Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันสำคัญ วิสาขบูชา

วันสำคัญ วิสาขบูชา

Published by กศน.ตำบลพระหลวง, 2021-05-20 06:09:33

Description: วันสำคัญ วิสาขบูชา

Search

Read the Text Version

วันสำคัญ วิสำขบูชำ ความหมาย คาว่า \"วิสำขบูชำ\" หมายถึงการบูชาในวันเพ็ญเดือน ๖ วิสาขบูชา ย่อมา จาก \" วิสาขปุรณมีบูชา \" แปลว่า \" การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ \" ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือ มีเดือน ๘ สองหน ก็เล่ือนไปเป็นกลางเดือน ๗ ความสาคัญ วันวิสาขบูชา เป็นวันสาคัญย่ิงทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็นวันที่ พระพุทธเจ้าประสูติ คือเกิด ได้ตรัสรู้ คือสาเร็จ ได้ปรินิพพาน คือ ดับ เกิดขึ้นตรงกันทั้ง ๓ คราว คอื 1. เมอื่ เจา้ ชายสทิ ธตั ถะ ประสูติทพ่ี ระราชอุทยานลุมพนิ ีวัน ระหว่างกรงุ กบิลพัสด์กุ บั เทวทหะ เม่ือเช้าวนั ศกุ ร์ ข้นึ ๑๕ ค่า เดอื น ๖ ปจี อ ก่อนพทุ ธศักราช ๘๐ ปี 2. เมื่อเจ้าชายสทิ ธตั ถะตรัสรู้ เป็นพระพทุ ธเจ้าเม่อื พระชนมายุ ๓๕ พรรษา ณ ใต้รม่ ไม้ศรีมหาโพธิ์ ฝั่งแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม ในตอนเช้ามืดวันพุธ ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ ปีระกา ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี หลังจากออกผนวชได้ ๖ ปี ปัจจุบนั สถานทตี่ รัสรแู้ ห่งนี้เรียกว่า พทุ ธคยา เป็นตาบลหน่ึงของเมืองคยา แหง่ รฐั พิหารของอินเดีย 3. หลังจากตรัสรู้แล้ว ได้ประกาศพระศาสนา และโปรดเวไนยสัตว์ ๔๕ ปี พระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา ก็เสด็จดับขันธปรินิพพาน เมื่อวันอังคาร ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ ปีมะเส็ง ณ สาลวโนทยาน ของมัลลกษัตริย์ เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ (ปัจจบุ ันอย่ใู นเมือง กุสีนคระ) แควน้ อุตตรประเทศ ประเทศอินเดยี นับว่าเป็นเร่ืองท่ีน่าอัศจรรย์ย่ิง ท่ีเหตุการณ์ท้ัง ๓ เกี่ยวกับวิถีชีวิตของพระสัมมาสมั พุทธ เจ้า ซึ่งมีช่วงระยะเวลาห่างกันนับเวลาหลายสิบปี บังเอิญเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือน ๖ ดังน้ันเม่ือถึงวันสาคัญ เช่นนี้ ชาวพุทธทั้งคฤหัสถ์ และบรรพชิตได้พร้อมใจกันประกอบ พิธีบูชาพระพุทธองค์เป็นการพิเศษ เพ่ือน้อมราลึกถึงพระกรุณาธิคุณ พระปัญญาธิคุณ และพระบรสิ ทุ ธคิ ณุ ของพระองคท์ า่ น ผเู้ ป็นดวงประทปี ของโลก

วันวสิ ำขบูชำ เป็นวันสำคญั สำกลของสหประชำชำติคอื \"วันสำคัญของโลก\" ( Vesak Day ) 1. ในการประชุม International Buddhist Conference ณ กรุงโคลัมโบ ระหว่าง วันที่ ๙ - ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๑ ซึ่งมีผู้แทนจากประเทศที่นับถือศาสนาพุทธ จานวนมากเข้าร่วม อาทิ บังคลาเทศ จีน ลาว เกาหลีใต้ เวียดนาม ภูฐาน อินโดนีเซีย เนปาล กัมพูชา อินเดีย ปากีสถาน และไทย ได้ตกลงกันที่จะเสนอให้ สมัชชาสหประชาชาติรับรองข้อมติประกาศวัน วิสาขบูชาให้เป็นวันหยุดของ สหประชาชาติ 2. ในการเยือนของประเทศต่างๆ ในอินโดจีนของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการ ต่างประเทศศรีลังกา ในปี ๒๕๔๒ ก็ได้มีการหยิบยกเรื่องนี้ข้ึนหารือ และได้รับ การสนบั สนุนจากประเทศต่างๆ ไดด้ ว้ ยดี 3. คณะทูตถาวรศรีลังกาประจาสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์กได้จัดเตรียมร่างข้อ มติ และได้ขอเสียงสนับสนุนจากประเทศต่าง ๆ เพ่ือให้มีการรับรองข้อมติเร่ือง การประกาศให้วันวิสาขบูชาเป็นวันหยุดของสหประชาชาติในท่ีประชุมสมัชชา สหประชาชาติ สมัยสามัญ คร้งั ที่ ๕๔ 4. โดยท่สี หประชาชาติประกาศวันหยุดเป็นจานวนมากอยู่แลว้ และจะเปน็ ปญั หาใน เรื่องงบประมาณและการบริหารแก่ สหประชาชาติ หากประกาศให้วันวิสาขบูชา เป็นวันหยุด ศรีลังกาจึงได้ตัดสินใจท่ีจะเสนอรา่ งข้อมติ ขอให้วันวิสาขบูชาเป็นวัน สาคัญสากลท่ีสหประชาชาติ ทั้งท่ีสานักงานใหญ่ และสานักงานต่าง ๆ แทนการ เสนอใหเ้ ป็นวันหยุดซ่ึง ออท. ผูแ้ ทนถาวรประเทศต่าง ๆ รวม ๑๖ ประเทศ ได้แก่ ศรีลังกา บังคลาเทศ ภูฐาน กัมพูชา ลาว มัลดีฟส์ มองโกเลีย พม่า เนปาล ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ เกาหลีใต้ สเปน อินเดีย ไทย และยูเครน ได้ร่วมลงนามใน หนังสือถงึ ประธานสมัชชาฯ เพ่ือให้นาเรอื่ งวันวสิ าขบูชาเข้าเป็นระเบียบวาระการ ประชมุ ของสมัชชาฯ 5. ต่อมาเม่ือ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ General Committee ของสมัชชาฯ ได้ พจิ ารณาเร่ืองดงั กลา่ ว โดย ออท.ผแู้ ทน ถาวรศรีลังกาได้กลา่ วถอ้ ยแถลงสนับสนนุ

หนังสือร้องขอให้ท่ีประชุมบรรจุระเบียบวาระดังกล่าว เข้าสู่การพิจารณาของที่ ประชุมสมัชชาเต็มคณะ ออท.ผู้แทนถาวรไทย อินเดีย สเปน บังคลาเทศ ปากีสถาน ไซปรัส ลาว และภูฐาน ได้กล่าวถ้อย แถลงสนับสนุน ซ่ึงท่ีประชุม General Committee ได้มีมติให้บรรจุเร่ืองนี้เข้าสู่การพิจารณาของสมัชชาเต็ม คณะ ปัจจบุ ัน วนั วสิ ำขบชู ำ 1. เม่ือ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๔๒ ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยสามัญ คร้ังท่ี ๕๔ ได้พิจารณาระเบียบวาระท่ี ๑๗๔ International recognition of the Day of Visak โดยการเสนอของศรลี งั กา 2. ในการพิจารณา ประธานสมัชชาฯ ได้เชิญผู้แทนศรีลังกาขึ้นกล่าวนาเสนอร่างข้อ มติ และเชญิ ผแู้ ทนไทย สิงคโปร์ บังคลาเทศ ภูฐาน สเปน พม่า เนปาล ปากีสถาน อินเดียข้ึนกล่าวถ้อยแถลง สรุปความว่า วันวิสาขบูชาเป็นวันสาคัญของ พุทธศาสนิกชนท่ัวโลก เพราะเป็นวันท่ีพระพุทธเจ้าประสูติ ทรงตรัสรู้ เสด็จดับ ขันธปรินิพพาน พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนให้มวลมนุษย์มีเมตตาธรรมและขันติ ธรรม ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เพื่อให้เกิดสันติสุขในสังคม อันเป็นแนวทางของ สหประชาชาติ จึงขอให้ท่ีประชุมรับรองข้อมติน้ี ซ่ึงเท่ากับเป็นการรับรอง ความสาคัญของพทุ ธศาสนาในองคก์ ารสหประชาชาติ โดยถือวา่ วนั ดังกลา่ วเปน็ ท่ี สานักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติและท่ีทาการสมัชชาจะจัดให้มีการระลึกถึง (observance) ตามความเหมาะสม 3. ทป่ี ระชุมฯ ไดร้ ับรองร่างข้อมตโิ ดยฉนั ทามติ ถ้อยแถลงของเอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรฯ ศรีลังกาประจาสหประชาชาติ ณ นคร นิวยอร์ก ถ้อยแถลงของนายวรวีร์ วีรสัมพันธ์ อุปทูต คณะผู้แทนถาวรไทยประจา สหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์กเหตุผลท่ี องค์การสหประชาชาติหนดให้ วันวิสาขบูชา เป็นวันสาคัญของโลก เนื่องจากคณะกรรมมาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ร่วม พิจารณาและมีมติเห็นพ้องต้องกันประกาศให้วันวิสาขบูชา ถือเป็นวันสาคัญวันหน่ึงของ โลกท้ังนี้ด้วยสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า ทรง เปน็ มหาบุรษุ ผใู้ ห้ความเมตตาตอ่ หมู่มวล มนษุ ยท์ ้งั หลายในโลก จะเห็นไดจ้ ากการยกเลิก แบ่งชนชั้นวรรณะ ซ่ึงเท่ากับเป็นการเลิกทาสโดยไม่มีการเสียเลือดเสียเน้ือ นอกจากนี้

พระองค์ยังทรงเป็นนักอนุรักษ์สัตว์ป่าอีกด้วย กล่าวคือ ทรงสอนให้ไม่ฆ่าสัตว์ ให้รู้จัก ช่วยเหลือสัตว์ เหตุผลสาคัญ อีกประการหน่ึงคือ พระองค์ ทรงเปิดโอกาสให้ทุกศาสนา สามารถเข้ามาศกึ ษาพทุ ธศาสนาเพอ่ื พิสูจนห์ าข้อเทจ็ จรงิ ได้ โดย ไมจ่ าเป็นต้องเปลี่ยนมา นบั ถอื ศาสนา พุทธและทรงสงั่ สอนทกุ คนโดยใชป้ ญั ญาธิคุณสอนโดยไมค่ ดิ คา่ ตอบแทน ประวัตคิ วำมเปน็ มำของวันวสิ ำขบชู ำในประเทศไทย วันวิสาขบูชานี้ ปรากฏตามหลักฐานว่า ได้มีมาต้ังแต่คร้ังกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี ซ่ึง สันนิษฐานว่า คงจะได้แบบอย่าง มาจากลังกา กล่าวคือ เมื่อประมาณ พ.ศ. ๔๒๐ พระ เจ้าภาติกุราช กษัตริย์แห่งกรุงลังกา ได้ประกอบพิธีวิสาขบูชาอย่าง มโหฬาร เพ่ือถวาย เป็นพุทธบูชา กษัตริย์ลังกาในรัชกาลต่อ ๆ มา ก็ทรงดาเนินรอยตาม แม้ปัจจุบันก็ยังถือ ปฏิบตั ิอยู่ สมัยสุโขทยั นัน้ ประเทศไทยกับประเทศลังกามีความสัมพันธ์ด้านพระพทุ ธศาสนาใกล้ชิด กนั มากเพราะพระสงฆช์ าวลงั กา ไดเ้ ดินทางเข้ามาเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนา และเช่อื วา่ ได้ นาการประกอบพิธีวิสาขบูชามาปฏิบตั ใิ นประเทศไทยดว้ ย ในหนังสือนางนพมาศได้กล่าวบรรยากาศการประกอบพิธีวิสาขบูชาสมัยสุโขทัยไว้ พอ สรปุ ใจความได้วา่ \" เม่ือถงึ วนั วสิ าขบชู า พระเจา้ แผน่ ดิน ขา้ ราชบรพิ าร ทงั้ ฝา่ ยหน้า และ ฝ่ายใน ตลอดทั้งประชาชนชาวสุโขทัยท่ัวทุก หมู่บ้านทุกตาบล ต่างช่วยกันทาความ

สะอาด ประดับตกแต่งพระนครสุโขทัยเป็นการพิเศษ ด้วยดอกไม้ของหอม จุดประทีป โคมไฟแลดูสว่างไสวไปท่ัวพระนคร เป็นการอุทิศบูชาพระรัตนตรัย เป็นเวลา ๓ วัน ๓ คืน พระมหากษัตริย์ และบรมวงศานุวงศ์ ก็ทรงศีล และทรงบาเพ็ญพระราชกุศลต่างๆ คร้ันตกเวลาเย็น ก็เสด็จพระราช ดาเนิน พร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และ นางสนองพระโอษฐต์ ลอดจนข้าราชการท้ังฝ่ายหน้า และฝ่ายใน ไปยงั พระ อารามหลวง เพื่อทรงเวียนเทียนรอบพระประธาน ส่วนชาวสุโขทัยชวนกันรักษาศีล ฟังธรรมเทศนา ถวายสลากภัต ถวายสังฆทาน ถวาย อาหารบิณฑบาต แด่พระภิกษุ สามเณรบริจาคทรัพย์แจกเป็นทานแก่คนยากจน คน กาพร้า คนอนาถา คนแก่ คนพิการ บางพวกก็ชวนกันสละทรัพย์ ปล่อยสัตว์ ๔ เท้า ๒ เท้า และเตา่ ปลา เพ่อื ชวี ติ สตั วใ์ หเ้ ปน็ อสิ ระ โดยเชอ่ื วา่ จะทาใหค้ นอายุ ยนื ยาวตอ่ ไป \" ในสมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ด้วยอานาจอิทธิพลของศาสนา พราหมณ์ เข้าครอบงาประชาชนคนไทย และมอี ทิ ธิพลสงู กวา่ อานาจของพระพทุ ธศาสนา จึงไม่ปรากฎหลักฐานว่า ได้มีการประกอบพิธีบูชาในวันวิสาขบูชา จนมาถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. ๒๓๖๐) ทรงดาริกับ สมเด็จพระสังฆราช (มี) สานักวัดราชบูรณะ มีพระราชประสงค์จะ ให้ฟื้นฟู การประกอบพระราชพิธีวันวิสาขบูชาขึ้นใหม่ โดย สมเด็จพระสังฆราช ถวาย พระพรให้ทรงทาข้ึน เป็นคร้ังแรกในวันขึ้น ๑๔ ค่า ๑๕ ค่า และวันแรม ๑ ค่า เดือน ๖ พ.ศ. ๒๓๖๐ และให้จัดทาตามแบบอย่างประเพณเี ดิมทุกประการ เพื่อมีพระประสงคใ์ ห้ ประชาชนประกอบการบุญการกุศล เป็นหนทางเจริญอายุ และอยูเ่ ญ็นเป็นสุขปราศจาก ทุกขโ์ ศกโรคภัย และอุปทั วันตรายตา่ งๆ โดยท่วั หนา้ กนั ฉะน้ัน การประกอบพิธีในวันวิสาขบูชาในประเทศไทย จึงได้รื้อฟื้นให้มีข้ึนอีกคร้ังหน่ึงใน รัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ และถือปฏิบัติมาจวบ จนกระทงั่ ปัจจุบัน การจัดงานเฉลิมฉลองในวันวิสาขบูชาที่ยิ่งใหญ่กว่าทุกยุคทุกสมัย คงได้แก่การจัดงาน เฉลิมฉลอง วันวิสาขบูชา พ.ศ.๒๕๐๐ ซึ่งทางราชการเรียกว่างาน \" ฉลอง ๒๕ พุทธ ศตวรรษ \" ต้ังแต่วันที่ ๑๒ ถึง ๑๘ พฤษภาคม รวม ๗ วัน ได้จัดงานส่วนใหญ่ข้ึนท่ีท้อง สนามหลวง ส่วนสถานท่ีราชการ และวัดอารามต่างๆ ประดับธงทิวและโคมไฟสว่างไสว ไปทั่วพระ ราชอาณาจักร ประชาชนถอื ศลี ๕ หรือศีล ๘ ตามศรัทธาตลอดเวลา ๗ วัน มี การอปุ สมบทพระภิกษสุ งฆ์รวม ๒,๕๐๐ รูป ประชาชน งดการฆ่าสตั ว์ และงดการด่ืมสรุ า

ต้ังแต่วันท่ี ๑๒ ถึง ๑๔ พฤษภาคม รวม ๓ วัน มีการก่อสร้าง พุทธมณฑล จัดภัตตาหาร เลี้ยงพระภิกษุสงฆ์วันละ ๒,๕๐๐ รูป ต้ังโรงทานเลี้ยงอาหารแก่ประชาชน วันละ ๒๐๐,๐๐๐ คน เป็นเวลา ๓ วัน ออกกฎหมาย สงวนสัตว์ป่าในบริเวณนั้น รวมถึงการฆา่ สัตว์ และจับสตั วใ์ นบรเิ วณวดั และหนา้ วดั ด้วย และไดม้ ีการปฏิบัตธิ รรมอันยง่ิ ใหญ่ อยา่ ง พรอ้ มเพรยี งกนั เป็นกรณพี ิเศษ ในวนั วิสาขบชู าปีน้นั ด้วย หลักธรรมสำคญั ทค่ี วรนำมำปฏบิ ตั ิ ๑. ความกตัญญู คือความรู้อุปการคณุ ท่ีมีผ้ทู าไว่ก่อน เป็นคุณธรรมคู่กับความกตเวที คือ การตอบแทนอุปการคณุ ทผ่ี ู้อ่ืนทาไวน้ ัน้  บิดามารดา มีอุปการคุณแก่ลูก ในฐานะผู้ให้กาเนิดและเลี้ยงดูจนเติบโต ให้ การศึกษาอบรมส่ังสอน ใหเ้ ว้นจากความชัว่ มน่ั คงในการทาความดี เม่ือถงึ คราวมี คคู่ รองได้จดั หาคคู่ รองทเ่ี หมาะสมให้ และมอบทรัพยส์ มบตั ิให้ไวเ้ ป็นมรดก  ลูกเม่ือร้อู ปุ การะคณุ ทบี่ ดิ ามารดาทาไว้ ย่อมตอบแทนด้วยการประพฤติตัวดี สร้าง ช่ือเสียงให้ แก่วงศ์ตระกูล เล้ียงดูท่าน และช่วยทางานของ ท่าน และเม่ือท่าน ลว่ งลบั ไปแลว้ กท็ าบุญอทุ ิศส่วนกศุ ลใหท้ า่ น  ครูอาจารย์มอี ปุ การคณุ แกศ่ ษิ ย์ ในฐานะเป็นผปู้ ระสาทความรใู้ ห้ ฝกึ ฝนแนะนาให้ เป็นคนดี สอนศิลปวิทยาให้อย่างไม่ปิดบังยกย่องให้ปรากฎแก่คนอ่ืน และช่วย คุ้มครองให้ศิษย์ท้ังหลาย  ศิษย์เม่ือรู้อุปการคุณที่ครูอาจารย์ทาไว้ ย่อมตอบแทนด้วยการตั้งใจเรียน ให้ เกยี รติ และใหค้ วามเคารพไมล่ ว่ งละเมิดโอวาทของครู  ความกตัญญูและความกตเวทีน้ี ถือว่าเป็นเคร่ืองหมายของคนดี ส่งผลให้ครอบ ครัว และสังคมมีความสุขได้เพราะ บิดามารดาจะรู้จักหน้าท่ีของตนเอง ด้วยการ ทาอุปการคณุ ให้ก่อน และลกู ก็จะรูจ้ กั หน้าที่ของตนเองดว้ ยการทาดตี อบแทน  นอกจากบิดากับลูก และครูอาจารย์กับศษิ ย์แล้ว คุณธรรมข้อน้ีก็สามารถนาไปใช้ ได้แมร้ ะหว่าง นายจา้ งกบั ลกู จ้าง อันจะส่งผลให้สงั คมอยู่รว่ มกันได้อยา่ งสงบสุข  ในทางพระพุทธศาสนาพระพุทธเจ้า ทรงเป็นบุพการรีในฐานะที่ทรงสถาปนา พระพทุ ธศาสนา และทรงสอนทางพน้ ทุกข์ให้แกเ่ วไนยสตั ว์

 พทุ ธศาสนิกชน รู้พระคุณอันน้ีจึงตอบแทนดว้ ยอามิสบูชาและปฎิบตั ิบูชากล่าวคือ การจัดกิจกรรม ในวันวิสาขบูชา เป็นส่วนหน่ึงที่ชาวพุทธแสดงออก ซึ่งความ กตัญญูกตเวที ต่อพระองค์ด้วยการทานุ บารุงส่งเสริมพระพุทธศาสนา และ ประพฤติปฎิบตั ิธรรม เพ่ือดารงอายพุ ระพทุ ธศาสนาสืบไป ๒. อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔ คือ ความจริงอันประเสริฐ หมายถึงความจริงของชีวิตทีไ่ ม่ผันแปร เกิดมีได้แก่ ทุกคน มี ๔ ประการ คอื  ทกุ ข์ ได้แก่ปัญหาของชีวติ พระพทุ ธเจ้าทรงแสดงไว้ กเ็ พอ่ื ให้ทราบวา่ มนุษยท์ กุ คน มีทุกข์เหมือนกัน ท้ังทุกข์ขั้นพ้ืนฐาน และทุกข์เก่ียวกับการดาเนินชีวิตประจาวัน ทุกข์ข้ันพ้ืนฐานคือทุกข์ที่เกิดจาก การเกิด การแก่ และการตาย ส่วนทุกข์ท่ี เก่ียวกับการดาเนินชีวิตประจาวัน คือทุกข์ท่ีเกิด จากการพลัดพรากจากส่ิงท่ีรัก ทุกข์ที่เกิดจากการประสบกันส่ิงที่ไม่เป็นท่ีรัก ทุกข์ที่เกิดจากไม่ได้ตั้งใจปรารถนา รวมทั้งทุกขท์ เี่ กยี่ วกับการดาเนนิ ชวี ิตดา้ นตา่ งๆ อาทิความ ยากจน  สมุทัย คือ เหตุแห่งปัญหาพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ก็เพอ่ื ให้ทราบว่า ทุกข์ท้ังหมด ซึ่งเป็นปญั หา ของชีวติ ลว้ นมเี หตุให้เกดิ เหตนุ ้ัน คอื ตญั หา อันไดแ้ ก่ความอยากได้ ต่างๆ ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยความยึดมัน่  นิโรธ คือ การแก้ปัญหาได้ พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ก็เพ่ือให้ทราบว่า ทุกข์คือ ปัญหาของชีวิต ทั้งหมดที่สามารถแก้ไข ได้นั้นต้องแก้ไขตามทางหรือวิธีแก้ ๘ ประการ ( ดมู ชั ฌมิ าปฎิปทา )  มรรค การปฏิบัติเพื่อจากัดทุกข์ เพื่อหลุดพ้นจากทุกข์ การปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา เพ่ือบรรลเุ ป้าหมายการแกป้ ญั หาที่ต้องการ ๓. ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทคอื การมีสติเสมอทง้ั ขณะทาขณะพูด และขณะคิด สติคือการระลกึ ได้ ในภาคปฎิบัตเิ พ่อื นา มาใช้ในชีวติ ประจาวนั หมายถงึ การระลกึ รูท้ ันการเคลื่อนไหว ของ อริยาบท ๔ คือ เดิน ยืน นั่ง นอน การฝึกให้เกดิ สตทิ าไดโ้ ดยตง้ั สติกาหนดการเคล่ือนไหว ของอริยาบท กล่าวคือ ระลึกทันท้ังในขณะ ยืน เดิน น่ัง และนอน รวมทั้ง ระลึกรู้ทัน ในขณะพูดคิด และขณะทางานตา่ งๆ เม่ือทาไดอ้ ย่างนก้ี ็ชือ่ ว่า มีความไมป่ ระมาท

การทางานต่างๆ สาเร็จได้ก็ด้วยความไม่ประมาท กล่าวคือผู้ทาย่อมต้องมีสติระลึกรู้อยู่ ว่า ตนเองเป็นใครมีหน้าที่อะไร และกาลังทาอย่างไร หากมีสติระลึกรู้ได้อย่างน้ัน ก็ย่อม ไม่ผดิ พลาด ที่มา : https://www.rpk.ac.th/index.php/component/k2/item/55-2019-05- 09-13-21-03


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook