นสถานศึกษามีคุณภาพอยู่ในระดับยอดเยี่ยม จานวน ๓๒ แห่ง (ร้อยละ ๔๗.๗๖) ระดับดีเลิศ จานวน ๒๙ แห่ง (ร้อยละ ๔๓.๒๘) และระดับดี จานวน ๖ แห่ง (ร้อยละ ๘.๙๖) และเมื่อพิจารณาภาพรวมในรายมาตรฐานแล้วพบว่า มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลการประเมินในระดับยอดเย่ียมสูงที่สุด คือ จานวน 44 แห่ง (ร้อยละ ๖๕.๖๗) รองลงมาคือ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ และมาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน จานวน ๓๙ แห่ง (ร้อยละ ๕๘.๒๑) และจานวน ๒๐ แห่ง (ร้อยละ ๒๙.๘๕) ตามลาดับ สาหรับผลการประเมินรายมาตรฐาน มีผล การประเมิน ดังน้ี มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน มีผลการประเมินในระดับยอดเย่ียม จานวน ๒๐ แห่ง (ร้อยละ ๒๙.๘๕) ระดับดีเลิศ จานวน ๓๓ แห่ง (ร้อยละ ๔๙.๒๕) และระดับดี จานวน ๑๔ แ ห่ ง ( ร้ อ ย ล ะ ๒ ๐ .๙ ๐ ) ม า ต ร ฐ า น ที่ ๒ ก ร ะ บ ว น ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร มี ผ ล การประเมินในระดับยอดเย่ียม จานวน 44 แห่ง (ร้อยละ ๖๕.๖๗) ระดับดีเลิศ จานวน ๒๐ แห่ง (รอ้ ยละ ๒๙.๘๕) และระดบั ดี จานวน ๓ แหง่ (รอ้ ยละ ๔.๔๘) และมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการ เรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีผลการประเมินในระดับยอดเยี่ยม จานวน ๓๙ แห่ง (ร้อยละ ๕๘.๒๑) ระดับดเี ลิศ จานวน ๒๓ แหง่ (รอ้ ยละ ๓๔.๓๓) และระดับดี จานวน ๕ แห่ง (ร้อยละ ๗.๔๖) จุดเด่น จุดที่ควรพฒั นำ และแผนกำรดำเนนิ งำนเพอื่ ยกระดับคุณภำพกำรศึกษำ จดุ เด่น ด้านคุณภาพของผู้เรียน จุดเด่นที่พบมากที่สุด คือ ผู้เรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 100.00 รองลงมาคือ ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี และผู้เรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ 98.51 เท่ากัน ผู้เรียนมีความรู้
[ฉ] ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ และผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม รอ้ ยละ ๙7.01 เท่ากนั ตามลาดบั ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่นที่พบมากท่ีสุด คือ การปรับเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษา และการมีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ เท่ากัน รองลงมา คือ การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ร้อยละ ๙8.51 ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ ร้อยละ 94.03 ตามลาดบั ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จุดเด่นที่พบมากที่สุด คือ การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 100.00 รองลงมา คือ การแลกเปล่ียนเรียนรู้และการให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนา และปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 95.52 และการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น รอ้ ยละ 91.04 ตามลาดับ จดุ ท่คี วรพฒั นำ ด้านคุณภาพของผู้เรียน จุดที่ควรพัฒนามากที่สุด คือ ผู้เรียนมีความสามารถสร้างนวัตกรรม ร้อยละ 31.34 รองลงมา คือ ผู้เรียนมีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ร้อยละ 20.90 และผู้เรียนมีความสามารถในการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 5.97 ตามลาดับ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดท่ีควรพัฒนามากท่ีสุด คือ จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 13.43 รองลงมา คือ การพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 9.00 ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จุดท่ีควรพัฒนามากท่ีสุด คือ การบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ร้อยละ 16.42 รองลงมา คือ การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ เี่ อ้อื ตอ่ การเรยี นรู้ ร้อยละ 14.93 แผนกำรดำเนินงำนเพอ่ื ยกระดับคุณภำพกำรศกึ ษำให้สูงขน้ึ ๑. ด้านคุณภาพของผู้เรียน พบว่า สถานศึกษามีแผนการดาเนินงานด้านผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา มากทีส่ ุด ร้อยละ ๖๑.๑๙ รองลงมาคอื ด้านการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ร้อยละ ๔๐.๓๐ และด้านการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา รอ้ ยละ ๓๘.๘๑ ตามลาดับ ๒. ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ พบว่า สถานศึกษามีแผนการดาเนินงาน ดา้ นการพฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ มากท่ีสุด ร้อยละ ๖๔.๑๘ รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และ
[ช] ทุกกลุ่มเป้าหมาย และด้านจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ ๔๗.๗๖ เท่ากัน และด้านระบบบริหารจัดการคุณภาพ ของสถานศึกษา รอ้ ยละ ๔๐.๓๐ ตามลาดับ ๓. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พบว่า สถานศึกษา มีแผนการดาเนินงานด้านการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มากท่สี ดุ ร้อยละ ๕๐.๗๕ รองลงมาคอื ด้านการจัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ ๔๓.๒๘ และด้านการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่าง เปน็ ระบบ และนาผลมาพัฒนาผเู้ รยี น ร้อยละ ๓๗.๓๑ ตามลาดบั
[๑] ตอนท่ี ๑ บทนำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ หมวด ๖ มาตรฐาน และการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา ๔๘ กาหนดให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษา จัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ืองโดยมีการจัดทา รายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเพ่ือรองรับการประกั นคุณภาพภายนอก ประกอบกับกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา โดยมีการปรับปรุงมาตรฐานและประเด็นพิจารณาให้สะท้อนถึงคุณภาพ อย่างแท้จริง กาหนดเกณฑ์และรายการประเมินแบบองค์รวม (Holistic Assessment) ซ่ึงเป็น การประเมินโดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ (Evidence Based) ลดภาระการจัดทาเอกสารที่ใช้ ในการประเมิน ยึดหลักการตัดสินระดับคุณภาพตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ (Expert Judgment) ของผู้ประเมิน และใช้การตรวจทานผลการประเมิน โดยคณะกรรมการประเมิน ในระดับเดียวกัน (Peer Review) และปรับกระบวนทัศน์ในการประเมินที่มีเป้าหมายเพ่ือการพัฒนา บนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา รวมทั้งได้มีกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ กาหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มี ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา พร้อมท้ังจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผล ติดตาม และ ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับ ดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี และต่อมากระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เพ่ือให้ สถานศึกษาใช้เป็นเป้าหมายและแนวทางในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับบริบท ครอบคลุมกับ ภาระหน้าทใ่ี นการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา และใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับสถานศึกษา รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 2563 ระดับเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๒] หน่วยงานต้นสังกัด และสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน กากับดูแล ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพการศึกษา มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดังกล่าว ประกอบดว้ ยมาตรฐานจานวน ๓ มาตรฐาน ๒๑ ประเด็นการพิจารณา ดงั นี้ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน ๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรียน ๑.๒ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผเู้ รยี น มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดงั น้ี มำตรฐำนที่ ๑ คณุ ภำพของผ้เู รียน ๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรียน ๑) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคิดคานวณ ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลยี่ นความคิดเห็น และแกป้ ัญหา ๓) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม ๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ๕) มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ๖) มีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคติทีด่ ตี ่องานอาชีพ ๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผ้เู รียน ๑) การมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมทีด่ ีตามทส่ี ถานศึกษากาหนด ๒) ความภาคภมู ิใจในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย ๓) การยอมรบั ที่จะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม มำตรฐำนที่ ๒ กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจดั กำร ๒.๑ มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน ๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาและทุกกลุม่ เปา้ หมาย รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 ระดับเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๓] ๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ ๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนบั สนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ มำตรฐำนท่ี ๓ กระบวนกำรจดั กำรเรียนกำรสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ๓.๑ จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในชวี ิตได้ ๓.๒ ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู ่ีเอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ ๓.๓ มีการบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี นเชิงบวก ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผูเ้ รียน ๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการ จดั การเรียนรู้ ในการขับเคลอื่ นการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้สถานศึกษาและสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาดาเนินการให้เป็นไปตาม กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นั้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พน้ื ฐานได้มีประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เรื่อง แนวปฏิบัติการดาเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ สาหรับใช้เปน็ แนวปฏิบัตใิ นการดาเนินงานการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยกาหนดใหส้ ถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานดาเนินการดงั นี้ ๑. ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เพอื่ ให้เกดิ การพัฒนา และเพื่อเป็นกลไกในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ใหเ้ กดิ การพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่นใหก้ ับสังคม ชมุ ชน และผมู้ สี ่วนเก่ยี วข้อง ๒. จดั ให้มรี ะบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ดังน้ี ๒.๑ กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีกระทรวงประกาศใช้และให้สถานศึกษา กาหนดเป้าหมายความสาเร็จ ตามมาตรฐานของสถานศึกษาตามบริบท ท้ังนี้สามารถเพิ่มเติมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นอกเหนือจากทกี่ ระทรวงศกึ ษาธิการประกาศใช้ได้ โดยให้สถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องดาเนินการและ รบั ผดิ ชอบรว่ มกนั รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 ระดบั เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๔] ๒.๒ จดั ทาแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ทสี่ อดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการจาเป็นของสถานศกึ ษาอยา่ งเป็นระบบ โดยสะทอ้ นคุณภาพความสาเร็จอย่างชัดเจน ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ๒.๓ ดาเนินการตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา ๒.๔ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยกาหนด ผรู้ ับผิดชอบ และวธิ ีการที่เหมาะสม ๒.๕ ติดตามผลการดาเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ของสถานศกึ ษา และนาผลการตดิ ตามไปใช้ประโยชน์ในการปรบั ปรุงพฒั นา ๒.๖ จัดทารายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา นาเสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ความเห็นชอบ และจัดส่งรายงานดังกล่าวต่อสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เป็นประจาทกุ ปี ๒.๗ พฒั นาสถานศกึ ษาให้มคี ุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) และตามคาแนะนาของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธิภาพและพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง ๓. สถานศึกษาแตล่ ะแห่งให้ความร่วมมือกับสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ การศึกษาตามข้อเสนอแนะของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแล เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน ของสถานศกึ ษา ในส่วนของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาในฐานะหน่วยงานต้นสังกัด หรือหน่วยงานท่ีกากับ ดแู ลสถานศึกษา ให้ดาเนนิ การดงั ต่อไปนี้ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตลอดจนให้คาปรึกษา ช่วยเหลือและแนะนาสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา แตล่ ะแห่งอยา่ งต่อเนื่อง ๒. รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถา นศึกษา (Self- Assessment Report : SAR) พร้อมกบั ประเดน็ ต่าง ๆ ที่ต้องการให้มีการประเมินผลและการติดตาม รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 ระดบั เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๕] ตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งนั้น และจัดส่งไปยังสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อใช้เป็นข้อมูล และแนวทางในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ๓. ติดตามผลการดาเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามข้อเสนอแนะของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือนาไปสู่ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๔. ให้ความร่วมมือกับสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ๕. อาจมอบหมายบุคคลท่ีไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์ และให้ข้อมูลเพ่ิมเติม ในกระบวนการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก จากท่ีกล่าวมาจะเห็นได้ว่า การจัดทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นข้ันตอนการดาเนินงานท่ีสาคัญในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามวงรอบ ปีการศึกษา ซ่ึงเป็นผลสืบเนื่องจากการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วม ของครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ผ่านกระบวนการประเมินและให้ข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับ ผลการดาเนินงาน และมีการบันทึกข้อมูลพร้อมจัดทาและเก็บรวบรวมสารสนเทศและเอกสาร ร่องรอยหลักฐานไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การจัดทารายงานผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษาท่ีสถานศึกษาต้องดาเนินการหลังจากจัดการศึกษาผ่านไปในแต่ละปีการศึกษา เพ่ือรายงานผลการดาเนินงานในปีท่ีผ่านมาให้บุคลากรในสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และ ผู้ที่เก่ียวข้อง เพื่อสะท้อนภาพความสาเร็จของการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาโดยใช้กลไก การประกันคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และเม่ือสถานศึกษาแต่ละแห่ง จัดทารายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว สถานศึกษาต้องจัดส่ง รายงานดังกลา่ วตอ่ สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาเป็นประจาทุกปี ในส่วนของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ โดยกลุ่มงาน ส่ ง เ ส ริ ม พั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ซึ่ ง มี ห น้ า ที่ แ ล ะ ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ โ ด ย ต ร ง ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาได้ดาเนินการตรวจสอบ รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self- Assessment Report : SAR) ในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 จานวน ๖๗ แห่ง และจัดทาเอกสาร “รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 ระดับเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๖] (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต ๑” ตามกรอบ/แนวทางการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของ สถานศึกษา (SAR) ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน 1.1 วัตถุประสงค์ของการจัดทาเอกสาร “รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑” ๑. เพื่อสรุปผลการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ สาหรับใช้ เป็นข้อมูลสารสนเทศในการวางแผน และพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน เขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต ๑ ๒. เพื่อเสนอสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานสาหรับการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผลรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ในภาพรวมและใช้เป็นฐานข้อมูล/ แนวทางการพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให้ได้มาตรฐานตอ่ ไป 1.2 ข้ันตอนการสังเคราะห์รำยงำนผลกำรประเมินตนเองของสถำนศึกษำ (Self-Assessment Report : SAR) ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๖๓ ระดบั เขตพ้นื ที่กำรศึกษำมัธยมศกึ ษำกรงุ เทพมหำนคร เขต ๑ ๑. รวบรวมรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ของสถานศึกษาในสงั กดั สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ๒. ศึกษาแนวทางสังเคราะห์รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามกรอบ/ แนวทางการสังเคราะห์รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับปฐมวัย และ ระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๓. สังเคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1 ๔. จัดทาเอกสาร “รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑” ซึง่ ประกอบดว้ ย ๔ บท ดังนี้ ตอนที่ ๑ บทนา ตอนที่ ๒ ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษาในสังกัด รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 2563 ระดับเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๗] ตอนท่ี ๓ ผลการสังเคราะหผ์ ลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษา ตอนท่ี ๔ ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๘] ตอนท่ี ๒ ขอ้ มูลพืน้ ฐำนของสถำนศึกษำในสังกัด ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาประกอบด้วย จานวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรอ่ืน จานวนนักเรียนตามระดับช้ันท่ีเปิดสอน และโรงเรียนท่ีได้รับการประเมินคุณภาพภายนอก รอบลา่ สุด (ข้อมลู ณ วันท่ี 30 มิถุนายน 2564) ดังน้ี 2.1 จานวนสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครู บคุ ลากรอ่นื จานวนนักเรยี นตามระดับชน้ั ทีเ่ ปดิ สอน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 มีสถานศึกษาระดับ มัธยมศึกษา จานวน 67 แห่ง แบ่งเป็นสถานศึกษาท่ีเปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 จานวน 66 แห่ง (ร้อยละ 98.51) และสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 จานวน 1 แห่ง (ร้อยละ 1.49) ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 226 คน ข้าราชการครู จานวน 5,515 คน บคุ ลากรอ่ืน จานวน 1,318 คน และนกั เรียน จานวน 105,673 คน สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 บริหารจัดการโดยใช้กลุ่ม โรงเรยี นเปน็ ฐาน ซ่ึงมกี ลุ่มโรงเรียนท้ังหมด จานวน ๖ กลุ่ม และในแต่ละกลุ่มโรงเรียนมีขนาดสถานศึกษา ทหี่ ลากหลาย ดังน้ี 2.1.1 จานวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรอ่ืน จานวนนักเรียนตาม ระดบั ชน้ั ที่เปดิ สอน จาแนกตามกลุ่มโรงเรียน ตารางท่ี 1 จานวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรอ่ืน จานวนนักเรียนตามระดับชั้นที่เปิดสอน จาแนกตามกลุ่มโรงเรียน กลมุ่ จานวน จานวนผบู้ รหิ าร จานวนครู จานวนบุคลากรอ่ืน จานวนนกั เรยี น โรงเรยี น สถานศึกษา สถานศึกษา (ร้อยละ) (ร้อยละ) (เฉพาะขา้ ราชการคร)ู (พนกั งานราชการ ที่ (ร้อยละ) 16,496 (15.61) 33 (14.60) (รอ้ ยละ) ครูอัตราจ้าง ครูธรุ การ 21,138 (20.00) 1 10 (14.92) 46 (20.35) เจ้าหน้าที่ ครพู ่ีเลย้ี ง 2 14 (20.90) พนักงานขบั รถ คนสวน พนักงานรักษาความปลอดภัย นักการภารโรง) (ร้อยละ) 865 (15.68) 227 (17.22) 1,038 (18.82) 331 (25.11) 3 11 (16.42) 32 (14.16) 613 (11.12) 192 (14.57) 11,895 (11.26) 4 11 (16.42) 37 (16.37) 912 (16.54) 279 (21.17) 18,605 (17.61) 5 11 (16.42) 43 (19.03) 1,252 (22.70) 233 (17.68) 23,103 (21.86) 6 10 (14.92) 35 (15.49) 835 (15.14) 56 (4.25) 14,436 (13.66) รวม 67 (100.00) 226 (100.00) 5,515 (100.00) 1,318 (100.00) 105,673 (100.00) รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๙] จากตารางท่ี ๑ พบว่า สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ประกอบด้วยกลุ่มโรงเรียน จานวน 6 กลุ่มโรงเรียน มีจานวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บคุ ลากรอ่นื จานวนนกั เรียนตามระดับชัน้ ท่เี ปิดสอน ดงั น้ี กลุ่มโรงเรียนท่ีมีจานวนสถานศึกษามากที่สุด คือ กลุ่มโรงเรียนท่ี 2 มีจานวน 14 แห่ง (ร้อยละ 20.90) รองลงมา คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 3 กลุ่มโรงเรียนท่ี 4 กลุ่มโรงเรียนที่ 5 มีจานวน 11 แห่ง (ร้อยละ 16.42) เท่ากัน และกลุ่มโรงเรียนท่ี 1 กลุ่มโรงเรียนท่ี 6 มีจานวน 10 แหง่ (รอ้ ยละ 14.92) เท่ากัน ตามลาดับ กลุ่ มโรงเรี ยนท่ี มี จานวนผู้ บริ หารสถานศึ กษามากที่สุ ด คื อ กลุ่ มโรงเรี ยนท่ี 2 มีผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 46 คน (ร้อยละ 20.35) รองลงมา คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 5 มผี ู้บริหารสถานศึกษา จานวน 43 คน (ร้อยละ 19.03) และกลุ่มโรงเรียนท่ี 4 มีผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 37 คน (ร้อยละ 16.37) ตามลาดับ กลุ่มโรงเรียนท่ีมีจานวนข้าราชการครูมากที่สุด คือ กลุ่มโรงเรียนท่ี 5 มีข้าราชการครู จานวน 1,252 คน (ร้อยละ 22.70) รองลงมา คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 2 มีข้าราชการครู จานวน 1,038 คน (ร้อยละ 18.82) และกลุ่มโรงเรียนที่ 4 มีข้าราชการครู จานวน 912 คน (รอ้ ยละ 16.54) ตามลาดบั กลุ่มโรงเรียนที่มีจานวนบุคลากรอื่นมากท่ีสุด คือ กลุ่มโรงเรียนท่ี 2 มีบุคลากรอื่น จานวน 331 คน (ร้อยละ 25.11) รองลงมา คือ กลุ่มโรงเรียนที่ 4 มีบุคลากรอ่ืน จานวน 279 คน (รอ้ ยละ 21.17) และกลุม่ โรงเรียนท่ี 5 มีบุคลากรอ่นื จานวน 233 คน (ร้อยละ 17.68) ตามลาดบั กลุ่ มโรงเรี ยนที่ มี จ านวนนั กเรี ยนมากท่ี สุ ด คื อ กลุ่ มโรงเรี ยนท่ี 5 มี นั กเรี ยน จ านวน 23,103 ค น ( ร้ อ ย ล ะ 21.86) รองลงมา คื อ กลุ่ มโรงเรี ยนที่ 2 มี นั กเรี ยน จานวน 21,138 คน (ร้อยละ 20.00) และกลุ่มโรงเรียนท่ี 4 มีนักเรียน จานวน 18,605 คน (รอ้ ยละ 17.61) ตามลาดับ 2.1.2 จานวนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรอื่น จานวนนักเรียนตาม ระดับชน้ั ท่เี ปิดสอน จาแนกตามขนาดสถานศกึ ษา รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 ระดับเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๑๐] ตารางท่ี 2 จานวนสถานศกึ ษา ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู บคุ ลากรอ่ืน จานวนนกั เรยี นตามระดับชนั้ ที่เปดิ สอน จาแนกตามขนาดสถานศึกษา ขนาด จานวน จานวนผู้บริหาร จานวนครู จานวนบุคลากรอ่ืน จานวนนักเรยี น สถานศึกษา สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) (เฉพาะขา้ ราชการครู) (พนักงานราชการ ครูอัตราจา้ ง ครูธุรการ (รอ้ ยละ) เจา้ หนา้ ที่ ครูพี่เล้ยี ง พนกั งานขบั รถ คนสวน พนักงานรกั ษาความปลอดภยั นักการภารโรง) (รอ้ ยละ) ใหญ่พิเศษ 18 (26.87) 84 (37.17) 2,787 (50.53) 689 (52.28) 55,975 (52.97) ใหญ่ 14 (20.90) 66 (29.20) 1,389 (25.19) 237 (17.98) 27,180 (25.72) กลาง 16 (23.88) 47 (20.80) 859 (15.58) 210 (15.93) 16,039 (15.18) เล็ก 19 (28.36) 29 (12.83) 480 (8.70) 182 (13.81) 6,479 (6.13) รวม 67 (100.00) 226 (100.00) 5,515 (100.00) 1,318 (100.00) 105,673 (100.00) จากตารางที่ ๒ พบว่า สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ประกอบด้วยสถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก มีจานวนสถานศึกษา ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ครู บุคลากรอื่น จานวนนักเรยี นตามระดบั ชนั้ ทเ่ี ปิดสอน ดังน้ี ขนาดสถานศึกษาที่มีจานวนมากท่ีสุด คือ สถานศึกษาขนาดเล็ก มีจานวน 19 แห่ง (ร้อยละ 28.36) รองลงมา คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีจานวน 18 แห่ง (ร้อยละ 26.87) และสถานศึกษาขนาดกลาง มีจานวน 16 แห่ง (รอ้ ยละ 23.88) ตามลาดบั ขนาดสถานศึกษาที่มีจานวนผู้บริหารสถานศึกษามากท่ีสุด คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 84 คน (ร้อยละ 37.17) รองลงมา คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่ มีผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 66 คน (ร้อยละ 29.20) และสถานศึกษาขนาดกลาง มีผู้บริหาร สถานศึกษา จานวน 47 คน (รอ้ ยละ 20.80) ตามลาดับ ขนาดสถานศึกษาท่ีมีจานวนข้าราชการครูมากที่สุด คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีข้าราชการครู จานวน 2,787 คน (ร้อยละ 50.53) รองลงมา คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่ มีข้าราชการครู จานวน 1,389 คน (ร้อยละ 25.19) และสถานศึกษาขนาดกลาง มีข้าราชการครู จานวน 859 คน (รอ้ ยละ 15.58) ตามลาดบั ขนาดสถานศึกษาท่ีมีจานวนบุคลากรอ่ืนมากที่สุด คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีบุคลากรอื่นจานวน 689 คน (ร้อยละ 52.28) รองลงมา คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่ มีบุคลากรอื่น จานวน 237 คน (ร้อยละ 17.98) และสถานศึกษาขนาดกลาง มีบุคลากรอ่ืน จานวน 210 คน (รอ้ ยละ 15.93) ตามลาดบั ขนาดสถานศึกษาท่ีมีจานวนนักเรียนมากที่สุด คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มีนักเรียน จานวน 55,975 คน (ร้อยละ 52.97) รองลงมา คือ สถานศึกษาขนาดใหญ่ มีนักเรียน รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 ระดบั เขตพ้นื ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๑๑] จานวน 27,180 คน (รอ้ ยละ 25.72) และสถานศึกษาขนาดกลาง มีนักเรียน จานวน 16,039 คน (ร้อยละ 15.18) ตามลาดบั 2.2 ผลประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบล่าสดุ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ได้รับการประเมินคุณภาพ ภายนอกจากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ซึ่งผล การประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาในสังกัด แบ่งเป็น ผลประเมินคุณภาพภายนอก ภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ และผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสาม 2.2.1 ผลประเมนิ คณุ ภาพภายนอกภายใตส้ ถานการณ์ COVID-๑๙ เ นื่ อ ง จ า ก ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น มี น โ ย บ า ย ใ ห้ ส ถ า น ศึ ก ษ า ท่ีมีความสมัครใจรับการประเมินคุณภาพภายนอกภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙ รับการประเมิน คุณภาพภายนอกในระยะท่ี 1 เท่าน้ัน ซึ่งเป็นการประเมินจากรายงานผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา (SAR) ดังนั้น สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 ท่ีได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙ จานวน ๒๐ แห่ง ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔ และได้รับผลการประเมินคุณภาพในภาพรวม จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ระดับดี จานวน ๒๐ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.00) โดยมีผลประเมินตามรายมาตรฐาน ดังน้ี มาตรฐานที่ ๑ ด้านคุณภาพของผู้เรียน มีผลประเมินในระดับดี จานวน ๒๐ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.๐๐) มาตรฐานที่ ๒ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลประเมินในระดับดี จานวน ๒๐ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.๐๐) มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีผลประเมินในระดับดี จานวน ๒๐ แห่ง (รอ้ ยละ ๑๐๐.๐๐) 2.2.2. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสี่ สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี จานวน ๒๕ แห่ง ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ และได้รับผลการประเมินคุณภาพในภาพรวม จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) ต้ังแต่ระดับดีขึ้นไป จานวน ๒๕ แห่ง (ร้อยละ ๑๐๐.00) โดยมี ผลประเมินแยกตามมาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานที่ ๑ ด้านคุณภาพของผู้เรียน มีผลประเมินในระดับดีเยี่ยม จานวน ๙ แห่ง (ร้อยละ ๓๖.๐๐) ระดับดีมาก จานวน ๑๐ แห่ง (ร้อยละ ๔๐.๐๐) และระดับดี จานวน ๖ แห่ง (ร้อยละ ๒๔.๐๐) มาตรฐานท่ี ๒ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลประเมิน ในระดับดีเยี่ยมจานวน ๑๐ แห่ง (ร้อยละ ๔๐.๐๐) ระดับดีมาก จานวน ๑๓ แห่ง (ร้อยละ ๕๒.๐๐) และระดับดี จานวน ๒ แห่ง (ร้อยละ ๘.๐๐) มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๑๒] เป็นสาคัญ มีผลประเมินในระดับดีเย่ียม จานวน ๘ แห่ง (ร้อยละ ๓๒.๐๐) ระดับดีมาก จานวน ๑๒ แห่ง (ร้อยละ ๔๘.๐๐) และระดับดี จานวน ๕ แหง่ (ร้อยละ ๒๐.๐๐) 2.2.3 ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 ได้รับ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม จานวน ๖๗ แห่ง ได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐาน และมีผลการประเมินคุณภาพในภาพรวม จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ การศึกษา (องค์การมหาชน) ระดับดีขึ้นไป จานวน ๖๗ แห่ง (ร้อยละ 100.๐๐) โดยมีผลประเมินใน ระดับดีมาก จานวน ๑๔ แห่ง (ร้อยละ ๒๐.๙๐) และผลประเมินในระดับดี จานวน ๕๓ แห่ง (ร้อยละ ๗๙.๑๐) จากผลประเมินคุณภาพภายนอกรอบล่าสุด ซ่ึงได้แก่ ผลประเมินคุณภาพภายนอกภายใต้ สถานการณ์ COVID-๑๙ ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี และผลการประเมินคุณภาพ ภายนอกรอบสาม แสดงรายละเอียดดงั ตารางท่ี ๓ ตารางท่ี 3 สรุปผลประเมินคุณภาพภายนอกรอบลา่ สดุ ของสถานศึกษาสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1 การประเมนิ คุณภาพ ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอก (จานวนและร้อยละ) รับการ รอรบั การ ภายนอก ประเมิน ประเมนิ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก ดีเยีย่ ม แลว้ ภายใตส้ ถานการณ์ COVID-๑๙ 0 0 มฐ.1 – 3 ไมม่ ีการประเมนิ ในระดับนี้ * 20 (29.85) (สถานศกึ ษา 20 แห่ง) (0.00) (0.00) 20 (100.00) มฐ.1 /6 (24.00) มฐ.1 /10 (40.00) มฐ.1 /9 (36.00) 22 มฐ.2/2 (8.00) มฐ.2/13 (52.00) (32.84) รอบส่ี 0 0 25 (สถานศึกษา 25 แห่ง) (0.00) (0.00) มฐ.2/10 (40.00) (37.31) มฐ.3/5 (20.00) มฐ.3/12 (48.00) มฐ.3/8 (32.00) รอบสาม 00 53 14 0 67 0 (สถานศึกษา 67 แห่ง) (0.00) (0.00) (97.10) (20.90) (0.00) (100.00) (0.00) หมายเหตุ 1. การประเมินคุณภาพภายนอกรอบภายใต้สถานการณ์ COVID-๑๙ สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานมนี โยบายให้สถานศกึ ษารับการประเมนิ คุณภาพภายนอก ระยะท่ี ๑ โดยการประเมินรายงานผล การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ซง่ึ มีผลการประเมนิ ระดบั 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ดี พอใช้ และปรับปรุง เทา่ นนั้ 2. การประเมนิ คุณภาพภายนอก รอบสี่ มผี ลการประเมนิ 5 ระดบั ไดแ้ ก่ ดเี ยีย่ ม ดีมาก ดี พอใช้ และปรบั ปรงุ 3. การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม มีผลการประเมิน ๔ ระดับ ได้แก่ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ /ปรบั ปรงุ เรง่ ด่วน รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 2563 ระดับเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๑๓] ตอนท่ี ๓ ผลการสังเคราะหผ์ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศกึ ษา รายงาน การ สั งเคร าะห์ ผ ล การปร ะเมิ น ตน เองของสถาน ศึ กษา ตามมาตรฐ าน การ ศึ กษา ของสถานศึกษา มีรายละเอยี ด ดงั นี้ ผลการสงั เคราะห์ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ ได้ดาเนินการสังเคราะห์ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ จานวน ๖๗ แห่ง พบว่า สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินตนเองโดยรวมอยู่ในระดับยอดเย่ียม โดยมีผลการประเมิน ในระดับยอดเยี่ยมในมาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการ จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และมาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน ตามลาดับ สาหรับผลการประเมนิ ในรายละเอยี ดมดี ังตอ่ ไปน้ี มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผูเ้ รียน สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ในภาพรวม มีคุณภาพในระดับดีเลิศ โดยสถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพในระดับ ยอดเย่ียม จานวน ๒๐ แห่ง (ร้อยละ ๒๙.๘๕) ระดับดีเลิศ จานวน ๓๓ แห่ง (ร้อยละ ๔๙.๒๕) และระดับดี จานวน ๑๔ แห่ง (ร้อยละ ๒๐.๙๐) 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน ประเดน็ ท่ี ๑.1.1 ความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สารและการคิดคานวณ ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรม ท่ีส่งเสริมหรือบูรณาการ ความสามารถในการอ่าน การเขียน และการส่ือสาร ร้อยละ 95.52 และมีโครงการ/กิจกรรม ท่ีสง่ เสริมหรอื บรู ณาการความสามารถในการคิดคานวณ ร้อยละ 95.52 เท่ากนั ทกุ รายการ ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพท่ีเกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม หรือบูรณาการ ความสามารถในการอ่าน การเขียน และการส่ือสาร ร้อยละ 95.52 และ ผลการดาเนินโครงการ/ กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการคิดคานวณ ร้อยละ 95.52 เทา่ กันทกุ รายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริม หรือบูรณาการ ความสามารถในการอ่าน การเขียน และการสื่อสาร ร้อยละ 92.54 และรายงานผล การดาเนิน โครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการคิดคานวณ รอ้ ยละ 92.54 เท่ากัน ทกุ รายการ แสดงดังตารางท่ี ๔ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๑๔] ตารางที่ ๔ ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่ือสารและการคิดคานวณ ร้อยละ รายการสงั เคราะห์ 95.52 มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผู้เรียน 95.52 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน 95.52 ประเดน็ ท่ี ๑.1.1 มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ 95.52 คานวณ 92.54 92.54 ๑. โครงการ กจิ กรรมท่ีดาเนินงาน ๑) มีโครงการ/กิจกรรม ท่ีสง่ เสรมิ หรอื บรู ณาการความสามารถในการอา่ น การ เขียน และการสือ่ สาร ๒) มีโครงการ/กจิ กรรม ทสี่ ่งเสรมิ หรอื บรู ณาการความสามารถในการคดิ คานวณ ๒. ผลปรากฏ คณุ ภาพทีเ่ กิดขน้ึ ๑) ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ท่สี ง่ เสรมิ หรือบรู ณาการความสามารถในการ อา่ น การเขียน และการสือ่ สาร ๒) ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม ท่ีส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการ คิด คานวณ ๓. แหล่งขอ้ มูล หลักฐาน ๑) รายงานผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม ทีส่ ่งเสริมหรือบรู ณาการ ความสามารถใน การอา่ น การเขียน และการส่ือสาร ๒) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ท่สี ง่ เสริมหรือบูรณาการ ความสามารถใน การคดิ คานวณ ประเด็นท่ี 1.1.๒ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือบูรณาการ ความสามารถในคิดวิเคราะห์ และ/ หรือคิดวิจารณญาณ ร้อยละ 95.52 และ มีโครงการ/กิจกรรม ท่ีส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น ร้อยละ 95.52 เท่ากัน รองลงมา คือ มีโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการแก้ปัญหา รอ้ ยละ 94.03 ตามลาดบั ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพท่ีเกิดข้ึน พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมหรือ บูรณาการความสามารถในคิดวิเคราะห์ และ/หรือคิดวิจารณญาณ ร้อยละ 95.52 ผลการดาเนิน โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น ร้อยละ 95.52 และผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 2563 ระดบั เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๑๕] ในการแก้ปญั หา ร้อยละ 95.52 เท่ากันทุกรายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมหรือ บูรณาการความสามารถในคิดวิเคราะห์ และ/หรือคิดวิจารณญาณ ร้อยละ 89.55 รายงานผล การดาเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถในการอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคดิ เห็น ร้อยละ 89.55 และรายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมหรือบูรณาการ ความสามารถในการแก้ปัญหา ร้อยละ 89.55 เท่ากันทกุ รายการ แสดงดังตารางที่ ๕ ตารางที่ ๕ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และแก้ปัญหา รายการสังเคราะห์ ร้อยละ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผเู้ รียน 1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเ้ รยี น ประเดน็ ท่ี 1.1.๒ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียน ความคิดเห็นและแก้ปญั หา ๑. โครงการ กิจกรรมทดี่ าเนนิ งาน ๑) มโี ครงการ/กิจกรรม ท่ีส่งเสริมหรอื บรู ณาการความสามารถในคิดวเิ คราะห์ และ/ หรอื คิด 95.52 วิจารณญาณ 95.52 2) มีโครงการ/กิจกรรม ที่สง่ เสริมหรือบรู ณาการความสามารถในการอภปิ รายแลกเปล่ยี น ความคิดเหน็ 3) มีโครงการ/กิจกรรม ท่ีสง่ เสริมหรอื บูรณาการความสามารถในการแก้ปัญหา 94.03 ๒. ผลปรากฏ คุณภาพทีเ่ กดิ ขน้ึ 1) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม ทีส่ ง่ เสรมิ หรือบูรณาการความสามารถในคดิ วิเคราะห์ 95.52 และ/ หรือ คดิ วิจารณญาณ 2) ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ทส่ี ง่ เสรมิ หรอื บรู ณาการความสามารถในการอภปิ ราย 95.52 แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น 3) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม ที่สง่ เสรมิ หรอื บรู ณาการความสามารถในการแก้ปญั หา 95.52 ๓. แหลง่ ขอ้ มลู หลกั ฐาน 89.55 1) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม ทส่ี ง่ เสรมิ หรอื บรู ณาการความสามารถในคดิ วเิ คราะห์ และ/ หรอื คดิ วิจารณญาณ 2) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ทส่ี ่งเสริมหรอื บรู ณาการความสามารถใน 89.55 การอภปิ รายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ 89.55 3) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ท่ีส่งเสริมหรือบูรณาการความสามารถใน การแกป้ ัญหา รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๑๖] ประเด็นท่ี 1.1.๓ ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ๑) ด้านโครงการ/กจิ กรรมท่ีดาเนนิ งาน พบว่า มโี ครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างนวัตกรรม รอ้ ยละ 74.63 ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพท่ีเกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับ การสรา้ งนวตั กรรม ร้อยละ 68.66 ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมเก่ียวกับ การสร้างนวตั กรรม ร้อยละ 46.27 แสดงดังตารางท่ี ๖ ตารางท่ี ๖ ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผเู้ รียน 74.63 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รียน 68.66 ประเดน็ ท่ี 1.1.๓ ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ๑. โครงการ กจิ กรรมที่ดาเนินงาน มโี ครงการ/กจิ กรรมเกี่ยวกบั การสรา้ งนวัตกรรม ๒. ผลปรากฏ คุณภาพทีเ่ กิดขน้ึ ผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมเกย่ี วกบั การสร้างนวัตกรรม ๓. แหล่งขอ้ มูล หลักฐาน 46.27 รายงานผลการดาเนินงานโครงการ/กิจกรรมเกีย่ วกับการสร้างนวัตกรรม ประเด็นท่ี 1.1.4 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความสามารถ ในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ร้อยละ 79.10 ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดข้ึน พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ร้อยละ 79.10 ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ร้อยละ 74.63 แสดงดงั ตารางท่ี ๗ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๑๗] ตารางท่ี ๗ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รอ้ ยละ รายการสังเคราะห์ 79.10 มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผูเ้ รยี น 79.10 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน 74.63 ประเดน็ ท่ี 1.1.4 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ๑. โครงการ กจิ กรรมทีด่ าเนินงาน มโี ครงการ/กิจกรรมสง่ เสริมความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สาร ๒. ผลปรากฏ คุณภาพที่เกดิ ข้นึ ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร ๓. แหล่งขอ้ มลู หลกั ฐาน รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สาร ประเดน็ ที่ 1.1.5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 100.00 มีโครงการ/กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ร้อยละ 100.00 และมีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะทางวิชาการของนักเรียน ร้อยละ 100.00 เท่ากันทกุ รายการ ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินการโครงการ/กิจกรรมการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 100.00 ผลการดาเนินการโครงการ/กิจกรรม ยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ร้อยละ 100.00 และผลการดาเนินการโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม ความสามารถและทักษะทางวชิ าการของนกั เรยี น ร้อยละ 100.00 เท่ากันทกุ รายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินการโครงการ/กิจกรรมการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 100.00 รายงานผลการดาเนินการโครงการ/ กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ร้อยละ 100.00 และรายงานผลการดาเนินการโครงการ/ กิจกรรมส่งเสริมความสามารถและทักษะทางวิชาการของนักเรียน ร้อยละ 100.00 เท่ากัน ทกุ รายการ แสดงดงั ตารางที่ ๘ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 2563 ระดบั เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๑๘] ตารางท่ี ๘ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ร้อยละ รายการสงั เคราะห์ 100.00 มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผเู้ รียน 100.00 100.00 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน 100.00 100.00 ประเด็นท่ี 1.1.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 100.00 ๑. โครงการ กิจกรรมที่ดาเนินงาน 100.00 ๑) มีโครงการ/กิจกรรมการจดั กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 100.00 2) มีโครงการ/กจิ กรรมยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 100.00 3) มีโครงการ/กจิ กรรมส่งเสริมความสามารถและทกั ษะทางวิชาการของนักเรียน ๒. ผลปรากฏ คุณภาพทเ่ี กิดขึน้ 1) ผลการดาเนนิ การโครงการ/กิจกรรมการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกั สูตร สถานศกึ ษา 2) ผลการดาเนินการโครงการ/กิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 3) ผลการดาเนนิ การโครงการ/กิจกรรมสง่ เสริมความสามารถและทักษะทางวิชาการ ของนักเรียน ๓. แหล่งขอ้ มูล หลกั ฐาน 1) รายงานผลการดาเนินการโครงการ/กิจกรรมการจดั กิจกรรมการเรยี นรตู้ าม หลักสตู รสถานศกึ ษา 2) รายงานผลการดาเนนิ การโครงการ/กจิ กรรมยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 3) รายงานผลการดาเนินการโครงการ/กจิ กรรมส่งเสรมิ ความสามารถและทกั ษะทาง วชิ าการของนักเรยี น ประเด็นท่ี 1.1.6 ความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติตอ่ งานอาชีพ ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักเรียนให้มีทักษะ ในการทางาน ร้อยละ 97.01 มีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ ร้อยละ 97.01 และมีโครงการ/ กิจกรรมการแนะแนว เพอ่ื การประกอบอาชีพ ร้อยละ 97.01 เท่ากนั ทกุ รายการ ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักเรียน ให้มีทักษะในการทางาน ร้อยละ 97.01 ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมอาชีพ ร้อยละ 97.01 และผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมการแนะแนว เพ่ือการประกอบอาชีพตาม รอ้ ยละ 97.01 เทา่ กนั ทุกรายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักเรียน รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๑๙] ให้มีทักษะในการทางาน ร้อยละ 92.54 รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมการแนะแนว เพื่อการประกอบอาชีพ ร้อยละ 92.54 เท่ากัน และรองลงมา คือ รายงานผลการดาเนินโครงการ/ กิจกรรมสง่ เสรมิ อาชพี รอ้ ยละ 91.04 ตามลาดบั แสดงดังตารางท่ี ๙ ตารางที่ ๙ ความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคตติ ่องานอาชีพ ร้อยละ รายการสังเคราะห์ 97.01 มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผ้เู รียน 97.01 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน 97.01 ประเดน็ ที่ 1.1.6 ความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคตติ อ่ งานอาชีพ ๑. โครงการ กิจกรรมท่ดี าเนินงาน 97.01 97.01 1) มโี ครงการ/กิจกรรมพัฒนานักเรยี นให้มที ักษะในการทางาน 97.01 2) มีโครงการ/กิจกรรมสง่ เสรมิ อาชีพ 3) มโี ครงการ/กิจกรรมการแนะแนว เพอ่ื การประกอบอาชีพ 92.54 ๒. ผลปรากฏ คณุ ภาพท่ีเกดิ ขน้ึ 91.04 1) ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนานักเรยี นให้มีทักษะในการทางาน 92.54 2) ผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมส่งเสรมิ อาชีพ 3) ผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมการแนะแนว เพื่อการประกอบอาชพี ๓. แหล่งขอ้ มลู หลกั ฐาน 1) รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพฒั นานกั เรยี นให้มที ักษะในการทางาน 2) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมส่งเสริมอาชีพ 3) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมการแนะแนวเพ่ือการประกอบอาชีพ 1.2 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น ประเด็นท่ี 1.2.๑ การมีคณุ ลักษณะและค่านยิ มทีด่ ตี ามที่สถานศกึ ษากาหนด ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมคุณธรรม คุณลักษณะ และค่านิยมที่ดี ร้อยละ 98.51 และมีโครงการ/กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบ้ าเพญ็ ประโยชน์ นักศึกษาวชิ าทหาร จติ อาสา รอ้ ยละ 98.51 เทา่ กันทุกรายการ ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกดิ ขึน้ พบว่า ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม คุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ร้อยละ 98.51 และผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร จิตอาสา ร้อยละ 98.51 เทา่ กันทุกรายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริม คุณธรรม คุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ร้อยละ 98.51 และรายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 2563 ระดับเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๒๐] ลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพญ็ ประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร จติ อาสา รอ้ ยละ 98.51 เท่ากัน ทุกรายการ แสดงดงั ตารางที่ ๑๐ ตารางที่ ๑๐ การมีคณุ ลกั ษณะและค่านยิ มทีด่ ตี ามท่ีสถานศึกษากาหนด รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผู้เรียน 98.51 1.2 คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงคข์ องผเู้ รียน 98.51 ประเดน็ ท่ี 1.2.๑ การมีคณุ ลักษณะและคา่ นิยมทด่ี ตี ามท่ีสถานศกึ ษากาหนด 98.51 98.51 ๑. โครงการ กจิ กรรมที่ดาเนินงาน 1) มีโครงการ/กจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ คณุ ธรรม คณุ ลักษณะ และคา่ นยิ มท่ดี ี 98.51 2) มีโครงการ/กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บาเพญ็ ประโยชน์ นกั ศึกษา 98.51 วิชาทหาร จติ อาสา ๒. ผลปรากฏ คุณภาพท่เี กดิ ข้นึ 1) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมทส่ี ง่ เสริมคุณธรรม คณุ ลักษณะและค่านยิ มทีด่ ี 2) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ นักศึกษาวชิ าทหาร จิตอาสา ๓. แหล่งขอ้ มลู หลกั ฐาน 1) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมท่ีสง่ เสริมคุณธรรม คุณลกั ษณะและ คา่ นยิ มที่ดี 2) รายงานผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบ้ าเพญ็ ประโยชน์ นักศกึ ษาวิชาทหาร จติ อาสา ประเดน็ ที่ 1.2.2 ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ๑) ดา้ นโครงการ/กจิ กรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและ ประเพณีไทย ร้อยละ 98.51 และมีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ ในการจัดการเรียนการสอน ร้อยละ 98.51 เท่ากัน รองลงมา คือ มีโครงการ/กิจกรรม วนั สาคัญต่าง ๆ ร้อยละ 97.01 ตามลาดบั ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดข้ึน พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย ร้อยละ 98.51 ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ร้อยละ 98.51 และผลการดาเนิน โครงการ/กจิ กรรมวันสาคัญต่าง ๆ รอ้ ยละ 98.51 เทา่ กันทกุ รายการ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 2563 ระดับเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๒๑] ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย ร้อยละ 94.03 รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมส่งเสริม การนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ร้อยละ 94.03 และรายงาน ผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมวันสาคญั ต่าง ๆ ร้อยละ 94.03 เทา่ กันทุกรายการ แสดงดังตารางที่ ๑๑ ตารางท่ี ๑๑ ความภมู ิใจในทอ้ งถิ่นและความเปน็ ไทย ร้อยละ รายการสังเคราะห์ 98.51 มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผู้เรยี น 98.51 97.01 1.2 คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น 98.51 98.51 ประเด็นที่ 1.2.2 ความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย 98.51 ๑. โครงการ กจิ กรรมท่ดี าเนินงาน 94.03 94.03 1) มีโครงการ/กจิ กรรมอนรุ ักษ์ศิลปวัฒนธรรมและประเพณไี ทย 94.03 2) มีโครงการ/กจิ กรรมสง่ เสรมิ การนาภูมิปัญญาท้องถน่ิ มาใช้ในการจดั การเรยี น การสอน 3) มโี ครงการ/กิจกรรม วนั สาคัญตา่ ง ๆ ๒. ผลปรากฏ คณุ ภาพทเ่ี กดิ ข้ึน 1) ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมอนรุ กั ษศ์ ลิ ปวัฒนธรรมและประเพณีไทย 2) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมส่งเสรมิ การนาภมู ิปัญญาท้องถิน่ มาใชใ้ นการ จัดการเรียนการสอน 3) ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมวันสาคญั ตา่ ง ๆ ๓. แหล่งข้อมูล หลกั ฐาน 1) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมอนุรักษ์ศิลปวฒั นธรรมและประเพณไี ทย 2) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมส่งเสรมิ การนาภมู ิปัญญาท้องถน่ิ มาใชใ้ น การจดั การเรียนการสอน 3) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมวนั สาคญั ต่าง ๆ ประเดน็ ที่ 1.2.3 การยอมรับทจี่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน ร้อยละ 100.00 รองลงมา คือ มีโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมการอยู่ร่วมกัน บนความแตกต่าง การส่งเสรมิ ประชาธปิ ไตยในสถานศกึ ษา รอ้ ยละ 98.51 ตามลาดับ ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดข้ึน พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริม รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 2563 ระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๒๒] การอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง การส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา ร้อยละ 94.03 และผลการดาเนินโครงการ /กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ร้อยละ 94.03 เทา่ กนั ทุกรายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริม การอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง การส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศึกษา ร้อยละ 92.54 รองลงมา คือ รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ร้อยละ 85.07 ตามลาดบั แสดงดังตารางท่ี ๑๒ ตารางท่ี ๑๒ การยอมรบั ที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย รอ้ ยละ รายการสงั เคราะห์ 98.51 มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผ้เู รียน 100.00 1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรยี น 94.03 ประเด็นท่ี 1.2.3 การยอมรับทีจ่ ะอยูร่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย 94.03 ๑. โครงการ กจิ กรรมที่ดาเนินงาน 92.54 85.07 1) มีโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมการอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่าง การสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตยในสถานศกึ ษา 2) มโี ครงการ/กิจกรรมระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน ๒. ผลปรากฏ คณุ ภาพทเี่ กิดข้นึ 1) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมทีส่ ง่ เสริมการอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ ง การ ส่งเสรมิ ประชาธิปไตยในสถานศกึ ษา 2) ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น ๓. แหล่งข้อมูล หลักฐาน 1) รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่สี ง่ เสริมการอยูร่ ่วมกนั บนความ แตกตา่ ง การส่งเสริมประชาธิปไตยในสถานศกึ ษา 2) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ประเด็นท่ี 1.2.4 สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมสุขภาวะ ทางร่างกาย ร้อยละ 100.00 และมีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านจิตสังคม ร้อยละ 100.00 เทา่ กันทุกรายการ ๒) ดา้ นผลปรากฏ คณุ ภาพท่ีเกิดข้นึ พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาวะ ทางร่างกาย ร้อยละ 97.01 และผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมด้านจิตสังคม รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 ระดบั เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๒๓] ร้อยละ 97.01 เทา่ กันทกุ รายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม สุขภาวะทางร่างกาย ร้อยละ 91.04 รองลงมา คือ รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม ทีส่ ง่ เสรมิ ดา้ นจิตสงั คม ร้อยละ 89.55 ตามลาดับ แสดงดังตารางที่ ๑๓ ตารางที่ ๑๓ สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม รอ้ ยละ รายการสังเคราะห์ 100.00 มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผู้เรยี น 100.00 1.2 คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน 97.01 ประเด็นที่ 1.2.4 สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 97.01 ๑. โครงการ กจิ กรรมทด่ี าเนินงาน 91.04 89.55 1) มีโครงการ/กจิ กรรมท่สี ง่ เสรมิ สุขภาวะทางรา่ งกาย 2) มีโครงการ/กจิ กรรมทีส่ ่งเสริมดา้ นจิตสงั คม ๒. ผลปรากฏ คุณภาพทเ่ี กิดขน้ึ 1) ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสรมิ สขุ ภาวะทางรา่ งกาย 2) ผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมท่ีส่งเสริมดา้ นจิตสงั คม ๓. แหล่งขอ้ มลู หลกั ฐาน 1) รายงานผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมที่สง่ เสรมิ สุขภาวะทางร่างกาย 2) รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีสง่ เสริมด้านจิตสังคม มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินตนเอง มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและ การจัดการ ในภาพรวมมีคุณภาพในระดับยอดเย่ียม โดยสถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพ ในระดับยอดเย่ียม จานวน ๔๔ แห่ง (ร้อยละ ๖๕.๖๗ ระดับดีเลิศ จานวน ๒๐ แห่ง (ร้อยละ ๒๙.๘๕) และระดับดี จานวน ๓ แห่ง (รอ้ ยละ ๔.๔๘) ประเด็นท่ี ๒.๑ มเี ป้าหมายวิสยั ทศั น์และพันธกิจทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมท่ีเกี่ยวข้อง กบั การกาหนด/ ทบทวนวิสัยทัศน์ พนั ธกิจของสถานศกึ ษา รอ้ ยละ 100.00 ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินการจัดทาแผนกลยุทธ์/ แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา/แผนปฏบิ ัตกิ าร สาหรับการบริหารจดั การ ร้อยละ 100.00 ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า แผนกลยุทธ์/แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา/ แผนปฏบิ ัตกิ ารสาหรบั การบรหิ ารจัดการ รอ้ ยละ 100.00 รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๒๔] แสดงดงั ตารางท่ี ๑๔ ตารางท่ี ๑4 มีเป้าหมายวิสยั ทัศนแ์ ละพันธกิจทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน รอ้ ยละ รายการสังเคราะห์ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ประเด็นท่ี ๒.๑ มเี ป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกจิ ที่สถานศึกษากาหนดชดั เจน ๑. โครงการ กจิ กรรมทด่ี าเนินงาน มีโครงการ/กิจกรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การกาหนด/ทบทวนวิสยั ทศั น์ พนั ธกิจของ 100.00 สถานศึกษา ๒. ผลปรากฏ คุณภาพท่เี กดิ ข้นึ ผลการดาเนินการจัดทาแผนกลยุทธ์/แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา/แผนปฏบิ ตั ิการ 100.00 สาหรบั การบรหิ ารจัดการ ๓. แหล่งขอ้ มลู หลักฐาน แผนกลยุทธ์/แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา/แผนปฏบิ ัตกิ าร สาหรับการบริหาร 100.00 จัดการ ประเดน็ ที่ ๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพสถานศึกษา ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีกิจกรรมวางแผนการพัฒนาระบบบริหาร จัดการคุณภาพการศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฏีทางการบริหาร ร้อยละ 100.00 มีกิจกรรม การดาเนินแนวทางการกากับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ หรือรูปแบบ บรหิ ารจัดการ คุณภาพสถานศึกษา ร้อยละ 100.00 และโครงการ/กจิ กรรม การปรับปรุงพัฒนางาน อย่างต่อเนือ่ ง รอ้ ยละ 100.00 เท่ากนั ทุกรายการ ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดข้ึน พบว่า ผลการดาเนินกิจกรรมวางแผนการพัฒนา ระบบ บริหารจัดการคุณภาพการศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฏีทางการบริหาร ร้อยละ 100.00 ผลการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ หรือผลการใช้รูปแบบบริหาร จัดการคุณภาพ สถานศึกษา ร้อยละ 100.00 และผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมการปรับปรุง พฒั นางานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง รอ้ ยละ 100.00 เท่ากนั ทุกรายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินกิจกรรมวางแผนการพัฒนา ระบบบริหาร จัดการคุณภาพการศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฏีทางการบริหาร ร้อยละ 91.04 รายงานผลการ กากับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคุณภาพ หรือรูปแบบบริหาร จัดการคุณภาพสถานศึกษา ร้อยละ 91.04 และรายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม การปรบั ปรุงพัฒนางาน อย่างตอ่ เน่ือง ร้อยละ 91.04 เท่ากันทกุ รายการ แสดงดงั ตารางท่ี ๑๕ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 ระดบั เขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๒๕] ตารางท่ี ๑๕ มีระบบบริหารจัดการคณุ ภาพสถานศึกษา รอ้ ยละ รายการสังเคราะห์ 100.00 100.00 มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ 100.00 ประเด็นท่ี ๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพสถานศึกษา 100.00 ๑. โครงการ กิจกรรมท่ีดาเนินงาน 100.00 100.00 ๑) มีกิจกรรมวางแผนการพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพการศกึ ษา องิ แนวคิด/ 91.04 ทฤษฏที างการบรหิ าร 91.04 91.04 ๒) มกี ิจกรรมการดาเนินแนวทางการกากับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดย ใช้วงจรคุณภาพ หรอื รปู แบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพสถานศึกษา ๓) โครงการ/กิจกรรม การปรับปรงุ พัฒนางาน อย่างต่อเนื่อง ๒. ผลท่ีปรากฏ คุณภาพท่เี กดิ ขนึ้ ๑) ผลการดาเนินกิจกรรม วางแผนการพัฒนา ระบบบริหารจัดการคณุ ภาพ การศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฏีทางการบริหาร ๒) ผลการกากับติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลโดยใช้วงจรคณุ ภาพ หรอื ผลการ ใชร้ ูปแบบบรหิ ารจดั การคุณภาพสถานศึกษา ๓) ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม การปรบั ปรุงพัฒนางาน อยา่ งตอ่ เน่ือง ๓. แหล่งข้อมูล หลกั ฐาน ๑) รายงานผลการดาเนินกจิ กรรม วางแผนการพัฒนา ระบบบริหารจัดการคุณภาพ การศึกษา อิงแนวคิด/ทฤษฏีทางการบรหิ าร ๒) รายงานผลการกากบั ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลโดยใชว้ งจรคณุ ภาพ หรอื รูปแบบบรหิ ารจดั การคุณภาพสถานศึกษา ๓) รายงานผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม การปรับปรุงพัฒนางาน อย่างต่อเนือ่ ง ประเดน็ ที่ ๒.3 มกี ารดาเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี นน้ คณุ ภาพผ้เู รียนรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา และทกุ กลุ่มเป้าหมาย ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมการพัฒนางานวิชาการ ร้อยละ 91.04 และมีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 91.04 เทา่ กันทุกรายการ ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมการพัฒนางาน วิชาการ ร้อยละ 91.04 และผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา รอ้ ยละ 91.04 เทา่ กนั ทุกรายการ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 2563 ระดบั เขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๒๖] ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินงานพัฒนาวิชาการ ร้อยละ 82.09 และรายงานผลการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 82.09 เท่ากนั ทุกรายการ แสดงดังตารางที่ ๑๖ ตารางที่ ๑๖ มีการดาเนินงานพฒั นาวชิ าการท่เี นน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษาและ ทกุ กลุม่ เปา้ หมาย รายการสงั เคราะห์ ร้อยละ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ประเดน็ ท่ี ๒.3 มีการดาเนินงานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้านตาม หลักสตู รสถานศกึ ษาและทุกกลมุ่ เปา้ หมาย ๑. โครงการ กจิ กรรมทดี่ าเนินงาน ๑) มโี ครงการ/กิจกรรมการพัฒนางานวชิ าการ 91.04 2) มีโครงการ/กจิ กรรมพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา 91.04 ๒. ผลท่ปี รากฏ คณุ ภาพทเ่ี กิดขึ้น 1) ผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมการพฒั นางานวชิ าการ 91.04 2) ผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา 91.04 ๓. แหล่งข้อมูล หลักฐาน 1) รายงานผลการดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการ 82.09 2) รายงานผลการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา 82.09 ประเด็นท่ี ๒.4 มีการพัฒนาครู และบุคลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพ ๑) ดา้ นโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กจิ กรรมสง่ เสริมให้ครู และบุคลากร ไดพ้ ฒั นาตนเองด้วยวิธีการที่หลากหลาย รอ้ ยละ 94.03 ๒) ดา้ นผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดขึ้น พบว่า ผลการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้พัฒนาตนเอง ดว้ ยวิธกี ารทีห่ ลากหลาย ร้อยละ 94.03 ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการพัฒนาครูและบุคลกร ดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลาย รอ้ ยละ 88.06 แสดงดังตารางที่ ๑๗ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๒๗] ตารางท่ี ๑๗ มีการพัฒนาครู และบคุ ลากรให้มคี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ ร้อยละ รายการสงั เคราะห์ 94.03 มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ 94.03 ประเด็นที่ ๒.4 มีการพฒั นาครู และบุคลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ 88.06 ๑. โครงการ กจิ กรรมท่ดี าเนินงาน มโี ครงการ/กจิ กรรมสง่ เสรมิ ให้ครู และบคุ ลากรไดพ้ ฒั นาตนเองดว้ ยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย ๒. ผลปรากฏ คุณภาพทีเ่ กดิ ขนึ้ ผลการสง่ เสรมิ ให้ครูและบุคลากรได้พฒั นาตนเองดว้ ยวธิ กี ารท่หี ลากหลาย ๓. แหล่งขอ้ มูล หลักฐาน รายงานผลการดาเนินโครงการพัฒนาครูและบุคลกรด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย ประเด็นที่ ๒.5 มีการจัดสภาพแวดล้อมทางทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี คุณภาพ ๑) ดา้ นโครงการ/กจิ กรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรม พัฒนาสภาพแวดล้อมทาง กายภาพ สงั คม แหลง่ เรยี นรทู้ งั้ ภายใน ภายนอกห้องเรยี น ทเ่ี อ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้ รอ้ ยละ 98.51 ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพท่ีเกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรม พัฒนา สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหล่งเรียนรู้ท้ังภายใน ภายนอกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการจัดการ เรยี นรู้ ร้อยละ 98.51 ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนา สภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหล่งเรียนรู้ท้ังภายใน ภายนอกห้องเรียน ท่ีเอื้อต่อการจัด การเรียนรู้ รอ้ ยละ 89.55 แสดงดงั ตารางท่ี ๑๘ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๒๘] ตารางที่ ๑๘ มกี ารจัดสภาพแวดล้อมทางทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือตอ่ การจดั การเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ประเด็นที่ ๒.5 มกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มทางทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออ้ื ต่อการ จัดการเรยี นร้อู ยา่ งมคี ุณภาพ ๑. โครงการ กิจกรรมท่ีดาเนินงาน มีโครงการ/กิจกรรม พฒั นาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหลง่ เรียนรทู้ ้ังภายใน 98.51 ภายนอกห้องเรยี น ทเี่ อื้อต่อการจัดการเรยี นรู้ ๒. ผลปรากฏ คณุ ภาพท่เี กิดข้นึ ผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม พฒั นาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สงั คม แหลง่ เรียนรู้ 98.51 ทั้งภายใน ภายนอกห้องเรยี น ที่เอ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้ 89.55 ๓. แหล่งขอ้ มูล หลกั ฐาน รายงานผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม พฒั นาสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สังคม แหลง่ เรยี นรทู้ ง้ั ภายใน ภายนอกห้องเรยี น ท่ีเอ้อื ต่อการจดั การเรยี นรู้ ประเด็นท่ี ๒.6 มีการจดั เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ ๑) ดา้ นโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุนการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ ร้อยละ 86.57 และมีโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริม สนบั สนุนการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 86.57 เทา่ กนั ทกุ รายการ ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพท่ีเกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ ร้อยละ 86.57 และผลการดาเนิน โครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 86.57 เท่ากันทกุ รายการ ๓) ดา้ นแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการจัดโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบริหารจัดการ ร้อยละ 79.10 และรายงานผลการจัดโครงการ/ กิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 79.10 เทา่ กนั ทกุ รายการ แสดงดังตารางท่ี ๑๙ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 ระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๒๙] ตารางท่ี ๑๙ มีการจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ รายการสังเคราะห์ รอ้ ยละ มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ประเด็นที่ ๒.6 มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนนุ การบริหารจัดการ และการจดั การเรียนรู้ ๑. โครงการ กิจกรรมท่ดี าเนินงาน ๑) มีโครงการ/กจิ กรรม ท่ีส่งเสริม สนบั สนนุ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ในการ บริหารจดั การ 86.57 2) มีโครงการ/กจิ กรรม ท่ีส่งเสริม สนบั สนนุ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในการ 86.57 จัดการเรียนรู้ ๒. ผลท่ปี รากฏ คุณภาพที่เกดิ ข้ึน 1) ผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ที่สง่ เสริม สนับสนุนการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 86.57 ในการบริหารจัดการ 2) ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม ทส่ี ง่ เสรมิ สนบั สนุนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 86.57 ในการจดั การเรยี นรู้ ๓. แหล่งขอ้ มูล หลักฐาน 1) รายงานผลการจดั โครงการ/กิจกรรม ทส่ี ่งเสริม สนบั สนนุ การใช้เทคโนโลยี 79.10 สารสนเทศ ในการบรหิ ารจดั การ 2) รายงานผลการจดั โครงการ/กิจกรรม ทสี่ ่งเสริม สนบั สนุนการใชเ้ ทคโนโลยี 79.10 สารสนเทศ ในการจัดการเรยี นรู้ มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั สถานศึกษาในสังกัดมีผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในภาพรวมมีคุณภาพในระดับยอดเยี่ยม โดยสถานศึกษา มีผลการประเมินคุณภาพในระดับยอดเยี่ยม จานวน ๓๙ แห่ง (ร้อยละ ๕๘.๒๑) ระดับดีเลิศ จานวน ๒๓ แหง่ (ร้อยละ ๓๔.๓๓) และระดับดี จานวน ๕ แห่ง (รอ้ ยละ ๗.๔๖) ประเด็นท่ี ๓.๑ จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริงและสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้ ๑) ดา้ นโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยผ่าน กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 100.00 และ มีการจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้ทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั รอ้ ยละ 100.๐0 เทา่ กนั ทุกรายการ ๒) ดา้ นผลปรากฏ คณุ ภาพทเ่ี กิดขนึ้ พบวา่ ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ โดยผ่านกระบวนการคิดและ ปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 100.00 รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๓๐] และผลการจัดทาแผนการจดั การเรยี นร้ทู เี่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นร้อยละ 100.๐0 เท่ากันทกุ รายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมการจัดการ เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 91.04 แผนการจัดการเรียนรู้ทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ รอ้ ยละ 91.04 เทา่ กนั ทกุ รายการ แสดงดงั ตารางที่ ๒๐ ตารางท่ี ๒๐ จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริงและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตได้ รายการสังเคราะห์ ร้อยละ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั ประเด็นที่ ๓.๑ จัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ๑. โครงการ กจิ กรรมท่ดี าเนินงาน ๑) มโี ครงการ/กิจกรรมการจัดการเรยี นรโู้ ดยผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง 100.00 และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ๒) มีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ 100.00 ๒. ผลทป่ี รากฏ คุณภาพทเี่ กิดข้ึน 100.00 100.00 ๑) ผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยผา่ นกระบวนการคดิ และ 91.04 ปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ได้ 91.04 ๒) ผลการจัดทาแผนการจัดการเรยี นรูท้ ีเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ๓. แหล่งข้อมูล หลักฐาน ๑) รายงานผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้โดยผา่ นกระบวนการ คิด และปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้ ๒) แผนการจดั การเรยี นรู้ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั ประเด็นที่ ๓.๒ ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนร้ทู ่ีเอื้อต่อการเรยี นรู้ ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับการเรียนรู้ ร้อยละ 85.07 และ มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาห้องสมุด แหล่งเรยี นรู้และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน ร้อยละ 85.07 เท่ากนั ทุกรายการ ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพท่ีเกิดขึ้น พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับการเรียนรู้ ร้อยละ 85.07 และ ผลการดาเนินโครงการ/ กจิ กรรมพฒั นาห้องสมดุ แหลง่ เรยี นร้แู ละภูมิปัญญาท้องถิ่น ร้อยละ 85.07 เท่ากนั ทุกรายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลโครงการ/กิจกรรมพัฒนาส่ือ นวัตกรรม รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 2563 ระดับเขตพืน้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๓๑] เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับการเรียนรู้ ร้อยละ 76.12 และ รายงานผลโครงการ/กิจกรรม พัฒนาหอ้ งสมดุ แหลง่ เรยี นร้แู ละภูมิปัญญาท้องถ่นิ รอ้ ยละ 76.12 เทา่ กันทกุ รายการ แสดงดังตารางท่ี ๒๑ ตารางท่ี ๒๑ ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่เี ออื้ ตอ่ การเรียนรู้ รอ้ ยละ รายการสงั เคราะห์ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ ประเดน็ ที่ ๓.๒ ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนร้ทู ี่เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ ๑. โครงการ กิจกรรมทด่ี าเนินงาน ๑) มโี ครงการ/กจิ กรรมพฒั นาส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสาหรบั การ 85.07 เรียนรู้ 85.07 ๒) มโี ครงการ/กจิ กรรมพฒั นาห้องสมุด แหล่งเรยี นรแู้ ละภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน ๒. ผลที่ปรากฏ คณุ ภาพทเ่ี กิดข้นึ 85.07 ๑) ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ 85.07 สาหรับการเรยี นรู้ ๒) ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพฒั นาห้องสมุด แหลง่ เรยี นรแู้ ละภูมปิ ญั ญา ทอ้ งถิ่น ๓. แหล่งขอ้ มลู หลักฐาน 76.12 76.12 ๑) รายงานผลโครงการ/กจิ กรรมพัฒนาสอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ สาหรับ การเรียนรู้ ๒) รายงานผลโครงการ/กิจกรรมพฒั นาหอ้ งสมดุ แหล่งเรยี นรู้และภูมปิ ญั ญา ทอ้ งถิ่น ประเด็นที่ ๓.3 มีการบริหารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมท่ีมีการบริหารจัดการ เนน้ การมปี ฏสิ ัมพันธ์เชิงบวก สามารถเรยี นรู้รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุขเรยี นรู้ ร้อยละ 83.58 ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพท่ีเกิดข้ึน พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมที่มีการบริหาร จดั การเน้นการมีปฏสิ มั พนั ธเ์ ชงิ บวก สามารถเรียนรู้ร่วมกันอยา่ งมคี วามสุข ร้อยละ 83.58 ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีมีการบริหาร จดั การเนน้ การมปี ฏิสัมพันธเ์ ชิงบวก สามารถเรยี นรรู้ ว่ มกันอยา่ งมีความสุข รอ้ ยละ 74.63 แสดงดงั ตารางที่ ๒๒ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 2563 ระดับเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๓๒] ตารางท่ี ๒๒ มกี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก รอ้ ยละ รายการสังเคราะห์ 83.58 มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ 83.58 ประเดน็ ที่ ๓.3 มกี ารบริหารจดั การชัน้ เรียนเชิงบวก 74.63 ๑. โครงการ กจิ กรรมทีด่ าเนินงาน มโี ครงการ/กิจกรรมท่ีมีการบรหิ ารจัดการ เน้นการมปี ฏิสัมพันธเ์ ชิงบวก สามารถ เรียนรู้รว่ มกันอยา่ งมีความสขุ เรยี นรู้ ๒. ผลท่ปี รากฏ คุณภาพท่ีเกิดขนึ้ ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมท่ีมกี ารบรหิ ารจดั การ เนน้ การมปี ฏิสมั พนั ธเ์ ชงิ บวก สามารถเรยี นรรู้ ว่ มกันอย่างมีความสุข ๓. แหล่งขอ้ มลู หลักฐาน รายงานผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมที่มกี ารบริหารจดั การ เนน้ การมี ปฏิสมั พนั ธเ์ ชิงบวก สามารถเรยี นรูร้ ว่ มกันอย่างมคี วามสุข ประเด็นที่ ๓.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัด และประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ร้อยละ 91.04 มีโครงการ/กิจกรรม การสรา้ งเครื่องมือวัดประเมินผลท่ีหลากหลาย ร้อยละ 91.04 และมีกิจกรรมการให้ข้อมูลย้อนกลับ แก่ผเู้ รียนเพ่อื นาไปพัฒนาการเรียนรู้ รอ้ ยละ 91.04 เท่ากันทุกรายการ ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกดิ ขนึ้ พบวา่ ผลการดาเนนิ การโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัด และประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ร้อยละ 91.04 ผลการดาเนินการโครงการ/ กิจกรรมการสร้างเครื่องมือวัดประเมินผลท่ีหลากหลาย ร้อยละ 91.04 และผลการดาเนินการ กิจกรรมการให้ข้อมูลย้อนกลับ แก่ผู้เรียนเพื่อนาไปพัฒนาการเรียนรู้ ร้อยละ 91.04 เทา่ กันทุกรายการ ๓) ด้านแหล่งข้อมูล หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินการโครงการ/กิจกรรมพัฒนา การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ร้อยละ 80.60 รายงานผลการดาเนินการ โครงการ/กิจกรรมการสร้างเครื่องมือวัดประเมินผลท่ีหลากหลาย ร้อยละ 80.60 และบันทึก การนาขอ้ มลู ยอ้ นกลับเพ่อื พัฒนา รอ้ ยละ 80.60 เทา่ กนั ทกุ รายการ แสดงดังตารางที่ ๒๓ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๓๓] ตารางท่ี ๒๓ ตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรยี น ร้อยละ รายการสังเคราะห์ 91.04 มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคญั 91.04 ประเด็นท่ี ๓.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนา 91.04 ผ๑ูเ้.รโยี คนรงการ กิจกรรมทีด่ าเนินงาน 91.04 91.04 1) มีโครงการ/กจิ กรรมพฒั นาการวดั และประเมนิ ผลการจัดการเรียนรอู้ ย่างเป็น 91.04 ระบบ 80.60 2) มโี ครงการ/กิจกรรมการสร้างเครอ่ื งมอื วดั ประเมนิ ผลท่ีหลากหลาย 80.60 3) มกี จิ กรรมการให้ขอ้ มูลย้อนกลบั แกผ่ ู้เรียนเพือ่ นาไปพัฒนาการเรียนรู้ 80.60 ๒. ผลทปี่ รากฏ คณุ ภาพท่เี กดิ ขน้ึ 1) ผลการดาเนนิ การโครงการ/กจิ กรรมพฒั นาการวัดและประเมนิ ผลการจดั การ เรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ 2) ผลการดาเนินการโครงการ/กิจกรรมการสร้างเครื่องมือวัดประเมนิ ผลที่ หลากหลาย 3) ผลการดาเนนิ การกจิ กรรมการใหข้ ้อมลู ย้อนกลับแกผ่ ้เู รยี นเพอ่ื นาไปพฒั นาการ เรียนรู้ ๓. แหล่งขอ้ มูล หลกั ฐาน 1) รายงานผลการดาเนนิ การโครงการ/กิจกรรมพัฒนาการวัดและประเมนิ ผลการ จัดการเรยี นรูอ้ ย่างเป็นระบบ 2) รายงานผลการดาเนนิ การโครงการ/กิจกรรมการสร้างเคร่ืองมือวัดประเมินผล ที่หลากหลาย 3) บันทกึ การนาข้อมูลย้อนกลับเพอ่ื พัฒนา ประเด็นที่ ๓.5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้ ๑) ด้านโครงการ/กิจกรรมท่ีดาเนินงาน พบว่า มีโครงการ/กิจกรรมการแลกเปล่ียนเรียนรู้ และใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลับเพ่ือพฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ ร้อยละ 95.52 ๒) ด้านผลปรากฏ คุณภาพที่เกิดข้ึน พบว่า ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมการแลกเปล่ียน เรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้ รอ้ ยละ 95.52 ๓) ด้านแหล่งข้อมลู หลักฐาน พบว่า รายงานผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมการแลกเปลี่ยน เรยี นร้แู ละให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ รอ้ ยละ 85.07 แสดงดังตารางที่ ๒๔ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๓๔] ตารางท่ี ๒๔ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ รายการสังเคราะห์ รอ้ ยละ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ ประเด็นท่ี ๓.5 มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ ๑. โครงการ กจิ กรรมที่ดาเนินงาน มโี ครงการ/กิจกรรมการแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพ่ือพัฒนา 95.52 และปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้ ๒. ผลท่ปี รากฏ คุณภาพท่เี กดิ ขนึ้ ผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมการแลกเปล่ยี นเรียนรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลับ 95.52 เพอ่ื พฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ ๓. แหล่งขอ้ มูล หลักฐาน รายงานผลการดาเนินโครงการ/กจิ กรรมการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และใหข้ ้อมูล 85.07 สะทอ้ นกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ จุดเด่น จุดทีค่ วรพัฒนา และแผนการดาเนินงานเพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา จดุ เดน่ ด้านคุณภาพผู้เรียน จุดเด่นท่ีพบมากท่ีสุด คือ ผู้เรียนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร สถานศึกษา ร้อยละ 100.00 รองลงมาคือ ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี และผู้เรียน มีความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย ร้อยละ 98.51 เท่ากัน ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ และผู้เรียนมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ร้อยละ ๙7.01 เทา่ กัน ตามลาดับ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดเด่นที่พบมากที่สุด คือ การปรับเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจของสถานศึกษา และการมีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ร้อยละ ๑๐๐.๐๐ เท่ากัน รองลงมา คือ การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ร้อยละ ๙8.51 ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ให้มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ รอ้ ยละ 94.03 ตามลาดบั ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จุดเด่นที่พบมากท่ีสุด คือ การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ 100.00 รองลงมา คือ การแลกเปล่ียนเรียนรู้และการให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา และปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้ ร้อยละ 95.52 และการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผ้เู รยี น รอ้ ยละ 91.04 ตามลาดบั รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 2563 ระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๓๕] แสดงดงั ตารางท่ี ๒๕ ตารางที่ ๒๕ แสดงรายการสงั เคราะห์จดุ เดน่ ของสถานศกึ ษา ร้อยละ รายการสังเคราะห์ 100.00 98.51 จุดเดน่ 98.51 97.01 ๑. ดา้ นคณุ ภาพผูเ้ รียน 97.01 ๑) ดา้ นผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ๒) ดา้ นคุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดี ๑๐๐.๐๐ ๓) ด้านความภูมใิ จในท้องถ่นิ และความเปน็ ไทย ๑๐๐.๐๐ ๔) ดา้ นความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพ 98.51 ๕) ด้านสขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม 94.03 ๒. ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ ๑) ดา้ นการปรบั เป้าหมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกิจของสถานศึกษา 100.00 ๒) ด้านระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา ๓) ดา้ นการจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเออ้ื ต่อการจดั การเรียนรู้ 95.52 อยา่ งมีคณุ ภาพ 91.04 4) ด้านการพฒั นาครูและบุคลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ ๓. ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ๑) ดา้ นการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริงและสามารถนาไป ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้ ๒) ด้านการแลกเปล่ียนเรียนร้แู ละการให้ขอ้ มูลสะท้อนกลับเพอื่ พัฒนาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ ๓) ด้านการตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นา ผู้เรยี น จุดทค่ี วรพฒั นา ด้านคุณภาพผู้เรียน จุดท่ีควรพัฒนามากที่สุด คือ ผู้เรียนมีความสามารถสร้างนวัตกรรม ร้อยละ 31.34 รองลงมา คือ ผู้เรียนมีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ร้อยละ 20.90 และ ผู้เรยี นมีความสามารถในการอยูร่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 5.97 ตามลาดับ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ จุดท่ีควรพัฒนามากที่สุด จัดระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 13.43 รองลงมา คือ การพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 9.00 รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๓๖] ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จุดท่ีควรพัฒนามากท่ีสุด คือ การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ร้อยละ 16.42 รองลงมา คือ การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ ่เี อือ้ ต่อการเรียนรู้ รอ้ ยละ 14.93 แสดงดังตารางที่ ๒๖ ตารางที่ ๒๖ แสดงรายการสงั เคราะห์จุดควรพัฒนาของสถานศึกษา รายการสงั เคราะห์ รอ้ ยละ จดุ ท่ีควรพัฒนา 31.34 ๑. ด้านคุณภาพผเู้ รยี น 20.90 5.97 ๑) ดา้ นการสรา้ งนวตั กรรม 13.43 ๒) ดา้ นการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๓) ด้านการอยูร่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 9.00 ๒. ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๑) ดา้ นจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการ จดั การเรยี นรู้ ๒) ด้านการพัฒนาวิชาการทีเ่ น้นคุณภาพผูเ้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศึกษา และทุกกลมุ่ เป้าหมาย ๓. ดา้ นกระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั 16.42 ๑) ดา้ นการบริหารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก ๒) ดา้ นการใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรทู้ ีเ่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ 14.93 แผนการดาเนินงานเพื่อยกระดับคณุ ภาพการศึกษาใหส้ งู ขน้ึ ๑) ด้านคุณภาพผู้เรียน พบว่า สถานศึกษาส่วนใหญ่มีแผนการดาเนินงานพัฒนา ด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ ๖๑.๑๙ รองลงมา ด้านการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ร้อยละ ๔๐.๓๐ และด้านการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปญั หา รอ้ ยละ ๓๘.๘๑ ตามลาดบั ๒) ด้านกระบวนการบริหารและการจดั การ พบว่า สถานศกึ ษาสว่ นใหญ่มีแผนการดาเนินงาน พัฒนาด้านการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ ร้อยละ ๖๔.๑๘ รองลงมา ด้านการพัฒนาวิชาการท่ีเนน้ คณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย และด้านจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ เรียนรู้ ร้อยละ ๔๗.๗๖ เท่ากัน และด้านระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ร้อยละ ๔๐.๓๐ ตามลาดบั รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศึกษา 2563 ระดับเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๓๗] ๓) ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พบว่า สถานศึกษา ส่วนใหญ่มีแผนการดาเนินงานพัฒนาด้านการใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอื้อต่อ การเรียนรู้ ร้อยละ ๕๐.๗๕ รองลงมา ด้านการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ร้อยละ ๔๓.๒๘ และด้านการตรวจสอบและประเมินผู้เรียน อยา่ งเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน รอ้ ยละ ๓๗.๓๑ ตามลาดบั แสดงดังตารางท่ี ๒๗ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับเขตพืน้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๓๘] ตารางที่ ๒๗ แผนการดาเนินงานเพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาใหส้ งู ข้ึน รอ้ ยละ รายการสงั เคราะห์ ๓๕.๘๒ ๓๘.๘๑ แผนการดาเนนิ งานเพ่อื ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาให้สูงขึ้น ๓๒.๘๔ ๑. ดา้ นคุณภาพผเู้ รียน ๔๐.๓๐ ๖๑.๑๙ ๑) ด้านการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคิดคานวณ ๒๙.๘๕ ๒) ดา้ นการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ การแกป้ ัญหา ๓๑.๓๔ ๓) ดา้ นการสร้างนวตั กรรม ๒๕.๓๗ ๔) ดา้ นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑๙.๔๐ ๕) ดา้ นผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ๑๖.๔๒ ๖) ดา้ นความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี ่องานอาชีพ ๗) ด้านคณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ดี ี ๑๓.๔๓ ๘) ด้านความภูมิใจในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย ๔๐.๓๐ ๙) ดา้ นการอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ๔๗.๗๖ ๑๐) ดา้ นสขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม ๒. ดา้ นกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๖๔.๑๘ ๑) ดา้ นการปรบั เปา้ หมายวิสัยทัศน์และพนั ธกิจของสถานศึกษา ๓๔.๓๓ ๒) ด้านระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ๓) ด้านการพัฒนาวิชาการท่เี นน้ คณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา ๔๗.๗๖ และทุกกลุ่มเปา้ หมาย ๔) ด้านการพฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ ๔๓.๒๘ ๕) ดา้ นการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจดั การเรียนรู้ อย่างมีคณุ ภาพ ๕๐.๗๕ ๖) ดา้ นจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบริหารจัดการและการ ๑๖.๔๒ จัดการ เรยี นรู้ ๓๗.๓๑ ๓. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ ๒๙.๘๕ ๑) ด้านการจดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง และสามารถนาไป ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้ ๒) ด้านการใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่เี อือ้ ต่อการเรียนรู้ ๓) ด้านการบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชงิ บวก ๔) ด้านการตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นา ผู้เรียน๕) ด้านการแลกเปล่ียนเรียนรู้และการให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพื่อพฒั นาและ ปรบั ปรุง การจดั การเรยี นรู้ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๓๙] ตอนท่ี ๔ ผลการวเิ คราะหป์ ระสิทธภิ าพและโอกาสในการพัฒนาคณุ ภาพของสถานศึกษา ผ ล ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ โ อ ก า ส ใ น ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ จานวน ๖๗ แห่ง จดั กลุ่มตามประสทิ ธิภาพของสถานศกึ ษาได้ ๒ กลมุ่ ดังนี้ 4.1 กลุ่ม YYY จานวน ๖๑ แห่ง (ร้อยละ ๙๑.๐๔) ได้แก่ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย โรงเรียนเทพศิรินทร์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โรงเรียนมกั กะสันพทิ ยา โรงเรียนวดั ราชบพธิ โรงเรยี นวดั สระเกศ โรงเรยี นวดั สังเวช โรงเรียนสายปัญญา ในพระบรมราชินูปถัมภ์ โรงเรียนโยธินบูรณะ โรงเรียนสตรีวิทยา โรงเรียน สามเสนวิทยาลัย โรงเรียนศรีอยุธยา ในพระอุปถัมภ์ฯ โรงเรียนราชวินิต มัธยม โรงเรียน สันติราษฎร์วิทยาลัย โรงเรียนราชนันทาจารย์ สามเสนวิทยาลัย ๒ โรงเรียนวัดราชาธิวาส โรงเรียน วัดน้อยนพคุณ โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร โรงเรียนมัธยมวัดมกุฏกษัตริย์ โรงเรียน ศีลาจารพิพัฒน์ โรงเรียนโยธินบูรณะ ๒ (สุวรรณสุทธาราม) โรงเรียนวัดบวรนิเวศ โรงเรียน ชิโนรสวิทยาลัย โรงเรียนทวีธาภิเศก โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน โรงเรียนสวนอนันต์ โรงเรียน อุบลรัตนราชกัญญาราชวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร (วัดปากน้าวิทยาคม) โรงเรียนวัดบวรมงคล โรงเรียนสตรีวัดระฆัง โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม โรงเรียนมัธยมวัดดุสิตาราม โรงเรียน วิมุตยารามพิทยากร โรงเรียนโพธิสารพิทยากร โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล โรงเรียนมหรรณพาราม โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (ทวีวัฒนา) ในพระราชูปถัมภ์ฯ โรงเรียน ทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดน้อยใน) ในพระราชูปถัมภ์ฯ โรงเรียนสุวรรณพลับพลาพิทยาคม โรงเรียน ศึกษานารี โรงเรียนวัดราชโอรส โรงเรียนธนบุรีวรเทพีพลารักษ์ โรงเรียนวัดอินทาราม โรงเรียน มัธยมวัดดาวคนอง โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง โรงเรียนบางปะกอกวิทยาคม โรงเรียนบางมดวิทยา \"สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์\" โรงเรียนวัดพุทธบูชา อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย โรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย ธนบุรี โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียน โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ โรงเรียนศึกษานารีวิทยา โรงเรียนวัดนวลนรดิศ โรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์ โรงเรียน จันทร์ประดิษฐารามวิทยาคม โรงเรียนปัญญาวรคุณ โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม โรงเรียนราชวินิต บางแคปานขา โรงเรียนนวลนรดิศวิทยาคม รัชมังคลาภิเษก 4.2 กลุ่ม NYY จานวน ๖ แห่ง (ร้อยละ ๘.๙๖) ได้แก่ โรงเรียนแจงร้อนวิทยา โรงเรียน ทวีธาภิเศก บางขุนเทียน โรงเรียนพิทยาลงกรณ์พิทยาคม โรงเรียนวัดประดู่ในทรงธรรม โรงเรียนไชยฉมิ พลีวิทยาคม โรงเรยี นวดั รางบัว แสดงดงั ตารางท่ี ๒๘ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปีการศกึ ษา 2563 ระดับเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
[๔๐] ตารางท่ี ๒๘ ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพฒั นาคุณภาพของสถานศึกษาระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ผลการวิเคราะห์ จานวนสถานศึกษา (แห่ง) จานวน (แห่ง) รอ้ ยละ YYY ๖๑ ๙๑.๐๔ NYY ๖ ๘.๙๖ รวม ๖๗ ๑๐๐.๐๐ ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน กลมุ่ YYY จากผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพและโอกาสในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ มีสถานศึกษา กลุ่ม YYY จานวน ๖๑ แห่ง (ร้อยละ ๙๑.๐๔) เป็นกลุ่มสถานศึกษาที่มีความพร้อมด้านกายภาพ บุคลากรได้รับการพัฒนาตนเองและมีจานวนเพียงพอ ได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครองและ หนว่ ยงานภายนอกเพยี งพอ เป็นอยา่ งดีและตอ่ เนื่อง สถานศึกษาสามารถดาเนินงานด้านกระบวนการ ได้ตามมาตรฐาน มีกระบวนการบริหาร และการจัดการ และกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ และผู้เรียนยังมีคุณภาพบรรลุเป้าหมายตามท่ีสถานศึกษากาหนด ซึ่งวิเคราะห์ ตามทฤษฎีระบบ (System Theory) ไดด้ งั น้ี ๑. ด้านปจั จัยนาเขา้ (Input) พจิ ารณาจากความเพยี งพอและความเหมาะสมของทรัพยากร และส่ิงสนับสนุนการศึกษาของสถานศึกษาทั้งด้านกายภาพด้านบุคลากร และด้านการสนับสนุน จากภายนอกสถานศึกษา พบว่า ด้านกายภาพ มีความพร้อมระดับมาก โดยมีการจัดห้องเรียนครบ ตามระดับช้ันที่เปิดสอน มีห้องปฏิบัติการ/ห้องพิเศษ/แหล่งเรียนรู้เพียงพอและพร้อมใช้งาน จัดแหล่งเรียนรู้ภายในที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น สวนพฤกษศาสตร์ ลานดนตรี ลานธรรมะ ลานกีฬา สวนวรรณคดี เวทีเสริมทักษะภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ มีส่ือเทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้ อย่างหลากหลายครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สถานศึกษามีการจัดมาตรการความปลอดภัยควบคุม การแพร่เช้ือโรคระบาดต่าง ๆ อย่างรัดกุม ด้านบุคลากร มีความพร้อมระดับมาก โดยมี ผู้อานวยการสถานศึกษาปฏิบัติงานครบทุกแห่ง มีครูคร บทุกระดับชั้นและทุกรายวิชา ซึ่งในปีการศึกษาที่ผ่านมา ครูทุกคนได้รับการพัฒนาตนเองโดยเฉลี่ย ๒๐ ชั่วโมงขึ้นไป รวมท้ัง ได้เข้าร่วมกิจกรรม PLC โดยเฉลี่ย ๕๐ ชั่วโมงขึ้นไป ได้เข้าร่วมประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา และสถานศึกษามีบุคลากรอ่ืน สนับสนุนงานวิชาการและงานธุรการ ด้านการสนับสนุนจากภายนอก มีความพร้อมระดับมาก โดยได้รบั ความร่วมมือเป็นอย่างดจี ากผปู้ กครองและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีผู้ปกครอง ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป เข้าร่วมประชุมหรือเข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา และคณะกรรมการ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ระดบั เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
[๔๑] สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีการประชุม ปีละ ๔ ครั้ง และสถานศึกษาได้รับการสนับสนุน เงินทุนการศึกษา สื่อการเรียนรู้อุปกรณ์ส่งเสริมการเล่นกีฬา ดนตรี-นาฏศิลป์ หรืออุปกรณ์ฝึกด้าน วิชาชีพต่างๆ จากบริษัท ห้างร้านหน่วยงานเอกชนและชุมชนอย่างเพียงพอ ส่งผลต่อการพัฒนา คุณภาพผู้เรียนสูงขน้ึ ๒. ด้าน กระบวน การ (Process) พิจารณาจากผลการประเมินตนเอง (SAR) ของสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในมาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ และมาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ พบว่า ด้านกระบวนการ บริหารและการจัดการ มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่างชัดเจนสอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑ มีการดาเนินงานพัฒนาวิชาการผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมโยงกับชีวิตจริง พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการ ของครูและสถานศึกษา มีการจัดประชุมครูและบุคลากรเพ่ือจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา และ แผนปฏิบตั กิ ารประจาปี มีการส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสีย และการขอความเห็นชอบ ของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน แผนพัฒนาการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจาปี มีความครอบคลมุ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา อีกทั้งมีการติดตามการดาเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการประจาปีและนาข้อมูลไปใช้ปรับปรุงหรือพัฒนาให้ต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ยังพบว่า สถานศึกษามีการนิเทศภายในอย่างเป็นระบบ มีแนวทางการพัฒนาวิธีการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนท่ีเหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาท่ีชัดเจน มีกระบวนการวิจัยและพัฒนาระบบการบริหารท่ีถูกต้องตามหลักวิชาการ รวมทั้งให้ความสาคัญ ในการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ส่งผลต่อประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการ ด้านกระบวนการ ในด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีครูร้อยละ ๘๐ ขึ้นไปจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนาไป จัดกิจกรรมได้จริง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ เช่น การจัดการเรียนการสอน แบบโครงงาน การสอนแบบสะเต็มศกึ ษาฯ มีการใชส้ ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้รวมท้ัง ภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยให้ ผู้เรียนจัดทาโครงงานแบบบูรณาการท้ังในสาระการเรียนรู้และข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในแต่ละระดับชั้น และจัดทาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ สถานศึกษาให้ความสาคัญ ในการจัดทาวิจัยในช้ันเรียน เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ และมีการเผยแพร่ เช่น การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ชุดฝึกทักษะด้านการคิดคานวณ การฝึกทักษะการอ่านและการคิดข้ันสูง การพูดสนทนาภาษาอังกฤษเบื้องต้นด้วยบทเรียนออนไลน์ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ประจาปกี ารศึกษา 2563 ระดับเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
Search