Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังด้วยเทคโนโลยี

เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังด้วยเทคโนโลยี

Published by Thalanglibrary, 2021-08-30 05:21:47

Description: โครงการขยายผลการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลัง สท./สวทช. ได้จัดทำหนังสือ "การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังด้วยเทคโนโลยี" โดยรวบรวมองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่จำเป็นที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพการผลิตมันสำปะหลังให้เกษตร พร้อมทั้งต้นแบบเกษตรกรที่นำองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปปรับประยุกต์ใช้จนสามารถเพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้น เพื่อเป็นข้อมูลและแนวทางให้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังได้นำไปใช้ประโยชน์ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังให้ได้ทั้งปริมาณและคุณภาพ นำมาซึ่งรายได้และชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

Search

Read the Text Version

เพ�มประสิทธิภาพ การผลิตมนั สำปะหลัง ดŒวยเทคโนโลยี



เพ�มประสิทธิภาพ การผลิตมนั สำปะหลัง ดŒวยเทคโนโลยี

เพิ่มประสิทธิภาพการผลติ มันสำ�ปะหลังดว้ ยเทคโนโลยี ISBN: 978-616-584-004-0 พิมพค์ รงั้ ท่ี 1 จำ� นวน 500 เล่ม สงวนลิขสทิ ธิ์ ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธ์ิ (ฉบับเพิ่มเตมิ ) พ.ศ. 2558 โดยส�ำนกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม ไม่อนุญาตใหค้ ดั ลอก ทำ� ซำ้� และดดั แปลง สว่ นใดส่วนหนึ่งของหนงั สือเลม่ น้ี นอกจากจะได้รบั อนุญาตเป็นลายลักษณ์อกั ษรจากเจ้าของลขิ สิทธ์ิเท่าน้ัน สถาบันการจดั การเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร. เพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิตมันสำ� ปะหลงั ด้วยเทคโนโลย.ี -- ปทมุ ธานี : ส�ำนักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแหง่ ชาติ กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม, 2564. 40 หนา้ . 1. มันสำ� ปะหลัง -- การปลูก. I. ชอ่ื เรอ่ื ง. 633.682 ISBN 978-616-584-004-0 จดั ท�ำโดย สถาบันการจดั การเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ส�ำนักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำ� บลคลองหน่ึง อำ� เภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี 12120 โทรศัพท์ 0 2564 7000 โทรสาร 0 2564 7004 อีเมล: [email protected] https://www.nstda.or.th/agritec

คำ�นำ� มันส�ำปะหลังเป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญของประเทศ สร้างรายได้ปีละ หลายแสนล้านบาท โดยไทยเป็นผู้ส่งออกมันส�ำปะหลังรายใหญ่ของโลกและเป็นอันดับ หนึ่งของอาเซียน แต่การผลิตมันส�ำปะหลังของเกษตรกรไทยยังประสบปัญหาปริมาณ ผลผลิตต�่ำ โดยได้ผลผลิตเฉล่ีย 3-4 ตัน/ไร่ ซึ่งต่�ำกว่าศักยภาพของพันธุ์ที่ควรได้ 5-6 ตนั /ไร่ เนอื่ งจากปจั จยั หลายดา้ นทงั้ สภาพพนื้ ท่ี สภาพอากาศ และการขาดองคค์ วามรู้ ในการบริหารจัดการแปลง สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ส�ำนักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงได้ร่วมกับเครือข่ายพันธมิตร ท้ัง กรมวิชาการเกษตร กรมพัฒนาที่ดิน กรมส่งเสริมการเกษตร สถาบันการศึกษา และ ภาคเอกชน ถ่ายทอดองค์ความรู้และการปรับใช้เทคโนโลยีต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตมันสำ� ปะหลงั ใหเ้ กษตรกรในหลายพื้นท่ี ซ่ึงเกษตรกรนำ� ไปประยุกต์ใช้และท�ำให้ เพิ่มผลผลติ เฉล่ยี ไดเ้ ปน็ 4-6 ตนั /ไร่ โครงการการขยายผลการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันส�ำปะหลัง สท./สวทช. จึงได้จัดท�ำหนังสือ “การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันส�ำปะหลังด้วยเทคโนโลยี” โดยรวบรวมองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่จ�ำเป็นท่ีจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพ การผลิตมันส�ำปะหลังให้เกษตรกร พร้อมท้ังต้นแบบเกษตรกรท่ีน�ำองค์ความรู้และ เทคโนโลยไี ปปรบั ประยกุ ตใ์ ชจ้ นสามารถเพม่ิ ผลผลติ ใหส้ งู ขนึ้ เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู และแนวทาง ให้เกษตรกรผู้ปลูกมันส�ำปะหลังได้น�ำไปใช้ประโยชน์ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มนั ส�ำปะหลงั ให้ได้ทัง้ ปรมิ าณและคุณภาพ น�ำมาซึง่ รายไดแ้ ละชวี ติ ความเป็นอย่ทู ี่ดีข้ึน คณะผจู้ ดั ท�ำ โครงการการขยายผลการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตมนั ส�ำปะหลงั สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.)

สารบญั 5 6 มนั สำ�ปะหลัง : พชื อเนกประสงค์ 8 ปลูกมันสำ�ปะหลังถูกวิธี มีแต่กำ�ไร 10 ปฏทิ ินการปลูก 12 พนั ธ์มุ นั สำ�ปะหลัง 14 ดนิ 16 การจดั การดนิ 18 ปยุ๋ 20 การใหน้ ำ�้ 24 แมลงศัตรู-โรค-วชั พชื 26 “ปลกู ” มันสำ�ปะหลงั 28 ท่อนพนั ธุ์ดี ตน้ ทางผลผลิตคุณภาพ 31 เกษตรกรตน้ แบบ 33 เกีย่ วกับโครงการ บันทึกแปลงปลูก

มันสำ�ปะหลัง : พชื อเนกประสงค์ “มนั สำ�ปะหลงั ” (cassava, tapioca) พืชหวั ชนดิ หนง่ึ ทเ่ี ปน็ แหล่งคาร์โบไฮเดรต ท่ีส�ำคัญรองจากข้าวและข้าวโพด ปลูกง่ายในพ้ืนที่เขตร้อนและร้อนช้ืน ประเทศไทยมีพื้นท่ี ปลกู มนั สำ� ปะหลงั กวา่ 9 ลา้ นไร่ (ปกี ารผลติ 63/64) เปน็ หนงึ่ ในพชื เศรษฐกจิ ทสี่ ำ� คญั ของประเทศ สร้างรายได้ปีละหลายแสนล้านบาท โดยไทยเป็นผู้ส่งออกมันส�ำปะหลังรายใหญ่ของโลกและเป็น อันดบั หน่งึ ของอาเซียน มนั สำ�ปะหลงั ทปี่ ลกู ในประเทศไทย แบ่งเปน็ 2 ชนดิ คอื • ชนดิ หวาน (sweet type) เปน็ มนั สำ� ปะหลงั ทมี่ ปี รมิ าณกรดไฮโดรไซยานกิ ตำ่� และ ไม่มีรสขม น�ำมาบริโภคเป็นอาหารของมนุษย์ได้ มีทั้งชนิดเน้ือร่วน นุ่ม และชนิดเนื้อ แน่น เหนยี ว แต่ปรมิ าณการผลิตมีน้อย • ชนิดขม (bitter type) เป็นมันส�ำปะหลังที่มีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิกสูง เป็น พิษและมีรสขม ไมเ่ หมาะน�ำมาบรโิ ภคเปน็ อาหารของมนุษยห์ รอื ใชเ้ ลย้ี งสตั ว์ แตจ่ ะใช้ ในอตุ สาหกรรมแปรรปู ต่างๆ มันส�ำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นชนิดขม น�ำไปใช้ประโยชน์ในหลาย อุตสาหกรรม ท้ังอุตสาหกรรมแปรรูปมันส�ำปะหลังขั้นต้น ได้แก่ แป้งมันส�ำปะหลัง มันเส้น มันอัดเม็ด และอุตสาหกรรมต่อเนอ่ื ง ไม่วา่ จะเปน็ • อตุ สาหกรรมอาหารและเครอ่ื งดมื่ ใชใ้ นรูปแปง้ เพ่อื ผสมอาหารและ อาหารดดั แปลงอนื่ ๆ เชน่ บะหมี่ สาคู ซอสปรงุ รส หรอื ใชแ้ ทนนำ�้ ตาลซโู ครสในผสไมก้ ระปอ๋ ง แยม • อตุ สาหกรรมสงิ่ พมิ พ์ ใชผ้ สมในเยอื่ กระดาษใหม้ คี วามเหนยี ว หรอื เพม่ิ ความหนาของกระดาษ • อตุ สาหกรรมยา ใชเ้ ป็นตวั เจือจางในยาประเภทแคปซลู และยาเมด็ • อตุ สาหกรรมอาหารสตั ว์ ใช้เป็นสว่ นผสมของอาหารสตั ว์ • อุตสาหกรรมพลงั งาน ใช้เป็นวตั ถุดบิ ผลติ เอทานอล ทดแทนเชอ้ื เพลงิ อ่ืน 5เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลิตมนั สำ�ปะหลังด้วยเทคโนโลยี

ปลูกมนั สำปะหลังถกู วิธี มีแตก ำไร 1เตรียมดิน (ดูตอหนา 12, 25) 3 • ไถลึก 30-40 ซม. • ตากดิน 7-10 วัน ปลกู (ดูตอหนา 24) • พรวนดินใหรวนซุย • ยกรองขวางความลาดเท • ปกทอนพันธุตั้งตรง ระยะปลูกระหวางตน 80-100 ซม. ระหวางแถว 100-120 ซม. • ฤดูแลง ปกลึก 10-15 ซม. ฤดูฝน ปกลึก 5-10 ซม. ฤดแู ลง ฤดฝู น 2 ปก ลกึ 10–15 ซม. ปกลึก 5–10 ซม. เตรยี มทอนพนั ธุ (ดูตอหนา 25) • เลือกทอนพันธุปลอดโรค 4ใหน้ำ (ดูตอหนา 18) และแมลง มี 5-7 ตา • แชทอนพันธุ 5-10 นาที • ชวงเดือนแรก ทุกๆ 2-3 วัน (ไทอะมีโทแซม 4 กรัม ตอน้ำ 20 ลิตร) ครั้งละ 1-2 ชั่วโมง • ชวงอายุ 2-8 เดือน สัปดาหละครั้ง ครั้งละ 2-4 ชั่วโมง *ควรใหน ้ำอยา งตอ เน่ือง ไทอะมโี ทแซม 25%WG อัตรา 4 กรมั /นำ้ 20 ลติ ร 6 เพิ่มประสทิ ธิภาพการผลติ มันสำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

5 สำรวจแปลง 7 เฝาระวังโรคและแมลง ใสป ุย ตามคาวิเคราะหด ิน (ดูตอหนา 20) (ดูตอหนา 16) • หมั่นตรวจแปลงเดือนละครั้ง • ปองกันและกำจัด 6 เกบ็ เกี่ยว 8 กำจดั วัชพืช (ดูตอหนา 23) • งดใหน้ำ 1 เดือนกอนเก็บเกี่ยว • อายุเก็บเกี่ยว 10-12 เดือน • ใชสารเคมี กอนวัชพืชงอก (ไมเกิน 3 วันหลังปลูก) พนยาคุม เชน อะลาคลอร ขณะที่ดินมีความชื้น ไดผลผลิตสูง แปงเยอะ ราคาดี หลังวัชพืชงอกพนยาฆา • ใชเครื่องจักรกล ขณะที่ดินมีความชื้น หลังวัชพืชงอกพนยาฆา 7เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตมันสำ�ปะหลังด้วยเทคโนโลยี

ปฏทิ ินการปลูก 12 34 56 เตรยี มดินและจัดการแปลง ปลูก ปลูกพืชบำรุงดิน ปกทอนพันธุตั้งตรง ใสปุยอินทรีย ระยะปลูกระหวางตน 80-100 ซม. ไถลึก 30-40 ซม. ระหวางแถว 100-120 ซม. ใหน้ำ เตรียมทอ นพันธุ ชวงเดือนแรก ทุกๆ 2-3 วัน ครั้งละ 1-2 ชั่วโมง เลือกทอนคุณภาพ ชวงอายุ 2-8 เดือน สัปดาหละครั้ง ครั้งละ 2-4 ชั่วโมง แชทอนพันธุ ปุยคอก 8 เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ มนั สำ�ปะหลงั ดว้ ยเทคโนโลยี

ที่มา: สำนักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร 7 89 10 11 12 เกบ็ เกีย่ ว อายุเก็บเกี่ยว 10-12 เดือน ใหปุย ปุยเคมี ประสิทธิภาพสูงสุด ใสชวง 1-3 เดือน ชาสุดไมเกิน 4-5 เดือน กำจัดวัชพืช ชวง 1-3 เดือนแรกหลังปลูกมีผลตอ การเจริญเติบโตและผลผลิตมากที่สุด เฝาระวงั แมลงศัตรพู ชื เชน เพลี้ยแปง ไรแดง 9เพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ มนั สำ�ปะหลงั ดว้ ยเทคโนโลยี

พนั ธมุ ันสำปะหลงั “พันธุ” มีสวนสำคัญตอการเพิ่มผลผลิตถึง 30% การเลือกพันธุ มันสำปะหลังที่ดีและเหมาะสมกับประเภทของดิน การใสปุยที่เหมาะสม ตามคา วเิ คราะหด นิ และการบรหิ ารจดั การแปลงปลกู ทด่ี ี จะทำใหเ กษตรกร ไดผ ลผลติ มนั สำปะหลงั ทด่ี แี ละมคี ณุ ภาพ พนั ธมุ นั สำปะหลงั ในไทยไดร ับการพัฒนาโดย กรมวชิ าการเกษตร พนั ธุ ระยอง 1, 2, 3, 5, 7, 9, 11, หนว ยงานความรวมมือ 60, 72, 86-13, 90 และ 15 (สำนกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยแี หงชาติ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยมหดิ ล และกรมวชิ าการเกษตร) พนั ธุ พริ ณุ 1, 2 และ 4 พนั ธุ เกษตรศาสตร 50, 72 หว ยบง 60, 80 และ 90 การจำแนกพันธมุ ันสำปะหลงั พิจารณาจาก สีกานใบ สียอด และหูใบ สีใบออ น และสีลำตน การจำแนกพนั ธมุ นั สำปะหลงั ลกั ษณะทรงตน ลักษณะอื่นๆ ไดแก และการแตกกิง่ ขนทยี่ อดออ น รูปรา งของแฉก ที่อยูก ลางข้ัวของหวั มัน สีผิวเปลือกช้ันนอกของหวั มัน และสีเน้อื ของหัวมัน 10 เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตมนั สำ�ปะหลังดว้ ยเทคโนโลยี

ตัวอยางพันธุม ันสำปะหลัง ระยอง 5 ผลผลติ 4.4 ตนั /ไร เกษตรศาสตร 72 ผลผลิต 8.44 ตนั /ไร ดนิ เหนยี ว ดนิ รวนปนเหนียว ใหผ ลผลติ สงู ปรับตวั ไดดใี นหลายสภาพแวดลอม ผลผลติ สูง ระยอง 7 ผลผลติ 6.1 ตนั /ไร หว ยบง 60 ผลผลติ 5.8 ตัน/ไร ดนิ ทรายปนรวน/ดินรว นปนเหนียว ดินรวนปนทราย ผลผลิตและปริมาณแปง สูง เจรญิ เตบิ โตเรว็ ในชว ง 1-2 เดอื นแรก ตา นทานโรคใบจดุ ปานกลาง ไมคอ ยแตกกิง่ ผลผลติ สูง ทนแลง ระยอง 9 ผลผลติ 4.9 ตัน/ไร หว ยบง 80 ผลผลิต 4.9 ตัน/ไร ดินทรายปนรว น ดินรว นปนเหนยี ว ลำตน สงู ตรง แข็งแรง ผลผลิตสงู ปริมาณแปงสูง มปี รมิ าณแปงสูง ตา นทานโรค ระยอง 11 ผลผลติ 4.77 ตนั /ไร พริ ณุ 2 ผลผลิต 5.8 ตัน/ไร ดนิ ดาง มีปริมาณแปงสูง ดนิ เหนยี วสีแดง/ดนิ รวนปนเหนยี ว ใหผลผลติ หวั สดสงู เปนทัง้ พนั ธุ รับประทานและพันธอุ ุตสาหกรรม เกษตรศาสตร 50 ผลผลติ 4.4 ตัน/ไร พริ ณุ 4 ผลผลติ 6.03 ตนั /ไร ดินทรายรว น/ดินทรายปนรวน ดนิ เหนียวรวนปนทราย/ ดินรวนปนเหนียว ปรบั ตวั กับสภาพแวดลอ มไดด ี ความงอกดี ปรมิ าณแปง สูง มปี รมิ าณไซยาไนดในหัวสดต่ำ ในทกุ สภาพแวดลอม เปนท้งั พันธุ รบั ประทานและพนั ธุอตุ สาหกรรม บิก๊ อุบล ซัดดำ แขกดำ มงั กรหยก เจา สวั ไจแอนท เกลด็ มังกรจมั โบ CMR 43-08-89 CMR 36-55-166 เปนตัวอยางพันธุม นั สำปะหลัง ที่ไมผา นการรบั รอง การใชพ นั ธุท ่ีไมผานการรับรองมคี วามเสี่ยงสงู ที่จะไมต า นทานตอโรคและแมลงศัตรูพืช และเปนแหลงนำโรคได 11เพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ มันสำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

ดิน “´¹Ô ” เปน หวั ใจสำคญั ของการปลกู พชื ประเภทของดนิ และความสมบรู ณข องดนิ สง ผลตอ การเจรญิ เตบิ โต ของพืชและคุณภาพของผลผลิต สำหรับมันสำปะหลังตองการดินที่อุดมสมบูรณ ระบายน้ำดี รวนซุย มีคา pH 5-6 ซึ่งการตรวจวิเคราะหดินชวยใหเกษตรกรรูจักดิน เพื่อปรับปรุงดินและใสปุยใหเหมาะสม ชนิดดินกับการปลกู มันสำปะหลัง ดินทรายรวน ดินทรายปนรวน ดนิ เนอ้ื หยาบ ความอดุ มสมบรู ณต ำ่ ดนิ เนอ้ื ปานกลาง ความอดุ มสมบรู ณต ำ่ พบมากในภาคตะวนั ออกและ พบมากในทกุ ภาค ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ดินดาง ดินรวนปนเหนียว ดนิ เนอ้ื ละเอยี ด หนา ดนิ ลกึ -ลกึ มาก ดนิ เนอ้ื ปานกลาง หนา ดนิ ลกึ ความอดุ มสมบรู ณป านกลาง-สงู เนอ้ื ดนิ สนี ำ้ ตาลแดงเขม /นำ้ ตาลเขม พบตามทล่ี าดเชงิ เขาใกลภ เู ขาหนิ ปนู ความอดุ มสมบรู ณป านกลาง พบมากในทกุ ภาค ในภาคตะวนั ตกและภาคกลาง เนือ้ ดิน มีผลตอการอุมน้ำและการระบายน้ำของดิน เนื้อดินเปนสวนที่เปลี่ยนไดยาก เกษตรกรสามารถตรวจสอบ เนื้อดินในแปลงไดดวยตนเอง 01 2 3 นำดินขนาดเทาไขไกวางบนฝามือ คลึงปนดินใหเปนเสน เปรียบเทียบความยาว เทหรือฉีดน้ำใหดินเปยกน้ำชุมทั่วกัน กับลักษณะเนื้อดิน ลักษณะดิน ปนเปนเสนยาว (ซม.) เนื้อดิน เทียบเทาดินเหนียว (%) ทรายแยกเปนเม็ด ปนเปนเสนไมได ทราย 0-5 ทรายเปนเม็ดและติดมือ 0.5-1.5 ทรายปนรวน 5-15 ทรายเกาะเปนกอนบาง 1.5-2.5 รวนปนทราย 10-20 นุมลื่นมือ แนน ไมมีเม็ดทราย 4.0-5.0 รวนปนเหนียว 25-40 เหนียวหนัก ยืดมาก >7.5 เหนียว >45 ที่มา: สถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร. ดิน น้ำและการจัดการปลูกมันสำปะหลัง โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการกระจายพันธุดีและขยายทอนพันธุสะอาด. 2554. หนา 4 12 เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลิตมนั สำ�ปะหลังด้วยเทคโนโลยี

เกบ็ ตัวอยางดินสงวิเคราะห 15 14 87 11 12 13 10 9 6 1 เตรียมอุปกรณ 2 แบงเก็บตัวอยางดินตามสภาพพื้นที่ 4 5 ที่ใชเก็บตัวอยางดิน 321 จอบ พลั่ว 3 เก็บใหกระจายทั่วพื้นที่ แปลงละประมาณ 10-15 จดุ ใหเ ปน ดนิ ตวั แทนทถ่ี กู ตอ งในพน้ื ทน่ี น้ั เสียม พกลราะปสอตงิก ดนิ สว นทเ่ี กบ็ 4 ขุดดินเปนรูปลิ่ม 1x1 เมตร 15 ซม. ลกึ ประมาณ 15 ซม. ใชพ ลว่ั แซะเอาดนิ ดา นขา งหลมุ ผาพลาสติก ใหไ ดด นิ เปน แผน หนา 2-3 ซม. 2-3 ซม. ถุงพลาสติก 5 คลุกเคลาดินใหเขากัน 6 สงตัวอยางดินวิเคราะห ช่ือ-สกุล แลว แบง ดนิ เปน 4 สว น นำตวั อยา งดนิ 1 สว น สำนกั งานพฒั นาทด่ี นิ ใกลบ า นทา น (ไมม คี า ใชจ า ย) (ประมาณครง่ึ กโิ ลกรมั ) สง วเิ คราะห ภาควชิ าปฐพวี ทิ ยา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร เขยี นชอ่ื -สกลุ และรายละเอยี ดแปลงทห่ี นา ถงุ (600 บาทตอ ตวั อยา ง) ใชช ดุ วเิ คราะหด นิ ภาคสนาม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร (5,700 บาทตอ ชดุ 1 ชดุ วเิ คราะหไ ด 100 ตวั อยา ง) ปริมาณธาตุอาหารท่ีเหมาะสมในดนิ ธาตุอาหาร ปริมาณ ปรับปรุงโดย อินทรียวัตถุ (%) 0.6-1.0 ใสปุยตามคาวิเคราะหดิน ฟอสฟอรัส (มก./กก.) 5-15 ใสปุยตามคาวิเคราะหดิน โพแทสเซียม (มก./กก.) 38-64 ใสปุยตามคาวิเคราะหดิน แคลเซียม (มก./กก.) 125-2,500 กรณีมีนอยกวา 60 มก./กก. ใชปูนขาว ปูนมารล ยิปซั่ม โดโลไมท แมกนีเซียม (มก./กก.) 167-833 กรณีมีนอยกวา 10 มก./กก. ใชแมกนีเซียมซัลเฟต 23 กก./ไร หรือโดโลไมท 13 กก./ไร กำมะถัน (มก./กก.) 20-70 ใชปุยแอมโมเนียมซัลเฟต (24%S) เหล็ก (มก./กก.) 4-100 ใชพันธุระยอง 5, 11 จุมทอนพันธุดวยเฟอรรัสซัลเฟต สังกะสี (มก./กก.) 0.5-5.0 จุมทอนพันธุดวยซิงคซัลเฟตเขมขน 2% หรือพนทางใบ ทองแดง (มก./กก.) 0.1-1.0 ใสปุยหรือวัสดุอินทรีย พนปุยทางใบที่มีทองแดง แมงกานีส (มก./กก.) 5.0-100 ใสปุยหรือวัสดุอินทรีย พนปุยทางใบที่มีแมงกานีส โบรอน (มก./กก.) 0.20-1.0 ใสปุยหรือวัสดุอินทรีย พนปุยทางใบที่มีโบรอน ที่มา: สถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร. ดิน น้ำและการจัดการปลูกมันสำปะหลัง โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังโดยการ กระจายพันธุดีและขยายทอนพันธุสะอาด. 2554. หนา 6 13เพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิตมันสำ�ปะหลังดว้ ยเทคโนโลยี

การจัดการดิน กายภาพดิน • ความลกึ ของดนิ ดินต้นื เพราะชัน้ ดานธรรมชาติ ใหร ักษาดินท่เี หลอื ไว ดว ยการอนรุ กั ษดิน เชน การปลูกแฝก ดนิ ตน้ื เพราะมีชนั้ ดานเนือ่ งจากการไถพรวน ใหระเบดิ ดนิ ดาน • สดี นิ ดนิ สแี ดง การระบายน้ำดี ความอุดมสมบรู ณตำ่ ดินสีเหลือง การระบายน้ำดี คอนขางเกา มคี วามชืน้ สูง ดนิ สนี ำ้ ตาล การระบายนำ้ ดี อดุ มสมบูรณสูง ดนิ สดี ำ อุดมสมบรู ณส ูง อินทรียวตั ถสุ งู ดนิ สีเทา การระบายน้ำเลว อดุ มสมบูรณดี ดนิ สจี าง อินทรียวัตถุต่ำ ดินคอนขา งเลว • เน้อื ดิน • โครงสรา งดิน มีผลตอการซมึ ผานของน้ำ • นำ้ ในดิน เคมี • ปริมาณธาตุอาหาร ชวี ภาพ • กรดดา งมีผลตอ การ ละลายธาตอุ าหารในดิน • คา เหน่ียวนำกระแสไฟฟา • ปรมิ าณอินทรียวตั ถุ • จุลินทรยี ในดนิ • ไสเดือน 14 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำ�ปะหลังด้วยเทคโนโลยี

ดนิ ดาน • ชั้นดานเปนอปุ สรรคของพืช ดินแนน รากชอนไชไดยาก น้ำซึมผานไดช า เกิดรากเนา หวั มนั เนา • เกดิ จากการไถพรวนทีร่ ะดบั ความลกึ เดยี วกันติดตอกนั เปน เวลานาน • ใชเครอื่ งมือกลขนาดใหญเ ตรียมดินเปนประจำ • ปลกู พชื ตดิ ตอ กนั โดยไมพักดิน จัดการดนิ ดาน ไถระเบดิ และใชว สั ดุปรบั ปรงุ ดนิ ทม่ี แี คลเซยี มเปน องคประกอบ เชน ยิปซม่ั ปยุ ยูเรีย ดินดา ง 46 0 0 • เปน ดนิ เนอื้ ปนู เกดิ ในสภาพทีม่ ีหนิ ปนู หรือหินอคั นีสีเขม เปนวัตถุตน กำเนดิ • มเี มด็ ปูน/กอนปนู ปะปนในดิน คาความเปน กรด-ดา ง (pH) > 7.5 ปุย • ปรมิ าณปนู จะเปนช้นั จำกัดรากพชื ทำใหม ันสำปะหลงั ขาดจลุ ธาตจุ ำพวก แอมโมเนยี ม เหลก็ ทองแดง สังกะสี แมงกานสี และโมลบิ ดินัม ซัลเฟต จัดการดนิ ดา ง หลีกเล่ียงการใชปยุ ยเู รีย (46-0-0) 21 0 0 ใชปยุ แอมโมเนยี มซลั เฟต (21-0-0) ใชผงกำมะถันอัตรา 100 กก./ไร ดินกรด ใสป ูนขาว คา pH นอยกวา 4 ใชปนู ขาวอตั รา 50 กก./ไร มปี ญหาดินดาน ใหไถระเบิดดินดาน มีปญหาโครงสราง ใหใ สป ยุ อนิ ทรยี  มปี ญหาความเปนกรด มปี ญหาดนิ ไมอ ุม ปุย ใหใ สปูน รักษาดินไวส ำหรบั อนาคต ใหใสป ยุ อินทรีย ใหปลกู แฝกและคลมุ ดิน 15เพมิ่ ประสิทธิภาพการผลิตมันสำ�ปะหลังด้วยเทคโนโลยี

ปุย การใชปุย อยางมีประสิทธภิ าพ ตอ งถกู สูตร ถกู ปรมิ าณ ถกู เวลา ถกู วิธี ถกู สตู ร ถกู ปริมาณ ใสป ุย ตามคาวิเคราะหด นิ ใชปยุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั และโพแทสเซยี ม* เชน ในดนิ ทรายถงึ ดินรว นปนทราย อตั รา 16-4-8 กก./ไร ถกู เวลา ใสใหท นั ความตอ งการ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ใสช ว ง 1-3 เดอื น ชา สดุ ไมเ กนิ 4-5 เดอื น ถกู วธิ ี ใสใกลราก ใสแ ลวกลบ ใสเมอื่ ดินมคี วามชนื้ หรอื หลังฝนตก ไนโตรเจน (N) หวา นบนผวิ ดนิ ทม่ี คี วามชน้ื ฟอสฟอรสั (P) โรยเปน แถบรองพน้ื หรอื คลกุ ลงดนิ โพแทสเซยี ม (K) รองพน้ื หรอื คลกุ ลงดนิ *คำแนะนำการใชปุยกับมนั สำปะหลงั ของกรมวชิ าการเกษตร ปจ จัยสำคญั ทล่ี ดประสิทธิภาพปยุ ไดถ งึ 5-50% ไดแ ก นำ้ ไมพ อ วชั พชื มาก โรคและแมลงทำลาย ปุย นำ้ ข้ีหมู...สตู รไมล ับเพมิ่ ผลผลิตมนั สำปะหลงั มธี าตุอาหารพืช มฮี อรโมนพืช ควบคุมจุลินทรีย ชว ยเรง การเจรญิ เติบโต ท่ีเปนเชอ้ื โรคของตน มนั สำปะหลัง 13 ชนดิ ข้นั ตอนการทำ นำ้ 10 ลิตร หมักไว 24 ชว่ั โมง นำขีห้ มแู หงบรรจุถุงไนลอน แชน ้ำในถังหรือโอง ดนิ อัตราสวน ข้ีหมูแหง ขห้ี มูแหง 1 กิโลกรัมตอน้ำ 10 ลิตร ปดฝาใหสนิท หมักไว 24 ชั่วโมง ยกถุงขี้หมู 1 กโิ ลกรัม นำ้ สกัดข้ีหมู ออกจากถงั ไดน ำ้ สกดั ขห้ี มสู นี ำ้ ตาลใส ควรบรรจเุ กบ็ ไวใ นถงั หรอื ภาชนะ ทม่ี ฝี าปด กอ นนำไปฉดี พน การนำไปใชประโยชน แชท อ นพันธุม นั สำปะหลงั 1-2 ชวั่ โมงกอนปลูก การฉดี พน ทางใบ ชวยเพิ่มปริมาณธาตุอาหารใหทอนพันธุมันสำปะหลัง ใชน ำ้ สกดั ขห้ี มเู จอื จางนำ้ 10 เทา ผสมสารจบั ใบเลก็ นอ ย อัตราการงอกของตนดีขึ้นและเร็วขึ้น ตนแข็งแรง โตเร็ว อตั ราการฉดี ประมาณ 40-80 ลติ รตอ ไร ขน้ึ กบั ขนาดและ อตั รารอดสงู การออกรากดี โอกาสไดผ ลผลติ สงู มมี าก จำนวนใบของมนั สำปะหลงั ฉดี พน ทกุ เดอื น (เชา หรอื เยน็ ) จนกระทง่ั มนั สำปะหลงั อายุ 4 เดอื น 16 เพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ มนั สำ�ปะหลังด้วยเทคโนโลยี

การใสป ยุ ตามคาวเิ คราะหดิน • เทแมป ยุ ท่ีมีปริมาณมากกอน • การผสมปุยแตล ะครั้งควรใชใหห มด หากใชไมห มด คำแนะนำการใสป ยุ ตามคา แลว เทแมป ุย ที่มปี ริมาณนอยตาม ควรใสถุงพลาสตกิ ผกู ปากถงุ ใหแ นน เกบ็ ได 1-2 สปั ดาห วเิ คราะหด นิ ในมนั สำปะหลัง ผสมคลกุ เคลา ใหเขากัน • ควรใสป ยุ อินทรียร ว มดว ย เพอื่ ชว ยใหการใชป ุยเคมมี ีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น โดยใสป ุยคอก ปุย หมัก ปลูกพืชปุยพืชสด เชน ถวั่ พรา ปอเทอื ง แลว ไถกลบ กอนปลูกมันสำปะหลัง หรือกอนพชื ปุยสดสูงกวาตนมันสำปะหลงั ผลการตรวจวเิ คราะหดนิ ปริมาณธาตุ อัตราปุย ที่แนะนำ อัตราปุยทีแ่ นะนำ อาหารทีต่ องการ (กก./ตอไร) อัตราสูง (กก./ตอไร) อัตราต่ำ (อาศัยน้ำฝนทคี่ อ นขาง (ใหน้ำและนำ้ ฝน ท่ีปกตไิ มท้ิงชว ง) ทิง้ ชว ง) OM P K N P2O5 K2O 46-0-0 18-46-0 0-0-60 46-0-0 18-46-0 0-0-60 16 8 16 1 ต่ำ ตำ่ ต่ำ 28 17 27 14 9 13 2 ต่ำ ต่ำ ปานกลาง 16 8 8 28 17 13 14 9 7 3 ต่ำ ตำ่ สงู 16 8 4 28 17 7 14 9 3 4 ตำ่ ปานกลาง ตำ่ 16 4 16 31 9 27 16 4 13 5 ต่ำ ปานกลาง ปานกลาง 16 4 8 31 9 13 16 4 7 6 ตำ่ ปานกลาง สงู 16 4 4 31 9 7 16 4 3 7 ต่ำ สงู ต่ำ 16 2 16 33 4 27 17 2 13 8 ต่ำ สงู ปานกลาง 16 2 8 33 4 13 17 2 7 9 ต่ำ สูง สูง 16 2 4 33 4 7 17 2 3 10 ปานกลาง ตำ่ ตำ่ 8 8 16 11 17 27 5 9 13 11 ปานกลาง ต่ำ ปานกลาง 88 8 11 17 13 59 7 12 ปานกลาง ตำ่ สูง 88 4 11 17 7 59 3 13 ปานกลาง ปานกลาง ตำ่ 8 4 16 14 9 27 7 4 13 14 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง 84 8 14 9 13 74 7 15 ปานกลาง ปานกลาง สูง 84 4 14 9 7 74 3 16 ปานกลาง สงู ต่ำ 8 2 16 16 4 27 8 2 13 17 ปานกลาง สูง ปานกลาง 82 8 16 4 13 82 7 18 ปานกลาง สูง สงู 82 4 16 4 7 82 3 19 สูง ตำ่ ต่ำ 4 8 16 2 17 27 1 9 13 20 สงู ตำ่ ปานกลาง 48 8 2 17 13 19 7 21 สูง ตำ่ สูง 48 4 2 17 7 19 3 22 สูง ปานกลาง ตำ่ 4 4 16 5 9 27 3 4 13 23 สงู ปานกลาง ปานกลาง 44 8 5 9 13 34 7 24 สงู ปานกลาง สูง 44 4 59 7 34 3 25 สูง สูง ต่ำ 4 2 16 7 4 27 3 2 13 26 สูง สูง ปานกลาง 42 8 7 4 13 32 7 27 สงู สงู สงู 42 4 74 7 32 3 17เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการผลติ มนั สำ�ปะหลังด้วยเทคโนโลยี

การใหน ำ้ มนั สำปะหลัง การจดั การระบบน้ำหยดในมนั สำปะหลัง การใหน้ำสมั พันธกับ ชนิดดิน อายุตน แหลง น้ำ มันสำปะหลังตองการนำ้ มันสำปะหลงั ในชวงแรกของการเจรญิ เติบโต ความชน้ื ในดนิ การรบั นำ้ การอมุ นำ้ การระบายนำ้ โดยเฉพาะอายมุ ันสำปะหลงั ระหวาง 2-5 เดือนหลงั ปลกู การเจรญิ เตบิ โต ปรมิ าณนำ้ ฝน ปรมิ าณนำ้ ชลประทาน การใหน ้ำดว ยระบบน้ำหยดตามชว งอายุมนั สำปะหลังและชนิดของเน้อื ดิน ชนิดเนือ้ ดนิ ชวงอายุมันสำปะหลงั (หลังปลูก) ดินทราย หลงั ปลกู 1-15 วนั 1-2 เดอื น 3-4 เดือน มากกวา 4 เดอื น ดนิ รว นทราย 4-5 วนั /คร้ัง ดินรว นเหนียว 7-15 วัน/คร้ัง 8-9 วนั /ครง้ั 5-6 วนั /ครั้ง ดินเหนยี ว 2-3 วัน/คร้งั 7-8 วัน/ครง้ั ใหน ำ้ นอย 14-16 วัน/ครัง้ 8-10 วนั /คร้ัง 2-3 วนั /ครั้ง ที่มา: สุดชน วนุ ประเสริฐ. 2558. ระบบน้ำหยดสำหรับมันสำปะหลัง. สำนักวชิ าเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี รุ นาร.ี ระบบนำ้ หยดชวยเพม่ิ ผลผลิต มีอายกุ ารใชง าน เพ่มิ ผลผลติ การใหน ำ้ แบบนำ้ หยดเหมาะกบั การปลกู มนั สำปะหลงั เพราะเปน ระบบทใ่ี ชน ำ้ นอ ย 3-5 ป ไดป ระมาณ มปี ระสทิ ธภิ าพการใหน ำ้ สงู ใหน ำ้ ทโ่ี คนตน เกดิ วชั พชื นอ ย และใชไ ดก บั แปลงปลกู เนอ้ื ดนิ ทกุ ประเภท (ขึน้ กับคุณภาพ 50-60% และการดูแลรักษา) ตนทนุ การตดิ ตั้งระบบนำ้ หยดประมาณ เทคนคิ การใหน ้ำ 4,000-6,000 บาท/ไร ตน มนั ตั้งตัวไดแ ลว สายนำ้ หยด ใหน้ำสัปดาหล ะ 1 คร้งั นาน 2-4 ช่วั โมง ไมค วรยาวเกนิ เดือน 1-3 120 เมตร ใหน ำ้ ทุกๆ 2-3 วนั อัตราน้ำหยดออก คร้ังละ 1-2 ชวั่ โมง 1-2.5 ลิตร/รหู ยด 18 เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการผลติ มนั สำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

เทคโนโลยกี ารใหนำ้ อัจฉรยิ ะสำหรับแปลงมนั สำปะหลัง เทคโนโลยกี ารตรวจวัดและควบคมุ แบบไรสายทีต่ ดิ ตามสภาวะแวดลอมของพืช พรอมทั้ง ควบคุมการใหน้ำตามความ ตองการของพืชดวยระบบอัตโนมัติ ตั้งเวลาและควบคุมตรง ชวยลดปริมาณการใชน้ำและปุยที่เกินความจำเปน ลดความ สูญเสียของผลผลิต ประหยัดพลังงานไฟฟา และใชต น ทุนอยา งเหมาะสม • สามารถแบง โซนการควบคมุ และตดิ ตามขอ มลู เพื่อรองรับการปลูกพชื หลายชนดิ ในแปลงเดยี ว • ต้งั เง่อื นไขการควบคุมผา นสมารท โฟนได 3 รปู แบบ ไดแ ก • อตั โนมัติ (auto) ตามความตองการของพชื • ตงั้ เวลา (timer) จากพฤติกรรมการใหน้ำปกติ • ควบคมุ ตรง (manual) ตามความตองการของเกษตรกร • เก็บบันทกึ ขอ มูลและดยู อ นหลังได 1 ป สามารถนำขอ มลู ออกมาแสดงในรปู แบบตวั เลขและกราฟ อุปกรณและการทำงาน ประกอบดว ย เซนเซอรว ดั อณุ หภูมิและความช้นื สมั พทั ธ แสดงขอมลู ณ เวลาจรงิ เพ่อื ปอ งกันความสูญเสียของผลผลติ เซนเซอรวดั ความเขมแสง แสดงขอมลู ณ เวลาจริง เพื่อปอ งกนั ความสญู เสียของผลผลิต เซนเซอรวัดความชน้ื ดิน ใชค วบคุมการใหนำ้ ตามความตอ งการของพชื โดยใชเซนเซอร 1 ตัว ตอ 1 โซนการปลกู แอปพลิเคช่ัน แสดงผลและควบคุมแบบตามเวลาจริง ณ ขณะนน้ั ผา นสมารท โฟน และแจงเตอื นความผิดปกตผิ านแอปพลิเคชน่ั ไลน (Line) 19เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการผลติ มนั สำ�ปะหลงั ดว้ ยเทคโนโลยี

แมลงศตั รู-โรค-วัชพชื ในมันสำปะหลัง แมลงศตั รู เพลย้ี แปง เพล้ียแปง เพลยี้ แปง ลาย อาการพืช ยอดถูกทำลายหงกิ งอ เปนพมุ ลำตน บิดเบี้ยว ชวงขอ ถ่ี มนั สำปะหลงั สีชมพู เพล้ียแปง สาเหตุ ติดไปกบั ทอ นพนั ธุ เพล้ยี แปง มะละกอ มนั สำปะหลงั สเี ทา ปองกนั /กำจดั เพล้ยี แปง ขอ มูลเพ่มิ เตมิ มนั สำปะหลังสีเขียว บวิ เวอเรีย แชท อ นพนั ธุ ดวย ไทอะมีโทแซม ไทอะมีโทแซม (แอคทารา) อัตรา 4 กรัม (ประมาณ 4 กรมั ตอน้ำ 20 ลิตร 1 ชอนชา) ตอน้ำ 20 ลิตร หมั่นสำรวจแปลงอยางนอยเดือนละครั้ง เรม่ิ ระบาด ควบคุมโดยชีววิธี เชน ปลอยแตนเบียน แมลงชางบีกใส หรือฉีดพนราบิวเวอเรีย ระบาดหนกั ฉีดพน ไทอะมีโทแซม 4 กรมั (ประมาณ 1 ชอนชา) ตอนำ้ 20 ลิตร ไรแดง อาการพชื ใบเหลืองซีด มวนงอ และรวง สาเหตุ ระบาดในสภาพอากาศแหง แลงและฝนทิ้งชวงนาน ไรแดงมนั สำปะหลงั ไรแมงมมุ คนั ซาวา ปองกนั /กำจดั ใชศัตรูธรรมชาติ ไรแดงตัวห้ำ ดวงเตาสตีธอรัส ฉีดพนดวยสารสไปโรมซี เี ฟน 6 ซซี /ี นำ้ 20 ลติ ร ทบี เู ฟนไพเรด 3-5 ซซี /ี นำ้ 20 ลติ ร ไพรดิ าเมน 15-20 กรมั /นำ้ 20 ลติ ร 20 เพ่มิ ประสิทธิภาพการผลิตมันสำ�ปะหลังด้วยเทคโนโลยี

โรค โรคโคนเนา หวั เนา อาการพชื • ระยะกลาอายุ 1-2 เดือน ใบเหลือง เหี่ยว รว ง • ระยะสรา งหวั พบอาการโคนเนาท่ตี น ระดับผิวดินลามลงขว้ั หัว • ระยะใกลเ ก็บเก่ยี ว ใบลางรว งเร็วผดิ ปกติ ใบยอดเขียวปกติ ไมค อ ย พบอาการโคนเนา แตพบอาการหวั เนา เริม่ จากปลายหวั ขน้ึ ไปสูข ้วั หัว สาเหตุ เชอ้ื ราไฟทอ็ ปธอรา ปองกนั /กำจดั ใชพันธุต า นทาน เชน ระยอง 5 ระยอง 72 • ผลเสยี หาย ≥ 50% ใหป ลูกพืชทไ่ี มใชพ ชื อาศยั ของเชื้อ เชน ออย ขาวโพด กลวย • ผลเสยี หาย < 50% ใชพ ันธุตานทาน เชน ระยอง 5 ระยอง 72 แชด วยสารเคมีปอ งกัน กำจดั เชื้อรา ปลูกไมห นาแนน เกนิ ไป ใชเชอ้ื ราไตรโคเดอรมา หรอื ใชสารอาลีเอท โรครากปมมนั สำปะหลัง อาการพืช ระบบรากเปนปุมปม รากไมสะสมแปง ผลผลติ ลดลง สาเหตุ ไสเ ดอื นฝอยแพรร ะบาดในดนิ ที่มีความชืน้ และเนือ้ ดนิ รว นปนทราย ปองกัน/กำจัด • ปลกู ปอเทืองกอ นปลกู มนั สำปะหลัง • ไถตากดินกอ นปลกู กำจดั ตวั ออ น • ใชพ ันธุตานทาน เชน ระยอง 7 ระยอง 13 ระยอง 60 ระยอง 72 และเกษตรศาสตร 50 qr code วดิ โี อ ชดุ ตรวจวนิ ิจฉัยไวรัส ใบด่างในมนั ส�ำปะหลัง (รอลิงคค์ ่ะ) 21เพิม่ ประสิทธิภาพการผลติ มันสำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

โรคใบไหม อาการพืช ใบจดุ เหล่ยี ม ฉำ่ นำ้ ใบไหม เหย่ี ว ยางไหล ยอดเหย่ี ว แหง ตาย เช้อื สาเหตุ เช้อื แบคทเี รีย Xanthomonas campestris pv. manihotis ปองกนั /กำจดั ใชพันธตุ านทาน เชน ระยอง 90 ระยอง 9 • ใชพันธตุ านทาน เชน ระยอง 90 ระยอง 9 • ใชทอ นพันธุปราศจากเชื้อ • ปลูกพชื หมนุ เวยี น อายสุ ้ัน • ใชส ารเคมที มี่ อี งคประกอบพวกทองแดง โรคแอนแทรคโนส อาการพชื ขอบใบไหมสนี ำ้ ตาลขยายตัวเขากลางใบ แผลบนใบมเี มด็ เล็กๆ สดี ำ เชอ้ื สาเหตุ ขยายตวั ไปตามขอบแผล กา นใบไหมแหงและหกั เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides f.sp.manihotis ปองกัน/กำจัด • ใชพ ันธตุ านทาน ทอนพันธปุ ลอดโรค • ปลูกพืชหมนุ เวยี น • ไถกลบเศษซากมนั สำปะหลงั ลึกๆ โรคใบดา งมันสำปะหลัง อาการพืช ใบดา งเหลอื ง ใบเสียรปู ทรง เชอื้ สาเหตุ หดลดรปู ลำตนแคระแกรน็ ปองกัน/กำจดั เชอื้ ไวรสั Cassava mosaic virus ในทวีปเอเชีย 2 ชนดิ ไดแ ก Indian assava mosaic virus (ICMV) พบในประเทศอนิ เดีย และ Sri Lankan cassava mosaic virus (SLCMV) พบในประเทศศรลี ังกา อนิ เดยี เวยี ดนาม และกมั พชู า มีแมลงหว่ีขาวเปน พาหะ ใชทอนพันธปุ ลอดเชือ้ และใชชุดตรวจวินิจฉยั วดิ โี อชดุ ตรวจวินิจฉยั ไวรสั ใบดางในมนั สำปะหลัง ท่จี ำเพาะเพอื่ ตรวจทอนพันธุ แมลงหว่ีขาวเปนพาหะ 22 เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ มันสำ�ปะหลงั ดว้ ยเทคโนโลยี

วชั พชื หญาขจรจบเล็ก ครามขน หญาโขยง เชงใบมน หญาตีนกาใหญ ผักเบี้ยหิน กกดอกแบบ หญาดอกแดง สาบเสือ กกทราย หญาตีนกา ประเภทใบกวา สาบมวง ประเภทใบแคบ ง ผักปราบไร ประเภทกก หญาตีนนก สารกำจดั วัชพชื ในแปลงมนั สำปะหลงั ประเภทยาคมุ ชื่อสามัญ อัตราใชตอไร ชนิดวัชพืชสวนใหญ หวั ฉดี พนสารกำจดั วัชพืช ที่ควบคุมได อะลาคลอร 500-700 ซีซี • ควรใชหัวฉีดรูปพัดหรือหัวปะทะ ขนาดของ อะเซโทคลอร 500-700 ซีซี วัชพืชใบแคบ รูหัวฉีดมีผลตออัตราน้ำที่ใชพน เอส-เมโทลาคลอร 180-200 ซีซี วัชพืชใบแคบ ไอซอกซะฟลูโทล 15-20 ซีซี วัชพืชใบแคบ • เดินฉีดในแนวตรง ใหละอองเหลื่อมกันตรงขอบ เมทริบิวซิน 50-70 ซีซี วัชพืชใบแคบ ทั้งสองดานเล็กนอย จะทำใหควบคุมวัชพืชได ฟลูมิออกซาซิน 20-30 ซีซี วัชพืชใบกวาง ทั่วแปลง ไดยูรอน 200-300 ซีซี วัชพืชใบกวาง วัชพืชใบกวาง • สารกำจัดวัชพืชประเภท “ยาคุม” ควรใชหัวฉีด ที่มีรูใหญ ใหปริมาณน้ำออก 80-100 ลิตร/ไร ประเภทยาฆา เพื่อใหฉีดพนคลุมผิวดินสม่ำเสมอ ชื่อสามัญ อัตราใชตอไร ชนิดวัชพืชสวนใหญ • สารกำจัดวัชพืชประเภท “ยาฆา” ควรใชหัวฉีด ที่ควบคุมได ที่มีรูเล็ก ใหละอองสารมีขนาดเล็ก ปริมาณน้ำ ที่ใช 40-60 ลิตร/ไร เพื่อใหละอองจับที่ใบ 1. ฟลูอะซิฟอบ 300-500 ซีซี เฉพาะวัชพืชใบแคบ 2. ฮาโลซิฟอบ 300-500 ซีซี เฉพาะวัชพืชใบแคบ หวั ฉดี รปู พัดหรือหัวปะทะเหมาะสมตอ การพนสารเคมี 3. ควิซาโลฟอบ 200-300 ซีซี เฉพาะวัชพืชใบแคบ กำจัดวัชพชื โดยละอองสารทอี่ อกมาเปนรปู พัด 4. กลูโฟสิเนท 500-1000 ซีซี วัชพืชใบแคบ และใบกวาง หมายเหตุ : ชนิด 1-3 สามารถพนไดโดยไมเปนอันตรายตอมันสำปะหลัง ชนิด 4 ตองใชหัวครอบไมใหละอองสัมผัสใบ และยอดมันสำปะหลัง 23เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการผลติ มนั สำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

“ปลูก” มันสำปะหลงั การปลูกมันสำปะหลังมักเริ่มในชวงตนฤดูฝนหรือปลายฤดูฝน ซึ่งผลผลิตจะขึ้นอยูกับการไดรับน้ำฝนในชวงที่มันสำปะหลัง ชว งเวลาปลกู ทเ่ี หมาะสม อายุ 3-12 เดือน และชวงเวลาปลูกที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ปลูก ปลูกเดือน มี.ค.-พ.ค. ต.ค.-พ.ย. เมป.ลยูก.เ-ดพือ.นค. ปลูกเดือน ต.ค.-พ.ย. เม.ย.-พ.ค. ปลูกเดือน ต.ค.-พ.ย. เม.ย.-พ.ค. ปลูกเดือน พ.ย. มี.ค.-มิ.ย. ต.ค.-พ.ย. ที่มา: สถาบันวิจัยพืชไร กรมวิชาการเกษตร. ดิน น้ำและการจัดการปลูกมันสำปะหลัง โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการกระจายพันธุดีและขยายทอนพันธุสะอาด. 2554. หนา 16 ในแหลง ปลูกที่เพลย้ี แปง ระบาดไมค วรปลูกในชว งแลง ใหป ลกู ชว งตนฤดฝู น เพอ่ื หลีกเลี่ยงการเขาทำลาย ของเพลีย้ แปงในระยะการเจริญเติบโตชวงแรก และฝนจะชว ยลดการระบาดของเพล้ียแปง ได 24 เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลิตมันสำ�ปะหลังดว้ ยเทคโนโลยี

เตรียมดนิ • ปลูกพืชบำรุงดิน เชน ปอเทือง ถั่วพุม ถั่วพรา แลวไถกลบเปนปุยพืชสด เมื่อพืชออกดอก ทิ้งไว 7-10 วัน กอนปลูกมันสำปะหลัง ุปยคอก • ใชปุยอินทรียเศษซากพืช • ตากดินอยางนอย 2 สัปดาห หรือปุยมูลสัตว ปรับโครงสรางดิน ลดปริมาณวัชพืช เพลี้ยแปง ปรับสมดุลของธาตุอาหารและ และศัตรูพืชอื่นๆ ในดิน เพิ่มการอุมน้ำของดิน • ไถพรวนใหลึก 20-30 ซม. ใชผาน 3-4 สลับกับผาน 7 ชวยใหดินรวนซุย และนำธาตุอาหารที่อยูในดินชั้นลางกลับขึ้นมาในดินชั้นบน • ไมควรไถเตรียมดินขณะที่ดินแฉะหรือแหงมากเกินไป • ควรสลับทิศทางการไถ ไมไถในทิศทางเดิม • ถาปลูกในพื้นที่ลาดเอียง ควรไถขวางทิศทางความลาดเอียง หรือปลูกหญาแฝกขวางทางลาดเอียง ลดการสูญเสียหนาดิน • ถาพื้นที่เพาะปลูกมีน้ำขัง ควรทำรองระบายน้ำและยกรองปลูก เตรยี มทอ นพันธุ • เลือกทอนพันธุตรงตามพันธุ ปลอดโรคและแมลง จากแหลงที่เชื่อถือได • ตัดทอนพันธุยาว 20-25 ซม. (ปลูกฤดูฝน 20 ซม. ฤดูแลง 25 ซม.) มีตา 5-7 ตา • แชทอนพันธุดวยสารปองกันกำจัดแมลง ชวยกำจัดเพลี้ยแปงที่ติดมากับทอนพันธุและะปองกันการระบาดในชวงเดือนแรกได หรือ หรอื ไทอะมีโทแซม 25%WG อิมิดาโคลพรดิ 70%WG ไดโนทีฟแู รน 10%WP อตั รา 4 กรัม/น้ำ 20 ลิตร อัตรา 4 กรมั /น้ำ 20 ลิตร อตั รา 40 กรัม/น้ำ 20 ลติ ร ปลูกเอง ฤดแู ลง ฤดูฝน ปกลึก 5–10 ซม. • ยกรองหรือไมยกรอง ขึ้นอยูกับสภาพพื้นที่และความสะดวกของเกษตรกร • กรณียกรองปลูก ใหปลูกบนสันรอง ปกทอนมันตั้งตรง ฤดูฝน ปกลึก 5-10 ซม. ฤดูแลง ปกลึก 15 ซม. ปก ลกึ 10–15 ซม. • ระยะปลูกระหวางตน 60-100 ซม. ระหวางแถว 80-100 ซม. (ขึ้นอยูกับพันธุมันสำปะหลัง) ใชเ คร่อื งปลกู ปจจุบันมีเครื่องปลูกมันสำปะหลังที่ทำงานไดหลายขั้นตอนในเครื่องเดียว ทั้งยกรอง ตัดทอนพันธุ ปกทอนพันธุ หยอดปุย และ พนยา จึงชวยลดแรงงานและระยะเวลาการทำงานใหเกษตรกรได 25เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการผลติ มันสำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

ทอ นพันธุดี ทอนพันธุมันสำปะหลังเปนปจจัยการผลิตที่สำคัญในการเพาะปลูก การคัดเลือก เก็บเกี่ยว และเตรียมทอนพันธุอยางถูกตองเหมาะสม จะทำให ตน ทางผลผลิตคุณภาพ ไดทอนพันธุที่ดีและเปนตนทางที่จะทำใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ การคัดเลือกและเก็บเกี่ยวทอ นพันธุ คดั เลอื กตนพันธุ ฤดฝู น ฤดแู ลง ใชลำตนทอนพนั ธุ ทีไ่ มไ ดข นาด ทมี่ อี ายุ 10-12 เดอื น มีแมลงทำลาย กองไวก ลางแจง กองไวในที่รม และในทีร่ ม แยกแปลงทใี่ ชส ำหรบั ทำทอ นพันธุ เกบ็ รักษาทอนพันธโุ ดยมัดและกองไว ตน พันธุปลอดโรคดว ย “เทคโนโลยีเพาะเลี้ยงเนอ้ื เยือ่ ” และ “Mini stem cutting” การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเปนการขยายพันธุพืชภายใตสภาวะที่ควบคุมความสะอาดแบบปลอดเชื้อ อุณหภูมิและแสง โดยนำชิ้นสวนของพืชเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห เจริญเติบโตเปนตนกลาที่สมบูรณ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเปนเทคโนโลยีที่ชวยใหไดตนพันธุมันสำปะหลังปลอดโรค ตรงตามพันธุและผลิตไดในปริมาณมาก ซึ่งการเจริญเติบโตของตนกลาที่ไดจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไมแตกตางจากการปลูกดวยทอนพันธุของเกษตรกร รวมถึงผลผลิต และเปอรเซ็นตแปง ซึ่งการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อผลิตตนพันธุใชเวลาประมาณ 3 เดือน อนุบาลตนออนประมาณ 2-3 เดือน แลวสามารถยายลงแปลงปลูกได ระบบการเพิ่มขยายจำนวนตนกลามันสำปะหลังปลอดโรคดวยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การเจริญเติบโตและผลผลิตรากสะสมอาหารของตนมันสำปะหลังปลอดโรคจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การอนุบาลและการยายปลูกตนกลามันสำปะหลังปลอดโรคจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 26 เพ่มิ ประสิทธิภาพการผลติ มนั สำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีการผลิตทอนพันธุมันสำปะหลังแบบ Mini stem cutting โดยใชทอนพันธุมันสำปะหลังทีมี จำนวนตาอยางนอ ยทีส่ ดุ 1-2 ตา มาเพาะชำเปนตน กลากอนการยายลงแปลงปลูก ไมเ พยี งไดทอนพนั ธุปลอดโรค หายังชวยประหยัด คาทอ นพนั ธุไดอีกดว ย ตน พันธอุ ายุ 8-10 เดือน เทคโนโลยี Mini stem cutting จากการเพาะเลี้ยงเนอื้ เยือ่ วดิ โี อเทคนคิ เพาะเลีย้ งเนื้อเยอื่ และ Mini stem cutting อนุบาลในโรงเรือนทพี่ รางแสง 50% 27เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการผลิตมนั สำ�ปะหลังดว้ ยเทคโนโลยี

เกษตรกรตนแบบ นายสยาม ไพศาลภาณุมาศ 5 ม.8 ต.วังไผ อ.หวยกระเจา จ.กาญจนบุรี ดิน ปรับปรุงดิน ระเบิดดินดาน ตรวจดิน ใหปุยตามคาวิเคราะหดิน พันธุ เกษตรศาสตร 72 ศัตรูพืช ตรวจสอบแปลงและ ใชระบบ ระยะปลูก 80x120 ซม. กำจัดอยา งถกู ตอ ง น้ำหยด ใชส ารชวี ภณั ฑร ว ม 5,573ผลผลิต กก./ไร ผลผลิตในฤดูกาลปลูก 2561/2562 ตนทุน รายได ราคา กำไร 5,070 13,932.50 2.5 8,862.50 บาท/ไร บาท/ไร บาท/กก. บาท/ไร 28 เพ่มิ ประสิทธิภาพการผลิตมันสำ�ปะหลงั ดว้ ยเทคโนโลยี

“ปลูกมันอยางใสใจ ใชเทคโนโลยี สรางรายได เพิ่มผลผลิต” นายอนวัช เทพสถิตศิลป 79 หมู 8 ต.วังไผ อ.หวยกระเจา จ.กาญจนบุรี ดิน ปรับปรุงโครงสรางดิน ตรวจดิน ใหปุยตามคาวิเคราะหดิน พันธุ เกษตรศาสตร 72 ศัตรูพืช ตรวจสอบแปลงและ ใชระบบ ระยะปลูก 80x120 ซม. กำจัดอยา งถกู ตอ ง น้ำหยด ใชส ารชวี ภณั ฑร ว ม ผลผลิต 5,360 กก./ไร ผลผลิตในฤดูกาลปลูก 2561/2562 ตนทุน รายได ราคา กำไร 4,875 13,400 2.5 8,040 บาท/ไร บาท/ไร บาท/กก. บาท/ไร 29เพ่ิมประสิทธภิ าพการผลิตมันสำ�ปะหลังด้วยเทคโนโลยี

เกษตรกรตนแบบ นายศรีโพธิ์ ขยันการนาวี ต.วังชะพลู อ.ขาณุวรลักษบุรี จ.กำแพงเพชร ดิน ปรับปรุงโครงสรางดิน ตรวจดิน ใชปุยตามคาวิเคราะหดิน พันธุ ระยอง 86-13 ศัตรูพืช ตรวจแปลงและกำจัด ใชระบบ ระยะปลูก 80x120 ซม. อยางสม่ำเสมอ น้ำหยด 6,430ผลผลิต กก./ไร ผลผลิตในฤดูกาลปลูก 2561/2562 ตนทุน รายได ราคา กำไร 4,460 14,146 2.2 7,716 บาท/ไร บาท/ไร บาท/กก. บาท/ไร 30 เพม่ิ ประสิทธิภาพการผลิตมนั สำ�ปะหลังดว้ ยเทคโนโลยี

เกี่ยวกับโครงการ สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ไดร้ ว่ มกบั กรมวชิ าการเกษตร กรมพฒั นาทดี่ นิ กรมสง่ เสรมิ การเกษตรสถาบนั การศกึ ษา และภาคเอกชน ถา่ ยทอด องค์ความรู้และการปรับใช้เทคโนโลยีเพ่ือเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตมันส�ำปะหลังให้เกษตรกร ได้แก่ • การเลือกพันธ์ุท่ีเหมาะสมกับพื้นท่ี • การจัดการดนิ • การใช้ปุย๋ ตามค่าวิเคราะห์ดิน • การใช้ Smart Farm (ระบบควบคุมการให้นำ�้ ) • การจัดท�ำแปลงขยายทอ่ นพันธป์ุ ลอดโรค เพ่ือรองรับการระบาดของไวรัสใบดา่ ง มันส�ำปะหลงั 31เพมิ่ ประสิทธิภาพการผลติ มันสำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

การด�ำเนนิ งาน ของโครงการฯ ประกอบด้วย กจิ กรรมหลกั คอื การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การสรา้ งเกษตรกรตน้ แบบ การติดตาม และใหค้ ำ� แนะนำ� นอกจากน้ียงั เสริมด้วย กจิ กรรมการทำ� แปลงสาธติ การประกวด และการศึกษาดงู าน แปลงเรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต มันสำ�ปะหลัง • บา้ นอา่ งหนิ พฒั นา ต.วงั ไผ่ อ.หว้ ยกระเจา จ.กาญจนบรุ ี • กำ� แพงเพชรโมเดล บา้ นห้วยแก้ว ต.วังชะพลู และต.ปางมะค่า อ.ขาณวุ รลกั ษณบรุ ี จ.ก�ำแพงเพชร 32 เพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลิตมนั สำ�ปะหลังด้วยเทคโนโลยี

บันทึก แปลงปลูกมันสำปะหลัง 33เพ่ิมประสิทธิภาพการผลติ มนั สำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

บนั ทกึ แปลงปลกู ปี .............. พน้ื ทปี่ ลกู ........... ไร่ กจิ กรรม เดือนปลกู รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 คา่ ใช้จา่ ย เตรยี มแปลง คา่ จา้ งระเบดิ ดนิ ดาน คา่ จา้ งไถพรวน คา่ จ้างยกรอ่ งปลกู เตรยี มทอ่ นพันธ์ุ คา่ ทอ่ นพันธ์ุ ค่าสารชุบทอ่ นพนั ธุ์ ปลูก ค่าจ้างปลกู ค่าปุ๋ย คา่ จ้างกำ� จัดวชั พชื คา่ สารก�ำจดั วชั พชื คา่ ระบบน้ำ� คา่ จ้างใสป่ ๋ยุ คา่ ไฟ เก็บเกยี่ ว ค่าจ้างเก็บเกย่ี ว คา่ ขนส่ง รวมต้นทุนการปลูก 34 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลิตมนั สำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

บนั ทกึ แปลงปลกู ปี .............. พน้ื ทปี่ ลกู ........... ไร่ กจิ กรรม เดอื นปลกู รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 คา่ ใชจ้ ่าย เตรยี มแปลง คา่ จา้ งระเบดิ ดนิ ดาน ค่าจา้ งไถพรวน ค่าจ้างยกร่องปลกู เตรยี มทอ่ นพนั ธุ์ ค่าทอ่ นพันธุ์ ค่าสารชุบทอ่ นพนั ธุ์ ปลกู คา่ จา้ งปลกู ค่าป๋ยุ คา่ จ้างก�ำจดั วัชพืช คา่ สารก�ำจดั วชั พืช คา่ ระบบน้�ำ คา่ จา้ งใส่ปยุ๋ คา่ ไฟ เกบ็ เก่ียว ค่าจา้ งเก็บเกี่ยว คา่ ขนส่ง รวมต้นทุนการปลูก 35เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลติ มนั สำ�ปะหลังดว้ ยเทคโนโลยี

บนั ทกึ แปลงปลกู ปี .............. พน้ื ทปี่ ลกู ........... ไร่ กจิ กรรม เดือนปลกู รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 คา่ ใช้จา่ ย เตรยี มแปลง คา่ จา้ งระเบดิ ดนิ ดาน คา่ จา้ งไถพรวน คา่ จ้างยกรอ่ งปลกู เตรยี มทอ่ นพันธ์ุ คา่ ทอ่ นพันธ์ุ ค่าสารชุบทอ่ นพนั ธุ์ ปลูก ค่าจ้างปลกู ค่าปุ๋ย คา่ จ้างกำ� จัดวชั พชื คา่ สารก�ำจดั วชั พชื คา่ ระบบน้ำ� คา่ จ้างใสป่ ๋ยุ คา่ ไฟ เก็บเกยี่ ว ค่าจ้างเก็บเกย่ี ว คา่ ขนส่ง รวมต้นทุนการปลูก 36 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการผลิตมนั สำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

บนั ทกึ แปลงปลกู ปี .............. พน้ื ทปี่ ลกู ........... ไร่ กจิ กรรม เดอื นปลกู รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 คา่ ใชจ้ ่าย เตรยี มแปลง คา่ จา้ งระเบดิ ดนิ ดาน ค่าจา้ งไถพรวน ค่าจ้างยกร่องปลกู เตรยี มทอ่ นพนั ธุ์ ค่าทอ่ นพันธุ์ ค่าสารชุบทอ่ นพนั ธุ์ ปลกู คา่ จา้ งปลกู ค่าป๋ยุ คา่ จ้างก�ำจดั วัชพืช คา่ สารก�ำจดั วชั พืช คา่ ระบบน้�ำ คา่ จา้ งใส่ปยุ๋ คา่ ไฟ เกบ็ เก่ียว ค่าจา้ งเก็บเกี่ยว คา่ ขนส่ง รวมต้นทุนการปลูก 37เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลติ มนั สำ�ปะหลังดว้ ยเทคโนโลยี

NOTE 38 เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลิตมนั สำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

NOTE 39เพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ มนั สำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี

NOTE 40 เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลิตมนั สำ�ปะหลงั ด้วยเทคโนโลยี



สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวตั กรรมเกษตร (สท.) สำนกั งานพัฒนาว�ทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีแหง‹ ชาติ (สวทช.) 111 อุทยานว�ทยาศาสตรประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ตำบลคลองหน่งึ อำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0 2564 7000 www.nstda.or.th/agritec อเี มล [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook