Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน

ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน

Published by Thalanglibrary, 2021-05-19 04:57:40

Description: หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ \"ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม\" ปราชญ์ชาวบ้านและผู้นำเกษตรวิถีพึ่งตนเอง ถ่ายทอดเรื่องราวงานวิจัยส่วนหนึ่งในพื้นที่รอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออกในมุมมองด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ผู้ใหญ่วิบูลย์ ได้ดำเนินการเองและทำงานร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตร- การแก้ปัญาช้างป่าบุกรุกพื้นที่เกษตรกรรมรอบเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน- กลุ่มวิจัยทักษะการจัดการทรัพยากรฐานชุมชน มจธ. กับเครือข่ายป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก จ.ฉะเชิงเทรา- เกษตรกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงกับชีวิต- พืชสมุนไพรในป่าตะวันออก

Search

Read the Text Version

42

ปา่ อทุ ยานแหง่ ชาติเขาคชิ ฌกูฏ 43

ปา่ เขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั ว์ป่าเขาสอยดาว ปา่ อทุ ยานแห่งชาตเิ ขาสิบหา้ ช้นั 44

ปา่ อุทยานแหง่ ชาตเิ ขาชะเมา−เขาวง ทง้ั นไี้ ดร้ วบรวมพชื สมนุ ไพรเดน่ ของชมุ ชน ครอบคลมุ พนื้ ทเ่ี ขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ เขาอา่ งไน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา–เขาวง และป่าสงวนแห่งชาติ จ�ำนวน ๕๓ ชนิด เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการจัดการ และการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไมใ้ นป่าตะวนั ออกอยา่ งยั่งยนื ตามรายละเอียดทป่ี รากฏต่อไป 45

46

กระแจะ (Naringi crenulata (Roxb.) Nicolson) วงศ์ RUTACEAE ชื่ออื่น : ขะแจะ (ภาคเหนือ), แจ๊ ตุมตัง (ภาคกลาง ราชบุรี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลาง ก่ิงก้านมี หนาม ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับหรือออกเป็นกระจุก ดอกชอ่ ออกที่ซอกใบ กลบี ดอกสีขาวอมเหลอื ง ผลสด รูปกลม เมอ่ื สุกสีด�ำ สรรพคุณ : เปลือกและเน้ือไม้ เป็นเคร่ืองหอมประทิน ผิวพรรณ แก่น แก้โลหิตพิการ แกก้ ระษยั ใบ แก้ลมบ้าหมู ผล เปน็ ยา บ�ำรุง 47

กระชาย (Boesenbergia rotunda (L.) Mansf.) วงศ์ ZINGIBERACEAE ชอ่ื อนื่ : กระชายด�ำ กะแอน ขงิ แดง ขิงทราย (มหาสารคาม), ละแอน (ภาคเหนอื ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ล�ำต้นเป็นเหง้าใต้ดิน มีรากสะสมอาหารติดเป็น กระจุก มกี ลิ่นหอม ใบเดี่ยว กาบใบสแี ดงเรอ่ื ๆ ดอกสีขาวหรือขาวอมชมพู สรรพคุณ : เหง้า แก้บิด ขับลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ รักษากามตายด้าน บ�ำรุงก�ำหนัด แก้ กระษยั รักษากลากเกล้อื น แก้โรคในปาก ระงับกลน่ิ ปาก แก้โลหิตระดู บ�ำรุงธาตุ 48

กระทอื (Zingiber zerumbet (L.) Sm.) วงศ์ ZINGIBERACEAE ชอื่ อนื่ : กระทอื ปา่ กะแวน กะแอน แฮวดำ� (ภาคเหนือ), เฮียวแดง เฮียวด�ำ (แมฮ่ อ่ งสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก มีล�ำต้นเป็นเหง้าใต้ดิน ใบเด่ียว ดอกช่อ แทงจาก เหง้า กลีบดอกสขี าวนวล สรรพคณุ : เหงา้ ขบั ลม แกท้ ้องอืดทอ้ งเฟอ้ จุกเสียด ปวดท้อง บำ� รุงธาตุ ขบั ปัสสาวะ บ�ำรงุ น�้ำนม ใบ ขบั เลือดเนา่ ในมดลกู ดอก แก้ไข้เรื้อรงั ผอมแห้ง 49

กระวาน (Amomum testaceum Ridl.) วงศ์ ZINGIBERACEAE ชื่ออื่น : กระวานขาว กระวานโพธิสัตว์ (ภาคกลาง), ปล้าก้อ (ปัตตานี), Camphor seed, Siam cardamon ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ลม้ ลุก ลำ� ตน้ เปน็ เหงา้ ใบเดยี่ ว เรียงสลับ ดอกชอ่ แทงจาก เหง้า กลบี ดอกสีขาว ผลค่อนข้างกลม สนี วล สรรพคุณ : ราก ฟอกเลือด ขับเลือดเน่าเสีย เหง้า ขับพยาธิ หน่ออ่อน ใช้เป็นอาหาร ดอก แกต้ าเจบ็ ตาแฉะ ตาฟาง เมล็ดแห้ง รสเผ็ดร้อน กลน่ิ หอม ขับลม ขบั เสมหะ ใชเ้ ป็นเครอ่ื งเทศ แตง่ กลิ่นอาหารและเหลา้ 50

กฤษณา (Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte) วงศ์ THYMELAEACEAE ชอื่ อืน่ : ไมห้ อม (ภาคตะวันออก), Eagle wood ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบเด่ียว เรียงสลับ ดอกสีเขียวอมเหลือง ผลค่อนข้าง กลม มีขนอ่อนนุ่มปกคลุม พบท่ีลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบขึ้นในป่าดิบชื้น ภาคกลาง ภาคตะวนั ออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สรรพคุณ : แก่นไม้ บ�ำรุงก�ำลัง บ�ำรุงโลหิต บ�ำรุงหัวใจ แก้ลมวิงเวียนศีรษะ คุมธาตุ แก้ อาเจยี น แกท้ ้องร่วง แก้ปวดบวมตามขอ้ น�ำ้ มนั จากเมล็ด รกั ษาโรคเรื้อนและรกั ษาโรคผิวหนงั 51

กะเม็ง (Eclipta prostrata (L.) L.) วงศ์ ASTERACEAE ชื่ออ่ืน : กะเม็งตัวเมีย คัดเม็ง (ภาคกลาง), หญ้าสับ ฮ่อมเกี่ยว (ภาคเหนือ), False diasy, White head ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับต้ังฉาก ช่อดอกแบบ กระจกุ สขี าว ผลแกแ่ ห้ง สีดำ� ไมแ่ ตก สรรพคุณ : ราก แกเ้ ปน็ ลมหนา้ มดื จากการคลอดบตุ ร แก้ทอ้ งเฟ้อ บ�ำรงุ โลหติ รากและใบ เป็นยาระบาย ท�ำให้อาเจียน ล�ำต้น บำ� รงุ เลือด รักษากลาก ใบ ใชย้ ้อมผมให้ดำ� ดอก แก้ดีซ่าน ท้ัง ๕ แก้หดื หลอดลมอกั เสบ แก้จุกเสยี ด รักษากลากเกลอ้ื น 52

กันเกรา (Fagraea fragrans Roxb.) วงศ์ GENTIANACEAE ชอ่ื อื่น : ต�ำเสา ทำ� เสา (ภาคใต้), มันปลา (ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคเหนอื ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกช่อ สีขาวอมเหลือง กลิ่น หอมเย็น ผลสด รปู กลม เม่อื สกุ สแี ดง สรรพคุณ : แก่น ขับลม แก้ไข้จับสั่น บ�ำรุงโลหิต บ�ำรุงร่างกาย แก้ปวดแสบปวดร้อน แก้ หืด แก้ไอ รกั ษาริดสดี วง และเปน็ ยาอายวุ ฒั นะ ใบ บำ� รงุ ธาตุ แก้ไขจ้ บั สน่ั รกั ษาโรคหดื รักษาผวิ หนัง พพุ อง บำ� รุงโลหิต 53

กำ� แพงเจด็ ช้นั (Salacia chinensis L.) วงศ์ CELASTRACEAE ชอื่ อนื่ : ตะลมุ่ นก (ราชบรุ )ี , ตาไก้ (พษิ ณโุ ลก), นำ้� นอง มะตอ่ มไก่ (ภาคเหนอื ), หลมุ นก (ภาคใต)้ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มรอเลื้อย ใบเด่ียว เรียงตรงข้าม กลีบดอกสีเหลืองหรือ สีเขยี วอมเหลือง ผลสด รปู กลม ผลสุกสีส้มแดง สรรพคุณ : ราก แก้ประจ�ำเดือนมาไม่ปกติ ขับลม รักษาโรคตา บ�ำรุงน้�ำเหลือง ล�ำต้น แก้ปวดเมอ่ื ย เป็นยาระบาย ขบั ลม ขับโลหติ ระดู แก้ไข้ แกป้ วดบวมตามขอ้ แก้ประดง ใบ ขบั โลหติ ระดู ขบั นำ้� คาวปลา มวนบุหรส่ี บู รักษาโรครดิ สีดวงจมกู ดอก แกบ้ ดิ มกู เลอื ด 54

ข่อย (Streblus asper Lour.) วงศ์ MORACEAE ช่อื อนื่ : กกั ไม้ฝอย (ภาคเหนอื ), ส้มพอ (เลย), Siamese rough bush, Tooth brush tree ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น น�้ำยางสีขาว ใบเด่ียว เรียงสลับ ขอบใบหยัก ดอก สีเหลอื งอมเขยี ว ผลสกุ สเี หลอื ง สรรพคุณ : เปลือก รักษาฟัน แก้ปวดฟัน แก้เหงือกบวม รักษาร�ำมะนาด แก้ท้องเสีย เน้ือไม้ แก้ปวดฟัน แก้กระษัย ใบ เป็นยาระบายอ่อนๆ แก้ปวดประจ�ำเดือน เมล็ด แก้ลมและเป็น ยาอายวุ ฒั นะ 55

เขยตาย (Glycosmis pentaphylla (Retz.) DC.) วงศ์ RUTACEAE ชอ่ื อ่นื : ข้ีไฟนกคุ่ม (ปราจนี บุร)ี , หญา้ หงอนไก่ หญา้ หัวนาค (ภาคเหนอื ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมพ้ ุ่ม ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลบั ดอกชอ่ สีขาว ออกทซ่ี อกใบ มกี ลิน่ หอม ผลสด รปู กลม เมอ่ื สกุ สีชมพ ู สรรพคุณ : ราก กระทุ้งพิษ แก้พิษฝีภายในและภายนอก ยับย้ังเช้ือไวรัสบางชนิด แก้ พิษงู แก้พิษแมลงกัดต่อย เปลือกและเนื้อไม้ แก้ฝีภายในและภายนอก ขับน�้ำนม ดอกและผล รกั ษาหิด 56

เครืองเู หา่ (Toddalia asiatica (L.) Lam.) วงศ์ RUTACEAE ชือ่ อนื่ : ผกั แปมปา่ (ภาคเหนอื ), เลบ็ รอก (ประจวบครี ขี นั ธ์) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเนื้อแข็ง มีหนามตามล�ำต้นและก่ิง ใบประกอบแบบ นว้ิ มือ มี ๓ ใบย่อย เรียงเวียน ดอกช่อ ออกท่ีซอกใบและปลายกิ่ง ผลรปู กลม เม่อื สุกสสี ้ม สรรพคุณ : ราก ขับลม บ�ำรุงก�ำลัง แก้เถาดานในท้อง พอกฝี เปลือกราก แก้ไข้มาลาเรีย เถา แก้ปวดเม่ือยเส้นเอ็น แก้ตานซาง แก้ตานขโมย แก้พิษโลหิต แก้พิษในข้อ ในกระดูก รักษา กามโรค ใบ แกป้ วดทอ้ ง รักษาโรคผิวหนัง 57

โคคลาน (Croton caudatus Geiseler) วงศ์ EUPHORBIACEAE ช่อื อน่ื : กระดอหดใบขน (จันทบรุ )ี , โคคลานใบขน (ท่ัวไป), ปริก (ตรัง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเนื้อแข็ง ใบเดี่ยว เรียงเวียน ขอบใบหยัก แผ่นใบมีขน สนี �้ำตาลปกคลมุ ดอกช่อ ออกทป่ี ลายกิ่ง สนี �้ำตาลนวล ผลรูปกลมมี ๓ พ ู สรรพคุณ : ราก เป็นยาระบาย ลดไข้ ใบ ลดไข้ แก้ปวดข้อ และแก้ปวดเม่ือยกล้ามเนื้อ ยอดอ่อน แก้โรคตับอกั เสบ 58

จันทน์ผา (Dracaena cochinchinensis (Lour.) S. C. Chen) วงศ์ DRACAENACEAE ช่ืออ่นื : จันทน์แดง (ภาคกลาง สรุ าษฎร์ธาน)ี , ลักกะจนั ทน์ (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมพ้ มุ่ ใบเดีย่ ว เรยี งเวียน เป็นกระจกุ ใกลป้ ลายยอด ดอกชอ่ แยกแขนงขนาดใหญ่ ออกท่ปี ลายก่งิ สีเหลืองนวล ผลกลม เมื่อสกุ สแี ดง สรรพคุณ : แก่น แก้ไข้ทุกชนิด บ�ำรุงหัวใจ แก้เหง่ือตก กระสับกระส่าย แก้เลือดออกตาม ไรฟัน แก้ดพี กิ าร และรกั ษาบาดแผล 59

จันทน์หอม (Mansonia gagei J. R. Drumm. ex Prain) วงศ์ MALVACEAE ชอ่ื อน่ื : จนั ทน์ จนั ทน์ชะมด (ประจวบคีรขี นั ธ)์ , จนั ทนข์ าว จันทน์พม่า (ภาคกลาง), Kalamet ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ผลัดใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ ดอกช่อ ออกท่ีปลายก่ิง สีขาว ผลรูปกระสวย มปี ีกทรงสามเหลย่ี มหน่ึงปีก สรรพคุณ : ลำ� ตน้ ขบั ลมในล�ำไส้ แกจ้ ุกเสียดแน่นเฟ้อ แกป้ วดท้อง แกธ้ าตพุ กิ าร และบำ� รงุ หัวใจ เนื้อไม้และแก่น แก้คล่ืนเหียนอาเจียน บ�ำรุงหัวใจ แก้ลมวิงเวียน บ�ำรุงก�ำลัง แก้ไข้ ใบ บ�ำรุง ผิวพรรณ แก้ร้อนในกระหายน�้ำ แก้จกุ เสยี ด 60

จันทนา (Tarenna hoaensis Pit.) วงศ์ RUBIACEAE ชอ่ื อืน่ : จันทนข์ าว จันทน์ใบเล็ก (ประจวบคีรีขนั ธ์), จันทน์หอม (ระยอง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบเด่ียว เรียงตรงข้าม ดอกช่อ ออกที่ปลายก่ิง สี ขาวนวล มกี ลิน่ หอมแรง ผลสด รูปกลม เมื่อสกุ สมี ่วงด�ำ สรรพคณุ : แก่น บ�ำรุงตับ ปอด และหวั ใจ แก้ไข้ แกร้ ้อนในกระหายน�ำ้ แก้เหงอื่ ตกหนกั และ แก้เลือดออกตามไรฟัน 61

เฉยี งพร้านางแอ (Carallia brachiata (Lour.) Merr.) วงศ์ RHIZOPHORACEAE ชื่ออ่ืน : แก๊ก วงคด วงคต (ล�ำปาง), ขิงพร้า เขียงพร้า (ตราด ประจวบคีรีขันธ์), เขียงพร้า นางแอ (ชุมพร), คอแห้ง สีฟัน (ภาคใต้), เฉียงพร้า ตะแบง (สุรินทร์), ต่อไส้ สันพร้านางแอ (ภาคกลาง), นกขอ่ ส้มปอ้ ง (เชยี งใหม)่ , บงคด (แพร)่ , บงมัง (ปราจีนบุรี อดุ รธานี), มว่ งมงั หมักมงั (ปราจนี บรุ )ี , ร่มคมขวาน (กรุงเทพฯ), สีฟนั นางแอ (ภาคเหนอื ), โองนง่ั (อุตรดิตถ)์ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกช่อ ออกที่ปลายก่ิง กลบี เลย้ี งสเี ขยี วออ่ น กลบี ดอกสคี รมี ผลสด รปู กลม เมอ่ื สกุ สแี ดง แลว้ เปลย่ี นเปน็ สมี ว่ งแดงเมอื่ สกุ จดั สรรพคุณ : เปลือก แก้ไข้ แก้ร้อนในกระหายน�้ำ ขับเสมหะและโลหิต สมานแผล แก้บิด แกพ้ ษิ ผดิ ส�ำแดง ล�ำต้น แก้ไข้ บำ� รุงรา่ งกาย และชว่ ยเจรญิ อาหาร 62

ชะมวง (Garcinia cowa Roxb. ex DC.) วงศ์ CLUSIACEAE ชอื่ อนื่ : กะมวง (ภาคใต้), มวงส้ม (นครศรีธรรมราช), หมากโมก (อุดรธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมต้ ้น น�้ำยางสเี หลอื ง ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา้ ม ดอกเป็นกระจกุ ออกทซี่ อกใบ สีเหลอื ง ผลสด รปู กลมแปน้ เมอ่ื สกุ สเี หลอื งอมสม้ สรรพคุณ : ราก แก้ไข้ แก้ร้อนในกระหายน�้ำ ถอนพิษไข้ แก้บิด ขับเสมหะ ใบ แก้ไข้ ขบั เสมหะ บ�ำรงุ ธาตุ แกไ้ อ แกก้ ระหายน�้ำ ผล ระบายท้อง แกไ้ ข้ ขับเสมหะ แกก้ ระหายนำ้� ฟอกโลหติ 63

64

ชะมาง (Garcinia gracilis Pierre) วงศ์ CLUSIACEAE ชือ่ อื่น : บงนัง่ (สกลนคร), มะแปม (ชลบรุ ี ระยอง), หมักแปม (หนองคาย) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ดอกเป็นกระจุก ออกท่ีซอกใบ และปลายกง่ิ สีแดงคลำ้� ผลสด รปู กลม เมื่อสุกสีแดงสด มรี สเปรย้ี ว สรรพคุณ : ผลสุก เป็นยาระบายและแกเ้ ลือดออกตามไรฟนั 65

66

ชะเอมป่า (Albizia myriophylla Benth.) วงศ์ FABACEAE ช่ืออื่น : ชะเอมไทย (ภาคกลาง), ตาลอ้อย (ตราด), ย่านงาย (ตรงั ), ส้มปอ่ ยหวาน (ภาคเหนอื ), อ้อยชา้ ง (นราธิวาส สงขลา) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเน้ือแข็ง ใบ ประกอบแบบขนนก ๒ ชนั้ ดอกชอ่ ออกท่ปี ลายกง่ิ สีขาวนวล ผลเป็นฝักแบน สรรพคุณ : ราก แก้ไอ ขับเสมหะ ท�ำให้ชุ่มคอ เป็น ยาระบาย เนื้อไม้ แก้โรคในคอ แก้ไอ ขับเสมหะ ท�ำให้ชุ่มคอ แก้ลม บ�ำรุงธาตุ ใบ ขับโลหิตระดู ดอก แก้ดีพิการ ช่วยย่อย อาหาร ผล ขบั เสมหะ 67

68

ชำ� มะเลยี ง (Lepisanthes fruticosa (Roxb.) Leenh.) วงศ์ SAPINDACEAE ชื่ออื่น : โคมเรียง (ตราด), ช�ำมะเลียงบ้าน พุมเรียง พุมเรียงสวน (ภาคกลาง), พูเวียง (นครราชสมี า), มะเถา้ (ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียน ใบย่อย รูปหอกแคบขอบขนาน โคนก้านแผ่เป็นแผ่นคล้ายหูใบ ดอกช่อ ออกท่ีล�ำต้น สีน้�ำตาล ผลสุกสีม่วง อมดำ� สรรพคุณ : ราก แก้ไข้เหนอื แก้ผูกไมถ่ ่าย แกร้ อ้ นใน แก้ไขส้ นั นบิ าต ไขพ้ ษิ ไข้กาฬ แกก้ �ำเดา ผล แกท้ ้องเสยี 69

ชมุ เหด็ เทศ (Senna alata (L.) Roxb.) วงศ์ FABACEAE ชื่ออ่ืน : ขี้คาก ลับมืนหลวง หมากกะลิงเทศ (ภาคเหนือ), Candelabra bush, Ringworm bush ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมพ้ ุม่ ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ ดอกช่อ ออกทปี่ ลายกิ่ง สีเหลอื ง ผลเปน็ ฝกั สรรพคุณ : ล�ำต้น ขับพยาธิ แก้คุดทะราด แก้กระษัยเส้น ขับปัสสาวะ แก้สิว แก้บิด ใบ รักษากลากเกลื้อน แก้กระษัย ขับปัสสาวะ รักษาโรคผิวหนัง เป็นยาระบาย สมานธาตุ ดอก เปน็ ยาระบาย ฝัก ขบั พยาธิ 70

โดไ่ ม่รลู้ ม้ (Elephantopus scaber L.) วงศ์ ASTERACEAE ชอื่ อน่ื : ขไ้ี ฟนกคมุ่ (เลย), คงิ ไฟนกค่มุ (ชัยภูมิ), หญ้าไก่นกคุ่ม หญ้าปราบ หญ้าไฟ นกคุ้ม หญ้าสามสิบสองหาบ หนาดผา (ภาค เหนือ), หนาดมีแคลน (สุราษฎร์ธานี), Prickly leaved elephant’s foot ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ ล้มลุก ล�ำต้นแข็ง ต้ังตรง ใบเดี่ยว เรียงเวียน ท่ีโคนใกล้ผิวดิน ขอบใบหยัก มีขนปกคลุมท้ัง สองด้าน ดอกเป็นกระจุก สีม่วงแดงหรือขาว ผลแห้ง สรรพคุณ : รากและใบ แก้บิด ขับ ปัสสาวะ ขับระดู คุมก�ำเนิด รักษาโรคบุรุษ และขับพยาธิ ท้ัง ๕ แก้ไอ รักษาวัณโรค แก้ เหนบ็ ชา บ�ำรงุ หัวใจ บ�ำรุงก�ำหนดั 71

72

ตานหมอ่ น (Tarlmounia elliptica (DC.) H. Rob.) วงศ์ ASTERACEAE ช่ืออ่ืน : ข้าหมักหลอด (หนองคาย), ตานค้อน (สุราษฎร์ธานี), ตานหม่น (นครศรีธรรมราช), ลีกวนยู (กรุงเทพฯ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเนื้อแข็ง กิ่งอ่อนและท้องใบมีขนสีเงิน ปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงสลบั ดอกชอ่ ออกท่ีปลายก่งิ สขี าว ผลแห้ง มสี นั ๕ สัน สรรพคุณ : ราก แก้พิษตานซาง คุมธาตุ ขับพยาธิไส้เดือน บ�ำรุงผิวพรรณ ราก ลำ� ตน้ ใบ หรอื ดอก แกต้ านซาง คุมธาตุ และขับพยาธ ิ 73

ตวิ้ ขาว (Cratoxylum formosum (Jack) Dyer) วงศ์ HYPERICACEAE ชือ่ อ่ืน : ติ้วสม้ (นครราชสมี า), แต้วหอม (พษิ ณุโลก) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ตน้ ผลดั ใบ ใบเดี่ยว เรียงตรงขา้ ม ใบเกลยี้ ง ดอกช่อ ออกท่ี กิ่งหรือเหนอื รอยแผลใบ สีขาวหรอื ขาวอมชมพู ผลแห้งแตก มี ๓ พ ู สรรพคุณ : รากและใบ แก้ปวดทอ้ ง เปลือกและใบ รักษาโรคผวิ หนงั น้�ำยาง รักษาบาดแผล และแก้ฝ่าเทา้ แตก ใบและยอดออ่ น ชว่ ยระบายทอ้ งและรบั ประทานเปน็ ผัก 74

เถาวลั ยเ์ ปรียง (Derris scandens (Roxb.) Benth.) วงศ์ FABACEAE ชือ่ อ่ืน : เครอื เขาหนัง เถาตาปลา (นครราชสมี า), พานไสน (ชมุ พร) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเนื้อแข็ง ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงสลับ ดอกช่อ ออกที่ซอกใบ สขี าว ผลเป็นฝกั แบน หวั ท้ายแหลม สรรพคณุ : ราก แกเ้ หน็บชา รากและเถา ใช้เบอื่ ปลาและฆา่ แมลง เถา ขับปัสสาวะ ลดการ อกั เสบ แกป้ วด ขบั เสมหะ ขับระดู แกบ้ ดิ แกไ้ อ 75

เถาเอน็ อ่อน (Cryptolepis buchanani Roem. & Schult.) วงศ์ APOCYNACEAE ชือ่ อน่ื : เครือเถาเอ็น (เชยี งใหม)่ , ตนี เป็ดเครือ (ภาคเหนอื ), เม่ือย (ภาคกลาง), หญา้ ลเิ ลน (ปัตตานี), หมอนตนี เป็ด (สุราษฎร์ธาน)ี ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเน้ือแขง็ น้�ำยางสีขาว เปลือกสีนำ�้ ตาลดำ� ใบเด่ียว เรียง ตรงขา้ ม ดอกชอ่ ออกทซี่ อกใบ สีเหลือง ผลเปน็ ฝกั ค ู่ สรรพคุณ : เถา บ�ำรงุ เสน้ เอน็ แกเ้ ส้นเอ็นพกิ าร ท�ำใหเ้ สน้ เอน็ คลายการตึงตัว แกป้ วดเมอ่ื ย ใบ โขลกละเอียดห่อผ้าท�ำลูกประคบ ประคบตามเส้นเอ็นที่ปวดเสียวและตึง เม่ือยขบ ท�ำให้เส้น ยืดหย่อน ทงั้ ๕ ขบั ปสั สาวะ 76

ทำ� มัง (Litsea elliptica Blume) วงศ์ LAURACEAE ช่ืออืน่ : แมงดา (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมต้ ้น ใบเดี่ยว เรยี งเวยี น ดอกชอ่ ออกที่ซอกใบ สเี หลือง ผล รปู กลม เสน้ ผ่านศนู ย์กลาง ๖−๘ มม. ทุกสว่ นมีกล่นิ หอมคลา้ ยกลิน่ แมลงดา สรรพคณุ : เปลือก ขับผายลม ขับลมในล�ำไส้ แกท้ ้องอืดเฟ้อ จุกเสียดแน่น บ�ำรงุ ธาตุ แก่น ขับลม แก้ปวดทอ้ ง แก้จุกเสียด ใบ ช่วยเจริญอาหารและขับลมในลำ� ไส้ 77

78

เทพทาโร (Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm.) วงศ์ LAURACEAE ชื่ออ่ืน : การบูร (หนองคาย), จวง จวงหอม (ภาคใต้), จะไคต้น จะไคหอม (ภาคเหนอื ), พลูต้นขาว (เชยี งใหม)่ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบเดย่ี ว เรยี งสลบั ดอกชอ่ ออกที่ซอกใบ ใกล้ปลายกิง่ สขี าวหรือเหลอื งออ่ น มีกล่ินหอม ผลแก่สีม่วงดำ� สรรพคุณ : เปลือกและเนื้อไม้ แต่งกลิ่นอาหาร เป็นยาบ�ำรุง แก้ลมจุกเสียด ขับลม บ�ำรุงธาตุ ขับผายลม แก้ปวดท้อง ใบ ขับลม บ�ำรุงธาตุ เมล็ด ให้น�้ำมัน ถูนวด แกป้ วด 79

80

เนระพูสีไทย (Tacca chantrieri André) วงศ์ DIOSCOREACEAE ชื่ออ่ืน : คลุ้มเลีย ว่านหัวฬา (จันทบุรี), ดีงูหว้า (ภาคเหนือ), ดีปลาก้าง (ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ), ดีปลาช่อน (ตราด), นิลพูสี (ตรัง), มังกรด�ำ (กรุงเทพฯ), ม้าถอนหลัก (ชุมพร), ว่าน พังพอน (ยะลา), วา่ นหัวท�ำ ว่านหัวลา (จนั ทบรุ ี), Bat flower ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ใบเด่ียว เรียงเวียน ดอกช่อ สีด�ำหรือสีม่วงด�ำ ผล รูปขอบขนานแกมรปู สามเหล่ยี ม เมลด็ รูปไต สรรพคุณ : เหง้า รักษาโรคความดันเลือดต�่ำ บ�ำรุงก�ำหนัด บ�ำรุงก�ำลัง ช่วยเจริญอาหาร ดับพิษไข้ กล่อมพิษทั้งปวง ท้ัง ๕ แก้เม็ดผ่ืนคันตามร่างกาย 81

ปลาไหลเผือก (Eurycoma longifolia Jack) วงศ์ SIMAROUBACEAE ช่ืออื่น : กรุงบาดาล (สุราษฎร์ธานี), คะนาง ชะนาง (ตราด), ตรึงบาดาล (ปัตตานี), ตุงสอ แฮพันชั้น (ภาคเหนือ), เพียก (ภาคใต้), หยิกบ่อถอง หยิกไม่ถึง เอียนดอน (ภาคตะวันออก เฉียงเหนอื ), ไหลเผือก (ตรงั ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มก่ึงไม้ต้นขนาดเล็ก ใบประกอบแบบขนนกปลายค่ี เรียงเวยี น ดอกเปน็ ช่อขนาดใหญ่ สมี ว่ งอมแดง ผลสด เมอ่ื สกุ สมี ่วงด�ำ สรรพคุณ : ราก แก้ไข้ แก้ไข้จับส่ัน รักษาวัณโรค ถ่ายพิษ ขับเหงื่อ แก้ฟกบวม ถ่ายพิษ เสมหะ เปลอื กราก แก้ไข้ เปลือกต้น แก้ไขม้ าลาเรีย ผล แก้บิด 82

83

เปล้าน้อย (Croton stellatopilosus Ohba) วงศ์ EUPHORBIACEAE ช่อื อน่ื : เปล้าท่าโพ (ภาคตะวันออกเฉียงใต้) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม ใบเด่ียว รูปไขก่ ลบั เรยี งเวยี นรอบกง่ิ ดอกชอ่ สขี าวนวล หรือเหลอื งอมเขยี ว ผลมี ๓ พู เม่อื แก่แตก สรรพคณุ : เปลอื กและใบ แกท้ อ้ งเสีย รกั ษาแผลในกระเพาะอาหารและล�ำไส้ แก่น แกช้ ้�ำใน บ�ำรงุ โลหติ ประจ�ำเดือน เปลอื ก ช่วยยอ่ ยอาหารและแก้ท้องเสยี ดอก ขบั พยาธิ 84

เปลา้ ใหญ่ (Croton roxburghii N. P. Balakr.) วงศ์ EUPHORBIACEAE ชอื่ อ่นื : เปาะ (กำ� แพงเพชร), เปล้าหลวง (ภาคเหนอื ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่มก่ึงไม้ต้นขนาดเล็ก ใบเด่ียว เรียงเวียน ดอกสีเหลือง อมเขยี ว ผลมี ๓ พู เม่ือแกแ่ ตก สรรพคุณ : ราก แก้น้�ำเหลืองเสีย รักษาโรคผิวหนัง โรคเรื้อน เปลือก ลดไข้ แก้ตับอักเสบ แก้ปวดข้อ เปลือกและกระพ้ี ช่วยย่อยอาหาร แก่น ขับพยาธิ ใบ รักษาโรคผิวหนัง แก้คันตามตัว แกฟ้ กชำ�้ แกล้ มจกุ เสียด ดอก ขบั พยาธิ เมล็ด เป็นยาถ่าย 85

ฝาง (Caesalpinia sappan L.) วงศ์ FABACEAE ชือ่ อืน่ : ฝางสม้ (กาญจนบุร)ี , Sappan tree ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไมต้ น้ ขนาดเลก็ กงิ่ ห้อยลง ลำ� ต้นและกิ่งมหี นาม ใบประกอบ แบบขนนก ๒ ชนั้ เรยี งสลับหรือเรยี งเวียน ดอกชอ่ กลบี ดอกสเี หลอื ง ผลเปน็ ฝักแบน เมอ่ื แกแ่ ตก สรรพคณุ : แก่น ต้มน้ำ� ด่ืม บำ� รุงโลหิต รกั ษาปอดพิการ แก้ร้อนในกระหายน�้ำ แก้ท้องเสยี แก้ธาตพุ กิ าร ขบั ระดู แกก้ �ำเดา และขบั เสมหะ 86

พะยอม (Shorea roxburghii G. Don) วงศ์ DIPTEROCARPACEAE ช่อื อน่ื : กะยอม (เชียงใหม)่ , แคน (เลย), ขะยอมดง พะยอมดง (ภาคเหนือ), พะยอมทอง (ปราจนี บุรี สุราษฎรธ์ าน)ี , ยางหยวก (น่าน), สุกรม (กรงุ เทพฯ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น ใบเด่ียว เรียงสลับ ดอกช่อ ออกท่ีปลายกิ่ง กลีบดอก สขี าว มกี ลิน่ หอม ผลรปู กระสวย มปี กี ยาว ๓ ปีก ปกี สน้ั ๒ ปกี สรรพคุณ : เปลือก ฝาดสมาน แก้ท้องเดนิ แกล้ �ำไส้อกั เสบ เป็นสารกนั บูด ดอก เข้ายาหอม บ�ำรงุ หวั ใจ และลดไข้ 87

พะวา (Garcinia speciosa Wall.) วงศ์ CLUSIACEAE ชือ่ อ่ืน : กวักไหม หมากกวักสม้ โมงป่า (หนองคาย), กะวา (สุราษฎร์ธาน)ี , ขวาด (เชียงราย), ชะม่วง (พิจิตร), มะดะขี้นก (เชียงใหม่), มะป่อง (ภาคเหนือ), วาน้�ำ (ตรัง), สารภีป่า (ภาคกลาง เชียงใหม่) ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ตน้ ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา้ ม หลงั ใบสเี ขียวเขม้ ท้องใบสเี ขียว หม่น ดอกชอ่ สีครมี หรอื เหลืองนวล ผลกลม เมื่อสกุ สีส้ม สรรพคุณ : เปลือกต้นหรือแก่น ฟอกโลหิต ช่วยให้การหมุนเวียนเลือดดีขึ้น ใบ เป็นยา ระบายอ่อนๆ ดอก แกไ้ ข้ ช่วยใหเ้ จริญอาหาร เปลอื กผล แกท้ อ้ งเสีย 88

89

90

มะกา (Bridelia ovata Decne.) วงศ์ EUPHORBIACEAE ชอ่ื อื่น : กอง (ภาคเหนอื ), กอ้ งแกบ (เชียงใหม่), ข้ีเหล้ามาดกา (ขอนแกน่ ), ซ�ำซา (เลย), มัดกา มาดกา (หนองคาย) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก ใบเด่ียว เรียง สลับ ดอกสเี หลือง ผลสด เมื่อสุกสีม่วงด�ำ สรรพคณุ : เปลือก แก้กระษัย สมานล�ำไส้ แก่น เป็นยาระบาย แก้กระษัย แก้ไตพิการ ฟอกโลหิต และขับเสมหะ ใบ ขับเสมหะและ โลหติ แก้พษิ ตานซาง แก้พษิ ไข้ ขับลมในล�ำไส้ เปน็ ยาระบายอยา่ งอ่อน 91