Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน

ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน

Published by Thalanglibrary, 2021-05-19 04:57:40

Description: หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ \"ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม\" ปราชญ์ชาวบ้านและผู้นำเกษตรวิถีพึ่งตนเอง ถ่ายทอดเรื่องราวงานวิจัยส่วนหนึ่งในพื้นที่รอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออกในมุมมองด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ผู้ใหญ่วิบูลย์ ได้ดำเนินการเองและทำงานร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตร- การแก้ปัญาช้างป่าบุกรุกพื้นที่เกษตรกรรมรอบเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน- กลุ่มวิจัยทักษะการจัดการทรัพยากรฐานชุมชน มจธ. กับเครือข่ายป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก จ.ฉะเชิงเทรา- เกษตรกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงกับชีวิต- พืชสมุนไพรในป่าตะวันออก

Search

Read the Text Version

มา้ ทลายโรง (Neuropeltis racemosa Wall.) วงศ์ CONVOLVULACEAE ชื่ออ่ืน : กาโร (ระนอง), นอนหลับ พญานอนหลับ (นครสวรรค์), มันฤาษี (ภาคกลาง), มาดพล้ายโรง (นครราชสมี า) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเน้ือแข็ง เถาแก่มีตุ่มกระจายท่ัวไป ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกชอ่ ออกทซ่ี อกใบ สขี าว ผลแหง้ มีครมี บางโดยรอบ สรรพคุณ : เนื้อไม้ บ�ำรุงก�ำลัง บ�ำรุงก�ำหนัด บ�ำรุงโลหิต แก้ปวดหลัง ปวดเอว และขับ น�้ำยอ่ ย 92

ยางน่องเถา (Strophanthus caudatus (L.) Kurz) วงศ์ APOCYNACEAE ช่ืออ่ืน : เครือน่อง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), น่อง (นครราชสีมา), บานบุรีป่า (ภาคใต้), ยางนอ่ งเครอื (อบุ ลราชธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถา น�้ำยางสีขาว ใบเด่ียว เรียงตรงข้าม ดอกช่อ ออกที่ ปลายกง่ิ กลบี ดอกสีขาว ปลายกลบี สีแดง ผลเปน็ ฝกั ค่ขู นาดใหญ ่ สรรพคณุ : น้ำ� ยาง ใชผ้ สมกบั ยาพษิ ชนิดอื่นทาลกู หน้าไม้ยิงสัตว์ บ�ำรุงหวั ใจใหบ้ บี สง่ โลหิต แรงข้นึ เมล็ด มีสารออกฤทธิ์เรว็ ใชป้ รมิ าณน้อยเป็นยาบำ� รุงหวั ใจ 93

94

ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb. ex G. Don) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE ชือ่ อนื่ : ชนั นา ยางตงั (ชมุ พร), ยาง ยางขาว ยางแมน่ �ำ้ ยางหยวก (ท่วั ไป), ยางกงุ (เลย), ยางควาย (หนองคาย), ยางเนิน (จนั ทบุรี), Yang ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมต้ ้น ผลดั ใบ ใบเดีย่ ว เรยี งสลบั ดอกสชี มพู ผลมคี รีบ ๕ ครบี ปกี ยาว ๒ ปกี ปกี สน้ั ๓ ปีก สรรพคุณ : เปลือก ฟอกโลหิต แก้ปวดตามข้อ แก้ตับอักเสบ น�้ำมันยาง รักษาโรค เร้ือน หนองใน รักษาแผลเน่าเปื่อย ห้ามหนอง ขับเสมหะ ขับปัสสาวะ อุดฟัน แก้ฟันผุ ใบ คมุ ก�ำเนิด แกป้ วดฟนั ฟันโยกคลอน 95

รง (Garcinia hanburyi Hook. f.) วงศ์ CLUSIACEAE ชื่ออ่ืน : เขนทะ (ภาคเหนือ), น้�ำข้าว (ภาคกลาง ภาคใต้), ประยงค์ใหญ่ (กรุงเทพฯ), พุทธรกั ษา (สโุ ขทัย), มันหมู (ประจวบคีรีขันธ)์ , ส้มชน่ื (ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น น�้ำยางสีเหลือง ใบเด่ียว เรียงตรงข้าม ดอกสีเหลือง ออ่ น มีกลนิ่ หอม ผลสด รปู กลม สรรพคุณ : ล�ำต้นและเปลือก เป็นยาระบาย ขับพยาธิตัวแบน ใช้ปริมาณมากจะท�ำให้ อาเจียนอย่างแรง ยางจากล�ำต้น เป็นยาถ่ายอย่างแรง รกั ษาแผลเปื่อย 96

ระย่อม (Rauvolfia serpentina (L.) Benth. ex Kurz) วงศ์ APOCYNACEAE ช่ืออน่ื : กะยอ่ ม (ภาคใต)้ , เข็มแดง (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม น้�ำยางสีขาว ใบเดี่ยว เรียงเป็นวงรอบ ดอกช่อ กลีบดอกสีขาวอมชมพู ผลเป็นฝกั คู่ เมื่อสกุ สีมว่ ง สรรพคุณ : ราก ลดความดันโลหิต แก้ปวด แก้ไข้ ขับระดู แก้บิด ขับพยาธิ เป็นยา กล่อมประสาท ช่วยเจริญอาหาร ขับปัสสาวะ เปลือก แก้ไข้พิษ แก้ไข้สันนิบาต น�้ำจากใบ รักษาโรคแกว้ ตามวั ดอก แกต้ าแดง 97

เรว่ (Amomum uliginosum K. D. König) วงศ์ ZINGIBERACEAE ชือ่ อื่น : กระวานป่า (ปัตตาน)ี ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ล�ำต้นเป็นเหง้าใต้ดิน ใบเด่ียว เรียงสลับ ดอกช่อ แทงตรงจากเหงา้ ดอกย่อย สีขาว ผลกลม สแี ดงคล้�ำ มีขนคลา้ ยเงาะ สรรพคุณ : ราก รักษาโรคหืด แก้ไอ ใบ ขับปัสสาวะ ดอก แก้เม็ดผื่นคันตามตัว เมล็ด แก้คล่นื เหยี นอาเจียน ขบั ผายลม แก้ไข้ ขับนำ�้ นม และใชเ้ ป็นเครื่องเทศ 98

99

เร่วหอม (Etlingera pavieana (Pierre ex Gagnep.) R. M. Sm.) วงศ์ ZINGIBERACEAE ชอ่ื อืน่ : ปดุ เมืองกาน (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ล�ำต้นเป็นเหง้าใต้ดิน ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกช่อ แทงตรงจากเหงา้ กลีบดอก สแี ดง ทกุ ส่วนมกี ลน่ิ หอมแรง สรรพคุณ : เหง้า ขับลมในล�ำไส้ ช่วยย่อยอาหาร แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ใช้เป็นเครื่องเทศ แต่งกลิ่นอาหาร ใบ ขับปสั สาวะ หน่อออ่ น รบั ประทานเปน็ ผัก ขับลมในลำ� ไส้ ชว่ ยยอ่ ยอาหาร 100

ลิ้นงเู ห่า (Clinacanthus siamensis Bremek.) วงศ์ ACANTHACEAE ชือ่ อืน่ : - ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมพ้ ุ่มรอเลอ้ื ย ใบเดี่ยว เรียงตรงขา้ ม กา้ นใบยาว ๑–๑.๕ ซม. ดอกชอ่ ออกเป็นกระจุกทป่ี ลายก่งิ กลบี ดอกสีแดงสม้ ปลายแยกเปน็ ๒ ปาก สรรพคุณ : ราก ต�ำพอก แก้พิษตะขาบหรือแมงป่องต่อย ใบ ต�ำหรือขยี้ ทาหรือพอก แก้ พษิ รอ้ นอกั เสบ ถอนพิษแมลงหรือสัตว์กัดต่อย 101

ส่องฟา้ ดง (Clausena harmandiana (Pierre) Pierre ex Guillaumin) วงศ์ RUTACEAE ช่ืออนื่ : โปร่งฟ้า (ทว่ั ไป), ล่องฟ้า (อดุ รธานี), เหม็น (จันทบรุ )ี , สมยุ หอม (นครศรีธรรมราช) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรยี งเวียน ใบยอ่ ยเรียงสลับ มีต่อมนำ้� มัน ดอกสขี าวนวล ผลสด รปู กลม เมอ่ื สกุ สชี มพ ู สรรพคุณ : ราก ต้มน้�ำดื่ม แก้ไข้ แก้ปวดศีรษะ แก้ผิดส�ำแดง แก้หลอดลมอักเสบ ผสม สมนุ ไพรอื่น ดืม่ และทาตวั แกไ้ ข้ท�ำมะลา (อาการไข้หมดสติและตายโดยไม่ทราบสาเหตุ) 102

สังกรณี (Barleria strigosa Willd.) วงศ์ ACANTHACEAE ชือ่ อน่ื : กวางหีแฉะ (สโุ ขทยั ), กำ� แพงใหญ่ (เลย) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มขนาดเล็ก ใบเด่ียว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ดอกช่อ กลบี ดอกสมี ว่ ง ผลแห้งแตก สรรพคุณ : ราก แกร้ อ้ นใน กระหายน�้ำ ดับพิษไข้ แก้ไอ ถอนพิษไขก้ าฬ ใบ แกก้ �ำเดา แก้ ไขห้ วัดใหญ่ รักษาวัณโรคปอด และแก้คออกั เสบ ทั้ง ๕ ตม้ นำ้� ดม่ื บำ� รุงก�ำลัง บำ� รงุ ก�ำหนดั 103

สารภี (Mammea siamensis (T. Anderson) Kosterm.) วงศ์ CALOPHYLLACEAE ชอ่ื อ่นื : ทรพี (จันทบุร)ี , สร้อยพี (ภาคใต้), สารภีแนน (เชียงใหม่) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ตน้ นำ�้ ยางสีขาวแล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลอื งออ่ น ใบเด่ยี ว เรียง ตรงข้าม ดอกสีขาว มีกล่ินหอมแรง ผลสด รูปรีหรือรปู ไข่ เม่ือสกุ สีเหลอื ง สรรพคณุ : ใบ ขบั ปสั สาวะ บรรเทาอาการปวดตามขอ้ ดอก ปรงุ ยาหอม บำ� รงุ หวั ใจใหช้ มุ่ ชน่ื บำ� รุงก�ำลัง ชว่ ยเจริญอาหาร แก้ไข้ แก้ลมวิงเวียน และรักษาครรภ์ ละอองเรณู ใชท้ �ำเครอื่ งสำ� อาง 104

105

106

ส�ำรอง (Scaphium affine (Mast.) Pierre) วงศ์ MALVACEAE ชือ่ อืน่ : จอง (อบุ ลราชธาน)ี , พุงทะลาย (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงเวียน ดอกสีครีมอมเขียว ผลกลม มีปีก ๑ ปีก รูปใบเรือ เน้ือผลจะพอง เมอ่ื น�ำมาแชน่ ำ้� สรรพคุณ : ผล แชน่ ้�ำใหพ้ องตัว แก้ไอ ขบั เสมหะ สมาน ล�ำไส้ แกร้ อ้ นในกระหายนำ้� วางบนตารกั ษาอาการตาอักเสบ 107

สเี สียดเปลือก (Pentace burmanica Kurz) วงศ์ MALVACEAE ชอ่ื อ่ืน : สเี สยี ด (ภาคกลาง), สเี สยี ดอ้ม (ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ), Burmese mahogany ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบเดีย่ ว เรียงเวยี น ดอกชอ่ ออกทปี่ ลายกงิ่ หรือซอกใบ กลีบดอกสขี าว ผลแห้งมี ๕ ปีก สรรพคุณ : ราก เปลือก หรือใบ ชงกับน้�ำเดือดหรือต้ม ด่ืมแก้ท้องร่วง ท้องเดิน เปลือก อมเค้ียว รักษาแผลในปากและคอ ฆ่าเช้ือโรคในปาก ฝนทาสมานแผล แก้แผลเน่าเปื่อยพุพอง ผล รับประทานแกเ้ จบ็ คอ แก้ไอ ขับเสมหะ 108

โสกเขา (Saraca declinata (Jack) Miq.) วงศ์ FABACEAE ชื่ออ่ืน : เข็มแดง (หนองคาย), ชุมแสงควน (ยะลา), โรก (กาญจนบุรี), สมโสก (ตราด นครราชสมี า), สาย (สตลู ), โสกดอน (ตรัง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ดอกช่อ กลีบดอก ลดรูป กลบี เลย้ี งสสี ม้ แดง ออกท่ีซอกใบ ปลายกงิ่ หรอื โคนตน้ ผลเป็นฝัก สรรพคุณ : ราก ตม้ นำ้� ด่มื แก้พษิ เบอ่ื เมา 109

หญ้าแห้วหมู (Cyperus rotundus L.) วงศ์ CYPERACEAE ชอื่ อื่น : หญา้ ขนหมู (แมฮ่ ่องสอน), Nut grass ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ล�ำต้นเป็นหัวใต้ดิน ใบเด่ียว แทงออกจากหัว ดอกชอ่ สีน้ำ� ตาลแดง สรรพคุณ : หวั บำ� รงุ หวั ใจ ขับปัสสาวะ ขบั เหง่ือ ขับลมในลำ� ไส้ แก้ปวดท้อง แกท้ ้องอดื เฟ้อ บ�ำรงุ กำ� ลงั บำ� รงุ ธาตุ บ�ำรงุ ทารกในครรภ์ แก้ไข้ แกก้ ระหายนำ้� แก้โรคตับอกั เสบ ขบั พยาธติ วั กลม 110

หมีเหมน็ (Litsea glutinosa (Lour.) C. B. Rob.) วงศ์ LAURACEAE ช่ืออื่น : ดอกจุ๋ม (ล�ำปาง), ตังสี ไพร (พิษณุโลก), ทังบวน (ปัตตานี), มะเย้อ ยุบเหยา (ชลบุรี ภาคเหนือ), ม้น (ตรัง), หมี (ล�ำปาง อุดรธาน)ี , หมูทะลวง (จนั ทบุรี), หมูเหมน็ (แพร่), อเี หมน็ (กาญจนบรุ ี ราชบรุ ี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงเวียน ดอกช่อ ออกที่ซอกใบ สีขาวอมเหลือง ผลสด รูปทรงกลม เมื่อสุก สมี ่วงเข้ม สรรพคุณ : ราก แก้ปวดกล้ามเนื้อ เป็นยาบ�ำรุง เปลือก แก้บิด แก้ปวดมดลูก แก้คัน ใบและเมล็ด ต�ำพอกฝี แกป้ วด นำ�้ มันจากผล ถูนวดแกป้ วด 111

ออ้ ยสามสวน (Millettia sericea (Vent.) Benth.) วงศ์ FABACEAE ช่อื อืน่ : หมากหวั ตอ่ (ภาคกลาง) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเนื้อแข็ง เนอ้ื ไม้และเปลือกมีรสหวาน ใบประกอบแบบ ขนนกปลายคี่ เรยี งสลบั ดอกช่อ กลบี ดอกสขี าว ผลเปน็ ฝักแบน สรรพคุณ : ราก เป็นยาฆ่าเชื้อ ใช้เบ่ือปลา เปลือก ขับพยาธิ ใบ แก้ปวดฟัน แก้ไข้ แก้ ตาอกั เสบ บดพอกแก้ปวดขา 112