Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore UGG_Thai (พิมพ์ครั้งที่ 3)

UGG_Thai (พิมพ์ครั้งที่ 3)

Published by Thalanglibrary, 2020-04-06 03:53:20

Description: UGG_Thai (พิมพ์ครั้งที่ 3)

Search

Read the Text Version

United Nations UNESCO Educational, Scientific and Global Geoparks Cultural Organization อทุ ยานธรณีโลกของยูเนสโก GUNeESoCpOaGrlokbasl Celebrating Earth Heritage, Sustaining local Communities

“อทุ ยานธรณโี ลกของยูเนสโกเป็นสมบตั ินานาชาติ ไมเ่ พียงแต่ความน่าสนใจทางธรณีวิทยาของแหลง่ แต่ความกระตอื รือรน้ และทุ่มเทเสยี สละของคนต่อสเู้ พื่อป้องกนั รักษาที่ตอ้ งทางานอย่างหนกั ในการบารุงรกั ษา ดแู ลอทุ ยานธรณโี ลกเหล่านเี้ อาไว้ และทาใหม้ ันเปน็ แหล่งท่ีให้โอกาสอยา่ งสูงทางการศกึ ษาและทางเศรษฐกจิ แหลง่ เหล่านแ้ี สดงใหเ้ ห็นถึงการทางานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพของชุมชนท้องถน่ิ อย่างมาก ในพ้ืนท่บี างแห่งที่อยู่ไกลความเจริญและสวยงามอย่างมากของโลกเราเอาไว้” Dr. Beth Taylor, Director Natural Sciences, UK National Commission for UNESCO พมิ พ์ครั้งที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 จานวน 100 เลม่ พมิ พค์ ร้ังท่ี 2 แปลโดย กองอนุรักษ์และจัดการทรพั ยากรธรณี กรมทรัพยากรธรณี พิมพ์ครงั้ ท่ี 3 จากเอกสาร “UNESCO Global Geoparks”, Published in 2016 by the United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization 7, place de Fontenoy, 7532 Paris 07 SP, France. ภายใตค้ วามเห็นจาก Dr.Patrick J. McKeever, Chief of Section Earth Sciences and Geo-Hazards Risk Reduction Section, UNESCO, 27 March 2017 มีนาคม พ.ศ. 2561 จานวน 500 เลม่ ปรบั ปรงุ โดย สานักธรณวี ทิ ยา กรมทรัพยากรธรณี ตลุ าคม พ.ศ. 2561 จานวน 500 เลม่ ปรบั ปรุงโดย กองธรณวี ิทยา กรมทรัพยากรธรณี

อุทยานธรณโี ลกของยเู นสโก (UNESCO Global Geoparks) อุทยานธรณีโลกของยูเนสโก คือ พื้นที่ที่รวมแหล่งและสภาพภูมิประเทศท่ีมีความสาคัญทาง ธรณวี ิทยาในระดับนานาชาติ โดยพื้นท่ีเหล่าน้ีได้รับการบรหิ ารจัดการแบบองค์รวม ซ่ึงประกอบด้วย การอนุรกั ษ์ การใหก้ ารศกึ ษา และการพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกอาศัยคุณค่าของมรดกทางธรณีวิทยา (Geological Heritage) ร่วมกับคุณค่าของมรดกทางธรรมชาติวิทยา และคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมในพ้ืนที่ ในการเสริมสร้างให้ เกิดความตระหนักรู้และความเข้าใจให้มากข้ึนในประเด็นสาคัญที่เกิดข้ึนในสังคม เช่น การใช้ทรัพยากรในโลก อย่างยั่งยืน การบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลก และการลดผลกระทบจากพิบัติภัย ธรรมชาติ เพื่อยกระดับความตระหนักรู้ของประชาชนให้เห็นความสาคัญของมรดกทางธรณีวิทยาตั้งแต่สังคม อดีตจนถึงปัจจุบัน อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกทาให้ชุมชนท้องถิ่นมีความภาคภูมิใจในท้องถิ่นตนเอง และ ทาให้มีเอกลักษณ์ของชุมชนท้องถิ่นกับพ้ืนที่อุทยานธรณีมีความเข้มแข็งย่ิงขึ้น การสร้างวิสาหกิจชุมชนโดยมี นวตั กรรมใหม่ การสรา้ งงานใหม่ และการสรา้ งหลกั สูตรการอบรมท่ีมีคณุ ภาพสูงจะถูกสนับสนุนและผลกั ดันจน กลายเป็นแหลง่ รายได้ใหม่ของชมุ ชนผ่านการท่องเทยี่ วทางธรณีวิทยา ในขณะเดียวกันทรัพยากรทางธรณวี ิทยา กไ็ ด้รบั การปกป้องและอนรุ กั ษ์ไปพร้อมกนั แนวคิด “จากล่างสบู่ น” (a bottom up approach) อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกเสริมสร้างอานาจและให้โอกาสกับชุมชนท้องถ่ินในการพัฒนา และสร้างเครือข่าย เพื่อให้มีเป้าหมายร่วมกันในการส่งเสริมและพัฒนาพ้ืนที่อุทยานธรณีโลกของยูเนสโก โดย อาศัยความสวยงาม ความโดดเด่นทางธรณีวิทยา ทัง้ ด้านกระบวนการเกิด ลกั ษณะธรณีวิทยา ช่วงเวลาการเกิด ประวตั ิทเี่ ช่อื มโยงกับธรณวี ทิ ยา และความโดดเด่นของสภาพธรณวี ิทยาทส่ี วยงาม อทุ ยานธรณีโลก ตั้งข้ึนโดยใช้กระบวนการ “จากลา่ งสู่บน” ซึ่งเกี่ยวข้องกับผูม้ ีสว่ นได้สว่ นเสีย และหน่วยงานในท้องถิ่นและภูมิภาคทั้งหมด (เช่น เจ้าของที่ดิน กลุ่มชุมชน ผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยว ชนพ้ืนเมือง องค์กรท้องถิ่น) กระบวนการเหล่าน้ีต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจังของชุมชนท้องถ่ิน ความเข้มแข็งของพันธมิตรจากหลายภาคส่วนในท้องถิ่นและการสนับสนุนของประชาชนและนักการเมืองใน ระยะยาว และมีการพัฒนายุทธศาสตร์อย่างจริงจัง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของชุมชน ในขณะเดียวกันก็เป็น การใชป้ ระโยชน์และการอนุรกั ษม์ รดกทางธรณีวิทยาอีกดว้ ย อทุ ยานธรณโี ลกของยเู นสโกเกีย่ วข้องเฉพาะธรณีวิทยาอยา่ งเดียวหรอื ไม่ ? นอกจากอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกจะต้องมแี หล่งมรดกทางธรณวี ิทยาทสี่ าคัญระดบั นานาชาติ แล้ว อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกยังรวมไปถึงการศึกษาและพัฒนาความเช่ือมโยงด้านมรดกทางธรณีวิทยากับ ดา้ นอน่ื ๆ เช่น ธรรมชาติวิทยา วัฒนธรรม และมรดกด้านอื่นๆ ท่ีจับตอ้ งไมไ่ ด้ อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกเป็น การทาให้สังคมทุกระดับของมนุษย์มีความเช่ือมโยงกับโลกของเราที่เรียกว่า “บ้าน” อีกครั้ง และทาให้รู้ว่า โลกท่ีมีประวัติศาสตร์อันยาวนานถึง 4,600 ล้านปี มีผลต่อการเป็นอยู่ของมนุษย์และสังคมมนุษย์ในทุกด้าน อย่างไร ดังนั้นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกไม่ได้เกย่ี วขอ้ งเฉพาะธรณวี ทิ ยาอยา่ งเดยี ว

-2- มสี ถานะทางกฎหมายถูกผูกตดิ กบั การเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกหรอื ไม่ อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกไม่มีความผูกพันในทางกฎหมาย แต่แหล่งมรดกทางธรณีวิทยาท่ี อยู่ในเขตอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกจะได้รับความคุ้มครองจากกฎหมายของประเทศ ท้องถ่ิน ภูมิภาค หรือ ชนพ้ืนเมืองที่มีอยู่แล้วตามความเหมาะสม บทบัญญัติของอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกไมไ่ ด้มีข้อบังคับเก่ียวกับ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของชุมชนที่เกิดขึ้นในอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก แต่กิจกรรมต่างๆ ที่เกิดข้ึนน้ี ต้อง เปน็ ไปตามกฎหมายที่มีอยขู่ องประเทศ ทอ้ งถนิ่ ภมู ิภาค หรอื ชนพนื้ เมอื งของประเทศน้นั ๆ เม่ือได้เปน็ อุทยานธรณโี ลกของยูเนสโกแล้ว จะเปน็ ตลอดไปหรอื ไม่ ? อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกเมื่อตั้งแล้ว จะเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกระยะเวลา 4 ปี และจะต้องมีการประเมินอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกใหมห่ รือเรียกว่า revalidation เพอื่ ตรวจสอบคุณสมบัติ และคุณภาพ ซ่ึงอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกจะต้องเตรียมรายงานความก้าวหน้าและยูเนสโกจะส่งผู้เช่ียวชาญ จานวน 2 คน เพ่ือประเมินคุณภาพอุทยานธรณีโลกของยเู นสโกในภาคสนาม ถ้าผ่านการประเมินตามหลักเกณฑ์ จะเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกต่ออีก 4 ปี (บัตรเขียว) ถ้าไม่ผ่านการประเมินตามหลักเกณฑ์ หน่วยงานท่ี ทาหนา้ ที่บริหารอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกจะต้องดาเนินการปรับปรุงแก้ไขตามข้ันตอนท่ีไดร้ ับแจ้งภายใน 2 ปี (บัตรเหลือง) และหากอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกไม่สามารถดาเนินการปรับปรุงแก้ไขหลังจากได้รับบัตรเหลือง แล้วตามท่ีแจ้งภายใน 2 ปี จะถกู ถอดถอนจากการเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกต่อไป (ใบแดง) อุทยานธรณีโลกของยเู นสโก (UNESCO Global Geoparks) พืน้ ท่สี งวนชีวมณฑล (Biosphere Reserve) และแหลง่ มรดกโลก (World Heritage Site) : การต่อภาพทีส่ มบูรณ์ อุทยานธรณีโลกของยเู นสโก เม่ือรวมกับพ้ืนที่สงวนชวี มณฑลและแหล่งมรดกโลกของยูเนสโก แล้ว จะทาให้ภาพการดูแลมรดกของโลกมคี วามสมบรู ณ์มากขึน้ เป็นการอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ของโลก ชีววทิ ยา และธรณีวทิ ยา รวมไปถึงการสง่ เสริมการพัฒนาเศรษฐกจิ อย่างยัง่ ยนื ขณะท่ีพ้นื ทีส่ งวนชีวมณฑล เน้นเฉพาะการบริหารจัดการแบบกลมกลืนของความหลากหลายทางชีววิทยาและวัฒนธรรมเท่าน้นั ส่วนแหล่ง มรดกโลกเน้นเป็นการส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์แหล่งธรรมชาติและวัฒนธรรมท่ีมคี ุณค่าโดดเดน่ ของโลก อุทยานธรณี โลกของยูเนสโกทาให้เกิดความตระหนักรู้ถึงแหล่งต่างๆ ที่สาคัญและโดดเด่นระดับนานาชาติ ส่งเสริมให้ มกี ารอนุรักษค์ วามหลากหลายทางธรณีวทิ ยาของโลก โดยมีชมุ ชนท้องถ่ินเข้ามามีสว่ นร่วมอย่างจริงจงั และตอ่ เนอ่ื ง ในกรณีพ้ืนท่ีท่ียื่นเจตจานงเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกอยู่ในพื้นท่ีเดียวกับแหล่งมรดกโลกหรือพื้นท่ีสงวน ชีวมณฑลต้องมีเหตุผลและหลักฐานชัดเจนท่ีแสดงให้เห็นว่าการเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกเป็นการเสริม หรอื ทาใหค้ ณุ ค่าของพืน้ ทส่ี งวนชวี มณฑลและแหล่งมรดกโลกบรเิ วณนนั้ เพม่ิ สูงข้ึน สิง่ สาคญั ของอุทยานธรณโี ลกของยเู นสโก 4 ประการ ประกอบด้วย มรดกทางธรณีวิทยาท่ีมีคุณค่าระดับนานาชาติ การบรหิ ารจัดการ การรับรู้ของ ประชาชน และเครอื ข่าย  มรดกทางธรณีวิทยาที่มีคณุ คา่ ระดบั นานาชาติ (Geological heritage of international value) ในการเปน็ อทุ ยานธรณีโลกของยเู นสโกจะต้องมีมรดกทางธรณีวทิ ยาที่มคี ุณคา่ ในระดับนานาชาติ ซ่ึงประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตร์ท่ีเป็นส่วนหน่ึงของคณะประเมินจากยูเนสโก (UNESCO Global

-3- Geoparks Evaluation Team) โดยอาศัยการเห็นชอบร่วมกันของนักธรณีวิทยา (international peer reviewed) มีผลงานวิชาการท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ท่ีศึกษาในแหล่งธรณีวิทยาบริเวณเขตอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก ซง่ึ ผู้เชี่ยวชาญทางวิทยาศาสตร์จะทาการประเมินโดยเปรียบเทียบกับแหล่งธรณีวิทยาอื่นๆ ทั่วโลก เพื่อพิจารณา วา่ แหลง่ ธรณีวิทยาเหล่านม้ี ีคุณคา่ ในระดบั นานาชาติหรอื ไม่  การบริหารจัดการ (Management) อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกจะต้องบริหารโดยองค์กรท่ีถูกต้องตามกฎหมายของประเทศ องค์กรดังกล่าวควรมีอานาจหน้าที่ที่เหมาะสมในการดูแลทั้งพื้นทอี่ ทุ ยานธรณโี ลกของยเู นสโก โดยมีองค์ประกอบ ของผปู้ ฏิบัติ และหน่วยงานในทอ้ งถ่ินและภูมภิ าคท่เี กี่ยวข้อง อทุ ยานธรณีโลกของยเู นสโกต้องมแี ผนบริหารจดั การ ที่ได้รับการยอมรับและเห็นชอบจากทุกภาคส่วน แผนดังกล่าวจะต้องตรงกับความต้องการทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมของประชาชนในท้องถ่ิน มีการคุ้มครองสภาพภูมิประเทศท่ีพวกเขาอาศัยอยู่ และมีการอนุรักษ์ วัฒนธรรมของพวกเขาเหล่าน้ันด้วย แผนดังกล่าวยังต้องครอบคลุมและรวบรวมทั้งด้านการบริหาร การพัฒนา การสือ่ สาร การคุ้มครองอนรุ ักษ์ โครงสร้างพื้นฐาน การเงนิ และห้นุ สว่ นของอทุ ยานธรณีโลก  การรบั รูข้ องประชาชน (Visibility) อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกส่งเสริมการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่ย่ังยืนของท้องถิ่นผ่าน การท่องเที่ยวทางธรณีวิทยาเป็นหลัก เพื่อกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวทางธรณีวิทยาในพื้นท่ีอุทยานธรณีโลก ของยูเนสโก ดังนั้น จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกต้องมีการรับรู้ของประชาชน ทั้งน้ี นักท่องเที่ยวตลอดจนประชาชนในท้องถิ่นสามารถหาข้อมูลที่เกี่ยวกับอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกได้ เช่น แสดงข้อมูลในเว็บไซต์ แผ่นพับ แผนท่ีที่แสดงรายละเอียดของอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกกับแหล่งธรณีวิทยา และแหล่งอ่ืนๆ ทัง้ น้ี อทุ ยานธรณีโลกของยูเนสโกควรตอ้ งมีการรว่ มมอื กนั อย่างชดั เจน  เครอื ข่าย (Networking) อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกไม่ได้มีเฉพาะความร่วมมือของชุมชนท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ เท่าน้ัน แต่ยังรวมไปถึงความร่วมมือกับอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกแห่งอ่ืนๆ ผ่านเครือข่ายอุทยานธรณีโลก (GGN : Global Geoparks Network) และเครือข่ายอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกในภูมิภาค เพ่ือเรียนรู้ซ่ึงกัน และกัน และทาให้เกิดการพฒั นาคุณภาพของอทุ ยานธรณีโลกของยูเนสโก การทางานร่วมกับพนั ธมติ รนานาชาติ สามารถอาศัยเครือข่ายอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก และการเป็นสมาชิกของ GGN เป็นหน้าท่ีของอุทยานธรณี โลกของยูเนสโกที่จะต้องเข้าร่วม ซึ่งจะทางานร่วมกันอย่างไร้พรมแดน อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกจะทางาน เพ่อื เพม่ิ ความเข้าใจในกลุม่ ชุมชนต่างๆ และยังช่วยใหเ้ กดิ กระบวนการสร้างความสนั ติสขุ อกี ดว้ ย

-4- เครอื ขา่ ยอุทยานธรณโี ลก (GGN : Global Geoparks Network) เป็นองค์กรทางกฎหมายที่ตั้งข้ึนโดยไม่หวังผลกาไร ซึ่งอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกต้องเข้าร่วมและ จา่ ยค่าสมาชกิ รายปี เครอื ขา่ ยอทุ ยานธรณโี ลกตั้งขน้ึ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2547 สมาชกิ จะต้องทางานร่วมกัน แลกเปล่ียนความคดิ เห็น ในการปฏิบัติท่ีดีท่ีสุด (best practise) และเข้าร่วมโครงการต่างๆ ร่วมกัน เพ่ือยกคุณภาพมาตรฐานของภารกิจและ แนวทางปฏบิ ตั ขิ องอทุ ยานธรณีโลกของยเู นสโก สมาชิกจะมาพบกนั ทกุ ๆ 2 ปี โดยทางานผา่ นแนวทางปฏิบตั ิของเครือขา่ ย ภูมิภาค เชน่ European Geoparks Network ซงึ่ จะพบกันปีละ 2 ครง้ั เพ่ือพัฒนาและสง่ เสรมิ กจิ กรรมท่ที ารว่ มกนั อทุ ยานธรณีโลกของยเู นสโกที่มีขอบเขตข้ามประเทศ (Transnational UNESCO Global Geoparks) ในหลายๆ กรณี ขอบเขตทางธรณีวิทยาถูกกาหนดโดยแม่น้า แนวสันเขา มหาสมุทร และทะเลทราย ไม่ได้แบ่งตามขอบเขตท่ีมนุษย์กาหนดขน้ึ อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกก็เช่นกนั ไม่ได้กาหนดตามขอบเขตที่มนุษย์สร้างไว้ ดังน้ันอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกบางแห่งจึงข้ามขอบเขตของเส้นแบ่งเขตแดนประเทศ ทาให้เกิดความเชื่อมโยงของ ประชาชนในประเทศทีต่ ่างกนั ก่อให้เกิดความร่วมมอื และความสัมพนั ธอ์ ันดรี ะหวา่ งประเทศ อีกทงั้ เปน็ การสรา้ งสนั ติภาพ อีกด้วย ในปี พ.ศ. 2551 Marble Arc Caves UNESCO Global Geopark ขยายขอบเขตออกไปจากไอร์แลนด์เหนือ (Northern Ireland) ไปยังประเทศไอร์แลนด์ (Republic of Ireland) เป็นอุทยานธรณีโลกแห่งแรกท่ีมีขอบเขตข้าม ประเทศ นอกจากน้ีอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกดังกล่าวยังตั้งอยู่บนพื้นที่ท่ีเคยมีความขัดแย้งกันในอดีต จึงถือว่าเป็น ต้นแบบของอุทยานธรณีโลกในการสร้างสันติภาพและความสามัคคีของชุมชน ท้ังน้ียูเนสโกสนับสนุนให้เกิดอุทยานธรณี โลกของยเู นสโกทม่ี ีขอบเขตขา้ มประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในภูมิภาคท่ียงั ไมม่ อี ุทยานธรณโี ลก ตัวอย่างอทุ ยานธรณีโลกของยูเนสโกท่ีมีขอบเขตขา้ มประเทศ - Marble Arc Caves UNESCO Global Geopark ครอบคลุมพ้ืนท่ีของประเทศไอร์แลนด์ (Republic of Ireland) และสหราชอาณาจักรบริเตนใหญแ่ ละไอรแ์ ลนด์เหนือ (the United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) - Novohrad UNESCO Global Geopark ครอบคลุมพ้ืนท่ีของประเทศฮังการี (Hungary) และ ประเทศสโลวาเกีย (Slovakia) - Muskau Arch UNESCO Global Geopark ครอบคลุมพื้นที่ของประเทศเยอรมนี (Germany) และประเทศโปแลนด์ (Poland) - Karawanken / Karavanke UNESCO Global Geopark ครอบคลุมพื้นท่ีของประเทศออสเตรีย (Austria) และประเทศสโลวาเกีย (Slovakia)

-5- 10 ประการสาคัญในอทุ ยานธรณโี ลกของยเู นสโก (UNESCO Global Geoparks) ทรพั ยากรธรรมชาติ ธรณีพบิ ัติภัย การเปลยี่ นแปลงสภาพอากาศ การศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วฒั นธรรม สภุ าพสตรี การพฒั นาอย่างยั่งยนื ภูมิปัญญาของชนพ้ืนเมอื งและชุมชนทอ้ งถ่ิน การอนรุ ักษ์ธรณีวิทยา  ทรัพยากรธรรมชาติ ความเจริญรุ่งเรืองของมนุษย์เกิดขึ้นจากการนาทรัพยากรธรรมชาติจากเปลือกโลกมาใช้เป็น พ้ืนฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทรัพยากรธรรมชาติดังกล่าวประกอบด้วย แร่ น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ ธาตุหายาก พลังงานความร้อนใต้พิภพ อากาศ และน้า การใช้ทรัพยากรธรรมชาติเหล่าน้ีอย่างย่ังยืนเป็น สิ่งจาเป็นเพ่ือความเป็นอยู่ท่ีดีของสังคมในอนาคต ธาตุทพ่ี บบนโลกมีตน้ กาเนิดจากธรณวี ิทยาและกระบวนการ ทางธรณีวิทยาซึ่งเป็นส่ิงที่ใช้แล้วหมดไปและต้องมีการใช้ประโยชน์อย่างชาญฉลาด อุทยานธรณีโลกของ ยูเนสโกทาให้ประชาชนทราบถึงความต้องการและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ท้ังการทาเหมืองแร่ การทาเหมืองหิน หรือการใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อม ในขณะเดียวกันก็เป็นการสนับสนุนให้ใส่ใจ ส่ิงแวดลอ้ มและความสมบรู ณข์ องภูมิประเทศด้วย  ธรณพี ิบัติภัย อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกหลายแห่งส่งเสริมให้เกิดความตระหนักถึงธรณีพิบัติภัย ได้แก่ การเกิดภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว และสึนามิ และยังช่วยทาให้เกิดการเตรียมยุทธศาสตร์การรับมือภัยพิบัติ ในชุมชนท้องถ่ิน จากการทากิจกรรมที่ให้ความรู้แก่ประชาชนท้องถิ่นและนักท่องเท่ียว อุทยานธรณีโลกของ ยูเนสโกหลายแห่งสามารถให้ข้อมูลเก่ียวกับต้นกาเนิดการเกิดธรณีพิบัติภัยและแนวทางการลดผลกระทบ รวมทั้งยุทธศาสตร์รองรับพิบัติภัย สิ่งเหล่านี้ช่วยเสริมสร้างขีดความสามารถและการเตรียมความพร้อม แก่ชุมชนให้มีความรูแ้ ละทกั ษะในการตอบสนองกับธรณพี ิบัติภัยท่ีอาจจะเกดิ ขน้ึ ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ  การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกเป็นแหล่งบันทึกการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอดีต และ เป็นแหล่งศึกษาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศในปัจจุบัน รวมถึงการยอมรับแนวทางการปฏิบัติที่ดีท่ีสุด ในการใช้พลังงานประเภทที่เกิดขึ้นใหม่ได้ และการใช้มาตรฐานท่ีดีท่ีสุดของ “การท่องเท่ียวสีเขียว (Green tourism)” อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกบางแห่งส่งเสริมการเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมในท้องถ่ินผ่านโครงการ นวัตกรรมต่างๆ บางแห่งเสมือนเป็นพิพิธภัณฑ์กลางแจ้งโดยให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบการเปล่ียนแปลง สภาพทางภูมิอากาศในปัจจุบัน ถือเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าชมได้ทราบว่าการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ

-6- นั้นส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมของเราอย่างไร กิจกรรมและโครงการของชุมชนและสถาบันการศึกษา มีความสาคัญอย่างยิ่งในการเพิ่มความตระหนักถึงผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีอาจเกิดข้ึนใน ภูมิภาค อีกทั้งเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการบรรเทาและการปรับตัวกับผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศแกช่ ุมชนท้องถิ่นดว้ ย  การศกึ ษา อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกมีความจาเป็นอย่างย่ิงในการพัฒนาและดาเนินกิจกรรมทาง การศึกษาให้แก่ประชาชนทุกวัย เพ่ือเผยแพร่ความตระหนักรู้เก่ียวกับมรดกทางธรณีวิทยา และความเชื่อมโยง ของมรดกทางธรณีวิทยากับดา้ นอ่ืนๆ เช่น มรดกทางธรรมชาติ มรดกทางวัฒนธรรม และมรดกท่ีแตะต้องไม่ได้ ของโลก อทุ ยานธรณีโลกของยูเนสโกตอ้ งจัดกจิ กรรมการสอนหรือกิจกรรมพเิ ศษสาหรบั เยาวชน อาทิ คา่ ยเยาวชน (Kids Clubs) หรือวันสนุกสุขสันต์กับซากดึกดาบรรพ์ (Fossil Fun Days) นอกจากนี้ อุทยานธรณีโลกของ ยูเนสโกยังต้องใหค้ วามรู้แก่บคุ คลท่ัวไปและผู้สูงวัยท่ีเกษียณอายุแล้ว ทั้งในรูปแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ อกี ทั้งมกี ารฝกึ อบรมให้แก่ประชาชนในท้องถน่ิ เพ่ือสามารถนาความรู้ไปเผยแพร่แกผ่ อู้ ่นื ต่อไป  วิทยาศาสตร์ อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกเปน็ พ้ืนที่ท่มี ีแหล่งมรดกทางธรณีวิทยาหรอื ความหลากหลายทาง ธรณีวิทยาที่มีความสาคัญระดับนานาชาติ ดังน้ันจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่อุทยานธรณีโลกจะต้องได้รับ การสนับสนุนให้มีการทางานร่วมกับสถาบันทางวิชาการในการศึกษาและวิ จัยเก่ียวกับวิทยาศาสตร์โลกและ สาขาอื่นๆ เพื่อพฒั นาความรู้เกี่ยวกับโลกและกระบวนการเกิดโลก อุทยานธรณโี ลกของยูเนสโกไม่ใช่พพิ ิธภัณฑ์ แต่เป็นห้องปฏบิ ตั ิการที่สร้างความร่วมมือทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์จากงานวจิ ยั ทางวชิ าการระดับสูงลงมาส่ผู ู้เยี่ยมชม ท่ีให้ความสนใจท่ัวไป ประการหน่ึงท่ีต้องพึงระวัง คือ หลีกเล่ียงการใช้ภาษาวิชาการทางด้านวิทยาศาสตร์ใน แผน่ ป้าย สญั ลักษณ์ แผ่นพบั แผนที่ และหนงั สอื ทจี่ ดั ทาข้ึนเพือ่ เผยแพร่ใหก้ ับบคุ คลท่วั ไป  วฒั นธรรม คาขวัญของอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก คือ “ร่วมอนุรกั ษ์มรดกโลก ร่วมรักษาชุมชนท้องถ่ิน ให้ยั่งยืน” อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกมีพ้ืนฐานที่เกี่ยวข้องกับประชาชนและความเช่ือมโยงระหว่างชุมชนกับ โลก โลกถือเป็นตัวกาหนดวิถีชีวิตของมนุษย์ เช่น การทาเกษตรกรรม วัสดุก่อสร้าง และวิธีการสร้างบ้านของ มนุษย์ รวมทั้งตานาน ความเช่ือ และขนบทาเนียมประเพณีพื้นบ้านต่างๆ ดังนั้น อุทยานธรณีโลกของยูเนสโก จึงเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องและเช่ือมโยงกิจกรรมเหล่านี้ อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกหลายแห่งมีความเช่ือมโยง อย่างลึกซึง้ กบั ศลิ ปะชมุ ชน ซงึ่ เมื่อนาศิลปะและวิทยาศาสตร์มาผสมผสานกันจะได้ผลลพั ธ์ที่ดีเย่ียม  สภุ าพสตรี อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกให้ความสาคญั กบั บทบาทของสตรี โดยมีชอ่ งทางการจัดหลักสูตร ทางการศึกษาหรือกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของสุภาพสตรี อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกถือเป็นช่องทางหน่ึงใน การพฒั นา สนบั สนุน และส่งเสริมผลติ ภัณฑ์จากอุตสาหกรรมครัวเรอื นและผลิตภัณฑศ์ ิลปหตั ถกรรมของท้องถ่ิน กลุ่มสหกรณ์สตรีในอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกบางแห่งเปิดโอกาสให้สตรีเพ่ิมร ายได้ให้กับตนเองและชุมชน เช่น การบริการด้านท่ีพกั ใหแ้ ก่นักท่องเที่ยว

-7-  การพัฒนาอยา่ งย่ังยนื แม้วา่ พื้นท่ีจะมีมรดกทางธรณีวทิ ยาที่โดดเด่น มคี ุณค่า และมีชอื่ เสียงระดบั โลกอย่างมากกต็ าม พ้ืนทน่ี นั้ ก็ไมส่ ามารถเปน็ อทุ ยานธรณโี ลกของยเู นสโกได้ หากไม่มแี ผนพฒั นาและบริหารจัดการอยา่ งยงั่ ยืนสาหรบั ชมุ ชนท้องถ่ินในบริเวณนนั้ ทั้งนี้อาจดาเนินการในรูปแบบของการท่องเท่ียวอย่างย่ังยนื เชน่ การพฒั นาเส้นทาง เดินหรือเสน้ ทางปน่ั จักรยาน การฝึกอบรมบุคลากรในท้องถิ่นเพื่อเปน็ มัคคุเทศก์ การส่งเสริมด้านการท่องเที่ยว และส่ิงอานวยความสะดวกต่างๆ เกี่ยวกับการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ตามหลักปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ตามมาตรฐานสากล ท้ังนี้สามารถให้ความร่วมมือกับชุมชนท้องถ่ินและเคารพวิถีชีวิตด้ังเดิมโดยให้อานาจและ เคารพในเกียรติและสิทธิมนุษยชนของพวกเขา หากอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกไม่ได้รับการสนับสนุนจาก ประชาชนในท้องถ่ินก็จะไม่ประสบผลสาเร็จ อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกไม่ได้กาหนดเงื่อนไขหรือข้อบังคับใน การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในบริเวณอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก แต่ให้ปฏิบตั ิตามกฎหมายของประเทศ ภมู ภิ าค ทอ้ งถ่ิน หรือชนพืน้ เมืองท่ีมีอยู่เดมิ  ภมู ปิ ญั ญาของท้องถ่นิ และชนพืน้ เมือง อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกมีความเก่ียวพันอย่างเข้มแข็งกับคนในท้องถิ่นและชนพ้ืนเมืองใน การอนุรกั ษ์และยกย่องวัฒนธรรมของกลุ่มคนเหลา่ น้ี อทุ ยานธรณีโลกของยูเนสโกควรให้ความสาคัญของชุมชน ท้องถิ่นและชนพ้ืนเมอื ง รวมไปถึงวัฒนธรรมและความเชื่อมโยงระหว่างชุมชนกับผืนแผ่นดินของพวกเขาเหล่าน้ัน หลักเกณฑ์หน่ึงของอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก คือ ความรู้ท่ีเกี่ยวกับชุมชนท้องถ่ินและชนพื้นเมือง รวมถึง แนวทางปฏิบัติและระบบบริหารจัดการควบคู่ไปกับด้านวิทยาศาสตร์ จะต้องปรากฏอยู่ในแผนบริหารจัดการ ในพน้ื ที่ด้วย  การอนุรกั ษ์ธรณีวทิ ยา อุทยานธรณีโลกของยเู นสโกเป็นพื้นทีท่ ่ีมีแนวคดิ ในการพัฒนาอย่างยั่งยืน ให้คุณค่ามรดกของ แผ่นดิน และสร้างจิตสานึกที่ต้องการจะอนุรักษ์สิ่งเหล่านี้ แหล่งธรณีวิทยาในอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกอยู่ ภายใต้การดูแลและคุ้มครองโดยกฎหมายของชนพืน้ เมอื ง ท้องถนิ่ ภูมภิ าค และ/หรือประเทศนัน้ และดาเนินการ ร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ งในการติดตามและบารุงรกั ษาแหลง่ ธรณีวิทยาดังกล่าว มาตรการปอ้ งกนั ท่ีเหมาะสม สาหรับแต่ละแหล่งธรณีวิทยากาหนดไว้ในแผนบริหารจัดการของแต่ละพ้ืนท่ี องค์กรท่ีมีหน้าท่ีบริหารจัดการ ของอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกต้องไม่มีส่วนเก่ียวข้องในการขายวัตถุทางธรณีวิทยา เช่น ซากดึกดาบรรพ์ แร่ หินขัดมัน และหินประดับ รวมถึงไม่ส่งเสริมการค้าขายวัตถุทางธรณีวิทยาที่ทาให้เกิดความไม่ย่ังยืนทุกรูปแบบ ทั้งนีไ้ ม่รวมถงึ วสั ดุที่ใช้ในครัวเรอื นและอตุ สาหกรรมท่ัวไปท่ีผลิตจากเหมืองหนิ และ/หรือเหมอื งแร่ และต้องอยู่ ภายใตข้ ้อกฎหมายของประเทศ และ/หรอื ระหวา่ งประเทศ การจัดเก็บตัวอย่างวัตถุทางธรณีวิทยาจากแหล่งที่สามารถหาทดแทนได้ตามธรรมชาติ และ อยู่ในพื้นที่อุทยานธรณีโลกของยูเนสโก ภายใต้เง่ือนไขและสถานการณ์ที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นการดาเนินการเพื่อ วตั ถปุ ระสงค์ทางดา้ นวิทยาศาสตร์และการศึกษา โดยองค์กรที่มหี น้าที่ในการบรหิ ารจดั การอุทยานธรณโี ลกของ ยูเนสโกอาจอนุญาตให้ดาเนินการดังกล่าวได้ การค้าขายแลกเปลี่ยนวัตถุทางธรณีวิทยา (พิจารณาควบคู่กับ กฎหมายระดับชาติในการอนุรักษ์มรดกของโลก) อาจสามารถดาเนินการได้ภายใต้เงื่อนไขเฉพาะ คือ สามารถ อธิบาย ให้กับประชาช นได้อย่างชัดเจนและคิดว่าดีที่สุดแล้วสาหรับอุทยานธรณี โลกของยูเนสโก ท่ีเกี่ยวกับ สถานการณท์ อ้ งถ่ิน ท้ังน้ี จะตอ้ งข้ึนกบั การหารอื และอนุญาตเปน็ รายกรณี

-8- การขยายขอบเขตพ้ืนทขี่ องอุทยานธรณโี ลกของยูเนสโก อทุ ยานธรณโี ลกของยูเนสโกสามารถขยายพื้นทไ่ี ด้ มีกระบวนการดังต่อไปนี้ - อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกที่มคี วามประสงค์ขยายขอบเขตพ้ืนที่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของพื้นทเี่ ดมิ และพ้ืนท่ี ที่เสนอขยายไม่ข้ามไปประเทศอืน่ อุทยานธรณีโลกของยูเนสโกต้องย่ืนจดหมายผ่านช่องทางท่ีเป็นทางการ โดยระบุเหตุผลในการขอขยาย ขอบเขตพ้ืนทแ่ี ละพนื้ ที่ที่ขอขยายจะต้องเปน็ ไปตามหลกั เกณฑข์ องอุทยานธรณีโลกของยเู นสโก ทงั้ นี้สภาอทุ ยานธรณี โลกของยเู นสโก (UNESCO Global Geoparks Council) จะพจิ ารณาอนุมัติว่าไดห้ รือไม่ - อุทยานธรณโี ลกของยเู นสโกทมี่ ีความประสงคข์ ยายขอบเขตพน้ื ท่มี ากกวา่ รอ้ ยละ ๑๐ ของพนื้ ที่เดมิ และ/หรือ พนื้ ท่ที ่ีเสนอขยายขา้ มไปยังอีกประเทศ อุทยานธรณีโ ลก ของยูเนส โ กต้องย่ืน ใบส มัคร ใหม่ตามข้ันตอนการ สมัครอุทยานธรณีโ ลก ของยูเนส โ ก (รายละเอยี ดปรากฏหนา้ ถดั ไป)

-9- ขั้นตอนการสมคั รเปน็ อุทยานธรณีโลกของยเู นสโก ประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ (คาแนะนา : อุทยานธรณที ี่ประสงค์จะสมัครให้ศึกษาแนวทางและประสานงานกับอทุ ยานธรณีโลกของยูเนสโกและคณะกรรมการอุทยานธรณี แห่งชาติ (ถ้ามี) ภายในประเทศ) 1. อุทยานธรณีที่มีความประสงค์สมัครจะต้องส่งจดหมายแสดงความจานงในการเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกต่อ สานักงานเลขาธกิ ารยูเนสโกผ่านคณะกรรมการแห่งชาตวิ ่าดว้ ยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ภายในวนั ที่ 30 มถิ นุ ายน 2. ผสู้ มัครเสนอเอกสารประกอบการสมัคร (application dossier) ผา่ นคณะกรรมการแห่งชาติวา่ ดว้ ยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ระหว่างวนั ท่ี 1 ตลุ าคม – 30 พฤศจกิ ายน 3. ระหว่างวันท่ี 1 ธันวาคม - 31 มีนาคม สานักงานเลขาธิการยูเนสโกดาเนินการตรวจสอบความสมบูรณ์ของเอกสาร ประกอบการสมคั ร เม่อื ครบถ้วนและถกู ตอ้ งตามแบบทีก่ าหนด จะส่งเอกสารให้ผเู้ ชย่ี วชาญด้านวทิ ยาศาสตร์ดาเนนิ การ ประเมินคณุ ค่าระดบั สากลของแหล่งธรณวี ิทยาในพื้นท่ีที่สมคั รจากเอกสารประกอบการสมัคร 4. ระหว่างวนั ที่ 1 พฤษภาคม – 15 สงิ หาคม ผปู้ ระเมนิ จานวนไมเ่ กิน 2 ท่าน ลงพ้นื ท่ปี ระเมนิ และจดั ทารายงานการประเมนิ 5. เดอื นกันยายน สภาอุทยานธรณโี ลกพจิ ารณาใบสมัครโดยดาเนินการในสานักงาน เก่ยี วกบั การประเมินแหล่งมรดกทาง ธรณีวทิ ยา และรายงานผลการประเมนิ จากการลงพื้นท่ีจริง โดยอาจมขี ้อแนะนา 3 แนวทาง ดังนี้ 5.1 ยอมรับการสมัครและเสนอให้สานักอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกนาเสนอ Director-General เพื่อบรรจุพื้นท่ี อุทยานธรณีทส่ี มคั รในวาระการประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารของยูเนสโกเพอ่ื พิจารณาในการประชุมในฤดใู บไมผ้ ลิ เมือ่ พิจารณาเหน็ ชอบแลว้ กจ็ ะไดเ้ ปน็ อุทยานธรณีโลก และจะต้องสมคั รเป็นสมาชิกของเครอื ขา่ ยอุทยานธรณโี ลก 5.2 เลือ่ นการสมัครออกไปไมเ่ กนิ 2 ปี เพ่อื ทาการปรับปรุง และอทุ ยานธรณีทีส่ มคั รจะตอ้ งทารายงานว่าได้ดาเนินการ ตามคาแนะนาอย่างไรบ้าง เม่ือสภาอุทยานธรณีโลกพิจารณาผลการดาเนินการแล้ว อาจมีข้อเสนอแนะ คือ การยอมรับการสมัครและส่งตามขั้นตอนข้อ 5.1 หรือปฏิเสธการสมคั ร ซ่ึงอทุ ยานธรณีท่ีถูกปฏิเสธหากประสงคจ์ ะ สมคั รอกี ครั้งต้องเริม่ ข้ันตอนใหม่ตง้ั แตต่ ้น 5.3 ปฏเิ สธการสมัคร และหากประสงคจ์ ะสมัครอีกครั้งตอ้ งเริ่มขนั้ ตอนใหม่ตัง้ แตต่ ้น ภายหลงั อุทยานธรณีได้รับการรับรองเปน็ อุทยานธรณโี ลกของยูเนสโกแลว้ จะมีการประเมินซ้าทุกๆ 4 ปี หากไม่ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจะได้รับใบเหลอื ง โดยให้ระยะเวลาดาเนินการปรบั ปรุง 2 ปี หากประเมินไม่ผ่านอีกครั้งจะไดร้ บั ใบแดง และถูกปลดออกจากการเป็นอุทยานธรณโี ลก

- 10 - เอกสารประกอบการสมคั ร (Application dossier)  รูปแบบของอิเลก็ ทรอนกิ สไ์ ฟล์ : ขนาดไฟล์สูงสดุ ไมเ่ กิน 5 เมกะไบต์ หากสง่ ทางอีเมล หรือสูงสุดไมเ่ กิน 50 เมกะไบต์ หากสง่ ผ่านเว็บลงิ ก์ เช่น Dropbx หรอื WeTransfer เป็นต้น  ระยะเวลา : เปดิ รับใบสมัครปีละครัง้ ระหวา่ งวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 30 พฤศจิกายน ก่อนส่งใบสมัครอย่างเป็นทางการ อุทยานธรณีจะต้องส่งแสดงความจานง (Expression of interest) ผ่าน ช่องทางอย่างเป็นทางการ ซึ่งกาหนดโดยหน่วยงานแห่งชาติที่ประสานงานกับยูเนสโก (สาหรับประเทศไทย คือ คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วทิ ยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแห่งสหประชาชาติ) หรือหน่วยงานภาครฐั ท่ีรับผดิ ชอบใน การประสานงานกบั ยูเนสโก เชน่ คณะกรรมการอุทยานธรณีระดับชาติ (ถ้ามี) เมื่อมีความพร้อมแล้ว ให้ส่งเอกสารประกอบการสมัครที่มีเนื้อหาครบถ้วนและมีรูปแบบท่ีถูกต้องทุกประการ ตามที่กาหนด ส่งใหย้ เู นสโกโดยผ่านช่องทางเดยี วกบั ท่ีกล่าวขา้ งตน้ เอกสารประกอบการสมคั รตอ้ งถกู ตอ้ งตามรูปแบบและหัวขอ้ ท่ีกาหนดไวด้ า้ นลา่ งทุกประการ ให้เนน้ จดุ แข็งและ จุดอ่อนในด้านต่าง ๆ ของอุทยานธรณี และเอกสารจะถูกส่งให้กลุ่มอิสระของผู้เชี่ยวชาญทาการศึกษาที่ทาการตรวจสอบ โครงการอุทยานธรณีโลกของยูเนสโกโดยตรวจสอบเฉพาะจากเอกสารท่ีส่งในสานักงานเท่านั้น หัวข้อต่างๆ ต้องแสดงให้ เห็นวา่ พ้ืนท่ีอุทยานธรณีที่สมคั รเข้ามามีการดาเนินการเสมือนเป็นอทุ ยานธรณีจริงและตรงตามหลักเกณฑข์ องอุทยานธรณี โลกของยเู นสโก และจะพิจารณาว่าจะต้องทาการลงพสิ ูจนท์ ราบในพนื้ ทจ่ี รงิ หรือไม่ ถ้าเอกสารการสมคั รไดร้ ับการพจิ ารณา ว่าสมบูรณ์และพร้อมสาหรับการประเมินแล้วสภาอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก (UNESCO Global Geoparks Council) จะเห็นชอบในผลการประเมนิ ของพื้นท่ีทีส่ มัครเป็นอุทยานธรณีโลกของยูเนสโด เอกสารการสมัครต้องแสดงให้เห็นชดั เจน ว่ามีการดาเนินการเหมือนเป็นอุทยานธรณีมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี การสมัครไม่ต้องส่งโบรชัวร์ สิ่งพิมพ์ แผ่นพับ และอื่นๆ มาดว้ ย แตส่ ามารถมอบใหผ้ ้ปู ระเมินที่ทาการประเมินในภาคสนามได้ A –รายละเอียดขอ้ มลู พ้ืนที่ 1. ช่อื ของอุทยานธรณีทีส่ มัคร 2. ตาแหน่งทต่ี ั้งของอทุ ยานธรณีที่สมัคร (โปรดแนบแผนท่ที างภูมิศาสตร์และพกิ ัดทางภูมศิ าสตร์ : ลองจิจูดและ ละตจิ ดู ) 3. ลักษณะของพ้ืนผิวภูมิประเทศ ลักษณะภูมิศาสตร์ทางกายภาพ และลักษณะทางภูมิศาสตร์ของประชากร ของอทุ ยานธรณีทีส่ มคั ร 4. องคก์ รทีท่ าหน้าทด่ี แู ลพรอ้ มโครงสร้างการบริหารจดั การ (คาบญั ญตั หิ นา้ ทแ่ี ละผงั ทแี่ สดงโครงสรา้ งองคก์ รท่ี แสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คล หนว่ ยงาน ภาระงานในระดับต่างๆ ภายในองค์กร) ของอทุ ยานธรณีที่สมคั ร 5. ผูป้ ระสานงานในการสมคั ร (ช่ือ ตาแหนง่ โทรศัพท์/โทรสาร อีเมล) B – มรดกทางธรณีวิทยา 1. รายละเอยี ดขอ้ มูลทั่วไปทางธรณวี ิทยาของอทุ ยานธรณีทสี่ มคั ร 2. บญั ชรี ายชื่อพร้อมรายละเอยี ดของแหลง่ ธรณีวิทยาในอทุ ยานธรณีที่สมัคร 3. รายละเอียดความน่าสนใจของแหล่งธรณีวทิ ยาท่เี กี่ยวกับคณุ ค่าของแหล่งธรณีวิทยาในระดับต่างๆ เชน่ ระดับ นานาชาติ ระดบั ประเทศ ระดับภมู ิภาค หรือระดับท้องถ่นิ (เชน่ ด้านวทิ ยาศาสตร์ การศึกษา ความงาม) 4. บัญชีรายชื่อพร้อมรายละเอียดของแหล่งประเภทอนื่ ๆ แหล่งมรดกทางธรรมชาติ วัฒนธรรมและมรดกทจ่ี ับ ต้องไมไ่ ด้ เกยี่ วกบั ความน่าสนใจและสิง่ เหล่านม้ี ีความสมั พันธ์กับแหล่งธรณวี ทิ ยาอยา่ งไร และแหล่งเหลา่ นี้ มคี วามผสมผสาน/รวมเขา้ กบั อุทยานธรณีทีส่ มคั รอย่างไร

- 11 - C – การอนุรกั ษ์ธรณีวทิ ยา 1. สถานการณท์ ่นี ่าเปน็ หว่ งในปัจจุบนั หรืออาจจะเกิดขึ้นของอทุ ยานธรณที ีส่ มคั ร 2. สภาพปัจจบุ นั ขอการคุ้มครองแหลง่ ธรณวี ทิ ยาภายในอุทยานธรณที สี่ มคั ร 3. ข้อมูลเก่ียวกับการบริหารจัดการและการบารุงรักษาแหล่งมรดกทั้งหมด (ท้ังแหล่งธรณีวิทยาและ แหลง่ ประเภทอน่ื ๆ) D – กจิ กรรมด้านเศรษฐกิจและแผนธุรกจิ (รวมถงึ รายละเอียดขอ้ มูลทางการเงนิ ) 1. กิจกรรมทีเ่ ก่ยี วข้องกบั เศรษฐกจิ ของอุทยานธรณีท่สี มคั ร 2. ส่ิงอานวยความสะดวกท่ีมีอยู่หรือแผนการดาเนินงานในอนาคตของอุทยานธรณีที่สมัคร (เช่น การศึกษา ธรณีวทิ ยา การท่องเท่ียวเชิงธรณีวทิ ยา การท่องเที่ยวโครงสรา้ งพ้ืนฐาน เป็นต้น) 3. การวเิ คราะหศ์ ักยภาพด้านการท่องเทย่ี วเชิงธรณีวิทยาของอุทยานธรณที ส่ี มัคร 4. ภาพรวมและนโยบายของการพัฒนาที่ยั่งยืนของในด้าน - การทอ่ งเทยี่ วเชงิ ธรณวี ทิ ยาและเศรษฐกิจ - การศึกษาดา้ นธรณีวิทยา - มรดกทางธรณวี ทิ ยา (โปรดแนบตัวอย่างกจิ กรรมทแี่ สดงใหเ้ ห็นถงึ การดาเนนิ การในส่วนน้)ี 5. นโยบายการส่งเสริมบทบาทของสู่ชุมชน พร้อมตัวอย่าง (การมีส่วนร่วมและการให้ข้อปรึกษา) ในพื้นท่ี อทุ ยานธรณีท่ีสมคั ร 6. นโยบายความตระหนกั รู้ของชมุ ชน พรอ้ มตวั อย่าง และผมู้ ีส่วนไดเ้ สยี ในอุทยานธรณที ่สี มคั ร E – ประโยชน์และข้อโต้แยง้ ของการเปน็ อทุ ยานธรณโี ลกของยเู นสโก ภาคผนวก ภาคผนวก 1: เอกสารการประเมนิ ตนเอง (สามารถหาไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ของยเู นสโก) ภาคผนวก 2: เอกสารเพิ่มเติมและทาแยกออกมาจากใบสมัครของส่วน B “มรดกทางธรณี” ขึ้นต้นด้วยบทสรุป ทางธรณีวิทยาที่ไม่เกิน150 คา (ซงึ่ ข้อมูลส่วนนี้จะใช้สาหรบั การประเมินทางธรณีวทิ ยาในสานักงานของ IUGS –International Union of Geological Science) ภาคผนวก 3: หลักฐานที่ชัดเจนที่แสดงให้เห็นการเห็นชอบจากหนว่ ยงานระดับท้องถิน่ และภูมิภาคท่ีเกย่ี วข้อง และจดหมายท่แี สดงการสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานแหง่ ชาตทิ ่ีประสานงานกบั ยูเนสโก (สาหรับประเทศไทย คอื คณะกรรมการ แห่งชาติว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ) หรือหน่วยงานภาครัฐท่ีรับผิดชอบใน การประสานงานกับยูเนสโก ภาคผนวก 4: แผนทท่ี ีม่ มี าตราส่วนขนาดใหญข่ องอุทยานธรณีที่สมัครทแ่ี สดงขอบเขตพนื้ ทีอ่ ุทยานธรณีอยา่ งชัดเจน และแสดงแหลง่ ธรณีวิทยา พิพธิ ภัณฑ์เมอื ง หมบู่ า้ นแหลง่ มรดกทางวัฒนธรรมและมรดกทางธรรมชาติ สิ่งอานวยความสะดวก ในการท่องเท่ียว รวมท้ังจุดหรือศูนย์ให้บริการข้อมูล สิ่งอานวยความสะดวกด้านที่พัก ด้านพักผ่อนหย่อนใจ และด้าน การคมนาคม / การเดินทางขนส่งสาธารณะท้งั หมด ขนาดของแผนท่ีต้องมีมาตราส่วน 1:50,000 ซึ่งเป็นมาตราส่วนท่ีกาหนดไว้ แตห่ ากไม่มใี หใ้ ช้มาตราส่วนท่ใี กล้เคียง ภาคผนวก 5: เอกสารสรปุ ทางธรณวี ทิ ยาและภูมศิ าสตร์ จานวน 1 หน้า ท่แี สดงแผนทร่ี ายละเอียดแสดง ตาแหน่ง (ตวั อย่างสามารถดไู ดจ้ ากเว็บไซต์ของยูเนสโก)

อทุ ยานธรณโี ลกของยูเนสโก (UNESCO Global Geoparks)

อุทยานธรณีโลกของยูเนสโก (UNESCO Global Geoparks) ปจั จุบันอุทยานธรณีโลกของยเู นสโก มีท้ังสน้ิ 150 แห่ง ใน 38 ประเทศ ทเี่ ข้ารว่ มเป็นเครือข่าย อุทยานธรณีโลกของยูเนสโก โดยมีประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท่ีเข้าร่วมเป็นเครือข่ายอุทยาน ธรณีโลกของยูเนสโก จานวน 4 ประเทศ และมีอุทยานธรณีโลกของยูเนสโก จานวน 8 แห่ง ได้แก่ ประเทศ มาเลเซีย จานวน 1 แห่ง เวียดนาม จานวน 2 แห่ง ไทย จานวน 1 แห่ง และอินโดนีเซีย จานวน 4 แห่ง (ที่มา ข้อมูล http://www.unesco.org ณ ตลุ าคม 2561) ตารางรายชอื่ ประเทศสมาชกิ เครือขา่ ยอทุ ยานธรณโี ลก ลาดบั ท่ี ประเทศ จานวน ชื่ออุทยานธรณี 1 จนี 37 1. Danxiashan UNESCO Global Geopark 2. Zhangjiajie UNESCO Global Geopark 3. Yuntaishan UNESCO Global Geopark 4. Wudalianchi UNESCO Global Geopark 5. Songshan UNESCO Global Geopark 6. Shilin UNESCO Global Geopark 7. Huangshan UNESCO Global Geopark 8. Lushan UNESCO Global Geopark 9. Hexigten UNESCO Global Geopark 10. Taining UNESCO Global Geopark 11. Xingwen UNESCO Global Geopark 12. Yandangshan UNESCO Global Geopark 13. Jingpohu UNESCO Global Geopark 14. Leiqiong UNESCO Global Geopark 15. Taishan UNESCO Global Geopark 16. Wangwushan-Daimeishan UNESCO Global Geopark 17. Fangshan UNESCO Global Geopark 18. Funiushan UNESCO Global Geopark 19. Zigong UNESCO Global Geopark 20. Longhushan UNESCO Global Geopark 21. Alxa Desert UNESCO Global Geopark 22. Qinling Zhongnanshan UNESCO Global Geopark 23. Ningde UNESCO Global Geopark 24. Leye Fengshan UNESCO Global Geopark 25. Tianzhushan UNESCO Global Geopark 26. Hong Kong UNESCO Global Geopark 27. Sanqingshan UNESCO Global Geopark 28. Shennongjia UNESCO Global Geopark

ตารางรายช่ือประเทศสมาชกิ เครือขา่ ยอทุ ยานธรณโี ลก (ต่อ) ลาดับท่ี ประเทศ จานวน ช่อื อุทยานธรณี 2 สเปน 3 อติ าลี 29. Yanqing UNESCO Global Geopark 4 ญีป่ ุ่น 30. Mount Kunlun UNESCO Global Geopark 31. Dali-Cangshan UNESCO Global Geopark 32. Dunhuang UNESCO Global Geopark 33. Zhijindong Cave UNESCO Global Geopark 34. Arxan UNESCO Global Geopark 35. Keketuohai UNESCO Global Geopark 36. Guangwushan-Nuoshuihe UNESCO Global Geopark 37. Huanggang Dabieshan UNESCO Global Geopark 12 38. Cabo de Gata-Níjar UNESCO Global Geopark 39. Sierras Subbéticas UNESCO Global Geopark 40. Sobrarbe-Pirineos UNESCO Global Geopark 41. Basque Coast UNESCO Global Geopark 42. Sierra Norte de Sevilla UNESCO Global Geopark 43. Villuercas Ibores Jara UNESCO Global Geopark 44. Central Catalonia UNESCO Global Geopark 45. Molina & Alto Tajo UNESCO Global Geopark 46. El Hierro UNESCO Global Geopark 47. Lanzarote and Chinijo Islands UNESCO Global Geopark 48. Las Loras UNESCO Global Geopark 49. Conca de Tremp-Montsec UNESCO Global Geopark 10 50. Madonie UNESCO Global Geopark 51. Beigua UNESCO Global Geopark 52. Parco Geominerario della Sardegna UNESCO Global Geopark 53. Rocca di Cerere UNESCO Global Geopark 54. Adamello-Brenta UNESCO Global Geopark 55. Cilento, Vallo di Diano e Alburni UNESCO Global Geopark 56. Tuscan Mining Park UNESCO Global Geopark 57. Alpi Apuani UNESCO Global Geopark 58. Sesia Val Grande UNESCO Global Geopark 59. Pollino UNESCO Global Geopark 9 60. Itoigawa UNESCO Global Geopark 61. Unzen Volcanic Area UNESCO Global Geopark 62. Toya - Usu UNESCO Global Geopark 63. San'in Kaigan UNESCO Global Geopark

ตารางรายช่อื ประเทศสมาชิกเครอื ข่ายอทุ ยานธรณีโลก (ตอ่ ) ลาดับที่ ประเทศ จานวน ชื่ออุทยานธรณี 5 ฝรง่ั เศส 64. Muroto UNESCO Global Geopark 6 สหราชอาณาจกั ร 65. Oki Islands UNESCO Global Geopark 7 เยอรมนี 66. Aso UNESCO Global Geopark 8 กรซี 67. Mt. Apoi UNESCO Global Geopark 9 โปรตุเกส 68. Izu Peninsula UNESCO Global Geopark 10 อนิ โดนีเซีย 7 69. Haute-Provence UNESCO Global Geopark 70. Luberon UNESCO Global Geopark 71. Massif des Bauges UNESCO Global Geopark 72. Chablais UNESCO Global Geopark 73. Monts d'Ardèche UNESCO Global Geopark 74. Causses du Quercy UNESCO Global Geopark 75. Beaujolais UNESCO Global Geopark 6 76. North Pennines AONB UNESCO Global Geopark 77. North-West Highlands UNESCO Global Geopark 78. Fforest Fawr UNESCO Global Geopark 79. English Riviera UNESCO Global Geopark 80. GeoMôn UNESCO Global Geopark 81. Shetland UNESCO Global Geopark 5 82. Vulkaneifel UNESCO Global Geopark 83. TERRA.vita UNESCO Global Geopark 84. Bergstraße-Odenwald UNESCO Global Geopark 85. Swabian Alb UNESCO Global Geopark 86. Harz, Braunschweiger Land UNESCO Global Geopark 5 87. Lesvos Island UNESCO Global Geopark 88. Psiloritis UNESCO Global Geopark 89. Chelmos Vouraikos UNESCO Global Geopark 90. Vikos - Aoos UNESCO Global Geopark 91. Sitia UNESCO Global Geopark 4 92. Naturtejo da Meseta Meridional UNESCO Global Geopark 93. Arouca UNESCO Global Geopark 94. Açores UNESCO Global Geopark 95. Terras de Cavaleiros UNESCO Global Geopark 4 96. Batur UNESCO Global Geopark 97. Gunung Sewu UNESCO Global Geopark 98. Ciletuh - Palabuhanratu UNESCO Global Geopark

ตารางรายช่อื ประเทศสมาชิกเครือขา่ ยอุทยานธรณีโลก (ต่อ) ลาดับท่ี ประเทศ จานวน ชื่ออทุ ยานธรณี 11 ออสเตรีย 99. Rinjani-Lombok UNESCO Global Geopark 3 100. Styrian Eisenwurzen UNESCO Global Geopark 12 แคนนาดา 101. Carnic Alps UNESCO Global Geopark 13 เกาหลใี ต้ 102. Ore of the Alps UNESCO Global Geopark 3 103. Stonehammer UNESCO Global Geopark 14 เวียดนาม 104. Tumbler Ridge UNESCO Global Geopark 105. Percé UNESCO Global Geopark 15 ไอซ์แลนด์ 3 106. Jeju Island UNESCO Global Geopark 107. Cheongsong UNESCO Global Geopark 16 ไอรแ์ ลนด์ 108. Mudeungsan UNESCO Global Geopark 2 109. Dong Van Karst Plateau UNESCO Global Geopark 17 เมก็ ซโิ ก 110. Non nuoc Cao Bang UNESCO Global Geopark 2 111. Katla UNESCO Global Geopark 18 นอร์เวย์ 112. Reykjanes UNESCO Global Geopark 2 113. Copper Coast UNESCO Global Geopark 19 โครเอเชยี 114. Burren & Cliffs of Moher UNESCO Global Geopark 20 ไซปรัส 2 115. Comarca Minera, Hidalgo UNESCO Global Geopark 21 เดนมาร์ก 116. Mixteca Alta, Oaxaca UNESCO Global Geopark 22 ตุรกี 2 117. Gea Norvegica UNESCO Global Geopark 23 แทนซาเนีย 118. Magma UNESCO Global Geopark 24 ไทย 1 119. Papuk UNESCO Global Geopark 25 เนเธอรแ์ ลนด์ 1 120. Troodos UNESCO Global Geopark 26 บราซิล 1 121. Odsherred UNESCO Global Geopark 27 เบลเยยี ม 1 122. Kula Volcanic UNESCO Global Geopark 28 ฟินแลนด์ 1 123. Ngorongoro Lengai UNESCO Global Geopark 29 มาเลเซีย 1 124. Satun UNESCO Global Geopark 30 โมร็อกโก 1 125. De Hondsrug UNESCO Global Geopark 31 โรมาเนยี 1 126. Araripe UNESCO Global Geopark 32 สโลวเี นยี 1 127. Famenne-Ardenne UNESCO Global Geopark 1 128. Rokua UNESCO Global Geopark 1 129. Langkawi UNESCO Global Geopark 1 130. M'Goun UNESCO Global Geopark 1 131. Haţeg UNESCO Global Geopark 1 132. Idrija UNESCO Global Geopark

ตารางรายช่อื ประเทศสมาชกิ เครอื ขา่ ยอทุ ยานธรณีโลก (ต่อ) ลาดบั ที่ ประเทศ จานวน ช่อื อทุ ยานธรณี 33 สาธารณรฐั เช็ก 1 133. Bohemian Paradise UNESCO Global Geopark 34 อหิ ร่าน 1 134. Qeshm Island UNESCO Global Geopark 35 อุรกุ วัย 1 135. Grutas del Palacio UNESCO Global Geopark 36 ฮังการี 1 136. Bakony-Balaton UNESCO Global Geopark 37 ฮังการี-สโลวาเกยี 1 137. Novohrad-Nógrád UNESCO Global Geopark 38 เยอรมนี-โปแลนด์ 1 138. Muskauer Faltenbogen / Łuk Mużakowa UNESCO Global Geopark 39 ออสเตรีย-สโลวีเนีย 1 139. Karawanken / Karavanke UNESCO Global Geopark 40 ไอรแ์ ลนด์-ไอร์แลนด์ 1 140. Marble Arch Caves UNESCO Global Geopark เหนอื (สหราช อาณาจักร)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook