Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 น้ำและอากาศบนโลก

หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 น้ำและอากาศบนโลก

Published by fast speed, 2020-08-22 04:07:18

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 น้ำและอากาศบนโลก

Search

Read the Text Version

[ใบงานทบทวนเนอื้ หา - วทิ ยาศาสตร์ ป.3 - (ชุดที่ 1)] Exercise-Science-p3(1) หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 น้าและอากาศบนโลก น้าเป็นส่ิงแวดล้อมทางธรรมชาติ เป็นทรัพยากรท่ีมีคุณค่ามหาศาล และเป็นประโยชน์ต่อ ส่ิงมีชีวิตทุกชีวิตในการด้ารงชีวิต ถ้าขาดน้า ส่ิงมีชีวิตจะไม่สามารถด้ารงชีวิตอยู่ได้ บนผิวโลกของเรา ประกอบไปดว้ ยพน้ื นา้ 3 สว่ น พ้ืนดิน 1 สว่ น นา้ มีทง้ั น้าบนผิวดนิ นา้ ใต้ดนิ และนา้ ในบรรยากาศ - น้าผิวดนิ ได้แก่ แม่น้า ล้าคลอง หนอง บึง ห้วย ล้าธาร ทะเล ทะเลสาบ และมหาสมุทร เป็นนา้ ท่เี กีย่ วขอ้ งกบั การดา้ รงชีวิตของมนุษยม์ ากท่ีสุด - น้าใต้ดนิ มี 2 ประเภท คอื น้าในดิน และน้าบาดาล - น้าในบรรยากาศ เชน่ ไอนา้ ละอองน้าในอากาศ เปน็ ตน้ วฏั จักรของน้า วฏั จกั รของนา้ คอื ลกั ษณะของน้าทหี่ มุนเวียน เกดิ จากการระเหยของน้าบนพ้ืนโลกโดยแสงแดด ความร้อน ลม เมื่อไอน้าลอยขึ้นสูงจะรวมตัวกันเป็นก้อนเมฆ แล้วเคลื่อนท่ีไปตามกระแสลม เม่ือไป กระทบความเย็นเป็นฝนตกลงมาสู่พื้นดิน น้าฝนไหลลงสู่แหล่งน้าบนผิวดิน และใต้ดินต่อไป ปรากฏการณห์ มนุ เวียนของน้าเราเรยี กว่า วัฏจกั รของน้า สมบัตขิ องน้า น้าบริสุทธิ์ ไม่มีสี ไม่มีกลน่ิ และไม่มรี ส น้าเปน็ สสารมนี า้ หนกั ต้องการทีอ่ ยู่ และสัมผสั ได้ น้ามสี มบัตเิ ฉพาะตวั หลายประการ ดงั นี้ 1) สถานะของน้า น้ามีได้ 3 สถานะ คือ สถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ท่ีภาวะปกติ น้ามีสถานะเป็น ของเหลว และมีรปู รา่ งเปลีย่ นไปตามภาชนะทีบ่ รรจุ เชน่ เมือ่ อยใู่ นแก้ว จะมรี ปู ร่างของแก้ว เป็นตน้ น้าเม่ือได้รับความร้อนถึงจุดเดือด จะเปล่ียนไปเป็นสถานะไอ หรือสถานะแก๊ส และ เชน่ เดียวกับเมอ่ื น้าได้รบั ความเยน็ จะเปลยี่ นไปเปน็ สถานะของของแขง็ ทีอ่ ุณหภมู ศิ นู ย์องศาเซลเซียส 1

[ใบงานทบทวนเนอื้ หา - วทิ ยาศาสตร์ ป.3 - (ชุดท่ี 1)] Exercise-Science-p3(1) 2) การเคลือ่ นทข่ี องน้า น้าจะไหลเคลอ่ื นทเ่ี พือ่ รกั ษาระดับผิวน้าใหเ้ ท่ากันเสมอ ไม่วา่ จะอยใู่ นภาชนะทมี่ ีรปู ร่างต่างกนั อย่างไร น้าจะไหลจากท่ีสูงลงสู่ท่ีต่้ากว่า ด้วยแรงดึงดูดของโลก ซึ่งท้าให้น้าจากท่ีสูงไหลไปรวมกันน้า ในแหลง่ ต่าง ๆ ท่ีต้่ากว่า เชน่ น้าตก น้าในทะเล มหาสมุทร 3) แรงดันของน้า แรงดันของน้า คือ แรงของน้าที่กดลงบนพื้นท่ีบริเวณหนึ่ง ๆ แรงดันของน้าจะสัมพันธ์กับ ระดับความลึกของน้า โดยน้าท่ีระดับเดียวกัน จะมีแรงดันของน้าเท่ากัน และน้าที่ระดับลึกกว่า จะมี แรงดนั มากกว่าน้าทรี่ ะดบั ตนื้ กว่า ประโยชนข์ องน้า น้ามีประโยชนต์ ่อการดา้ รงชีวติ ของมนษุ ย์ สตั ว์ และพืช ดังนี้ 1) ด้านการอุปโภคบริโภค คนและสัตว์ใช้ดื่มกิน วันหน่ึง ๆ คนจะด่ืมน้าอย่างน้อยวนั ละ 6 – 8 แก้ว เพราะจะท้าให้ รา่ งกายสดชน่ื ใชป้ ระกอบอาหาร ชา้ ระล้างรา่ งกาย สิง่ สกปรก และเหงือ่ ไคลทต่ี ดิ ตามรา่ งกาย 2) ดา้ นเกษตรกรรม ใช้ในการเกษตร การเพาะปลกู และเลีย้ งสตั ว์ 3) ด้านอุตสาหกรรม ใช้ประโยชน์ในการอุตสาหกรรมทุกชนิด เพราะอุตสาหกรรมทุกประเภทต้องอาศัยน้าเป็น วัตถุดิบ เช่น อาหารกระป๋อง เครื่องดื่ม ใช้ระบายความร้อนของเคร่ืองจักร เครื่องยนต์ ใช้ล้างท้าความ สะอาดผลิตภณั ฑแ์ ละกากของเสยี ตา่ ง ๆ เป็นตน้ 4) ด้านการคมนาคมทางนา้ ใช้เป็นเส้นทางคมนาคมในการติดตอ่ ส่ือสาร และตดิ ต่อทางการคา้ เชน่ แพ เรือ ตามแมน่ ้า ล้าคลอง สามารถขนส่งสินค้าได้ทีละมาก ๆ เป็นการคมนาคมขนส่งที่ราคาถูกกว่าใช้ระยนต์ หรือ เครอื่ งบนิ 2

[ใบงานทบทวนเน้ือหา - วทิ ยาศาสตร์ ป.3 - (ชุดท่ี 1)] Exercise-Science-p3(1) 5) ดา้ นแหล่งผลิตพลงั งานไฟฟ้า เราน้าพลังงานน้าจากการสร้างเขื่อนกักเก็บน้ามาผลิตกระแสไฟฟ้า เช่น เข่ือนภูมิพล เข่ือน สิริกติ ์ิ เข่อื นจฬุ าภรณ์ เขอ่ื นอุบลรตั น์ เข่ือนศรนี ครนิ ทร์ เป็นตน้ 6) ดา้ นที่อย่อู าศยั เปน็ แหล่งท่ีอยอู่ าศยั ของสตั ว์น้าและพชื เช่น ปลา ก้งุ ปู หอย และสาหรา่ ยทกุ ชนิด 7) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ เป็นแหล่งของทรัพยากรทสี่ ้าคัญ เช่น แก๊สธรรมชาติ และเกลือ เป็นตน้ 8) ดา้ นนันทนาการ เปน็ แหลง่ พักผอ่ นหยอ่ นใจและเปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางน้า คุณภาพของน้า น้าตามแหล่งต่าง ๆ โดยท่ัวไปจะมีส่ิงเจือปนอยู่ในปริมาณต่าง ๆ ตามประเภทของแหล่งน้า น้า จากแหล่งน้าบางแห่งมองดูแล้วใสสะอาด แต่เราไม่สามารถบอกได้ว่าน้านั้นสะอาดหรือไม่ น้าท่ีสะอาด จะต้องไม่มีสี ไมม่ กี ล่นิ และไมม่ รี ส สามารถใช้ดืม่ ได้ ซง่ึ เราเรยี กว่า เป็นน้าทีม่ คี ณุ ภาพ การปรบั ปรงุ คุณภาพของน้า น้าท่ีใช้เพ่ือการบริโภค และอุปโภคของคนเราน้ัน หากได้มาจากแหล่งน้าธรรมชาติ อาจมี ส่ิงเจอื ปนตา่ ง ๆ ละลายอยู่ ดงั นั้นก่อนที่จะน้ามาใชจ้ ะต้องทา้ ให้สะอาดเสยี ก่อนด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ ดังน้ี 1) การต้ม โดยต้มให้เดือดประมาณ 20 – 30 นาที เพราะความร้อนจะเป็นตัวท้าลายเช้ือ โรคที่ปนมากับน้าไดด้ ี น้าต้มเป็นน้าท่ีใช้ดม่ื ได้อย่างปลอดภยั 2) การท้าให้ตกตะกอน โดยน้าสารส้มแกว่งเร็ว ๆ ในน้า ให้สารส้มกระจายไปท่ัว ประมาณ 1 นาที แล้วแกว่งช้าง ๆ ประมาณ 10 – 20 นาที จะท้าให้สารต่าง ๆ ท่ีอยู่ในน้า ตกตะกอนนอนก้นไดน้ ้าใส แตไ่ มเ่ หมาะสา้ หรบั ดืม่ เพราะไม่ได้ฆา่ เช้ือโรค แต่สามารถนา้ ไปใช้ ช้าระลา้ งรา่ งกาย และภาชนะเคร่อื งใช้ต่าง ๆ ได้ 3) การใสค่ ลอรนี การใสค่ ลอรีนในปรมิ าณที่เหมาะสม เปน็ การฆา่ เชือ้ โรคในนา้ ที่มีประสิทธิภาพ สูง โดยใชค้ ลอรนี ผงครงึ่ ช้อนชา้ ตอ่ น้า 1 ต่มุ (10 ปบี ) โดยละลายผงคลอรีนในน้า 1 ถ้วย ก่อน คนให้สะอาด เทลงตุ่มกวนให้ผสมกนั ดี ทิ้งไว้อยา่ งน้อย 20 นาที จงึ น้าไปใช้ 3

[ใบงานทบทวนเน้อื หา - วทิ ยาศาสตร์ ป.3 - (ชดุ ท่ี 1)] Exercise-Science-p3(1) 4) การกรอง เป็นการน้าวัตถุชนิดต่าง ๆ มาวางซ้อนกันหลาย ๆ ช้ัน เช่น ทรายละเอียด ทรายหยาบ ถ่าน กรวดละเอียด กรวดหยาบ และส้าลี แลว้ เทน้าลงไปให้ไหลผ่านชั้นต่าง ๆ เพอ่ื ใหไ้ ด้น้าท่ีสะอาด แต่ไมค่ วรบรโิ ภค เพราะยังไมไ่ ด้ฆา่ เช้อื โรค 5) การกลัน่ เป็นวิธีการน้าน้ามาต้มให้กลายเป็นไอ แล้วให้ไอน้าผ่านความเย็น ไอน้าจะกลั่นตวั เป็นหยดน้า ซึ่งน้าที่ได้จะสะอาดมากที่สุด แต่สิ้นเลือกค่าใช้จ่ายมาก นิยมน้ามาใช้ใน การแพทย์ เม่อื คณุ ภาพนา้ ต้า่ จะมีผลกระทบต่อคน พชื และสัตว์ ดงั นี้ 1) เปน็ บอ่ เกิดของโรคระบาด นา้ สกปรกเต็มไปดว้ ยเช้ือโรค ซ่งึ จะท้าให้เกิดการระบาดของโรคใน บริเวณที่มีน้าไหลผ่าน ส่วนใหญ่จะเป็นโรคเก่ียวกับระบบทางเดินอาหาร เช่น โรคบิด อหิ วาต์ และไทฟอยด์ เปน็ ตน้ 2) ท้าให้ขาดแคลนน้าดื่มน้า เม่ือน้าเกิดการเน่าเสียสกปรกขึ้น เราไม่สามารถท่ีจะน้านา้ มาใชด้ ่ืม และใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นอื่น ๆ ได้ 3) ท้าให้เกิดความเสียกายแก่การเกษตร เม่ือน้าเกิดสกปรก หรือเน่าเสีย จะมีผลกระทบต่อพืช และสตั ว์ เช่น ถ้าน้าน้าเนา่ เสยี ไปรดต้นไม้ หรือให้สตั วก์ ิน จะท้าให้ต้นไมแ้ ละสตั ว์ตายได้ การอนรุ ักษท์ รพั ยากรนา้ นักเรียนจะเห็นว่า น้ามีประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตมากตามที่ได้กล่าวมาแล้ว ถ้าไม่มีน้า สิ่งมีชีวิตก็ไม่ สามารถด้ารงชีวิตอยู่ได้ ดังน้ัน เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการด้ารงชีวิตของมนุษย์ เราจึงควรช่วยกัน แก้ปญั หาการสูญเสยี ทรพั ยากรน้าดว้ ยการอนรุ กั ษน์ า้ ดังนี้ 1) การปลูกต้นไม้ ท้าให้อากาศมีความชุ่มชื้น ท้าให้มีฝนตกมากกว่าบริเวณอ่ืน นอกจากนี้ ต้นไม้ยังช่วยลดปัญหาการต้ืนเขินของแหล่งน้าตามธรรมชาติต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี เพราะ รากของตน้ ไมจ้ ะช่วยยดึ ดนิ ไวไ้ ม่ให้ถูกน้าพัดพาไปทบั ถมกนั ในแหลง่ น้าได้ 2) การใช้น้าอยา่ งประหยดั เราสามารถประหยดั การใช้น้าได้ด้วยตนเอง ดงั นี้ o หมนั่ ตรวจสอบการรั่วไหลของน้า o ไม่เปดิ นา้ ท้งิ ไว้ตอนโกนหนวด แปรงฟัน หรอื ถูสบู่ o ใชส้ บู่เหลวแทนสบ่กู อ้ นเวลาล้างมือ เพราะจะใชน้ า้ นอ้ ยกว่า o รองนา้ ซกั ผา้ แค่พอดใี ช้ อยา่ เปดิ ทิ้งไว้ตลอดการซัก o ใช้ฝักบวั รดน้าแทนสายยางฉดี น้า o ไมค่ วรใช้สายยางล้างรถ และอยา่ งเปิดน้าไหลตลอดเวลา o ล้างรถเทา่ ทจี่ ้าเป็น 4

[ใบงานทบทวนเนือ้ หา - วิทยาศาสตร์ ป.3 - (ชุดที่ 1)] Exercise-Science-p3(1) o หม่ันตรวจสอบทอ่ น้าในบา้ นว่ามรี อยรว่ั หรือไม่ o ลา้ งผกั และผลไม้ในอา่ งหรอื ภาชนะ o ล้างจานในอา่ งล้างจาน o หม่นั ตรวจสอบจุดรัว่ ซึมของชักโครก o ใชส้ ขุ ภัณฑ์ประหยัดนา้ o ตดิ อปุ กรณเ์ ตมิ อากาศท่ีหัวกอ๊ ก o ไม่ควรรดน้าตน้ ไมต้ อนแดดจัด o อยา่ ท้งิ น้าดมื่ ที่เหลือโดยเปล่าประโยชน์ o รินน้าให้พอดีด่ืม 3) การเผาป่า การถางป่า เพื่อท้าไร่เล่ือนลอยไม่ควรกระท้า เพราะป่าไม้เป็นต้นก้าเนิดของ แหลง่ น้า 4) การป้องกันมลพิษทางน้า เราสามารถชว่ ยปอ้ งกนั มลพิษทางนา้ ได้ด้วยการไมท่ ้ิงขยะ หรอื ส่ิง ปฏิกลู หรือสารพิษลงสูแ่ หลง่ น้า 5) การน้าน้าที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ เราสามาระน้าน้าท่ีใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น น้าน้าท่ี เหลอื จากการซักผา้ ในคร้ังสดุ ทา้ ยมารดตน้ ไม้ เพือ่ เปน็ การประหยัดนา้ เป็นตน้ 6) ในเทศกาลลอยกระทง เราควรใชก้ ระทงทีท่ ้ามาจากวัสดุธรรมชาติ เช่น ใบตอง และไม่ควรใช้ กระทงท่ีท้าจากโฟม เพราะโฟมย่อยสลายยาก กลายเป็นขยะตกคา้ งในน้า เป็นต้น 7) ในบริเวณที่มีโรงงานอุตสาหกรรม ควรตรวจสอบว่า โรงงานเหล่านี้มีระบบบ้าบัดน้าเสีย หรือไม่ และควรมีการตรวจสอบคุณภาพในแหล่งน้าอยู่เสมอ เพื่อจะได้ทราบว่า เกิดปัญหา นา้ เสยี หรือไม่ และเกดิ ในช่วยใดของแหล่งนา้ อากาศกบั ส่ิงมีชีวิต อากาศเป็นสสารชนิดหน่ึง มีตัวตน มีน้าหนัก ต้องการท่ีอยู่และสัมผัสได้ โลกของเรามีอากาศ ห่อหุม้ อยู่ เราเรียกอากาศที่อยรู่ อบตัวเรา และหอ่ หุ้มโลกของเราวา่ บรรยากาศ ส่วนประกอบของอากาศ อากาศประกอบดว้ ย แกส๊ หลายชนิด สว่ นประกอบของแกส๊ ที่ส้าคัญในอากาศโดยปริมาตร ไดแ้ ก่ o ไนโตรเจน จา้ นวนรอ้ ยละ 78 o ออกซิเจน จา้ นวนร้อยละ 21 o อารก์ อน จ้านวนรอ้ ยละ 0.93 o คารบ์ อนไดออกไซด์ จา้ นวนร้อยละ 0.03 o แก๊สอืน่ ๆ ฝุ่นละอองและไอน้า จา้ นวนรอ้ ยละ 0.04ฃ 5

[ใบงานทบทวนเน้ือหา - วทิ ยาศาสตร์ ป.3 - (ชุดท่ี 1)] Exercise-Science-p3(1) อากาศท่ไี มม่ ีไอน้า เรียกวา่ อากาศแหง้ ส่วนอากาศทม่ี ีไอนา้ ปนอยูด่ ว้ ย เรียกวา่ อากาศชืน้ ไอ น้าที่มีอยู่ในอากาศมีอยู่ระหว่างร้อยละ 0 ถึง 4 ของอากาศทั้งหมด ไอน้าเป็นส่วนผสมท่ีส้าคัญของ อากาศ และไอน้าเป็นสาเหตขุ องการเกดิ ปรากฏการณต์ ่าง ๆ เช่น ลม พายุ ฟ้าแลบ ฟา้ ร้อง เปน็ ตน้ สมบัติของอากาศ 1) อากาศมีตวั ตนและสัมผัสได้ 2) อากาศมีน้าหนัก 3) อากาศตอ้ งการท่ีอยู่ 4) อากาศเคลื่อนท่ีได้ อากาศเมื่อได้รับความร้อนจะขยายตัว และลอยตัวสูงข้ึน ท้าให้ความ หนาแน่นของอากาศบริเวณน้ลี ดลง อากาศบริเวณใกลเ้ คยี งทีม่ ีอณุ หภมู ิต้่ากวา่ ความหนาแน่น มากกวา่ จะเข้ามาแทนท่ี ซึ่งเราเรียกวา่ การเคลือ่ นท่ขี องอากาศหรือลม อากาศจะเกิดการเคล่ือนท่ีอยู่เสมอ บางเวลาเคลือ่ นท่ีนอ้ ย บางเวลาเคลอ่ื นท่ีมาก ทา้ ใหเ้ กิด การเปลี่ยนแปลงอากาศข้นึ ซึ่งเราสามารถสังเกตได้งา่ ย ๆ เช่น มีลมพดั มีเมฆ มฝี นตก เป็นตน้ ถา้ อุณหภูมสิ องบริเวณมีความแตกต่างกันมาก จะท้าให้ความหนาแน่นของอากาศสองบริเวณ นั้นแตกต่างกันมากด้วย ท้าให้เกิดลมที่มีกระแสลมพัดมีความเร็วสูง เราเรียกว่า พายุ ซ่ึงมีชื่อเรียก แตกต่างกันไปตามแหล่งทวีปของโลก และความรุนแรงของพายุท่ีเกิดขึ้น ถ้ารุนแรงมาก อาจท้าให้เกิด ความเสียหายข้ึนมาก เช่น เกิดน้าท่วมอย่างรุนแรง บ้านเรือนพังทลาย ประชากรเสียชีวิตเป็นจ้านวน มาก เป็นต้น อุณหภูมิ คือ ระดับความร้อนหนาวของอากาศ ถ้าอากาศหนาว อุณหภูมิจะลดต้่าลง ถ้า อากาศร้อน อุณหภูมิจะสูงขึ้น เคร่ืองมือท่ีใช้วัดอุณหภูมิหรือระดับความร้อนหนาวของสิ่งต่าง ๆ คือ เทอร์โมมเิ ตอร์ หนว่ ยของอณุ หภมู ใิ ชห้ นว่ ยเปน็ องศาเซลเซียส และองศาฟาเรนไฮต์ เทอร์มอมเิ ตอร์ มีลกั ษณะคลา้ ยหลอดแกว้ หวั ท้ายปิด มกี ระเปาะเล็ก ๆ อยู่ปลายดา้ นหน่ึง ภายในกระเปาะบรรจุของเหลว ได้แก่ แอลกอฮอล์ หรือปรอท ซ่ึงมีสมบัติขยายตัวและหดตัวได้รวดเร็ว เมื่ออากาศร้อน ของเหลวจะขยายตัว ท้าให้ระดับของเหลวสูงข้ึน เราเรียกว่า อุณหภูมิสูง แต่ถ้าอากาศ หนาวของเหลวจะหดตวั ระดบั ของเหลวจะลดลง เรียกว่าอุณหภูมิต่้า วิธกี ารใช้เทอร์มอมิเตอร์ 1) ควรจบั เทอรม์ อมิเตอรค์ ่อนไปทางปลายของเทอรม์ อมิเตอร์ ห้ามจบั ตรงกระเปาะ 2) หนั ตัวเลขเข้าหาตวั เพื่อให้อ่านค่าได้งา่ ย 6

[ใบงานทบทวนเนื้อหา - วทิ ยาศาสตร์ ป.3 - (ชุดท่ี 1)] Exercise-Science-p3(1) 3) เม่ือวัดส่ิงของใด ต้องการก้านเทอร์มอมิเตอร์ต้ังในแนวดิ่งเสมอ และอยู่ในระดับสายตา เพ่อื อา่ นค่าไดถ้ ูกตอ้ งและแมน่ ยา้ 4) ให้กระเปาะเทอรม์ อมเิ ตอร์สมั ผัสกับสิ่งท่จี ะวัดเทา่ นนั้ 5) ไมค่ วรน้าเทอร์มอมเิ ตอร์คนสารต่าง ๆ และหา้ มน้าเทอร์โมมเิ ตอร์ไปวัดอุณหภูมขิ องเปลว ไฟ เพราะจะทา้ ใหเ้ ทอรโ์ มมิเตอร์แตกได้ และเป็นอนั ตรายต่อผูใ้ ช้ ประโยชนข์ องอากาศ 1) อากาศเป็นส่ิงจ้าเป็นในการหายใจของสิ่งมีชีวิต ถ้าขาดอากาศส่ิงมีชีวิตจะไม่สามารถ ดา้ รงชีวิตอย่ไู ด้ 2) อากาศช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้พอเหมาะ โดยท้าหน้าท่ีคล้ายเคร่ืองปรับอุณหภูมิ ไม่ให้ ร้อนหรือเย็นเกินไป นอกจากน้ันบรรยากาศที่หุ้มห่อโลกของเรายังท้าหน้าที่กรองและดูดรังสี อัลตราไวโอเลต หรือแสงเหนือม่วงไว้ ไม่ให้ผ่านเข้ามาสู่โลกชั้นในมากจนเป็นอันตรายต่อ สงิ่ มีชีวติ 3) ช่วยป้องกันอันตรายจากส่ิงที่มาจากภายนอกโลก เช่น อุกกาบาต ขยะอวกาศ โดย อุกกาบาต และขยะอวกาศจากนอกโลก เม่ือผ่านเข้าสู่บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลก ก็จะเกิดการ เสยี ดสกี บั อากาศลุกไหม้เป็นไฟจนเปน็ ผยุ ผง ไมส่ ามารถทา้ อันตรายต่อส่ิงมีชวี ติ บนโลกได้ 4) ทา้ ใหเ้ กิดเมฆฝน และเกิดฝน ซ่ึงเปน็ สง่ิ สา้ คัญตอ่ เกษตรกรรมของประเทศ ประโยชน์ท่ีส้าคัญท่ีสุดของอากาศ คือ ใช้หายใจ ถ้าไม่มีอากาศ ส่ิงมีชิตก็ไม่สามารถ ด้ารงชีวิตอยู่ได้ แต่ปัจจุบัน เราก้าลังประสบปัญหาเกี่ยวกับอากาศเสีย ซ่ึงสาเหตุของอากาศเสียเป็น เพราะอะไร นักเรยี นทราบหรือไม่ สาเหตขุ องการเกดิ อากาศเสยี หรอื เกิดมลพษิ ทางอากาศ มีดังนี้ 1) การเกิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ เชน่ ไฟไหม้ป่า ภูเขาไฟปะทุ ท้าใหเ้ กิดควนั ไฟ ฝุ่นละออง และ แกส๊ ต่าง ๆ การเนา่ เป่อื ยของซากพชื ซากสตั ว์ ท้าให้เกิดแก๊สตา่ ง ๆ ปะปนในอากาศ 2) การเผาไหม้เชื้อเพลิงในเคร่ืองยนต์และควันจากท่อไอเสีย จะปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สคาร์บอนมอนออกไซดอ์ อกมา 3) โรงงานอุตสาหกรรมจะปล่อยควันของสารพิษ ฝุ่นละออง แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊ส คารบ์ อนไดออกไซด์ แก๊สคาร์บอนมอนออกไซด์ และแกส๊ อ่นื ๆ อกี หลายชนิดออกมา 4) โรงไฟฟ้า ใช้เช้ือเพลิงไปเผาไหม้ เช่น น้ามันเตา ถ่านหิน ลิกไนต์ หรือเชื้อเพลิง อื่น ๆ ไป ผลิตกระแสไฟฟ้า ท้าให้เกิดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊สอื่น ๆ ที่เป็นอันตราย และเขม่า ควนั 7

[ใบงานทบทวนเนอื้ หา - วทิ ยาศาสตร์ ป.3 - (ชุดท่ี 1)] Exercise-Science-p3(1) 5) การเผาไหมข้ องเชื้อเพลิงในบ้าน เชน่ การเผาฝืน ถ่าน แกส๊ หงุ ตม้ ล้วนท้าให้เกิดแก๊สคาร์บอ รมอนอกไซด์ ไฮโดรคารบ์ อน และเขมา่ ควัน 6) การเผาขยะ และส่ิงปฏิกูลท้าให้เกิดแก๊สไฮโดรคาร์บอน ออกไซด์ของไนโตรเจน แก๊ส คารบ์ อนมอนอกไซด์ และแก๊สซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์ 7) แหล่งน้าเสยี ทา้ ให้เกิดแก๊สไฮโดรเจนซันไฟด์ และแกส๊ ไฮโดรคาร์บอน 8) การระเหยของสารเคมตี า่ ง ๆ เช่น นา้ มนั กรด สี ผลกระทบจากสง่ิ เจือปนในอากาศ ผลกระท้าจากสิง่ เจอื ปนในอากาศท้าใหเ้ กิดความเสยี กายเปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพของมนุษย์ สตั ว์ ท้าลายพืช ท้าให้วัสดุต่าง ๆ เสียหาย เป็นอันตรายต่อสภาพแวดล้อม ตามท่ีนักเรียนได้เรียนรู้มาก่อน หนา้ นแี้ ลว้ แต่น้ามากลา่ วถงึ พอเปน็ สรุปอกี ครงั้ ดงั น้ี 1) เป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพของมนุษย์ 2) เป็นอนั ตรายต่อพชื 3) เป็นอันตรายต่อสตั วเ์ ล้ยี ง 4) ท้าความเสยี หายตอ่ วัสดตุ า่ ง ๆ 5) ทา้ ใหอ้ ุณหภมู ขิ องอากาศร้อนข้นึ 6) ผลกระทบต่อการมองเหน็ แนวทางในการปอ้ งกันมลพษิ ทางอากาศ 1) ชว่ ยกันปลกู และดแู ลตน้ ไม้ ซ่ึงจะชว่ ยดูดแกส๊ คารบ์ อรไดออกไซด์ และคายยแกส๊ ออกซเิ จน 2) ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีท้ามาจากโฟม และพลาสติก น้าผลิตภัณฑ์จากโฟม และพลาสติก กลับมาใช้ใหม่ให้มากท่ีสุด เพราะการท้าลายวัตถุเหล่านี้โดยการเผา จะเป็นการท้าให้เกิด มลพิษทางอากาศ 3) ไมเ่ ผาขยะทท่ี า้ ใหเ้ กดิ ควนั พิษ แตใ่ ช้วกี ้าจดั ขยะโดยการฟงั ดิน 4) ช่วยกันจัดระเบียบของบ้านเมือง เช่น ปรับปรุงชุมชนแออัด กวดขันรถยนต์ท่ีปลอ่ ยควันเสยี ควบคมุ โรงงานท่ีปลอ่ ยควนั และน้าเสีย และชว่ ยกนั กา้ จัดขยะมูลฝอยอยา่ งถกู วิธี ** สรุปสาระส้าคัญ 1) โลกของเรามีอากาศและน้าเป็นปจั จยั สา้ คัญในการดา้ รงชีวิตของมนษุ ย์ สัตว์ และพืช 2) น้ามีได้ 3 สถานะ คอื ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส 8

[ใบงานทบทวนเนือ้ หา - วทิ ยาศาสตร์ ป.3 - (ชุดท่ี 1)] Exercise-Science-p3(1) 3) น้าจะไหลเคล่ือนทเ่ี พ่อื รกั ษาระดับผวิ นา้ ใหเ้ ทา่ กันเสมอ ไมว่ ่าจะอยูใ่ นภาชนะที่มรี ปู ร่างตา่ งกนั อยา่ งไร 4) แรงดันของน้า คือแรงของน้าทกี่ ดลงบนพื้นทบ่ี รเิ วณหน่ึง ๆ 5) นา้ ท่ีระดับลึกกวา่ จะมแี รงดันมากกวา่ นา้ ท่ีระดับตนื้ กวา่ 6) น้าท่ีสะอาด จะตอ้ งไมม่ ีสี ไมม่ ีกลน่ิ และไมม่ ีรส สามารถใชด้ ืม่ ได้ ซ่ึงเราเรียกวา่ เปน็ นา้ ทมี่ ี คณุ ภาพ 7) การปรับปรุงคุณภาพของน้ากระท้าได้โดยการต้ม การท้าให้ตกตะกอน การใส่คลอรีน การ กรอง และการกลั่น 8) น้ามีการหมุนเวยี นตามธรรมชาติตลอดเวลา เราจึงควนสงวนและรักษาน้าให้สะอาดอยูเ่ สมอ และท่ีส้าคัญเราควรใช้น้าอยา่ งประหยดั เพ่ือให้มีนา้ ไว้ใช้ตลอดไป 9) อากาศเปน็ สสารชนิดหนึ่ง มตี ัวตน มนี า้ หนกั ตอ้ งท่ที อี่ ย่แู ละสมั ผัสได้ 10) อากาศประกอบด้วยแก๊สที่ส้าคัญในอากาศโดยปริมาตรมีไนโตรเจน ร้อยละ 78 ออกซเิ จน รอ้ ยละ 21 อารก์ อน ร้อยละ 0.93 คารบ์ อนไดออกไซด์ ร้อยละ 0.03 แกส๊ อื่น ๆ ฝ่นุ ละออง และไอนา้ จา้ นวนร้อยละ 0.04 11) ไอ้น้าเปน็ สาเหตขุ องการเกดิ ปรากฎการณต์ ่าง ๆ เช่น ลม พายุ ฟา้ แลบ ฟ้ารอ้ ง เป็นต้น 12) การเคลื่อนท่ีของอากาศจากบริเวณความหนาแน่นสูงไปยังบริเวณท่ีมีความหนาแน่นต่้า กว่า ทา้ ให้เกิดลมหรอื พายุ 13) อณุ หภูมิ คือ ระดับความรอ้ นหนาวของอากาศ ถ้าอากาศหนาวอุณหภมู จิ ะลดตา้่ ลง ถ้า อากาศรอ้ นอุณหภูมจิ ะสงู ขึ้น เครื่องมือที่ใชว้ ดั อณุ หภูมิ คือ เทอร์มอมเิ ตอร์ 14) ประโยชน์ของอากาศ ให้ส่ิงมีชีวติ ด้ารงอยไู่ ด้ ช่วยปรับอุณหภูมิของโลกให้พอเหมาะ ช่วย ป้องกนั อันตรายจากสงิ่ ท่มี าจากภายนอกโลก และท้าให้เกดิ ฝน 15) สาเหตุของการเกิดอากาศเสีย เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ การเผาไหวเชื้อเพลิงใน เครื่องยนต์ ในโรงงานอุตสาหกรรม ในโรงไฟฟ้าและในบ้าน การเผาขยะและส่ิงปฏิกูลจาก แหล่งน้าเสยี และการระเหยของสารเคมตี ่าง ๆ 16) ผลกระทบจากสิ่งเจือปนในอากาศ ท้าให้เกิดความเสียหายเป็นอันตรายต่อสุขภาพของ มนุษย์ สัตว์ ท้าลายพืช ทา้ ให้วสั ดตุ ่าง ๆ เสยี หายเป็นอันตรายต่อสภาพแวดลอ้ ม 17) การป้องกันมลพิษทางอากาศ ช่วยกันปลูกและดูแลต้นไม้ ลดการใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีท้ามา จากโฟมและพลาสติก ควบคุมโรงงานที่ปล่อยควัน และน้าเสีย กวดขันรถยนต์ที่ปล่อยควนั เสีย และช่วยกันก้าจดั ขยะมลู ฝอยอยา่ งถกู วธิ ี 9

[ใบงานทบทวนเน้ือหา - วทิ ยาศาสตร์ ป.3 - (ชุดท่ี 1)] Exercise-Science-p3(1) หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 น้าและอากาศบนโลก 1) นา้ คือ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 2) นา้ ผวิ ดิน ไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 3) น้าใตด้ ิน มี ____ ประเภท คืออะไรบา้ ง ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 4) นา้ ในบรรยากาศ ได้แกอ่ ะไรบา้ ง ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 5) วฏั จกั รของน้า คอื ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 10

[ใบงานทบทวนเนอื้ หา - วิทยาศาสตร์ ป.3 - (ชดุ ท่ี 1)] Exercise-Science-p3(1) 6) สมบัตขิ องน้า เปน็ อยา่ งไร ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 7) น้ามี ____ สะถานะ คือ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 8) นา้ มีการเคลื่อนท่ีอย่างไร ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 9) แรงดนั ของน้า คอื ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 10) ประโยชน์ของน้า มอี ะไรบ้าง ให้นกั เรียนยกตวั อยา่ ง ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 11) เราสามารถปรับปรุงคณุ ภาพของน้าได้อยา่ งไรบ้าง ให้นกั เรยี นยกตัวอย่าง พรอ้ มทง้ั อธบิ าย ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 11

[ใบงานทบทวนเน้ือหา - วิทยาศาสตร์ ป.3 - (ชดุ ที่ 1)] Exercise-Science-p3(1) 12) เม่อื คุณภาพของนา้ ต่้า จะมผี ลกระทบต่อ คน พชื และสัตว อย่างไร ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 13) เราสามารถอนรุ กั ษ์ทรัพยากรนา้ ได้อย่างไร ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 14) ส่ิงมชี ีวติ กบั อากาศ มีความสมั พันธ์กันอย่างไร ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 15) อากาศมสี ว่ นประกอบอะไรบ้าง ให้นักเรยี นอธิบาย ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 16) สมบัตขิ องอากาศเป็นอย่างไร ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 17) อุณหภมู ิ คือ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 12

[ใบงานทบทวนเนื้อหา - วทิ ยาศาสตร์ ป.3 - (ชุดท่ี 1)] Exercise-Science-p3(1) 18) เทอร์มอมิเตอร์ คือ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 19) เทอรม์ อมเิ ตอร์ ใช้งานอย่างไร ให้นกั เรียนอธิบาย ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 20) อากาศมีประโยชนอ์ ยา่ งไร ใหน้ กั เรยี นอธิบาย ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 21) สาเหตของการเกดิ กาอาศเสีย หรอื มลพษิ ทางอากาศ มีอะไรบา้ ง ให้นกั เรยี นอธิบาย ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 22) ผลกระทบจากทอ่ี ากาศมสี ่งิ เจือปน มอี ะไรบา้ ง ให้นกั เรียนอธิบาย ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 23) แนวทางในการปอ้ งกันมลพษิ ทางอากาศ ท้าได้อย่างไร ใหน้ กั เรียนอธิบาย ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ ______________________________________________________________ 13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook