Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore cloud_computing

cloud_computing

Published by Thalanglibrary, 2020-11-05 02:56:19

Description: cloud_computing

Search

Read the Text Version

ตำรา การประมวลผลกลุม เมฆ Cloud Computing ผศ. ดร. อทุ าน บรู ณศักดิศ์ รี คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ



คำนำ การประมวลผลกลุมเมฆ (Cloud Computing) เปนรูปแบบการประมวลผลใหมที่ไดรับความนิยมใน ปจจบุ ัน อีกทั้งยงั มีการใชงานทเ่ี พ่ิมมากขึ้นเร่ือย ๆ ในปจ จุบันมีเว็บไซตบนอินเทอรเ น็ตจำนวนมากที่ทำงานอยู บนระบบกลุมเมฆ ในองคกรก็เริ่มมีการปรับตัวกันมากขึ้น โดยเริ่มเปลี่ยนทัศนคติของการประมวลผลกลุม เมฆ และเริม่ ใชง านกับบางระบบสารสนเทศขององคกร ในตำราเลมนี้ ผูอานจะไดเ รียนรูและฝกปฏบิ ตั ิกับเทคโนโลยี ที่เปนโครงสรางพื้นฐานสำหรับการประมวลผลกลุมเมฆ คือ เทคโนโลยีเสมือน และเทคโนโลยีบรรจุคอนเทน เนอร การเรียนรูเทคโนโลยีสองเทคโนโลยีนี้ จะชวยใหผูอานสามารถเขาใจลักษณะการทำงานของการ ประมวลผลกลูมเมฆ และชวยใหผูอานสามารถปรับตัวและเรียนรูกับเทคโนโลยีการประมวลผลกลุมเมฆที่อาจ เกิดขน้ึ ในอนาคต วตั ถุประสงคการจดั ทำตำราน้เี พื่อเปน เอกสารท่นี ักศึกษาสามารถศึกษาคนควา ดวยตนเองไดต ามรายวิชา การประมวลผลกลุมเมฆ ซึ่งเปนวิชากลุมศึกษาการประยุกตใชเทคโนโลยีเฉพาะดาน หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) คณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ เนือ้ หาภายในเอกสารประกอบการสอนประกอบดวย 3 สวนหลัก คือ ในสวนแรกเปนทฤษฎีและหลักการพื้นฐานของการประมวลผลกลุมเมฆ สวนถัดไปเปน เทคโนโลยีเสมือน ผูอานจะไดเรียนรูหลักการทำงานพื้นฐาน การใชงานชุดคำสั่ง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสราง เครื่องคอมพิวเตอรเสมือนและการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีเสมือน และสวนสุดทาย ผูอานจะไดศึกษา เทคโนโลยีบรรจุคอนเทนเนอร การใชงานชุดคำสั่งสำหรับสรางและบริหารจดั การคอนเทนเนอร และการสราง อิมเมจไวใชง านดว ยตนเอง อาจารยหวังเปนอยางยิ่งวา ตำราเลมนี้จะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการจัดการเรียนการสอนของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ และการศึกษาคนควาดวยตนผูอานที่มีความสนใจ และ จะถือวาเปนความกรุณาอยางยิ่ง หากจะไดรับขอเสนอแนะ เพื่อจะนำมาปรับปรุงใหตำราเลมนี้มีความ สมบรู ณย ิง่ ข้นึ ตอ ไป ผศ. ดร. อทุ าน บูรณศกั ดิ์ศรี ค

สารบัญ หนา ค คำนำ ง สารบัญ ฏ สารบัญภาพ ต สารบญั ตาราง 1 1 ท่มี าและความสำคัญของการประมวลผลกลมุ เมฆ 1 บทนำ 2 1.1 รปู แบบการประมวลผลทางคอมพิวเตอร 3 1.2 แรงจงู ใจสูการเปนการประมวลผลกลุมเมฆ 4 1.3 นิยามของการประมวลผลกลมุ เมฆ 5 1.4 รูปแบบการประมวลผลกลมุ เมฆ 6 1.5 ความตองการระบบของการประมวลผลกลุมเมฆ 8 1.6 ขอ ดขี อเสียของการประมวลผลกลมุ เมฆ 9 บทสรปุ 11 แบบฝก หัดบทที่ 1 11 สถาปตยกรรมการประมวลผลกลุม เมฆ 11 บทนำ 12 2.1 รปู แบบการปรบั ใชข องการประมวลผลกลมุ เมฆ 14 2.2 รูปแบบการปรบั การใชแ บบสวนตัว 16 2.3 รูปแบบการปรับการใชแบบชมุ ชน 17 2.4 รปู แบบการปรบั การใชแบบสาธารณะ 18 2.5 รูปแบบการปรับการใชแ บบผสม 20 2.6 รูปแบบการใหบ ริการของการประมวลผลกลมุ เมฆ 21 2.7 รูปแบบการใหบริการแบบสถาปตยกรรมเปนบริการ 23 2.8 รปู แบบการใหบ ริการแบบแพลตฟอรม เปน บริการ 2.9 รูปแบบการใหบ ริการแบบซอฟตแ วรเ ปน บริการ ง

2.10 เทคโนโลยีทขี่ บั เคล่ือนการประมวลผลกลมุ เมฆ 24 บทสรุป 26 แบบฝกหัดบทที่ 2 28 พ้ืนฐานเทคโนโลยเี สมอื น 31 บทนำ 31 3.1 ความหมายของเทคโนโลยเี สมอื น 31 3.2 หลกั การพ้นื ฐานเทคโนโลยเี สมอื น 32 3.3 วธิ ีการและประเภทในเทคโนโลยเี สมือน 33 3.4 ประโยชนข องการใชเทคโนโลยเี สมือน 36 3.5 องคประกอบและการปฏิสมั พันธร ะหวางองคประกอบ 38 3.6 เคร่อื งมือและอินเตอรเฟสสำหรับการบริหารจัดการเทคโนโลยเี สมอื น 39 บทสรุป 41 แบบฝกหัดบทท่ี 3 43 เทคนิคการเตรยี มเครื่องสำหรบั ฝกปฏิบตั กิ ารเทคโนโลยเี สมอื น 45 บทนำ 45 4.1 ความตอ งการระบบและการตรวจสอบความพรอมของระบบ 45 4.2 การเตรียมเคร่ืองโดยการตั้งคา ที่ไบออส 46 4.3 การรบั อัพเดทระบบปฏบิ ัตกิ ารวินโดวสรนุ สำหรับวงใน 47 4.4 การติดตง้ั โปรแกรม Hyper-V 48 4.5 การตดิ ตัง้ โปรแกรม VMWare Workstation Player 49 4.6 การดาวนโ หลดระบบปฏบิ ตั กิ ารลนี กุ ซ 54 4.7 การสรางเครื่องคอมพวิ เตอรเสมอื นใน Hyper-V 55 4.8 การสรา งเคร่ืองคอมพิวเตอรเสมือนใน VMWare Workstation Player 60 4.9 การติดต้ังระบบปฏิบตั ิการลีนกุ ซ 66 4.10 การเขา ถงึ ระยะไกลระบบปฏบิ ตั กิ ารลนี ุกซ 70 บทสรปุ 73 แบบฝก หัดบทที่ 4 74 จ

การตดิ ตงั้ และใชงานเบื้องตนระบบเทคโนโลยีเสมอื น 77 บทนำ 77 5.1 การตรวจสอบความพรอมติดต้ังโปรแกรมไฮเปอรไวเซอร 77 5.2 การติดต้ังซอฟตแ วรแพ็คเกจท่ีจำเปน 78 5.3 การสรางคอมพิวเตอรเสมอื นดวยบรรทดั คำสง่ั 81 5.4 การสง่ั การคอมพิวเตอรเ สมือนดว ยบรรทัดคำสัง่ 84 5.5 การเชอื่ มตอคอมพิวเตอรเสมือนดวยบรรทดั คำสั่ง 85 5.6 การตั้งคา การเช่ือมตอ ทีม่ ั่นคงปลอดภัยของโพรโตคอล VNC 87 บทสรุป 92 สรุปคำส่งั ทีน่ า สนใจ 93 แบบฝก หดั บทที่ 5 95 การบริหารจดั การเครื่องคอมพวิ เตอรเ สมือนผา นกราฟก และเวบ็ 97 บทนำ 97 6.1 การติดตง้ั เครือ่ งมอื ชวยบริหารจัดการผา นเวบ็ 97 6.2 การสรา งคอมพวิ เตอรเสมือนผา นเวบ็ 99 6.3 การเปดการทำงานคอมพิวเตอรเ สมือนผา นเว็บ 101 6.4 การเชอื่ มตอคอมพิวเตอรเสมอื นผา นเว็บ 101 6.5 การปดเครื่องคอมพิวเตอรเ สมอื นผานเว็บ 103 6.6 การลบเคร่อื งคอมพวิ เตอรเสมอื นผานเว็บ 103 6.7 การติดตั้งโปรแกรมแสดงผลกราฟกจากระยะไกล 104 6.8 การตัง้ คา การเขาถึงระยะไกลเพ่ือใชง านเคร่อื งมือโหมดกราฟก 105 6.9 การติดตั้งเครอ่ื งมือชว ยบริหารจดั การผา นกราฟก 109 6.10 การสรางคอมพิวเตอรเ สมอื นผานกราฟก 110 6.11 การเปดการเขา ถึงระยะไกลคอมพิวเตอรเสมือนผานกราฟก 113 6.12 การเปด และปด การทำงานคอมพวิ เตอรเสมือนผา นกราฟก 116 6.13 การลบคอมพวิ เตอรเ สมือนผา นกราฟก 118 บทสรปุ 120 ฉ

สรุปคำส่งั ท่นี าสนใจ 121 แบบฝก หดั บทที่ 6 122 การจดั สรรทรัพยากรใหก บั เครื่องคอมพิวเตอรเ สมือน 125 บทนำ 125 7.1 การตรวจสอบการใชทรัพยากรเคร่ืองคอมพวิ เตอรเ สมือน 125 7.2 การปรับแตง ซีพียแู ละหนวยความจำหลกั ของเคร่ืองคอมพวิ เตอรเ สมือน 126 7.3 การเพ่มิ ดิสกใหมใหเครื่องคอมพิวเตอรเ สมือน 127 7.4 การเพ่มิ ดิสกที่มีอยแู ลว ใหเคร่อื งคอมพิวเตอรเสมอื น 129 7.5 การปรับแตง อนิ เตอรเฟสเครือขายของเคร่ืองคอมพวิ เตอรเสมือน 137 บทสรุป 142 สรปุ คำสัง่ ท่นี าสนใจ 143 แบบฝกหัดบทท่ี 7 145 การบนั ทึกและการกูคืนสถานะของเคร่ืองคอมพวิ เตอรเสมอื น 147 บทนำ 147 8.1 การบนั ทกึ สถานะของเคร่ืองคอมพิวเตอรเ สมือนเพือ่ หยุดการทำงาน 147 8.2 การกคู ืนสถานะของเคร่ืองคอมพวิ เตอรเสมอื นเพ่ือเริม่ การทำงาน 149 8.3 การทำแมแ บบของเครอื่ งคอมพิวเตอรเ สมือน 151 8.4 การทำสำเนาของเครื่องคอมพวิ เตอรเสมือน 154 8.5 การตรวจสอบการทำสำเนาของเคร่ืองคอมพวิ เตอรเ สมือน 154 8.5 การยายเคร่ืองคอมพิวเตอรเ สมอื นไปเครื่องอน่ื 157 บทสรปุ 163 สรุปคำสัง่ ที่นาสนใจ 164 แบบฝก หดั บทท่ี 8 166 พนื้ ฐานเทคโนโลยบี รรจคุ อนเทนเนอร 169 บทนำ 169 9.1 ความหมายของเทคโนโลยบี รรจุคอนเทนเนอร 169 9.2 หลักการทำงานของเทคโนโลยีบรรจคุ อนเทนเนอร 169 ช

9.3 ประโยชนของการใชเ ทคโนโลยีบรรจคุ อนเทนเนอร 170 9.4 องคป ระกอบและการปฏิสัมพนั ธร ะหวางองคประกอบ 172 9.5 เคร่อื งมือและอนิ เตอรเ ฟสสำหรับการบริหารจดั การเทคโนโลยบี รรจคุ อนเทนเนอร 174 บทสรุป 176 บบฝก หดั บทที่ 9 177 เทคนคิ การเตรยี มเครือ่ งสำหรบั ฝกปฏบิ ตั กิ ารเทคโนโลยบี รรจุคอนเทนเนอร 179 บทนำ 179 10.1 แนวทางการตดิ ตง้ั โปรแกรมด็อกเกอร 179 10.2 การติดต้ังระบบยอยลีนุกซสำหรบั วนิ โดวส 180 10.3 การติดตง้ั ด็อกเกอรส ำหรับระบบปฏบิ ัตกิ ารวินโดวส 185 10.4 การตดิ ตั้งด็อกเกอรสำหรับระบบปฏบิ ตั ิการลีนกุ ซ 189 บทสรุป 192 สรุปคำสั่งทีน่ าสนใจ 193 แบบฝกหดั บทที่ 10 195 การใชง านเบื้องตน แอปพลเิ คชันเทคโนโลยีบรรจคุ อนเทนเนอร 197 บทนำ 197 11.1 การคนหาและเรียกใชงานอมิ เมจมาตรฐาน 197 11.2 การสรา งและเร่มิ ตน คอนเทนเนอร 199 11.3 อธบิ ายการกำหนดการทำงานของคอนเทนเนอร 204 11.4 การหยดุ และบังคับหยดุ การทำงานของคอนเทนเนอร 205 11.5 การหยุดการทำงานของคอนเทนเนอรชัว่ คราว 206 11.6 การลบคอนเทนเนอรและอิมเมจ 206 บทสรปุ 208 สรุปคำสง่ั ทนี่ า สนใจ 209 แบบฝกหดั บทท่ี 11 210 การบริหารจดั การอิมเมจและคอนเทนเนอร 211 บทนำ 211 ซ

12.1 การจัดการอิมเมจหลายเวอรชนั 211 12.2 การตรวจสอบการทำงานของคอนเทนเนอร 212 12.3 การเขา ถงึ และการออกคอนโซลของคอนเทนเนอร 213 12.4 การตรวจสอบประวัตกิ ารทำงานของคอนเทนเนอร 214 12.5 การตรวจสอบทรัพยากรท่คี อนเทนเนอรใช 216 บทสรปุ 219 สรุปคำสงั่ ที่นาสนใจ 220 แบบฝก หัดบทที่ 12 221 การปฏสิ มั พันธร ะหวา งคอนเทนเนอร 223 บทนำ 223 13.1 หลักการทำงานของเครือขา ยเสมือน 223 13.2 คำส่งั ท่ีใชสรา งเครอื ขา ยเสมอื น 224 13.3 การตรวจสอบสถานะของเครือขายเสมอื นของระบบ 226 13.4 การสรางคอนเทนเนอรพรอ มเครือขายเสมือน 227 13.5 การตรวจสอบสถานะของเครือขา ยเสมอื นของคอนเทนเนอร 229 13.6 การเชอื่ มตอคอนเนอรกับเครือขายเสมือน 230 13.7 การยกเลิกการเช่ือมตอคอนเทนเนอรกับเครือขายเสมือน 231 13.8 การเช่อื มตอ ระหวางคอนเทนเนอรใ นเครือขา ยเสมือน 231 13.9 การเชอื่ มตอระหวา งคอนเทนเนอรกับเคร่ืองคอมพวิ เตอรระยะไกล 233 บทสรปุ 235 แบบฝกหดั บทที่ 13 237 การสรางอมิ เมจ 239 บทนำ 239 14.1 โครงสรา งของ Dockerfile 239 14.2 คำสั่งที่ใชง านใน Dockerfile 240 14.3 การใชตัวแปรสภาพแวดลอ ม 242 14.4 ตัวอยา งการสรา ง Dockerfile สำหรับเวบ็ แอปพลเิ คชัน 243 ฌ

14.5 ตวั อยา งการสราง Dockerfile สำหรบั คอนโซลแอปพลิเคชนั 244 14.6 เครอื่ งมือทใี่ ชส รางอิมเมจ 245 14.7 การสรางอิมเมจจาก Dockerfile 246 14.8 การเปด บญั ชีออนไลนส ำหรับบรกิ ารคลงั อิมเมจ 247 14.9 การอัพโหลดอมิ เมจไวท่ีคลงั อิมเมจมาตรฐาน 249 บทสรปุ 251 แบบฝกหัดบทท่ี 14 254 ตัวอยา งการนำไปประยุกตใชงานจริง 257 บทนำ 257 รูปแบบการผสมผสานเคร่ืองมือเพื่อการพัฒนาและการปรบั ปรุงซอฟตแ วรอ ยา งรวดเร็ว 257 การพฒั นาโปรแกรมและบนั ทึกไวท ี่คลงั รหัสตนฉบับ 258 การสรางคอนเทนเนอรอ ตั โนมตั ิหลังการบนั ทึกรหัสตนฉบับ 262 การสรางเครื่องคอมพวิ เตอรเสมือนโดยกำหนดปริมาณทรัพยากรท่ีตองการ 267 การทดสอบโปรแกรมทสี่ รางจากคอนเทนเนอร 269 การบนั ทกึ ผลลัพธเพ่อื นำไปประมวลผลตอ ไป 270 บทสรปุ 271 แบบฝกหัดบทท่ี 15 272 เอกสารอา งอิง 273 บรรณานกุ รม 278 ดัชนี 279 ภาคผนวก ก เฉลยแบบฝก หดั เฉลยแบบฝก หดั บทท่ี 1 i เฉลยแบบฝกหัดบทที่ 2 ii เฉลยแบบฝก หัดบทที่ 3 vi เฉลยแบบฝก หัดบทที่ 4 ix เฉลยแบบฝก หดั บทท่ี 5 xi เฉลยแบบฝกหัดบทท่ี 6 xiii xv ญ

เฉลยแบบฝกหัดบทท่ี 7 xvii เฉลยแบบฝก หดั บทที่ 8 xxi เฉลยแบบฝก หดั บทที่ 9 xxiv เฉลยแบบฝกหัดบทที่ 10 xxv เฉลยแบบฝกหัดบทที่ 11 xxvi เฉลยแบบฝกหดั บทท่ี 12 xxvii เฉลยแบบฝกหดั บทที่ 13 xxviii เฉลยแบบฝก หดั บทท่ี 14 xxx เฉลยแบบฝก หัดบทที่ 15 xxxii ฎ

สารบญั ภาพ หนา 11 ภาพท่ี 2.1 รูปแบบการประมวลผลกลมุ เมฆ 19 ภาพที่ 2.2 รปู แบบการปรับใชข องการประมวลผลกลมุ เมฆ 20 ภาพที่ 2.3 โครงสรางของแตละรปู แบบการใหบ ริการโดยแยกสวนระหวา งผใู ชแ ละผใู หบริการ 21 ภาพท่ี 2.4 รปู แบบการใหบ ริการแบบสถาปต ยกรรมเปนบรกิ าร 22 ภาพที่ 2.5 รปู แบบการใหบริการแบบแพลตฟอรม เปนบริการ 24 ภาพท่ี 2.6 รูปแบบการใหบริการแบบซอฟตแวรเ ปน บรกิ าร 31 ภาพที่ 3.1 รูปแบบทหี่ ลากหลายของเทคโนโลยีเสมือนในปจ จบุ ัน 32 ภาพท่ี 3.2 วงแหวนการปอ งกัน 33 ภาพที่ 3.3 การทำงานของระบบปฏบิ ตั ิการบนวงแหวนการปองกัน 34 ภาพที่ 3.4 รปู แบบการทำเสมือนแบบเต็ม 35 ภาพที่ 3.5 รปู แบบการทำเสมือนแบบดานขาง 36 ภาพที่ 3.6 รูปแบบการทำเสมือนโดยใชฮ ารด แวรช ว ย 38 ภาพท่ี 3.7 รปู แบบการทำงานของไฮเปอรไวเซอรประเภท 1 39 ภาพที่ 3.8 รปู แบบการทำงานของไฮเปอรไวเซอรประเภท 2 46 ภาพที่ 4.1 หนาตา งแสดงคณุ สมบตั ขิ องหนว ยประมวลผลกลาง 47 ภาพท่ี 4.2 หนาตางการต้งั คา วินโดวส รุน สำหรบั วงใน 48 ภาพท่ี 4.3 หนา ตา งเพ่มิ ลดฟเจอรข องระบบปฏบิ ตั ิการวินโดวส 50 ภาพท่ี 4.4 หนา ตา งการติดตงั้ VMWare Workstation Player 50 ภาพที่ 4.5 หนาตางการยอมรับเงื่อนไข 51 ภาพที่ 4.6 หนา ตา งการเลอื กโฟลเดอรสำหรับติดต้งั โปรแกรม 51 ภาพที่ 4.7 หนา ตา งสอบถามการอัพเดทโปรแกรม 52 ภาพที่ 4.8 หนาตางการสรางทางลัดสำหรับเรียกใชง านโปรแกรม 52 ภาพท่ี 4.9 หนา ตางติดตั้งโปรแกรม 53 ภาพท่ี 4.10 หนา ตางสน้ิ สดุ การตดิ ตั้งโปรแกรม 53 ภาพท่ี 4.11 หนาตางเลือกประเภทการใชง านโปรแกรม 54 ภาพที่ 4.12 หนาตา งการดาวนโหลด CentOS 8 55 ภาพที่ 4.13 หนาตางโปรแกรม Hyper-V Manager 56 ภาพที่ 4.14 หนา ตางต้ังชอื่ เครอ่ื งคอมพิวเตอรเสมือน 56 ภาพท่ี 4.15 หนาตางกำหนดรุนของเคร่ืองคอมพวิ เตอรเสมือน 57 ภาพท่ี 4.16 หนาตา งกำหนดปริมาณหนวยความจำหลกั 57 ภาพท่ี 4.17 หนาตา งกำหนดขนาดของดสิ กเสมอื น ฏ

ภาพที่ 4.18 หนาตางเลือกแฟมขอ มูลดิกสส ำหรับติดตัง้ ระบบปฏิบตั กิ าร 58 ภาพท่ี 4.19 หนา ตา งแสดงการตงั้ คา ของเครื่องคอมพิวเตอรเสมอื น 59 ภาพท่ี 4.20 หนาจอหลักของโปรแกรม VMWare Workstation Player 60 ภาพท่ี 4.21 หนา ตางการสรางเครอื่ งคอมพิวเตอรเสมือน 61 ภาพท่ี 4.22 หนาตา งการเลอื กระบบปฏบิ ตั ิการ 61 ภาพที่ 4.23 หนาตา งการตง้ั ช่ือเครื่องคอมพิวเตอรเ สมือน 62 ภาพที่ 4.24 หนาตา งการกำหนดพน้ื ท่ีฮารด ดสิ ก 63 ภาพท่ี 4.25 หนา ตา งสรุปการสรางเครื่องคอมพิวเตอรเสมือน 63 ภาพที่ 4.26 หนา ตา งการเลอื กจำนวนแกนหนว ยประมวลผล 64 ภาพท่ี 4.27 หนา ตางการเพ่ิมไฟลร ะบบปฏบิ ตั กิ าร 65 ภาพที่ 4.28 หนา ตา งการระบุจำนวนหนว ยความจำหลัก 66 ภาพที่ 4.29 หนาจอติดตั้งระบบปฏบิ ัติการ 66 ภาพที่ 4.30 หนาจอการเลือกภาษาและคยี บ อรด 67 ภาพท่ี 4.31 หนา จอหลักสำหรบั การตดิ ตง้ั ระบบปฏบิ ตั กิ าร 67 ภาพที่ 4.32 หนา จอกำหนดรหัสผานผดู แู ลระบบ 68 ภาพท่ี 4.33 หนาจอแสดงผลการตดิ ตง้ั เสรจ็ สมบูรณ 69 ภาพท่ี 4.34 หนา จอล็อกอนิ 69 ภาพที่ 4.35 สว นหน่ึงของหนาเวบ็ ดาวนโ หลดโปรแกรม Putty 70 ภาพที่ 4.36 การเรียกดไู อพีของเคร่ือง 71 ภาพที่ 4.37 หนา ตา งโปรแกรม Putty 72 ภาพท่ี 5.1 ผลลพั ธก ารตรวจสอบวาหนวยประมวลผลกลางสนบั สนนุ สว นขยายหรือไม 78 ภาพที่ 5.2 ผลลพั ธก ารตรวจสอบการสนับสนนุ สว นขยาย VT-x 78 ภาพที่ 5.3 ผลลัพธก ารตรวจสอบการสนับสนนุ สวนขยาย AMD-V 78 ภาพท่ี 5.4 การตรวจสอบสถานะความพรอมสำหรับการทำงานระบบเสมือน 79 ภาพท่ี 5.5 การตรวจสอบโมดูล kvm 80 ภาพที่ 5.6 การตรวจสอบการทำงานของบริการไฮเปอรไวเซอร 81 ภาพท่ี 5.7 หนาจอแสดงผลลพั ธการสรางเครื่องคอมพิวเตอรเ สมอื น 84 ภาพท่ี 5.8 หนาจอแสดงผลลพั ธการติดต้งั CentOS หลงั สรางเครือ่ งคอมพวิ เตอรเสมือน 84 ภาพท่ี 5.9 ผลลพั ธข องคำสัง่ ตรวจสอบพอรต โพรโตคอล VNC 85 ภาพที่ 5.10 หนา จอหลักโปรแกรม VNC Viewer 86 ภาพที่ 5.11 หนาตา งคำเตือนวา การเชื่อมตอไมไ ดเ ขา รหัส 86 ภาพท่ี 5.12 หนา ตา งต้ังคาการเช่อื มตอพอรต ระหวางเครือ่ งฝงวนิ โดวสและเครอ่ื งแมขาย 90 ภาพที่ 5.13 หนาตางการตงั้ คาไมเรียกคำส่ังเชลลที่ลนี กุ ซ 91 ฐ

ภาพท่ี 5.14 หนาตางโปรแกรม VNC Viewer 91 ภาพที่ 6.1 หนา จอผลลพั ธเม่ืออนุญาตไฟรว อลลใหเ ขาถึง Cockpit 98 ภาพที่ 6.2 หนาจอของโปรแกรม Cockpit 98 ภาพที่ 6.3 หนา ตา งสรา งเครื่องคอมพวิ เตอรเ สมือนใหม 99 ภาพท่ี 6.4 หนาตา งสรางเคร่ืองคอมพวิ เตอรเสมือนเม่ือกรอกขอมลู ครบ 100 ภาพท่ี 6.5 เมนูเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนกอนเปดการทำงานคร้งั แรก 101 ภาพที่ 6.6 หนา จอการเชื่อมตอเคร่ืองคอมพวิ เตอรเ สมือนผานโปรแกรม Cockpit 102 ภาพท่ี 6.7 หนาตา งยืนยันการลบเครอื่ งคอมพิวเตอรเ สมอื น 103 ภาพที่ 6.8 สว นหน่งึ ของหนาดาวนโ หลดแพ็คเกจ VcXsrv 104 ภาพที่ 6.9 หนา ตา งเริม่ ตน ติดต้งั แพ็คเกจ VcXsrv 105 ภาพที่ 6.10 หนา ตา งเลือกที่อยตู ิดตง้ั แพ็คเกจ VcXsrc 105 ภาพที่ 6.11 หนาตางตั้งคา หนาจอ 106 ภาพท่ี 6.12 หนาตา งต้ังคาการเร่มิ ตน ของโปรแกรมไคลเอนต 106 ภาพท่ี 6.13 หนาตางการต้ังคาพเิ ศษ 107 ภาพที่ 6.14 หนา ตา งแจงเตือนการอนญุ าตกฎไฟรว อลล 108 ภาพท่ี 6.15 หนา ตา งการตง้ั คาสง ตอ กราฟกผานโพรโตคอล SSH 108 ภาพท่ี 6.16 หนา ตางหลักโปรแกรมบริหารจดั การเครื่องคอมพวิ เตอรเสมือน 109 ภาพท่ี 6.17 หนา ตางสรางเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ สมือนใหม 110 ภาพที่ 6.18 หนาตา งเลือกแฟมขอมูลระบบปฏิบัติการ 111 ภาพที่ 6.19 หนา ตา งเลือกประเภทของระบบปฏิบัตกิ าร 111 ภาพท่ี 6.20 หนาตางตั้งคา ปริมาณหนว ยความจำหลกั และหนวยประมวลผล 112 ภาพที่ 6.21 หนาตา งตั้งคา ขนาดของดสิ กเสมือน 112 ภาพท่ี 6.22 หนา ตางแสดงรายละเอียดของเคร่อื งคอมพิวเตอรเสมือน 113 ภาพท่ี 6.23 หนา ตา งตัวเลือกของโปรแกรมบริหารจดั การเครือ่ งคอมพวิ เตอรเ สมอื น 114 ภาพท่ี 6.24 หนาตางเพมิ่ อปุ กรณเ สมือนใหม 115 ภาพที่ 6.25 หนา ตางยืนยันการเพ่มิ อปุ กรณเสมือนใหม 116 ภาพท่ี 6.26 หนาจอแสดงเมนจู ากการคลิกขวาของรายการเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ สมือน 116 ภาพที่ 6.27 หนาจอแสดงแท็บเมนขู องเคร่ืองคอมพิวเตอรเ สมือน 117 ภาพท่ี 6.28 หนาจอเมนูตัวเลือกการปด เคร่ืองคอมพวิ เตอรเสมือน 117 ภาพท่ี 6.29 หนาตา งยนื ยนั การลบเครอ่ื งคอมพิวเตอรเสมือน 118 ภาพที่ 6.30 หนาตา งยนื ยันการลบแฟม ขอมูลดสิ กเ สมือนพรอ มกบั เครื่องคอมพิวเตอรเ สมอื น 119 ภาพที่ 7.1 หนา จอผลลัพธก ารสรางดสิ กเ สมือน 129 ภาพที่ 7.2 หนา จอผลลัพธคำส่งั ตรวจสอบดสิ กของเครื่องคอมพิวเตอรเ สมือน 130 ฑ

ภาพท่ี 7.3 หนา จอผลลัพธค ำสั่งตรวจสอบรายการดสิ กเสมือน 130 ภาพท่ี 7.4 หนา จอผลลัพธคำสัง่ ตรวจสอบขนาดของดสิ กในเคร่อื งคอมพวิ เตอรเสมอื น 131 ภาพที่ 7.5 หนา จอผลลพั ธการสรางพารท ติชัน 132 ภาพที่ 7.6 หนา จอการฟอรแมตและเช่ือมตอพารทติชนั 133 ภาพที่ 7.7 หนจ อเน้ือหาของแฟม ขอ มลู fstab 134 ภาพที่ 7.8 หนาจอผลลัพธการขยายขนาดของพารทตชิ ัน 134 ภาพท่ี 7.9 หนา จอผลลัพธค ำสั่งแสดงกลุมพารทติชนั และพื้นที่เหลือจากการจัดสรร 135 ภาพที่ 7.10 หนา จอผลลัพธคำส่งั แสดงพารทติชันเสมอื นท่ีใชพ ืน้ ที่ในกลุม พารทติชนั เดียวกัน 135 ภาพท่ี 7.11 หนาจอผลลัพธค ำส่งั ขยายขนาดของพารทตชิ นั 136 ภาพท่ี 7.12 หนาจอผลลัพธคำสง่ั ขยายขนาดระบบแฟมขอ มูล 136 ภาพที่ 7.13 หนาจอผลลพั ธคำส่ังแสดงขอมลู พ้นื ทข่ี องพารทตชิ ัน 137 ภาพท่ี 7.14 เน้ือหาเมตาดาทาของเครอื ขา ยเรมิ่ ตน 139 ภาพที่ 8.1 หนาจอผลลัพธคำสั่งบันทกึ สถานะเคร่ืองคอมพิวเตอรเ สมือน 147 ภาพที่ 8.2 หนาจอผลลัพธคำสง่ั สรา ง Snapshot 148 ภาพท่ี 8.3 หนา จอผลลพั ธคำสง่ั แสดงรายการ Snapshot 148 ภาพท่ี 8.4 หนา จอผลลัพธคำส่งั แสดงรายละเอียดของ Snapshot 149 ภาพที่ 8.5 หนา จอผลลพั ธค ำส่ังกคู นื Snapshot 149 ภาพท่ี 8.6 หนา จอผลลัพธค ำสั่งลบ Snapshot 150 ภาพท่ี 8.7 หนา จอผลลัพธคำสง่ั เตรียมเคร่ืองคอมพิวเตอรเสมอื น 153 ภาพท่ี 8.8 หนา จอผลลัพธคำสั่งโคลนเคร่อื งคอมพิวเตอรเสมือน 154 ภาพที่ 8.9 หนาจอผลลัพธค ำสัง่ แสดงรายการดิสกเสมอื นเคร่ืองคอมพิวเตอรเสมอื น 155 ภาพที่ 8.10 หนาจอผลลพั ธคำส่ังตรวจสอบขนาดของดิสกเ สมอื น 156 ภาพท่ี 8.11 เนือ้ หาการแบงปนไดเรกทอรขี องแฟม ขอมลู /etc/exports 157 ภาพท่ี 8.12 เนื้อหาการเพิ่มการเช่อื มตอพารท ตชิ นั ของแฟมขอมูล /etc/fstab 159 ภาพที่ 9.1 การทำงานของแอปพลเิ คชันบนเทคโนโลยเี สมอื นและเทคโนโลยบี รรจุคอนเทนเนอร 170 ภาพที่ 9.2 การทำงานของระบบดอ็ กเกอร 172 ภาพที่ 9.3 วตั ถุพื้นฐานท่ีสำคัญในระบบด็อกเกอร 174 ภาพท่ี 10.1 หนาจอการตดิ ต้ังคุณสมบัติระบบยอยลีนุกซส ำหรับวินโดวส 181 ภาพท่ี 10.2 หนาจอขอ ผิดพลาดเมอ่ื เปลี่ยนเวอรชนั ระบบยอยลีนุกซสำหรับวินโดวส 181 ภาพท่ี 10.3 หนา จอการเปลยี่ นเวอรช นั ระบบยอ ยลนี ุกซส ำหรับวินโดวส ำเรจ็ 182 ภาพที่ 10.4 สว นหนงึ่ ของหนาเวบ็ ไซต Remix 183 ภาพที่ 10.5 สว นหน่ึงของหนาเว็บไซตด าวนโหลด Fedora Remix 183 ภาพที่ 10.6 หนาจอการตงั้ คา Fedora Remix หลังเปด การใชง านคร้งั แรก 184 ฒ

ภาพท่ี 10.7 หนา จอแสดงช่อื ดสิ ตริบวิ ชันและเวอรช ันของลีนกุ ซ 184 ภาพท่ี 10.8 สว นหนง่ึ ของหนาเว็บไซตดาวนโ หลดด็อกเกอรสำหรับวินโดวส 185 ภาพที่ 10.9 หนาตางการตงั้ คาสำหรบั ตดิ ตั้งดอ็ กเกอร 186 ภาพที่ 10.10 หนาตางเมื่อติดตงั้ ดอ็ กเกอรสำหรับวินโดวส สำเรจ็ 186 ภาพท่ี 10.11 หนา ตา งสอบถามใหยนื ยนั ใช Hyper-V 187 ภาพท่ี 10.12 หนาตา งสอบถามใหส ลบั ไปใชร ะบบยอ ยลนี ุกซ 187 ภาพที่ 10.13 หนา ตา งแสดงเครอื่ งคอมพิวเตอรเสมือน 188 ภาพที่ 10.14 หนา ตา งแสดงเวอรช ันของด็อกเกอรล ูกขายและดอ็ กเกอรแมขา ย 188 ภาพที่ 10.15 หนา จอผลลัพธคำสัง่ แสดงเวอรช นั โปรแกรมด็อกเกอร 191 ภาพท่ี 11.1 สวนหนง่ึ ของหนาเว็บไซตด ็อกเกอร 197 ภาพที่ 11.2 ผลลัพธก ารคน หาอิมเมจ 198 ภาพท่ี 11.3 สว นหน่ึงหนาเว็บแสดงรายละเอียดอิมเมจ httpd 198 ภาพท่ี 11.4 หนา จอผลลพั ธคำสั่งดาวนโ หลดอมิ เมจ 199 ภาพที่ 11.5 หนาจอผลลัพธค ำสั่งแสดงรายการอิมเมจ 199 ภาพที่ 11.6 หนา จอผลลพั ธคำสั่งสรางคอนเทนเนอรใหม 203 ภาพที่ 11.7 หนา จอผลลพั ธคำสั่งแสดงรายการคอนเทนเนอร 203 ภาพท่ี 11.8 หนาจอผลลัพธข องเว็บเบราเซอรเมื่อเขาถงึ เว็บของคอนเทนเนอร 203 ภาพท่ี 11.9 หนา จอผลลพั ธข องเวบ็ เบราเซอรเ มื่อเพ่ิมหนา เว็บหนาแรก 204 ภาพที่ 12.1 หนาจอผลลัพธค ำสงั่ แสดงรายการการตวรจสอบเหตกุ ารณของอิมเมจ 215 ภาพท่ี 12.2 หนาจอผลลพั ธค ำสง่ั ตรวจสอบการใชงานหนวยประมวลผลกลาง 217 ภาพท่ี 12.3 หนาจอผลลัพธค ำสงั่ แสดงขอมูลสถานะการใชทรัพยากรของคอนเทนเนอร 217 ภาพที่ 12.4 หนา จอผลลัพธค ำส่งั แสดงพืน้ ท่ีท่คี อนเทนเนอรใชง าน 218 ภาพที่ 13.1 หนาจอผลลัพธคำสง่ั แสดงรายการเครอื ขา ยเสมอื น 224 ภาพที่ 13.2 หนาจอผลลัพธค ำสงั่ แสดงรายการเครือขายเสมอื นทีส่ รา งขนึ้ ใหม 225 ภาพท่ี 13.3 หนา จอผลลัพธค ำสง่ั แสดงรายการเครอื ขา ยเสมอื นที่สรางขึ้นใหม 226 ภาพท่ี 13.4 หนา จอผลลัพธขอผดิ พลาดของคำส่งั สรางคอนเทนเนอร 228 ภาพท่ี 13.5 หนา จอผลลัพธคำสงั่ สรางคอนเทนเนอร 229 ภาพที่ 13.6 หนาจอผลลพั ธคำสัง่ ตรวจสอบเครือขายระหวางคอนเทนเนอร 232 ภาพท่ี 13.7 หนาจอผลลัพธคำสง่ั แสดงโพรเซส docker-proxy 234 ภาพที่ 13.8 หนาจอผลลัพธค ำสง่ั แสดงรายการทอี่ นุญาตของไฟรวอลล 234 ภาพท่ี 14.1 ตัวอยางแฟมขอมูล Dockerfile 240 ภาพที่ 14.2 ตวั อยา ง Dockerfile ของแอปพลเิ คชันเว็บไซต 244 ภาพท่ี 14.3 ตัวอยาง Dockerfile ของคอนโซลแอปพลิเคชัน 245 ณ

ภาพที่ 14.4 บางสว นของหนาเวบ็ ไซตด ็อกเกอรฮับ 248 ภาพที่ 14.5 หนา จอผลลัพธค ำสัง่ ลอ็ กอินด็อกเกอรฮบั 248 ภาพท่ี 14.6 หนา จอการตั้งคาความเปนสว นตวั ของอมิ เมจ 249 ภาพที่ 15.1 แบบจำลองการผสมผสานเคร่ืองมือเพอื่ การพัฒนาและการปรบั ปรุงซอฟตแ วรอ ยางรวดเร็ว 258 ภาพท่ี 15.2 สว นหนึ่งของหนาเวบ็ ดาวนโหลดโปรแกรม git 259 ภาพท่ี 15.3 สว นหนง่ึ ของหนาเว็บแบบฟอรมลงทะเบยี นสมคั รสมาชิก 260 ภาพท่ี 15.4 สว นหน่งึ ของหนาเวบ็ แบบฟอรม สรางคลังรหัสตนฉบบั 260 ภาพท่ี 15.5 สว นหนง่ึ ของหนาเว็บแบบคลงั รหัสตน ฉบบั 262 ภาพท่ี 15.6 เน้ือหาแฟมขอมูล Dockerfile 262 ภาพท่ี 15.7 เนือ้ หาแฟมขอมูล .gitlab-ci.yml 264 ภาพที่ 15.8 หนาตา งสรางโทเคนใหม 265 ภาพท่ี 15.9 หนา ตางแสดงโทเคนทีส่ รา งใหม 266 ภาพท่ี 15.10 สวนหนง่ึ ของหนาจอความมั่นคงปลอดภัยที่บัญชี Github 266 ภาพที่ 15.11 สว นหน่ึงของหนา จอความมน่ั คงปลอดภยั ที่บัญชี Github 267 ภาพท่ี 15.12 สวนหนงึ่ ของหนา จอคลัง nway-air-tree ของด็อกเกอรฮ บั 267 ภาพท่ี 15.13 หนาจอแสดงผลลัพธการสรา งแฟมขอมลู Swap 269 ภาพที่ 15.14 หนา จอแสดงผลลพั ธส่ังใหโ ปรแกรมของผูเ ขียนทำงาน 269 ด

สารบญั ตาราง หนา 82 ตารางที่ 5.1 พารามิเตอรท สี่ ำคญั ของคำสั่ง virt-install ตารางท่ี 8.1 พารามิเตอรข องโปรแกรม virt-sysprep ท่ใี ชแกไ ขขอมูล 152 ตารางที่ 11.1 พารามิเตอรท ่ใี ชสรา งคอนเทนเนอร 200 ต

ทีม่ าและความสำคัญของการประมวลผลกลมุ เมฆ บทนำ ในอดีตการประมวลผลมักเปนการประมวลผลแบบรวมศูนย (Centralized Computing) กลาวคือ หนวยงานหนึ่งมีสถานที่ที่เก็บระบบคอมพิวเตอรไวสำหรับการประมวลผลระบบสารสนเทศภายในองคกร ทั้งหมดไวเพียงที่เดียว ตอมาในภายหลังเมื่อความตองการพลังการการประมวลสูงขึ้น รูปแบบการประมวลผล จึงไดพัฒนาเพื่อใหสอดรับกับฮารดแวรที่มีอยูในปจจุบัน จนไดพัฒนาเปนรูปแบบการประมวลผลกลุมเมฆใน ปจจุบนั 1.1 รปู แบบการประมวลผลทางคอมพวิ เตอร นอกจากการประมวลผลแบบกลมุ เมฆ ในทางคอมพิวเตอร ยงั มีรปู แบบการประมวลผลทีเ่ คยใชกอนหนา และการประมวลผลในรูปแบบใหมเกิดขึ้นมา การทำความเขาใจรูปแบบการประมวลผลทางคอมพิวเตอรใน หลายรูปแบบจะทำใหผูอานเขาใจรูปแบบการประมวลผลในรูปแบบของการประมวลผลกลุมเมฆมากยิ่งขึ้น ตัวอยางการประมวลผลทางคอมพวิ เตอร ไดแ ก 1) การประมวลผลศักยภาพสูง (High-performance Computing) (Bacon, Graham, and Sharp 1994) เปนระบบประมวลผลที่รวมเอาหนวยประมวลผลกลาง (CPU) หนวยความจำหลัก (Main Memory) หนวยความจำสำรอง (Secondary Memory) รวมทั้งอปุ กรณอินพุตเอาตพุต มา เชื่อมตอเขาดวยกันเพื่อเพิ่มกำลังการประมวลผลใหสูงขึ้น โดยที่คอมพิวเตอรในการประมวลผล ศักยภาพสูงอาจเปนเครื่องชนิดเดียวกัน หรือตางชนิดกัน จุดประสงคหลัก มักใชในเรื่องการ ประมวลผลทางวิทยาศาสตรการจำลองสถานการณ หรอื การสรา งแบบจำลองทางชีววทิ ยา 2) การประมวลผลแบบขนาน (Parallel Computing) (Igarashi et al. 2014a) เปนการประมวลผล รูปแบบหนึ่งของการประมวลผลศักยภาพสูง โดยอุปกรณที่นำมาเชื่อมตอกันนั้นเปนอุปกรณชนิด เดียวกัน และรุนเดียวกัน เพื่อใชในการแกปญหาทางการคำนวณ ซึ่งปญหาเหลานี้ถูกออกแบบให แยกยอยออกเปนปญหาเล็ก ๆ จำนวนหลายปญหา เพื่อแบงใหเคร่ืองคอมพวิ เตอรแ ตละเคร่ืองแยก ประมวลผล จึงนำผลลพั ธข องปญหายอยมารวมเปน ปญหาตง้ั ตน 3) การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing) (Igarashi et al. 2014b) เปนการ ประมวลผลท่รี วมคอมพวิ เตอรหลายเคร่ืองเช่ือมตอกันผานเครือขาย ซึง่ เครอ่ื งคอมพิวเตอรเหลานั้น อาจเปนเครอ่ื งรนุ เดียวกันชนิดเดยี วกนั หรือตางรนุ ตางชนดิ กัน แตจะทำงานรวมกันเปนระบบเพียง ระบบเดียว อีกทั้งเครือขายที่เชื่อมตอกันนั้น อาจเปนเครือขายทองถิ่น (Local Area Network) หรือเครือขายพื้นที่กวาง (Wide Area Network) โดยมีจุดประสงคใหมองเห็นเปนเสมือน คอมพิวเตอรเพียงเครื่องเดียว เพื่อรองรับคุณลักษณะที่เปนเอกลักษณ 2 คุณลักษณะ คือ ความสามารถในการขยาย (Scalability) และการทำงานที่ซ้ำซอนกัน (Redundancy) เพื่อลด โอกาสทีอ่ ุปกรณใดอุปกรณหนง่ึ ทำงานลมเหลว 1

4) การประมวลผลแบบคลัสเตอร (Cluster Computing) (Mell and Grance 2011) เปนรูปแบบ หนึง่ ของการประมวลผลศักยภาพสงู ที่มีระบบการประมวลผลท่ีประกอบดวยเคร่ืองคอมพิวเตอรท่ีมี ลกั ษณะคลา ยกันในเครอื ขา ยเฉพาะ เครอ่ื งคอมพิวเตอรแ ตละเครื่องแบงปน ทรพั ยากรรวมกนั และมี ซอฟตแ วรเ ฉพาะท่ีชวยใหทกุ เคร่ืองในคลสั เตอรท ำงานรว มกนั 5) การประมวลผลแบบกริช (Grid Computing) (Mell and Grance 2011) เปนรูปแบบการ ประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอรถูกจัดการดวยซอฟตแวรกลาง (Middleware) เพื่อใชเขาถึง ทรัพยากรของทุกเครื่องในเครือขาย การประมวลผลแบบกริชเปนที่นิยมในองคกรทั่วไปเนื่องจาก สามารถใชก ำลงั การประมวลผลในเครอื่ งอืน่ ทเ่ี หลอื ใชซ งึ่ เปน การลดคาใชจายขององคกรไดดี 6) การประมวลผลแบบกลุมเมฆ (Cloud Computing) เปนแนวคิดของการประมวลผลแบบกริช ถูกใชก ับการประมวลผลที่ตอ งใชทรพั ยากรมากเพื่อแกไขปญหาเพียงปญหาเดยี ว ในการประมวลผล แบบกลุมเมฆทรพั ยากรท่ถี ูกนำมารวมกันจะถูกตดั แบงใหก ับผใู ชตามจำนวนทีผ่ ูใ ชตอ งการ 7) การประมวลผลแบบเคลื่อนท่ี (Mobile Computing) (Mell and Grance 2011) เปนการ ประมวลผลที่ใชอุปกรณอยางโทรศัพทมือถือ โดยเชื่อมตอผานเครือขายไรสาย ทั้งนี้เพราะอุปกรณ อยางโทรศัพทมือถือไดมีบทบาทในชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้น และมีจำนวนอุปกรณมากเมื่อเทียบกับ คอมพวิ เตอรทุกรนุ 8) การประมวลผลแบบควอนตัม (Quantum Computing) (Mell and Grance 2011) เปนการ ประมวลผลที่ใชควอนตัม ซึ่งมีความเร็วสูงกวาทีซ่ ุปเปอรคอมพิวเตอรมี แตการประมวลผลแบบนี้มี รูปแบบที่แตกตางไปจากเทคโนโลยใี นปจ จุบันซง่ึ ทำใหย งั ไมเ ปนท่ีนยิ มมากนัน้ 9) การประมวลผลแบบเครือขา ย (Network Computing) (Richardson et al. 1998) เปน หนึ่งใน การออกแบบระบบที่อาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารลาสุดเพื่อมาใชแกไขปญหาทางธุรกิจ โดยในการ ประมวลผลทั่วไปนั้น เครื่องลูกขายมักเปนเครื่องของผูใชบริการหรือลูกคารองขอทรัพยากรจาก เครื่องแมขาย แตการประมวลผลแบบเครือขายนี้เครื่องลูกขายจะเปนผูรับขอมูลจากเครื่องแมขาย โดยเครอื่ งแมข า ยพุช (Push) ขอมลู ไปยังเคร่ืองลูกขายแทน 1.2 แรงจงู ใจสูการเปน การประมวลผลกลุมเมฆ การประมวลผลกลุมเมฆเปนที่สนใจของกลุม คนที่ตองลงทุนจัดซื้อฮารดแวร ซอฟตแวร พื้นที่เก็บขอมูล และระบบเครือขาย ซึ่งคาใชจายเหลา นี้มักเปน คาใชจ ายจำนวนเงินสูง และเมื่อซื้อมาแลวจะตองหาพ้ืนทีต่ ดิ ตงั้ ที่เหมาะสม ดูแลรักษา และทำใหอุปกรณเหลานี้ทำงานได ซึ่งเปนงานที่เพิ่มคาใชจายเขาไปอีก โดยเฉพาะ หนว ยงานเอกชนท่ีตอ งการกำลงั การประมวลผลและทรพั ยากรทส่ี ูงกวา หนวยงานการศึกษามาก ในทางกลับกัน มันจะเปนเรื่องงายถาหากวาเมื่อใดก็ตามที่หนวยงานตองการกำลังการประมวลผลและ ทรัพยากรจำนวนที่ตองการสามารถซื้อไดตามระยะเวลาที่ตองการโดยที่ไมจำเปนตองซื้อฮารดแวรและดูแล ฮารดแวรเหลานั้น อีกทั้งในการบัญชี คาใชจายในการซื้อฮารดแวรจะถูกมองวาเปนสินทรัพยที่ตองคิดคา เสื่อมสภาพ แตการเชากำลังการประมวลผลและทรัพยากรจะถูกมองวาเปนงบดำเนินการ ซึ่งใชลดหยอนภาษี 2

ไดโดยตรง และเมื่อติดตั้งระบบคอมพิวเตอรเสร็จเรียบรอย หนวยงานยังจำเปนตองจางพนักงานที่มีความรู ความสามารถมาดแู ลใหฮ ารดแวรเหลานีท้ ำงานไดอ ยูเสมอ สำหรับหนวยงานรัฐในประเทศไทย ทางกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ไดมีโครงการพัฒนา ระบบคลาวดก ลางภาครัฐ (Government Data Center and Cloud service : GDCC) โดยเปลยี่ นผใู หบ รกิ าร จากสำนักพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคการมหาชน) เปนบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัดมหาชน ในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ เปนตนไป (Office of the National Digital Economy and Society Commission 2020) เพื่อใหหนวยงานภาครัฐลดการซื้อเครื่องแมขายเอง และเขามาใชทรัพยากรจากสวนกลาง สวนกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไดใชโมเดลที่พัฒนาใหมเพื่อใหการบริหารจัดการระบบคลาวดมี ประสิทธภิ าพและรวดเร็วย่งิ ขนึ้ (Triyason, Tassanaviboon, and Arpnikanondt 2017) ดังนั้น การประมวลผลกลุมเมฆจึงเปนสิ่งจำเปนสำหรับบุคคลหรือหนวยงานที่ตองการกำลังการ ประมวลผลและทรัพยากรตาง ๆ โดยที่ไมตองการลงทุนดวยงบประมาณเริ่มตนในปริมาณมาก และตอง รับผิดชอบคาใชจายอื่น ๆ ที่ตามมา เชน คาเครื่องปรับอากาศ คาไฟฟา หรือคาจางพนักงานที่มีความรู ความสามารถมาดูแล ซึ่งเมื่อคำนวณคาใชจายทั้งหมดเหลานี้จะพบวา การใชบริการจากผูใหบริการจะมี คา ใชจายท่นี อ ยกวาหรือเทากบั การทีต่ องลงทุนทุกอยางดวยตนเอง ซึ่งยังไมพ ูดถงึ คาใชจายที่เกดิ ขึ้นสำหรับการ สำรองขอ มลู การกูค นื จากภยั พบิ ตั ทิ ่ีอาจเกิดขึน้ ไดตลอดเวลา โดยเฉพาะการใชงานกับอุปกรณจ ำนวนมากอยาง อยางอินเทอรเน็ตสรรพสิ่ง (Stergiou et al. 2018) การใชงานที่ตองการความมั่นคงปลอดภัยสูงและการ รองรับการขยายตัวที่ดี (Al-Dhuraibi et al. 2018) และการจัดการทรัพยากรการประมวลผลที่สามารถ ประมวลผลขอ มูลมหัตในเสร็จระยะเวลาอันสัน้ (Yang et al. 2017) 1.3 นิยามของการประมวลผลกลุม เมฆ การประมวลผลกลุมเมฆมีความหมายในเบื้องตนวา เปนการเก็บและเขาถึงขอมูลและโปรแกรมผาน อินเทอรเน็ตจากตำแหนงระยะไกลหรือคอมพิวเตอรแทนการเก็บและเขาถึงขอมูลที่ฮารดดิสกที่เครื่อง คอมพิวเตอรของผูอาน โดยความหมายของตำแหนงระยะไกลมีคุณสมบัติ เชน ความสามารถในการขยาย ความยืดหยุน ฯลฯ สวนความหมายที่เปนทางการของสถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยี (Mell and Grance 2011) ใหนิยามวา การประมวลผลกลุมเมฆเปนแบบจำลองที่ทำใหแพรหลาย สะดวกสบาย เขาถึงผาน เครือขา ยไดตามตองการจากกลุมของทรัพยากรทใ่ี ชใ นการประมวลผล ท่ีสามารถจัดหาและยกเลิกดวยข้ันตอน ท่ีไมซ ับชอ น ซ่ึงประกอบดว ย 5 คณุ สมบัติ ดังตอ ไปนี้ 1) บริการดวยตัวเองตามความตองการ ผูใชบริการสามารถจัดหาทรัพยากรไดตามตองการโดยไม จำเปน ตอ งปฏสิ ัมพันธกบั เจาหนาทขี่ องผูใหบ ริการ 2) การเขาถึงเครือขายกวางขวาง ผูใชบริการสามารถเขาถึงจากสถานที่ใด ๆ ผานเครือขาย อินเทอรเ น็ต หรือจากอุปกรณใด ๆ เชน โทรศพั ทมือถอื แลบท็อป หรือคอมพวิ เตอร เปน ตน 3) กลุมทรัพยากรที่หลากหลาย ผูใชบริการไมจำเปนตองมีความรูขอมูลทางกายภาพของผูใหบริการ เพยี งแตร ะบชุ นิดทรพั ยากร จำนวนทรพั ยากร และตำแหนง ท่ีตงั้ ก็สามารถจัดการทรพั ยากรได 3

4) ความยืดหยุนที่รวดเร็ว ผูใชบริการสามารถปรับเปลี่ยนท้ังชนิด และปริมาณของทรัพยากรไดตาม ตองการและสามารถเปล่ยี นแปลงไดใ นทันที 5) บริการที่วัดได ผูใชบริการสามารถวัดปริมาณทรัพยากรท่ีใช และสามารถควบคุมปรมิ าณสูงสุดเพ่อื ควบคุมคาใชจายได 1.4 รปู แบบการประมวลผลกลุมเมฆ รูปแบบการประมวลผลกลุม เมฆน้นั สามารถจัดแบง ดวยวธิ กี ารทห่ี ลากหลายขน้ึ อยูกบั มุมมอง แตส ามารถ จดั รปู แบบไดออกเปน 2 การจัดแบง คือ การจดั แบง ตามรปู แบบการปรับใช (Deployment model) และการ จัดแบง ตามระดับการใหบ ริการ (Service Model) การจดั แบงตามรปู แบบการปรับใชสามารถแบงไดออกเปน 4 รูปแบบ คอื 1) คลาวดสวนตัว (Private cloud) เปนโครงสรางภายในที่ถูกออกแบบใหจัดหาทรัพยากรใหกับ หนวยงานเพยี งหนวยงานเดียว รูปแบบนอ้ี าจถูกใหบริการ ดแู ลจากหนวยงานนัน้ เอง จากหนวยงาน อน่ื หรอื รวมกนั ได 2) คลาวดสาธารณะ (Public cloud) เปนโครงสรางภายในที่ถูกออกแบบใหจัดหาทรัพยากรใหกับ สาธารณะซึ่งมหี ลายหนวยงานสามารถเขา มาขอใชบริการได 3) คลาวดชุมชน (Community cloud) เปนโครงสรางภายในที่ถูกแบงปนโดยกลุมหนวยงานหนึ่ง เพื่อสนับสนุนนโยบาล ความตองการ หรือจุดมุงหมายรวมกันของกลุมหนวยงาน รูปแบบนี้อาจถูก ใหบ ริการ ดูแลจากหนว ยงานนนั้ เอง จากหนวยงานอน่ื หรือรว มกนั ได 4) คลาวดผสม (Hybrid cloud) เปนโครงสรางภายในที่ประกอบดวยรูปแบบกอนหนานี้มากกวา 1 รูปแบบผสมและทำงานรวมกนั ซึ่งอาจถกู เชื่อมตอกนั ดวยซอฟตแวรห รือระบบพเิ ศษ การจัดแบงตามรูปแบบการใหบริการสามารถแบง ไดออกเปน 3 รูปแบบ คอื 1) รูปแบบการใหบริการแบบซอฟตแวรเปนบริการ (Software as a Service) เปนรูปแบบการ ใหบรกิ ารท่ีผูใชบริการใชแอปพลเิ คชนั ท่ีทำงานอยบู นโครงสรา งคลาวดของผูใหบริการ ซ่ึงจะรวมไป ถึงเครื่องแมขาย พื้นที่จัดเก็บขอมูล หรือแมกระทั่งการตั้งคาของซอฟตแวร โดยผูใชบริการอาจ เขาถึงผานเว็บเบราเซอร และอินเตอรเฟสแอปพลิเคชัน โดยที่ผูใชบริการไมสามารถจัดการหรือ ควบคมุ ทรัพยากรภายในซอฟตแ วรนนั้ ได 2) รูปแบบการใหบริการแบบแพลตฟอรมเปนบริการ (Platform as a Service) เปนรูปแบบการ ใหบริการที่ผูใชบริการเขาถึงบริการผานชองทางเฉพาะที่ผูใหบริการจัดเตรียมไวใหเชน เครื่องมือ เฉพาะ รูปแบบการเขาถึง ไลบรารี เปนตน ผูใชบริการไมสามารถจัดการหรือควบคุมทรัพยากร ภายใตบริการนั้นได แตสามารถควบคุมและจัดการกับการติดตัง้ แอพลิเคชัน การตั้งคาของแอพลิเค 4

ชัน หรืออีกนัยหนึ่งคือ บริการถูกบรรจุอยูในโครงสรางที่ผูใหบริการดูแลเรื่องความสามารถในการ ขยาย การดูแลรักษาระบบ 3) รูปแบบการใหบริการแบบสถาปตยกรรมเปนบริการ (Infrastructure as a Service) เปน รูปแบบการใหบริการที่ผูใชบริการสามารถจัดหากำลังการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บขอมูล ระบบ เครือขาย และทรัพยากรอื่น ๆ โดยมีคาใชจายไปตามปริมาณทรัพยากรที่ใชแตละชนิด ผูใชบริการ สามารถติดตั้งแอพลิเคชันหรือประมวลผลแอพลิเคชันตามความตองการ รวมถึงติดต้ัง ระบบปฏิบัติการดวยตนเอง รปู แบบการใหบรกิ ารนี้ผูใ ชบ ริการจะไมส ามารถเขาถึงโครงสรางภายใต บรกิ ารนัน้ ได เชน ไฟรว อลล ระบบทำความเย็น เปน ตน 1.5 ความตองการระบบของการประมวลผลกลมุ เมฆ จากแนวความคิดเบื้องตนทำใหทราบวาบริการคลาวดน น้ั เปนรูปแบบการใหบริการแบบหน่ึงที่ใหบริการ การทรพั ยากรโดยจดั หาใหกบั ผูใชบริการ ซึง่ การจะใหบริการในรูปแบบนน้ั ได ผใู หบริการจำเปนตองมีระบบท่ีมี คุณสมบตั ิ ดงั ตอ ไปนี้ 1) หลายครอบครอง (Multitenancy) เปนคุณสมบัติพื้นฐานของระบบคลาวดเพื่อใหบริการกับ ผูใชบริการโดยที่แยกสภาพแวดลอมของแตละผูใชใหเปนอิสระตอกัน แตยังสามารถแบงปน ทรพั ยากรไดใ นระดับสงู สดุ 2) บริหารจัดการชวงชีวิตของบริการ (Service life cycle management) เนื่องจากบริการ คลาวดน้ันถูกคดิ เงินจากการใชงานที่สามารถเริม่ ใชงานและเลิกใชง านเม่ือไรก็ได ดังนั้น ผูใหบรกิ าร จำเปนตองมีระบบที่สนับสนุนการจัดหาทรัพยากรอัตโนมัติ รวมทั้งวัดคา คิดเงิน และออกใบเก็บ คาใชจา ยตามรายการของทรัพยากรท่ีมีการจัดการ เปลีย่ นแปลง หรอื เลกิ ใชงานได 3) ความมั่นคงปลอดภัย (Security) ความมั่นคงปลอดภัยของแตละบริการเปนสิ่งจำเปนมากใน สภาพแวดลอมหลายครอบครอง เนื่องจากบริการที่แยกสภาพแวดลอมนั้นอาจทำงานอยูในเครื่อง คอมพิวเตอรเครื่องเดียวกันอยกู ็ได 4) การตอบสนอง (Responsiveness) ในระบบนิเวศของคลาวดนั้นถูกคาดหวัดวาจะสามารถ ตรวจจับ วิเคราะห และซอมแซมปญหาที่เกี่ยวของกับการใหบริการไดอยางรวดเร็ว ทั้งนี้เพื่อให ผูใ ชบ ริการเชอ่ื ใจในเสถียรภาพของบรกิ าร 5) การติดตั้งบริการอยางชาญฉลาด (Intelligent service deployment) เมื่อมีการใหจัดหา ทรัพยากรจากผูใชบริการ ระบบคลาวดควรจะตองเลือกจัดสรรทรัพยากรจากเครื่องคอมพิวเตอร ทางกายภาพไดด ว ยการใชทรัพยากรท่ีมีอยใู นระบบอยา งคุมคาโดยใหบริการไดมากทีส่ ุดในขณะที่ใช ทรพั ยากรของระบบนอยทีส่ ุด 6) ความสะดวกตอการเคลื่อนยาย (Portability) ผูใหบริการควรบริหารจัดการทรัพยากรใหอยูใน รปู แบบทส่ี ะดวกตอ การเคลื่อนยายไปยังเคร่ืองอืน่ โดยเฉพาะในกรณที ่ีเคร่ืองคอมพวิ เตอรเครื่องนั้น 5

ถูกวิเคราะหวามีแนวโนมจะลมเหลว หรือผูใชบรกิ ารตองการใหจ ดั หาทรพั ยากรในระดับที่สูงขึ้นจน เครอ่ื งคอมพิวเตอรท ี่ใหบรกิ ารอยูนน้ั มที รพั ยากรไมเ พียงพอ 7) การทำงานรวมกัน (Interoperability) ผูใหบริการควรออกแบบใหระบบคลาวดรองรับการ ทำงานของระบบตางชนิดกันได 8) เคารพกฎหมาย (Regulator aspects) ผูใหบริการควรปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับทุก แอปพลิเคชนั รวมทั้งเร่ืองความเปนสวนตัว 9) ความยั่งยืนดานสภาพแวดลอม (Environmental sustainability) คุณสมบัติหลักของการ ประมวลผลกลุมเมฆคือความสามารถในการรองรับการเขาถึงผานเครือขายกวางและเครื่องลูกขาย ผอม และสามารถจดั หาและยกเลิกใชงานทรัพยากรไดอ ยางรวดเร็ว 10) เสถียรภาพของบริการ ความพรอมใชงานของบริการ และการประกันคุณภาพ (Service reliability, service availability, quality assurance) ผูใหบริการคลาวดตอ งออกแบบระบบ ใหมีเสถียรภาพของบริการ ความพรอมความใชงานของบริการ และการประกันคุณภาพในระดับท่ี สูง 11) การเขา ถงึ บรกิ าร (Service access) โครงสรางของคลาวดควรออกแบบใหผูใชง านสามารถเขาถึง ระบบจากอุปกรณท ่ีหลากหลายโดยมีประสบการณก ารใชงานทีค่ ลายกัน 12) ความยืดหยุน (Flexibility) ผูใหบริการคลาวดควรสนับสนุนรูปแบบการติดตั้งไดหลากหลาย รูปแบบ และมีบริการทหี่ ลากหลาย 13) การทำบัญชีและการคิดคาบริการ (Accounting and Charging) ผูใหบริการควรสนับสนุน รปู แบบการทำบัญชีและการคดิ คา บรกิ ารตามแตล ะนโยบาย 14) การประมวลผลขอมูลขนาดใหญ (Massive data processing) โครงสรางระบบคลาวดควร สนับสนุนการประมวลผลขอมูลขนาดใหญ เชน การดึงขอมูล แปลงขอมูล การโหลดขอมูล เพื่อ รองรับขอมูลขนาดใหญ ทั้งนี้คุณสมบัติในแตละดาน จะมีความละเอียดซับซอนหรือความสามารถในการรองรับปริมาณการใช งานนัน้ ข้นึ อยูกบั ศักยภาพและขนาดการลงทุนของผใู หบริการ 1.6 ขอดขี อเสียของการประมวลผลกลุม เมฆ หนึ่งในสิ่งที่นาสนใจของการประมวลผลกลุมเมฆคือความสามารถในการเขาถึง ถาแอปพลิเคชันและ เอกสารอยใู นคลาวด ไมใ ชอยูทีเ่ ครื่องแมข ายในท่ีทำงาน ผูอานจะสามารถเขา ถงึ และใชงานไดท ุกที่ ทุกเวลา ไม วาจะเปนที่บาน หรือที่ทำงาน อยางไรก็ตาม ในบางหนวยงานที่มีทีมพัฒนาเล็ก ๆ ที่พัฒนาแอปพลิเคชันที่ใช ภายในองคกร โดยที่แอปพลิเคชันดังกลาวยงั คงเปน แอปพลิเคชัน 2 เทียรอยูซึง่ แมมกี ารเชือ่ มตออินเทอรเ นต็ แตการใชงานจะไมเหมาะกับการยายไปใชเครื่องแมขายระบบฐานขอมูลบนคลาวด จึงมีแนวโนมที่จะพัฒนา แอปพลเิ คชนั ใหมใ นรูปแบบเว็บเพือ่ รองรับการใชงาน (Varghese and Buyya 2018) 6

การประมวลผลกลุมเมฆยังทำใหแอปพลิเคชันที่ใชงานอยูไดรับทรัพยากรที่เพียงพอและเหมาะสมกับ โหลดการใชงาน ณ ขณะน้นั ซง่ึ ตา งการจากท่ีตองซ้ือฮารดแวร เพราะเมอื่ ซื้อฮารดแวรมา ดวยคุณสมบัติท่ีมีอยู จะทำใหระบบคอมพิวเตอรนั้นรองรับโหลดการทำงานไดปริมาณหนึ่ง แตหาก 6 เดือนถัดไป แอปพลิเคชันมี โหลดการทำงานที่สงู ขึน้ 20% จนทำใหฮารดแวรทีซ่ ้ือมาปจจบุ ันทำงานไดชา และอาจไมตอบสนองการใชง าน ในบางครั้ง ผูอานจะไมสามารถอัพเกรดโดยเพิ่มคุณสมบัติของฮารดแวร ในขณะที่การประมวลผลกลุมเมฆนั้น ผอู า นสามารถเปลย่ี นคุณสมบัติของฮารดแวรไ ดทันที เพราะคา ใชจายจะคิดไปตามคณุ สมบัติท่ีระบุไวซ่ึงอาจคิด เปนรายชั่วโมงหรือรายวัน ฉะนั้น ทางในปฏิบัติ การจัดซื้อฮารดแวรมาใชงานในหนวยงานจำเปนจะตองทำ แบบจำลองทำนายโหลดการใชงานในอนาคตประมาณ 3 - 5 ป และซอ้ื ฮารดแวรที่มีคุณสมบตั ิรองรับโหลดการ ทำงานในอกี 5 ปขางหนา ทำใหก ารจัดซ้อื ฮารด แวรน นั้ อาจมีคา ใชจา ยสงู กวา ทป่ี ระเมนิ ไวอยมู าก นอกจากนี้ ระบบคลาวดนิยมใชเทคโนโลยีเสมือน (Virtualization) เขามาชวยจัดการทรัพยากรบน เครื่อง เทคโนโลยีเสมือนจะชวยใหเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่งแบงการทำงานเปนเครื่องคอมพิวเตอรท่ี ทำงานอิสระตอ กนั ไดห ลายเครื่อง โดยแบง ปน ทรพั ยากรทีม่ ีอยูแลวในเคร่ืองทางกายภาพเดยี วกัน ซงึ่ ในปจจุบัน มีซอฟตแวรที่ชวยใหสามารถยายเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนจากเครื่องคอมพิวเตอรทางกายภาพเครื่องหนึ่งไป อีกเคร่อื งทางกายภาพอกี เครอื่ งหนงึ่ ได โดยที่เครอื่ งคอมพิวเตอรเสมือนยงั คงทำงานเปน ปกติ การใชเ ครอ่ื งคอมพิวเตอรเ สมือนจะชวยสนบั สนุนนโยบายสเี ขียวรักษสิง่ แวดลอมอีกดว ย เพราะเปนการ ลดจำนวนเครื่องคอมพิวเตอรทางกายภาพ สงผลใหลดจำนวนขยะอิเล็กทรอนิกส ลดคาไฟฟาสำหรับระบบ ทำความเยน็ คา กอ สรา งตกแตงอาคาร ฯลฯ อยา งไรก็ตาม ขอเสยี ของการประมวลผลกลุมเมฆทเ่ี ดน ชดั คือ หากการเชือ่ มตออนิ เทอรเ น็ตขาดหายไป จะทำใหผูอานไมสามารถเขาถึงขอมูลและแอปพลิเคชันได และยังมีประเด็นเรื่องความมั่นคงปลอดภัยที่ขอมูล และแอปพลิเคชันของหนวยงานอยูติดตั้งและเก็บรักษาไวกับหนวยงานอื่น แมการประมวลผลกลุมเมฆจะ รองรับการขยายตัวไดอยางรวดเร็ว แตหนวยงานก็ไมสามารถควบคุมทรัพยากรไดเทียบเทากบั ในกรณีที่ระบบ คอมพิวเตอรน ัน้ ถกู ตดิ ต้งั ไวใ นหนวยงาน อีกขอเสียหนึ่งที่สำคัญคือความเขา กันไดระหวางระบบคลาวด ซึ่งในปจจบุ นั ระบบคลาวดสวนใหญไมได ออกแบบใหรองรบั การทำงานรวมกนั กับอีกระบบหนง่ึ โดยเฉพาะในกรณีของคลาวดส าธารณะที่ผูใหบริการคิด คาธรรมเนียมแบนวิธขอมูลขาออกในราคาที่สูง แตไมคิดคาบริการของแบนวิธขอมูลขาเขา ทำใหคาบริการ ทวั่ ไปมีราคาไมสูง แตห ากผใู ชบริการยา ยขอมูลออกจากผูใ หบ ริการคลาวดเพือ่ เปลี่ยนผูใหบ ริการ ผใู ชบรกิ ารจะ ถูกคิดคา บริการในราคาที่สงู ในการยายขอมูลออกจากศนู ยขอมูลของผใู หบริการ 7

บทสรปุ ระบบคอมพิวเตอรไดพัฒนารูปแบบการประมวลผลทางคอมพิวเตอรหลายรูปแบบ ไดแก 1) การ ประมวลผลศักยภาพสูง 2) การประมวลผลแบบขนาน 3) การประมวลผลแบบกระจาย 4) การประมวลผล แบบคลัสเตอร 5) การประมวลผลแบบกริช 6) การประมวลผลกลุมเมฆ 7) กระประมวลผลแบบเคลื่อนที่ 8) การประมวลผลแบบควอนตัม 9) การประมวลผลแบบเครอื ขาย ดวยความตองการกำลังการประมวลผลเพิ่มขึ้นมักจะตามมาพรอมกับคาใชจายที่สูงขึ้น จึงเกิดเปน รูปแบบการประมวลผลกลุมเมฆท่ีชวยลดความซับซอนและคาใชจายในการดูแลระบบ โดยสถาบันมาตรฐาน และเทคโนโลยี (NIST) นิยามการประมวลผลกลุมเมฆเปนแบบจำลองที่ทำใหแพรหลาย สะดวกสบาย เขาถึง ผา นเครือขา ยไดตามตองการ และจะตองมคี ณุ สมบัติ 5 ประการ คือ 1) บรกิ ารดวยตวั เองตามความตองการ 2) การเขาถึงเครอื ขายกวางขวาง 3) กลมุ ทรพั ยากรทห่ี ลากหลาย 4) ความยืดหยนุ ทีร่ วดเร็ว 5) บรกิ ารทว่ี ัดได การจดั แบงรูปแบบการประมวลผลกลุมเมฆสามารถจัดการได 2 วิธี คอื การจดั แบงตามการปรบั ใช มี 4 รูปแบบยอย คือ 1) คลาวดสวนตัว 2) คลาวดสาธารณะ 3) คลาวดชุมชน 4) คลาวดผสม และการจัดแบงตาม รูปแบบการใหบ ริการ มี 3 รปู แบบยอ ย คอื 1) รูปแบบการใหบ ริการแบบซอฟตแ วรเปนบรกิ าร 2) รูปแบบการ ใหบ ริการแบบแพลตฟอรมเปน บรกิ าร 3) รูปแบบการใหบ รกิ ารแบบสถาปตยกรรมเปน บรกิ าร ขอ ดขี องการประมวลผลกลุมเมฆ คือ ความสามารถในการเขาถงึ และใชงานไดทุกท่ี การลดตนทุนลงทุน ดา นฮารดแวรและระบบไฟฟา แตก ารใชร ะบบคลาวดน น้ั จำเปนจะตองมีอนิ เทอรเน็ตจึงจะสามารถเขาถึงระบบ ได 8

แบบฝกหดั บทท่ี 1 1. บอกรูปแบบการประมวลผลทางคอมพวิ เตอรนอกจากการประมวลผลกลมุ เมฆ 2. บอกแรงจูงใจท่ที ำใหปจ จุบนั การประมวลผลกลมุ เมฆเปน ท่ีนยิ ม 3. สถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยไี ดน ิยามคำวาการประมวลผลกลมุ เมฆวาอะไร 4. คุณสมบัตทิ ีส่ ำคญั ของการประมวลผลกลมุ เมฆคืออะไร 5. รูปแบบการปรับใชก ารประมวลผลกลมุ เมฆสามารถจดั แบงไดกป่ี ระเภท แตละประเภทมลี กั ษณะอยางไร 9

6. รูปแบบการใหบริการของการประมวลผลกลุมเมฆสามารถจัดแบงไดกี่รูปแบบ แตละรูปแบบมีคุณสมบัติ อยางไร 7. ผูใหบ รกิ ารคลาวดควรมคี ณุ สมบตั ิในดานใดบา ง 8. บอกขอดีและขอเสียของการประมวลผลกลมุ เมฆมาอยางละ 2 ขอ 9. ทำไมระบบคลาวจ ึงนยิ มนำเทคโนโลยีเสมอื น (Virtualization) มาใช 10. หากเลือกใชร ะบบคลาวดจากผใู หบ ริการแลว ทำไมการเปล่ยี นผใู หบริการจงึ มีคา ใชจ ายสูง 10

สถาปตยกรรมการประมวลผลกลมุ เมฆ บทนำ การประมวลผลกลุมเมฆเปนเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นมาใหม และกลายเปนที่นิยมในปจจุบัน สถาปตยกรรม ของการประมวลผลกลุมเมฆประกอบดวยองคประกอบหลายสว นในรูปแบบท่ีแตกตา งกัน ทั้งน้ี เพื่อตอบสนอง ความตองการการใชงานที่แตกตา งกันออกไป รูปแบบการปรบั การใชและรูปแบบการใหบ ริการของคลาวดน้ันมี รูปแบบที่หลากหลายทีส่ ามารถปรบั การใชไดทั้งน้ีอยูที่แนวการทำงานของธุรกิจซึ่งตัดสินใจอยูบนความจำเปน ทางธุรกิจ ความตองการระบบ งบประมาณ และความมั่นคงปลอดภัย รูปแบบการปรับการใชในรูปแบบหน่ึง อาจเหมาะสมกับหนว ยงานหนึง่ แตไมเ หมาะสมในอีกหนวยงานหน่งึ 2.1 รูปแบบการปรับใชข องการประมวลผลกลมุ เมฆ รปู แบบการปรบั ใชส ามารถกำหนดไดใ นหลายทาง แตร ปู แบบท่ีกลาวถงึ นี้เปน รูปแบบที่มีมุมมองของผูใช เปนศนู ยกลาง นั่นคอื ตามความตองการของผูใชแ ละความสะดวกสบายของผูใช ผูใ ชสามารถเลือกรูปแบบการ ปรบั ใชตามความตอ งการของเขา โดยทั่วไปมอี ยู 4 รูปแบบ ดังภาพท่ี 2.1 คือ 1) คลาวดสว นตวั 2) คลาวดชุมชน 3) คลาวดส าธารณะ 4) คลาวดผสม การประมวลผลกลมุ เมฆ คลาวดส วนตัว คลาวดชุมชน คลาวดสาธารณะ คลาวดผ สม ภาพท่ี 2.1 รูปแบบการประมวลผลกลุมเมฆ ดดั แปลงมาจาก: (Chandrasekaran 2014:46) การจำแนกรูปแบบนี้นั้นอาศัยปจจัยหลายตัวแปร เชน ขนาดหรือจำนวนทรัพยากรในระบบ ประเภท ของผใู หบ รกิ าร สถานทตี่ ัง้ ประเภทของผูใช ความมน่ั คงปลอดภัย และประเด็นอ่นื ๆ โดยเรยี งรปู แบบการปรับ ใชที่มีขนาดเล็กท่ีสดุ ไปใหญที่สุด ดังน้ี 1) คลาวดสว นตัว คลาวดสว นตนั เปน รูปแบบการปรับใชที่เรียบงา ยทีส่ ุด สามารถนำไปปรับใชกับหนวยงานเพียงหนวยงานเดียวอาจจะเพื่อใชภายในองคกร และถูกติดตั้งไวในสถานที่ 11

ของหนวยงาน เพื่อจัดหาทรัพยากรใหกับบุคลากรในหนว ยงานใชเทานั้น 2) คลาวดชุมชนซึ่งเปนสวนขยายตอ จากคลาวดสวนตัว เปนคลาวดที่มีลักษณะการติดตั้งเหมือนคลาวดสวนตัว แตถูกแบงปนใหหนวยงานอื่นไดใช รวมดวย เพ่อื ใชจ ดั หาทรัพยากรทมี่ จี ุดมุงหมายรวมกัน 3) คลาวดส าธารณะซึ่งตรงกันขามกับคลาวดสว นตัว คือ คลาวดสาธารณะอนุญาตใหเขาถึงไดจากสาธารณะ เปนคลาวดที่มีขนาดใหญท ี่สุดเมือ่ เทียบกับทุกรปู แบบการ ปรับใช ผูใหบริการคลาวดสาธารณะคิดคาบริการกับผูใชตามชั่วโมงการใชงาน และใหบริการโดยมีขอตกลง ระดับบริการ (SLA) 4) คลาวดผสม เปนการผสมผสานรูปแบบการปรับใชหลายรูปแบบ เชน เปนรูปแบบการ ปรับใชแบบคลาวดส ว นตวั แตม บี างทรพั ยากรใชจากคลาวดส าธารณะ เปน ตน 2.2 รูปแบบการปรบั การใชแบบสวนตัว คลาวดสวนตัวตามนิยามของสถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีไดนิยามไววา เปนคลาวดที่ถูกใชเฉพาะ หนวยงานเดยี ว ซึ่งอาจประกอบดวยหลายผูใช ถูกจัดต้งั และดำเนินการโดยหนวยงานน้ันหรือจางหนวยงานอ่ืน หรืออาจจะติดตั้งอยูในหนวยงานนั้นหรือนอกพื้นที่หนวยงาน โดยทั่วไปอาจถูกปรับการใชดวยโปรแกรม เชน โปรแกรม KVM (RedHat Inc. 2020c) หรือ OpenStacks (Doorn 2006) คลาวดสวนตัวมีคุณลักษณะท่ี สำคญั ดงั ตอไปน้ี 1) ความมั่นคงปลอดภัย เนื่องจากคลาวดสวนตัวนิยมถูกปรับใชและบริหารจัดการภายในหนวยงาน มันจึงเปนไปไดยากที่ขอมูลจะรั่วไหลออกมานอกหนวยงาน หรือในกรณีที่จางใหหนวยงานอื่นดูแล ผูใหบริการอาจเขาถึงขอมูลดังกลาวได แตก็จะถูกปกปองทางกฎหมายดวยขอตกลงระดับการ บรกิ าร (SLA) 2) การควบคุมจากศนู ยก ลาง หนวยงานท่ปี รับใชคลาวดสวนตัวจะสามารถมกี ารควบคมุ เต็มรูปแบบได เนื่องจากเปนคลาวดที่ออกแบบมาเพื่อหนวยงานนั้นโดยเฉพาะและอาจไมไดพึ่งพาหนวยงาน ภายนอก 3) ขอตกลงระดับการใหบริการที่หละหลวม เนื่องจากคลาวดสวนตัวอาจถูกปรับใชโดยพนักงานใน หนวยงานนั้น และอาจถูกติดตั้งในหนวยงาน ทำใหไมมีขอตกลงดังกลาวชดั เจนเพราะเปนบุคลากร ในหนว ยงานเดียวกนั คลาวดสวนตัวอาจถูกติดตงั้ ไวใ นสถานที่ได 2 กรณี คอื ภายในหนวยงาน และใหห นว ยงานภายนอกดูแล ในกรณีทถ่ี ูกติดตงั้ ไวภ ายในหนว ยงาน คลาวดส วนตวั อาจมีประเด็น ดังน้ี 1) ขอตกลงระดับการใหบ รกิ าร หนวยงานควรจัดทำขอตกลงระดับการใหบ ริการขนึ้ ระหวางทีมท่ีดูแล ระบบคลาวดกับผูใชงาน ซึ่งอาจเปนขอตกลงที่บริษัทตั้งขึ้นใหทีมที่ดูแลระบบคลาวดปฏิบัติตามให ไดต ามเงือ่ นไขทกี่ ำหนดแทนการทำขอตกลงกันระหวา งพนกั งาน 2) เครือขาย เครือขา ยในคลาวดสวนตัวมักเปนเครือขา ทองถิ่นในหนว ยงานอยูแลว มคี วามเร็วสูง และ มรี ะยะเวลาแฝง (latency) นอ ย การบริหารจัดการคอนขางเรยี บงา ย 12

3) ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของคลาวดขึ้นอยูกับเครือขายที่ติดตั้งภายในหนวยงาน และสามารถ ควบคุมไดจ ากฝายท่ดี แู ลเครอื ขาย 4) ความมั่นคงปลอดภัยและความเปนสวนตัว คลาวดสวนตัวมีปญหาเรื่องความมั่นคงปลอดภัยและ ความเปนสวนตัวนอย ดังนั้นจึงคอนขางทนทานตอการถูกโจมตีจากภายนอก แตอาจมีผูใชภายใน หนว ยงานใชส ทิ ธิ์การเขา ถึงในทางทผ่ี ิดได 5) ทต่ี งั้ คลาวดสว นตวั ไมมีปญหาเรอื่ งทตี่ ั้ง เพราะนยิ มตดิ ตง้ั ในอาคาร หรอื ในบริเวณของหนวยงาน ใน กรณีทตี่ องเชอ่ื มตอกันระหวา งสาขาอาจใชเครอื ขายเสมือนสว นตัว (Virtual Private Network) ได 6) การบริหารจัดการคลาวด เปนเร่ืองท่ีคอ นขางซบั ซอนเพราะทีมดแู ลจะตองบรหิ ารจัดการทรัพยากร ท่ีมีอยูใ หเพยี งพอตอ การใชง าน และยังคงทำงานไดเปนปกติ 7) สถาปต ยกรรมหลายผูอาศัย คลาวดสว นตัวสนบั สนนุ ผูใชหลายคน แมขอมูลจะอยูในฮารดแวรและ ซอฟตแ วรเ ดยี วกนั แตก็มปี ญหานอ ยเพราะเปนเรอ่ื งภายในหนวยงาน 8) การดูแลรักษา เนื่องจากทรัพยากรที่ตองการใชงานในคลาวดสวนตัวมีนอย การดูแลรักษาจึง คอนขางงายกวารูปแบบการปรับใชข องคลาวดอ ื่น ในกรณที ีใ่ หหนว ยงานภายนอกดแู ลให คลาวดสวนตวั อาจมปี ระเดน็ ดังนี้ 1) ขอตกลงระดับการใหบริการ เปนขอตกลงระหวางหนวยงานกับผูใหบริการ ซึ่งอาจไมเขมงวด เทากับขอ ตกลงภายในหนวยงาน 2) เครอื ขา ย เนือ่ งคลาวดถูกติดตั้งไวในหนวยงานทรี่ ับผิดชอบ หนวยงานอาจมีการเชื่อมตอโดยเฉพาะ หรือเชื่อมตอผานอินเทอรเน็ต ซึ่งเงื่อนไขของการพรอมใชงานของเครือขายจะไมอยูในขอตกลง ระดบั การใหบ รกิ าร 3) ความมั่นคงปลอดภัยและความเปนสวนตัว เนื่องจากถือวาคลาวดไดถูกหนวยงานอื่นดูแลอยู ความม่ันคงปลอดภัยอาจมีนอยกวา คลาวดสวนตวั ท่ีตดิ ต้ังไวภ ายในหนวยงาน เนื่องจากภายคุกคาม สามารถมไี ดท้งั พนักงานภายในหนว ยงานและหนว ยงานท่ีรับผิดชอบดแู ล 4) กฎหมายและขอขัดแยง ในบางกรณีคลาวดอาจถูกปรับใชงานภายนอกประเทศ ซึ่งจะทำใหการ บงั คับใชกฎหมายไมเ ต็มท่ี โดยทว่ั ไปคลาวดสว นตัวไมนยิ มปรับใชงานภายนอกประเทศ 5) ที่ตั้ง เนื่องจากอยูภายนอกหนวยงาน ระยะหางระหวางหนวยงานกับที่ตั้งผูใหบริการที่รับผิดชอบ อาจเปนประเดน็ ใหพ ิจารณาเรื่องการเคลือ่ นยา ยขอมลู 6) การดูแลรกั ษา เนื่องจากดูแลโดยผใู หบ รกิ าร เมอ่ื มีฮารด แวรเ สียผูใหบ รกิ ารจะเปน ผูจ ัดหาและติดต้ัง อะไหลเ ขา ไปใหม ซง่ึ ทำใหอ าจมคี า ใชจ า ยสำหรับการดูแลรักษาทสี่ งู คลาวดสวนตัวอาจเปนจุดเริ่มตนที่ดีของหนวยงานที่เริ่มตนเรียนรูกับเทคโนโลยีคลาวด และคลาวดอาจ ถูกติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลที่มีคุณสมบัติสูงกวาปกติ เชน แรม 32 GB ซีพียู 8 แกน ซึ่งราคาไม แพงในปจจุบัน 13

2.3 รูปแบบการปรับการใชแบบชุมชน คลาวดชุมชนตามนิยามของสถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีไดนิยามไววา คลาวดชุมชนเปน สถาปตยกรรมคลาวดทถี่ ูกจัดสรรเพื่อใชโ ดยเฉพาะกลุม หนว ยงานที่มีลักษณะเดยี วกัน เชน เปา หมาย มาตรฐาน ความเขา กันไดเ ดียวกัน ซ่ึงอาจสรา ง บรหิ ารจัดการ และดำเนินการโดยหนว ยงานตั้งแตหนึ่งหนวยงานในชุมชน เปนตนไป จางหนวยงานอื่น หรือสองอยางผสมกัน ความแตกตางระหวางการปรับใชแบบสวนตัวและการปรับ ใชแบบชุมชน คือ การปรับใชแบบสว นตัวแมหนวยงานหลายหนว ยงานจะใชผ ูใหบริการเดียวกัน แตการทำงาน ในรปู แบบการปรบั ใชส วนตัวนน้ั ทรพั ยากรของระบบจะถูกจดั สรรและใชเ ฉพาะหนวยงานใดหนวยงานหน่ึงโดย ทีไ่ มม ีการแบง ปนระหวางหนว ยงาน ตางจากการปรบั ใชแ บบชุมชนซง่ึ จะมกี ารแบงปน ทรัพยากรของผูใหบริการ เดียวกันระหวางหนวยงานหลายหนว ยงาน คลาวดชมุ ชนมคี ณุ ลักษณะทีส่ ำคญั ดงั ตอ ไปน้ี 1) การรวมกันทำงานและการกระจายการซอมบำรุง คลาวดชุมชนเปนการแบงปนทรัพยากรของ คลาวดรวมกันโดยไมมีหนวยงานใดเปน เจา ของทั้งระบบ เปนเพราะรวมกันทำงานและการกระจาย การบริหารจดั การบนจุดประสงคร วมกนั จะเกดิ ประโยชนม ากกวา 2) ความมั่นคงปลอดภัยเพียงบางสวน เนื่องจากเปนคลาวดที่แบงปนทรัพยากรระหวางหนวยงาน หลายหนว ยงาน การรั่วไหลของขอมลู จากหนว ยงานใดหนวยงานหน่ึงอาจทำใหขอมลู ของหนวยงาน ที่แบงปนทรพั ยากรรว มกันร่วั ไหลดวย 3) คาใชจายที่คุมคา คลาวดชุมชนมีคาใชจายที่คุมคาเนื่องจากถูกแบงจายโดยหลายหนวยงานใน ชุมชน ไมเพยี งแคค าใชจ า ย ความรบั ผิดชอบยังถกู แบง รว มกันระหวา งหนว ยงานดว ย คลาวดช ุมชนอาจถูกตดิ ตง้ั ไวในสถานทไ่ี ด 2 กรณี คือ ภายในหนวยงาน และใหห นวยงานภายนอกดแู ล ในกรณที ่ีถกู ตดิ ตง้ั ไวภ ายในหนว ยงาน คลาวดช มุ ชนอาจมีประเดน็ ดงั นี้ 1) ขอตกลงระดับการใหบริการ จะมีความเขมงวดมากกวาคลาวดสวนตัว แตจะนอยกวาคลาวด สาธารณะ เนื่องจากมีหนวยงานที่เกี่ยวของและมาใชงานคลาวดรวมกันมากกวาหนึ่งหนวยงาน ดังน้ัน ขอ ตกลงระดับการใหบ รกิ ารจะตอ งยตุ ธิ รรมระหวา งผใู ชของแตล ะหนว ยงาน 2) เครือขาย เครือขายคลาวดชุมชนสามารถเปนเครือขายคลาวดสวนตัวที่อนุญาตใหหลายหนวยงาน สามารถเขาถึงบริการได ดังนั้น แตละหนวยงานจะตองรับผิดชอบเครือขายของหนวยงานเองใน กรณที ีเ่ กดิ ปญ หาการเชอื่ มตอระหวา งหนวยงาน 3) ประสิทธิภาพ รูปแบบการปรบั ใชท ีเ่ กดิ จากความรวมมือของหลายหนวยงานอาจใชทมี ท่มี าชวยดูแล รักษาและบรหิ ารจัดการคลาวดตามประสิทธิภาพที่ตอ งการ 4) สถาปตยกรรมหลายผูอาศัย มีความเสี่ยงปานกลางเน่ืองจากคลาวดถูกใชงานระหวางหนวยงาน การเขา ถึงท่ไี มไดร บั อนุญาตทม่ี าจากหนวยงานหนงึ่ อาจสรา งปญ หาใหอีกหนว ยงานหน่งึ กไ็ ด 5) ความมั่นคงปลอดภัยและความเปนสวนตัว ความเปนสวนตัวระหวางหนวยงานเปนเรื่องที่สำคัญ เพราะคลาวดจะมีการเก็บขอมูลเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สถานการณคลาวดชุมชนคลายคลาวดสาธารณะ เพยี งแตมีกลมุ บุคคลท่ใี ชง านรวมกนั นอ ยกวา 14

6) กฎหมายและขอขัดแยง หนวยงานที่ใชงานคลาวดชุมชนรวมกันแตตั้งอยูคนละประเทศอาจเกิด กรณีปญหาของขอกฎหมายและขอขัดแยงไดซึ่งทำใหการออกแบบระบบคลาวดมีความซับซอน ยง่ิ ข้ึน แตหากทุกหนว ยงานตง้ั อยใู นประเทศเดียวกนั ปญหาเหลานีจ้ ะหมดไป 7) การบริหารจัดการคลาวด การบริหารจัดการคลาวดสามารถทำไดโดยมีทีมที่ตั้งขึ้นระหวาง หนว ยงานประสานงานกนั ดูแลรักษาระบบคลาวด โดยทมี บรหิ ารจดั การคลาวดของแตละหนวยงาน จะดแู ลและรับผิดชอบเกย่ี วกบั การดำเนินการทัง้ หมดท่ีเกีย่ วของกบั คลาวด 8) การดูแลรักษา การดูแลรักษาจะถูกแบงออกตามสวนที่แตละหนวยงานที่รับผิดชอบ เชน การ เปลยี่ นฮารดแวรท ่เี สยี การเพ่มิ ฮารดแวรเม่ือปรมิ าณทรัพยากรทต่ี องการเพ่ิมขน้ึ ในกรณีทใี่ หห นว ยงานภายนอกดูแลให คลาวดช มุ ชนอาจมปี ระเด็น ดงั นี้ 1) ขอตกลงระดับการใหบริการ เปนขอตกลงระดับการใหบริการที่กระทำระหวางกลุมของหนวยงาน กับผูใหบริการซึ่งจะมีความเขมงวดเนื่องจากเกี่ยวกับกับบุคคลที่สาม และมีจุดมุงหมายใหมีการ แบงปน ทรพั ยากรในกลุมของหนวยงานอยา งยตุ ิธรรม 2) เครือขาย เครือขายคลาวดชุมชนสามารถเปนเครือขายคลาวดสวนตัวที่อนุญาตใหหลายหนวยงาน สามารถเขาถึงบริการได ดังนั้น แตละหนวยงานจะตองรับผิดชอบเครือขายของหนวยงานเองใน กรณีท่ีเกดิ ปญ หาการเช่ือมตอ กบั ระบบคลาวดข องผูใหบรกิ าร 3) ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพเปนความรับผดิ ชอบของผูใหบ ริการ ยกเวนปญหาทางดานเครือขายใน ฝง หนวยงาน 4) ความมั่นคงปลอดภัยและความเปนสวนตัว เมื่อเปรียบเทียบกับการใหหนวยงานในกลุมดูแล ประเด็นเรื่องความมั่นคงปลอดภัยและความเปนสวนตัวจะสูงขึ้นเนื่องจากมีหนวยงานบุคคลที่สาม เปนผูใหบริการมาเกี่ยวขอ งดว ย 5) กฎหมายและขอขัดแยง หากผูใหบริการตั้งอยูภายนอกประเทศอาจทำใหเกิดปญหาในเรื่อง กฎหมาย โดยเฉพาะการเกบ็ รกั ษาขอ มูล 6) การดูแลรักษา ความซับซอนของการดแู ลรักษาคลาวดชุมชนจะเพิ่มข้ึนเมื่อมีหนวยงานที่เขารวมใช งานคลาวดชุมชนเพม่ิ ข้นึ แตค วามซบั ซอนยังนอยกวา คลาวดสาธารณะ คลาวดชมุ ชนมตี นทนุ การสราง บริหารจดั การและดูแลรักษาถูกกวา คลาวดสวนตวั เนื่องจากคาใชจายถูก แบงกระจายกันไประหวางหนวยงาน ซึ่งอยูบนเงื่อนไขวาหนวยงานที่เขารวมในคลาวดชุมชนจะตองมีความ สนใจรวมกนั 15

2.4 รูปแบบการปรับการใชแ บบสาธารณะ คลาวดสาธารณะตามนิยามของสถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีไดนิยามไววา คลาวดสาธารณะเปน สถาปตยกรรมคลาวดที่ใหบริการทั่วไปกับบุคคลภายนอก อาจถูกดำเนินการโดยบริษัทเอกชน สถาบันการศึกษา หรือหนวยงานภาครฐั โดยผูใชเพียงเลือกซือ้ ทรัพยากรที่ตองการใชง าน ผูใหบริการจะจัดหา ทรัพยากรใหโดยคิดคาบริการเปนรายชั่วโมง ผูใหบริการคลาวดสาธารณะในปจจุบันมี 3 รายที่ใหญที่สุดคือ Amazon Web Service (Amazon Web Service Inc. 2020) Microsoft Azure (Microsoft Inc. 2020b) และ Google Cloud Platform (Sullivan 2019) คลาวดสาธารณะมีคณุ สมบตั ทิ ่ีสำคัญ ดงั ตอไปน้ี 1) รองรับการขยายตัวสงู เนือ่ งจากมีผใู ชบริการท่ีมาก และเพิม่ ขน้ึ เร่ือย ๆ ผใู หบริการจะตองวางแผน และเตรียมการสำหรับการขยายตัวใหสอดคลอ งกบั ยอดการใชบรกิ ารตลอดเวลา 2) ราคาไมแพง โดยทัว่ ไปคลาวดสาธารณะคิดคาบริการตามการใชงานจริงรายช่วั โมง ทำใหผใู ชไมตอง เสียคาบรกิ ารอน่ื ท่ีไมเก่ยี วขอ ง 3) ความมั่นคงปลอดภัยนอย คลาวดสาธารณะมีความมั่นคงปลอดภัยนอยที่สุดเมื่อเทียบกับรูปแบบ การปรบั ใชอนื่ แตย ังมขี อตกลงระดับการใหบริการเพ่ือปกปองความเปนสว นตัวของผใู ชง านอยู 4) ความพรอ มใชส ูง คลาวดส าธารณะมีความพรอมใชสงู เพราะตอ งสามารถเขาถึงไดจากทุกมุมโลก 5) ขอตกลงระดับการใหบริการที่เขมงวด เพื่อรักษาความไววางใจจากผูใชบริการและรักษาชื่อเสียง ของผูใหบริการ ผูใหบริการมักมีขอตกลงระดับการใหบริการที่เขมงวดเพื่อแขงขันกันระหวางผู ใหบ ริการ คลาวดส าธารณะอาจจะมปี ระเด็นทต่ี อ งพจิ ารณา ดังนี้ 1) ขอ ตกลงระดับการใหบรกิ าร เปน ขอตกลงทแี่ ตกตา งจากขอ ตกลงในคลาวดสว นตัวมาก เพราะจะไม ถูกเขียนใหกับเฉพาะราย แตจะเปนขอตกลงระดับการใหบริการท่ีผูใหบรกิ ารตกลงกับลกู คาทุกราย ท่ัวโลก ทำใหไ มใ หม ผี ูใชง านรายไหนสำคัญเปน พิเศษ 2) เครือขาย เนื่องจากการเขาถึงคลาวดส าธารณะจะตองเขาถึงผา นอนิ เทอรเน็ตเทานั้น หากตำแหนง ผูใหบริการอยูไกลอาจสงผลตอความเร็ว และระยะเวลาแฝงได และที่สำคัญเสถียรภาพของการ เช่ือมตออินเทอรเนต็ ของหนว ยงานเปนเร่ืองที่หนวยงานตองรับผดิ ชอบเอง 3) ประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของทรัพยากรในคลาวดสาธารณะขึ้นกับปจจัยหลักอยู 2 ปจจัย คือ ชองทางการเชื่อมตออินเทอรเน็ตของหนวยงาน และนโยบายการใหบริการของผูใหบริการ เชน ผู ใหบริการอาจกำหนดความเร็วในการเขียนอานดิสกขอมูลใหเปนไปตามขนาดพื้นที่ที่ผูใชงานซื้อ ทั้งน้ีเพอื่ เกลยี่ ความเร็วทฮี่ ารดแวรทำได ใหผ ูใ ชงานทุกคนอยางเทาเทียมกนั 4) สถาปตยกรรมหลายผูอาศัย เนอื่ งจากทรพั ยากรถูกแบงปนโดยผูใ ชง านหลายคน มคี วามเปนไปไดท่ี ระบบอาจมปี ญหาหรือถูกโจมตที ำใหขอมลู รัว่ ไหล 5) ที่ตั้ง ที่ตั้งของผูใหบริการคลาวดสาธารณะเปนประเด็นที่สำคัญ เพราะถายิ่งหางยิ่งมีผลโดยตรงตอ ความเร็วในการเชือ่ มตอ และระยะเวลาแฝง ทางที่ดีผูใหบริการคลาวดสาธารณะควรอยูในประเทศ เดยี วกัน หรอื ประเทศใกลเคยี ง 16

6) ความมนั่ คงปลอดภยั และความเปน สวนตัว เปน ปญหาใหญข องคลาวดสาธารณะ เพราะขอ มูลอาจ ถกู เก็บไวขามประเทศ 7) กฎหมายและขอขัดแยง เนื่องจากขอมูลอาจถูกเก็บไวขามประเทศ กฎหมายที่บังคับใชจะเปน กฎหมายที่เครื่องคอมพิวเตอรที่เก็บขอมูลนั้นตั้งอยู ซึ่งอาจสรางขอขัดแยงหากขอมูลมีความ ออนไหวสูง 8) การบริการจัดการคลาวด ในกรณีที่มีผูเขาใชงานพรอมกันเปนจำนวนมาก อาจเกิดปญหาเรื่อง ความเรว็ ในการจัดหาทรัพยากร หรือความเรว็ ในการเขา ถึงทรพั ยากรได 9) การดูแลรักษา การดูแลรักษาคลาวดสาธารณะเปนเรื่องงาย เพราะเปนหนาที่ของผูใหบริการ แต เนือ่ งจากระบบที่มผี ูใชงานเปน จำนวนมากอาจทำใหฮารดแวรมีปญหาบอย การใหบริการอาจมีชวง ระยะเวลาดูแลรกั ษาเปน พกั ๆ แมคลาวดสาธารณะอาจมีปญหาหลายเรื่อง แตประเด็นหนึ่งที่สำคัญในการตัดสินใจ คือ คลาวด สาธารณะจะมคี า ใชจายที่ถกู กวา คลาวดสว นตัวมาก 2.5 รูปแบบการปรบั การใชแ บบผสม คลาวดผสมตามนิยมของสถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยีไดนิยามไววา เปนโครงสรางของคลาวดที่ ประกอบดวยสองโครงสรางของคลาวดที่แตกตางกัน แตสามารถเชื่อมโยงกันดวยเทคโนโลยีมาตรฐานหรือ เทคโนโลยีเฉพาะที่ทำใหขอมูลและแอปพลิเคชันเคลื่อนยายระหวางคลาวดได โดยทั่วไปเปนการผสมผสม ระหวางคลาวดสวนตัวและคลาวดสาธารณะ จุดมุงหมายคือตองการไดรับประโยชนจากคลาวดทั้งสองรูปแบบ โดยเร่ิมตน หนว ยงานไดป รบั ใชค ลาวดสว นตวั กอน แตม ีทรัพยากรหรือบริการบางประเภททีไ่ มต อ งการลงทุนเอง จึงใชบริการจากคลาวดสาธารณะและเชื่อมตอกันเสมือนเปนเครือขายเดียวกัน ทั้งนี้เพื่อเก็บบริการหรือ ทรัพยากรที่มีความออนไหวไวในคลาวดสวนตัว และทรัพยากรที่ดูแลยากหรือตนทุนสูงไวที่คลาวดสาธารณะ คลาวดผสมมีคณุ สมบตั ทิ ีส่ ำคัญ ดงั ตอไปนี้ 1) การขยายตัว คลาวดผสมเปนการรวมรูปแบบการปรับใชมากกวา 1 หนึ่งแบบ โดยเหตุผลหลักเปน การใชคลาวดสาธารณะในสภาพแวดลอ มของคลาวดสวนตัว เนื่องจากคลาวดสาธารณะรองรับการ ขยายตัวไดด ีจึงทำใหค ลาวดผสมนม้ี คี วามสามารถในการขยายตัว 2) ความมั่นคงปลอดภัยบางสวน แมคลาวดสวนตัวจะมั่นคงปลอดภัย แตหากคลาวดสาธารณะถูก เจาะระบบกอ็ าจทำใหข อ มูลบางสว นรว่ั ไหลไปได 3) ขอตกลงระดับการใหบริการที่เขมงวด ทรัพยากรสวนที่ตั้งอยูในคลาวดสาธารณะจะมีขอตกลง ระดบั การใหบรกิ ารท่ีเขมงวดกวามาก 4) การบริหารจัดการคลาวดที่ซับซอน การบริการจัดการคลาวดจะมีความซับซอนและเปนงานยาก เพราะเกีย่ วของการรปู แบบการปรับใชมากกวา 1 รปู แบบ คลาวดผสมมีประเดน็ ทีต่ องพจิ ารณา ดังนี้ 17

1) ขอตกลงระดับการใหบริการ เปนหนึ่งในปจจยั ที่สำคัญ เพราะตองตรวจสอบวาขอตกลงในคลาวด ทั้งสองประเภทนั้นมีความสัมพันธและสงเสริมกัน โดยทั่วไป คลาวดสวนตัวมีขอตกลงระดับ การใหบ ริการท่ีเขม งวด สว นคลาวดส าธารณะมีขอตกลงระดับการใหบ รกิ ารท่เี ขม งวด 2) เครือขาย โดยทั่วไปกลาวถึงเครือขายของคลาวดสวนตัวและเมื่อตองการเขาถึงทรัพยากรที่อยูบน คลาวดสาธารณะจึงตองใชอินเทอรเนต็ โดยหนวยงานเปน ผูดูแลเครือขายของคลาวดสวนตัวซ่ึงอาจ มคี า ใชจา ยสงู 3) ประสิทธิภาพ คลาวดผสมเปนรูปแบบคลาวดที่อยูในสภาพแวดลอมสวนตัว และเมื่อตองการ ทรัพยากรทีเ่ พิ่มขึน้ จงึ ใชค ลาวดส าธารณะทำใหรสู ึกถึงทรพั ยากรทส่ี ามารถเขาถึงไดอยางไมจ ำกดั 4) สถาปตยกรรมหลายผูอาศัย คลาวดผสมอาจเกิดปญหาความมั่นคงปลอดภัย หรือขอมูลรั่วไหลได ผานทางคลาวดส าธารณะ 5) ทต่ี ั้ง คลาวดส วนตัวมกั ต้งั อยูในสถานท่ีของหนวยงานในขณะที่คลาวดสาธารณะตง้ั อยภู ายนอก การ บริหารจดั การการเขาถึงระหวางคลาวดสว นตัวกับคลาวดสาธารณะเปนเรือ่ งทส่ี ำคญั 6) ความมั่นคงปลอดภัยและความเปนสวนตัว เมื่อใดก็ตามที่ผูใชใชทรัพยากรหรือบริการที่มาจาก คลาวดส าธารณะ ภัยคุกคามที่ขอ มลู สูญหายจะมีสงู กวาการใชทรัพยากรหรือบริการที่มาจากคลาวด สว นตัว 7) กฎหมายและขอโตแยง อาจมีกฎหมายบางฉบับที่มากำกับคลาวดสาธารณะ แตผูใหบริการสวน ใหญมกั หลีกเลย่ี งประเทศเหลา น้นั อยูแลว 8) การบริหารจัดการคลาวด ทุกอยางถูกจัดการโดยทีมที่ดูแลคลาวดสวนตัว หรือผูใหบริการคลาวด สวนตัว 9) การดูแลรักษาคลาวด มีความซับซอนเทากับคลาวดสวนตัว เพราะทรัพยากรหรือบริการที่อยูใน คลาวดสว นตัวจำเปนตองมีการดูแลรกั ษาใหท ำงานไดเ ปน ปกติ และมคี าใชจา ยทส่ี ูง รูปแบบการปรับใชแบบคลาวดผสมเปนรูปแบบที่มีการปรับใชเพิ่มขึ้นมากที่สุดรูปแบบหนึ่ง หนวยงาน ควรพิจารณาวาทรัพยากรไหนที่ควรจัดหาและดูแลในคลาวดสวนตัว ทรัพยากรไหนที่ควรใชบริการจากผู ใหบรกิ ารคลาวดส าธารณะ 2.6 รปู แบบการใหบ ริการของการประมวลผลกลุมเมฆ การประมวลผลกลุมเมฆเปนแบบจำลองที่สามารถใหผูใชงานเขาถึงทรัพยากรที่แบงปนกัน เชน กำลัง การประมวลผล เครือขา ย พ้นื ที่จัดเกบ็ ขอมูล ฐานขอมูล แอปพลิเคชนั โดยสามารถเขาถึงไดต ามตองการโดยท่ี ไมจำเปนตองซื้อหรือเปนเจาของฮารดแวรเหลานั้น บริการเหลานี้ผูใหบริการเปนผูจัดหาและจัดการเพื่อลด ภาระของผูใชบริการ โดยสถาบันมาตรฐานและเทคโนโลยไี ดนิยามรูปแบบการปรบั ใชของกระประมวลผลกลุม เมฆไว 3 รูปแบบ ดังภาพท่ี 2.2 คือ 18

SaaS สําหรับผูใชทัว่ ไป PaaS สาํ หรบั นกั พฒั นา IaaS สาํ หรับฝายไอที รูปแบบการใหบ ริการของคลาวด ภาพที่ 2.2 รูปแบบการปรับใชของการประมวลผลกลุมเมฆ ดดั แปลงรูปจาก: (Chandrasekaran 2014:68) 1) รูปแบบการใหบริการแบบสถาปตยกรรมเปนบริการ - Infrastructure as a Service (IaaS) - เปนโครงสรางที่ใหผูใชประมวลผลซอฟตแวร โดยผูใหบริการจัดหากำลังการประมวลผล เครือขาย พื้นที่จัดเก็บขอมูล หนวยประมวลผล การทำเสมือน และเครื่องแมขาย ผูใชบริการจะตองบริหาร จัดการแอปพลเิ คชนั ดวยตนเอง ดงั ภาพที่ 2.3 2) รูปแบบการใหบริการแบบแพลตฟอรมเปนบริการ - Platform as a Service (PaaS) - เปน โครงสรางทผี่ ใู ชบ รกิ ารประมวลผลซอฟตแวรในสภาพแวดลอมท่ีกำหนด เชน เวบ็ แอปพลิเคชัน ผูใช จะตองบริหารจัดการติดตั้งซอฟตแวรเฉพาะนั้นเอง แตตั้งคาสภาพแวดลอมไดอยางจำกัด สวนผู ใหบ รกิ ารจะดูแลในระดับรปู แบบการใหบริการแบบสถาปตยกรรมเปน บริการ และระบบปฏิบัติการ ถึงแพลตฟอรม สำหรบั การพัฒนาหรือทดสอบ ดงั ภาพที่ 2.3 3) รูปแบบการใหบริการแบบซอฟตแวรเปนบริการ - Software as a Service (SaaS) - เปน โครงสรา งที่ผใู ชบริการเขาถงึ แอพลิเคชันผานอินเทอรเน็ต ผูใ ชบริการสามารถต้ังคาแอปพลิเคชันได อยางจำกัด สวนผูใหบรกิ ารจะดูแลในระดับรูปแบบการใหบ รกิ ารแบบแพลตฟอรมเปนบริการ และ แอปพคลเิ คชัน ดังภาพท่ี 2.3 19

แอปพลเิ คชัน แอปพลเิ คชัน จัดการโดย แอปพลเิ คชัน ันก ัพฒนา ขอมูล ขอ มลู ขอ มูล จัดการโดย ฝาย แพลตฟอรม สาํ หรับพฒั นา/ทดสอบ ไอ ีท แพลตฟอรม สําหรับพัฒนา/ทดสอบ แพลตฟอรม สาํ หรับพฒั นา/ทดสอบ มิดเดลิ แวร มดิ เดลิ แวร มดิ เดิลแวร ระบบปฏิบัตกิ าร ระบบปฏบิ ัตกิ าร ระบบปฏบิ ตั ิการ จัดหาโดยผู ใ หบ ิรการ เครอื ขาย เครอื ขา ย จัดหาโดยผู เครอื ขา ย ใ หบ ิรการ ท่ีเกบ็ ขอ มูล ทเี่ ก็บขอมลู ที่เก็บขอ มูล จัดหาโดยผู หนว ยประมวลผล ใ หบ ิรการ หนว ยประมวลผล หนว ยประมวลผล การทําเสมือน การทําเสมือน การทาํ เสมอื น เครือ่ งแมข าย เครื่องแมขาย เครอ่ื งแมข าย (ก) (ข) (ค) ภาพที่ 2.3 โครงสรางของแตละรปู แบบการใหบริการโดยแยกสวนระหวา งผูใชแ ละผใู หบริการ ดัดแปลงมาจาก: (Chandrasekaran 2014:70) 2.7 รปู แบบการใหบ รกิ ารแบบสถาปตยกรรมเปน บริการ รูปแบบการใหบริการแบบสถาปตยกรรมเปนบริการเปลี่ยนวิธีการใชงานทรัพยากรจำพวกกำลังการ ประมวลผล พื้นที่จัดเก็บขอมูล และเครือขาย สมัยกอนผูใชบริการจะเรียกใชทรัพยากรเหลานี้ผานเครื่อง คอมพิวเตอรทางกายภาพ แตปจจุบันดวยเทคโนโลยีเสมือน (Virtualization) ที่ชวยจัดหาทรัพยากรเสมือน เหลานี้ ทำใหผูใชบริการสามารถเขาถึงเครื่องคอมพิวเตอรเสมือนจำนวนหลายเครื่องผานชั้นโหลดบารลานซิง (Load Balancing layer) ดงั ภาพที่ 2.4 รูปแบบการใหบริการแบบสถาปตยกรรมเปนบริการจะชวยลดตนทุนฮารดแวรและการดูแลรักษา โดยเฉพาะกับบริษัทประเภทสตารทอัพ (Start-up) เพราะสามารถใชเงินทนุ ที่มีอยูจำกัดไปลงทุนดานอื่นได ซึ่ง เหมาะสมกบั สถานการณด ังตอ ไปน้ี 1) การใชง านเพ่มิ สงู ขนึ้ อยางรวดเร็วโดยคาดไมถงึ และเพม่ิ ข้นึ เพียงในระยะเวลาส้นั หากหนวยงาน ลงทุนจัดซื้อฮารดแวรคงไมสามารถแกไขปญหานี้ได แตในระบบคลาวด ผูใชบริการสามารถเพ่ิม ทรัพยากรไดตามตองการโดยอาจมีระยะเวลาหยุดระบบ (Downtime) เพียงชวงระยะเวลาไมก่ี ชวั่ โมง 2) เงินทุนมีอยูจำกัด โดยเฉพาะบริษัทสตารทอัพที่ไมสามารถลงทุนซื้อฮารดแวรมาในชวงที่ยังไมมี รายไดห รือรายไดยังโตไมท ัน รปู แบบการใหบรกิ ารแบบนจ้ี ะชวยใหบริษทั เหลอื เงินไปลงทนุ ดา นอ่ืน 3) โครงสรางตามตองการ ในบางหนวยงานอาจตองการโครงสรางระบบขนาดใหญเปนชวงเวลาหนึ่ง การใชง านรปู แบบนีจ้ ะเปน เหมอื นเชา โครงสรา งระบบมาแทนการซ้ือมาแลว กไ็ มไดใ ชงานอีก 20

ผใู ชบรกิ าร โหลดบาลานซงิ เครอื่ งผใู ชบรกิ าร เคร่อื ง เครือ่ ง เคร่ือง เสมือน เสมอื น เสมือน เครอื่ ง เคร่อื ง เครอ่ื ง เสมือน เสมือน เสมอื น สถาปตยกรรมเสมือน ช้ันการทําเสมอื น ผใู หบริการ สถาปตยกรรมทางกายภาพ เคร่ืองผูใหบริการ ภาพที่ 2.4 รูปแบบการใหบริการแบบสถาปตยกรรมเปน บรกิ าร ดัดแปลงรปู จาก: (Chandrasekaran 2014:71) 2.8 รปู แบบการใหบริการแบบแพลตฟอรมเปนบริการ รปู แบบการใหบรกิ ารแบบแพลตฟอรมเปนบริการเปล่ยี นวิธกี ารท่ซี อฟตแวรถกู พัฒนาและถูกปรับใชงาน ในสมัยกอนเมื่อแอปพลิเคชันถูกพัฒนาจะถูกติดตั้งเขาไปในเครื่องแมขายเครื่องหนึ่งเพื่อใหทุกคนเขาใชงาน แอปพลิเคชันบางตัวอาจตองการลิขสิทธิ์จากซอฟตแวรอื่น เชน เว็บแอปพลิเคชันใชระบบฐานขอมูล ผูใชงาน อาจตองเสียเงินคาลิขสิทธิ์ทั้งคาระบบปฏิบัติการและระบบฐานขอมูล ในขณะที่ในรูปแบบการใหบริการแบบ แพลตฟอรมเปนบริการ ผูใชงานเพียงเปลี่ยนจากการพัฒนาแอปพลิเคชันในและทำงานในเครื่องภายใน หนว ยงานมาพัฒนาบนออนไลน หรือพัฒนาในเครื่องแตปรับใชงานออนไลนทำใหผูใชงานจายแคคาใชจายตาม ปริมาณทรัพยากรที่ตองการจัดสรรไว เมื่อมีความตองการเพิ่มในภายหลังก็สามารถเพิ่มปริมาณทรัพยากรได โดยท่ีผูใ หบ ริการจะเปน ผูรับผิดชอบคาใชจายเรื่องลิขสิทธ์ิซอฟตแ วรดว ยการถัวเฉลี่ยคาใชจายไปตามคุณสมบัติ ท่ีเครอื่ งทต่ี องตดิ ต้ังรองรับได และระยะเวลาทีซ่ อฟตแ วรนน้ั มปี ระกันคณุ ภาพอยู ดงั ภาพท่ี 2.5 บริษัทสตารทอัพและบริษัทพัฒนาซอฟตแวรนิยมใชระบบคลาวดในรูปแบบการใหบริการแบบแพลต ฟอรเปน บริการเพ่อื พฒั นาแอปพลเิ คชนั ซึง่ รูปแบบการใหบ ริการน้เี หมาะสมกบั สถานการณตอไปน้ี 1) การพัฒนาที่ชวยกันเปนทีม เพื่อลดระยะเวลาในการพัฒนา และสงฟเจอรของซอฟตแวรไปยัง ตลาดใหเ ร็วทสี่ ุด ทีมนักพฒั นาตองการพ้นื ทก่ี ลางที่ใชพฒั นาแอปพคลิเคชันและประสานงานรวมกัน 21

2) การทดสอบและการปรับใชที่ทำโดยอัตโนมัติ เปนคุณสมบัติที่มีประโยชนมากหากตองการใหการ พัฒนาแอพลิเคชันเสร็จไดอยางรวดเร็ว การทดสอบแอปพลิเคชันโดยอัตโนมัติจะชวยลดภาระการ ทดสอบดวยคน ทั้งนี้เพื่อใหทีมพัฒนาจดจอกับการพัฒนาซอฟตแวรและแกไขขอผิดพลาดของ ซอฟตแ วรไดอ ยางรวดเร็ว 3) ระยะเวลาสงมอบแอปพลิเคชันจำกัด รูปแบบการใหบริการแบบแพลตฟอรมเปนบริการเปน รูปแบบที่ทำใหการพัฒนาซอฟตแวรเปนแบบรอบ (Iterative) และเพิ่มขึ้น (Incremental) ซึ่งเปน การพัฒนาแนว Agile development ซึ่งเปนรูปแบบที่พัฒนาและแกไขขอผิดพลาดของซอฟตแวร ไดเ รว็ ทีส่ ดุ ผใู ชบ รกิ าร โหลดบาลานซิง เครอื่ งผูใชบริการ แพลตฟอรมเสมือนสาํ หรับ พัฒนา/ทดสอบ ชน้ั การทาํ เสมือน ผใู หบรกิ าร แพลตฟอรมสาํ หรบั พัฒนา/ทดสอบ เครอ่ื งผูใหบริการ เครือ่ ง เครื่อง เสมือน เสมอื น ผูใหบรกิ าร เคร่ือง เคร่อื ง เสมอื น เสมอื น เคร่อื งผใู หบ ริการ ภาพที่ 2.5 รปู แบบการใหบ ริการแบบแพลตฟอรมเปน บริการ ดดั แปลงรูปจาก: (Chandrasekaran 2014:77) 22

2.9 รูปแบบการใหบ รกิ ารแบบซอฟตแ วรเปนบรกิ าร รูปแบบการใหบริการแบบซอฟตแวรเปนบรกิ ารเปล่ียนวิธีการสง มอบซอฟตแวรไปยังลูกคา ในสมัยกอน การขายซอฟตแวรจะคิดตามจำนวนเครื่องทีใ่ ชงาน หรือจำนวนผูใช โดยผูใชงานตองซื้อลิขสิทธิข์ องซอฟตแวร ท้งั หมดกอนเร่ิมใชง าน แตร ะบบคลาวดท ี่มีรูปแบบการใหบริการแบบซอฟตแ วรเปนบริการน้ีจะชวยใหผูใชงาน สามารถเรียกใชงานซอฟตแวรตามความตองการ โดยมีคาใชจายตามระยะเวลาที่ใชงานเชน รายชั่วโมง หรือ รายเดือน แทนการซ้ือลิขสิทธิ์ถาวรมากอน รูปแบบการใหบริการนี้จะชวยใหผูใชสามารถเขาถึงซอฟตแวรได จากที่ไหนหรืออุปกรณใดผานอินเทอรเน็ต โดยที่ไมจำเปนตองติดตั้งซอฟตแวรลงไปในเครื่อง โดยทั่วไปนิยม เขา ถงึ ผานเวบ็ เบราเซอร ดังภาพที่ 2.6 รูปแบบการใหบริการแบบซอฟตแวรเปนบริการอาจใชใหบริการซอฟตแวรทางธุรกิจ เครือขายสังคม ออนไลน ระบบบริหารจัดการเอกสารหรือระบบอีเมลโดยทีผ่ ูใชงานไมต องรับผดิ การดูแลรักษาใด ๆ ซึ่งรูปแบบ การใหบริการนีเ้ หมาะสมกับสถานการณต อ ไปนี้ 1) ตองการใชซอฟตแวรตามความตอ งการ แทนทีผ่ ูใชจ ะซือ้ ลิขสทิ ธถิ์ าวรมากอนใชบรกิ าร ผูใ ชบ ริการ สามารถใชง านซอฟตแวรโ ดยคา ลิขสิทธถิ์ ูกเฉล่ยี หารตามคุณสมบัตทิ ี่เคร่ืองของผูใหบริการรองรับได และระยะเวลาที่ผูใชบริการใชงาน ซึ่งบางซอฟตแวรม ีความตองการใชงานไมบอยครั้ง หรือตองการ ใชง านในระยะเวลาสน้ั 2) ซอฟตแวรของบริษัทสตารทอัพ เนื่องจากการคาใชจายลิขสิทธิ์ของซอฟตแวรเปนคาใชจายที่ คอ นขา งสูงไมนอยกวาคาฮารดแวร บรษิ ัทท่ีมีเงินลงทนุ นอ ยอาจตองการมีคา ใชจายในสวนนี้ใหนอย ท่สี ุด เพือ่ ใหเหลือเงินลงทนุ ในฮารดแวรท ม่ี คี ณุ สมบัตสิ งู ขน้ึ 3) ซอฟตแวรที่มีคุณสมบัติเขากันไดกับอุปกรณหลายอุปกรณ แอปพลิเคชันบางประเภทอยาง โปรแกรมพิมพเอกสารหรือสเปรดชีตอาจมีความจำเปนที่ตองการใหผูใชงานหลายคนเขาใชงาน เอกสารหรือชตี เดยี วกนั พรอ มกัน 4) ซอฟตแวรท ่มี ปี ริมาณการใชงานท่หี ลากหลาย เชน หนวยงานไมสามารถคาดการณไดว า ในอนาคต แอปพลิเคชันใดจะมีการใชงานเพิ่มสูงขึ้นอยางรวดเร็ว เชน แอปพลิเคชันประชุมออนไลนในชวง ไวรัสระบาด หากเปนปรับการใชดวยเครื่องในบริษัทเองอาจรองรับการใชงานที่เพิ่มสูงขึ้นใน ระยะเวลาอันสั้นไมทัน แตในระบบคลาวดที่มีรูปแบบการใหบริการแบบซอฟตแวรเปนบริการจะ สามารถรองรบั การใชงานแอปพลเิ คชนั ไดท ันที รูปแบบการใหบริการแตละรูปแบบนั้นมีขอดีขอเสีย และเหมาะสมกับสถานการณที่แตกตางกันออกไป หากหนวยงานตองการใชบริการระบบคลาวดรูปแบบที่เหมาะสม เพราะการเปลี่ยนชนิดของรูปแบบการ ใหบริการนัน้ ทำไดย าก ในบางกรณีไมสามารถทำได เน่อื งจาก เกิดปญหาตดิ ล็อกผูขาย (Vendor lock-in) เชน เมื่อเขียนแอปพลิเคชันใหใชบริการซอฟตแวรระบบฐานขอมูลที่รองรับการขยายตัวทุกศูนยขอมูลทั่วโลกโดย อัตโนมัติของผูใหบริการคลาวดสาธารณะแลว หากตองการยายออก ผูใชงานอาจตองเขียนโปรแกรมใหม ทั้งหมด 23

บริการทางธุรกิจ ส่ือสังคมออนไลน ซอฟตแวรเปน บริการ ระบบจัดการเอกสาร บรกิ ารอเี มล ภาพที่ 2.6 รูปแบบการใหบริการแบบซอฟตแ วรเ ปนบรกิ าร ดดั แปลงรปู จาก: (Chandrasekaran 2014:86) 2.10 เทคโนโลยีทข่ี บั เคลอื่ นการประมวลผลกลุมเมฆ การมาของเทคโนโลยีคลาวดเปลี่ยนวิธีการทำงานหลายอยางในการทำงานของระบบสารสนเทศทาง คอมพิวเตอรโดยเฉพาะการไดมาถึงโครงสรางพื้นฐาน จากที่กลาวมาในหัวขอกอนหนานี้ ผูอานจะพบวาดวย เทคโนโลยีคลาวดชวยใหผูใหบ ริการซอนความซับซอนของฮารดแวรและการดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอรทาง กายภาพ และใหบริการทรัพยากรเหลานี้ไปยังผูใชบริการ ซึ่งใชแนวคิดที่คลายกับเครื่องลูกขายรองขอ ทรัพยากรจากเครื่องแมขาย โดยเครื่องแมขายซอนความซับซอนของการประมวลผลและการไดมาซึ่งขอมูล และสงขอมูลกลับไปยังเครื่องลูกขาย ดังนั้น แมเทคโนโลยีที่เกี่ยวของกับการประมวลผลกลุมเมฆจะมีหลาย เทคโนโลยี แตดวยหลักการซอนความซับซอนนี้ ผูใหบริการคลาวดจำเปนจะตองใชเทคโนโลยี 2 ชนิด คือ เทคโนโลยีเสมอื น (Virtualization) และเทคโนโลยีบรรจุคอนเทนเนอร (Containerization) ซึ่งเปนเทคโนโลยี หลกั ในการขบั เคลอื่ นระบบคลาวดใ นทุกรูปแบบการปรับใช และทุกรูปแบบการใหบ ริการ เทคโนโลยีเสมือนเปนเทคโนโลยีที่ชวยสรางสภาพแวดลอมที่เปนอิสระตอกันใหกับสถาปตยกรรมแบบ หลายผูอาศัย เมื่อใชเทคโนโลยีเสมือนทรัพยากรในโครงสรางทางกายภาพ เชน กำลังการประมวลผล พื้นที่ จัดเก็บขอมูล เครือขาย หนวยความจำหลัก เปนตน จะถูกนำมาแบงปนใหกับผูใชหลายคนเสมือนหนึ่งผูใชแต ละคนไดเขาถึงทรัพยากรเหลานั้นทางกายภาพ แตในความเปนจริงนั้นมาจากทรัพยากรที่เดียวกัน ยกตัวอยาง เชน หากมีเครื่องคอมพิวเตอรแมขายที่มีหนวยประมวลผลกลางจำนวน 8 แกน หนวยความจำหลักจำนวน 32 GB เพยี ง 1 เคร่ือง เมือ่ ใหบรกิ ารผา นเทคโนโลยีเสมือน จะทำใหผ ใู ชงานรบั รูเสมอื นหนง่ึ วา มเี ครื่องคอมพิวเตอร จำนวน 8 เครื่องโดยที่แตละเครื่องมีหนวยประมวลผลกลางเครื่องละ 2 แกน หนวยความจำหลักเครื่องละ 4 GB เปนตน 24

เทคโนโลยีบรรจุคอนเทนเนอรเปนเทคโนโลยีที่ชวยสรางภาพแวดลอมที่เปนอิสระตอกันระหวางแอป พลิเคชันกับไลบรารีที่ตองพึ่งพาจากแอปพลิเคชันเอง และสภาพแวดลอมของระบบปฏิบัติการ โดยปกติ เมื่อ นักพัฒนาซอฟตแวรและสงมอบซอฟตแวรใหกับลูกคา นักพัฒนาจะตองแสดงความตองการระบบที่จำเปนใน การทำงานของแอปพลิเคชัน เชน ชนิดและเวอรชันของระบบปฏิบัติการ ชนิดและเวอรชันของเครื่องมือหรือ ไลบรารีอื่น ทำใหการสงมอบซอฟตแวรทำไดอยางลาชา รวมถึงการรวมมือกันระหวางนักพัฒนาซอฟตแวรที่ ตางคนตางก็ใชเครื่องคอมพิวเตอรที่อาจมีระบบปฏิบัติการและไลบรารีอื่นตางชนิดและตางเวอรชันกัน ดังน้ัน เทคโนโลยีบรรจุคอนเทนเนอรจึงชว ยลดปญหาการสงมอบซอฟตแ วรใหกับลูกคา ลดปญหาการตดิ ต้ังบนระบบ และสง ผลกระทบตอแอปพลิเคชนั อ่นื 25

บทสรปุ รปู แบบการปรบั ใชของการประมวลผลกลมุ เมฆเฉพาะทเ่ี ปนทน่ี ิยมมี 4 รปู แบบ คือ 1) คลาวดสวนตัว เปนคลาวดที่ถูกใชเฉพาะหนวยงานเดียว ซึ่งอาจประกอบดวยหลายผูใช ถูกจัดตั้ง และดำเนินการโดยหนวยงานนั้นหรือจางหนวยงานอื่นก็ได อาจจะติดตั้งอยูในหนวยงานนั้นหรือ นอกพ้นื ทห่ี นวยงานก็ได ลักษณะเดนของคลาวดสวนตัว คือ ไมซับซอน มีความมั่นคงปลอดภัยสูง สามารถควบคุมรูปแบบ การใหบรกิ ารไดเต็มที่ การดูแลรักษาคอนขางงาย แตอ าจมีปญหาเรือ่ งขอ ตกลงระดบั การใหบ รกิ าร 2) คลาวดชุมชน เปนคลาวดที่ถูกจัดสรรเพื่อใชโดยเฉพาะกลุมหนวยงานที่มีลักษณะเดียวกัน เชน เปาหมาย มาตรฐานความเขากันไดเดียวกัน ซึ่งอาจสราง บริหารจัดการ และดำเนินการโดย หนวยงานตงั้ แตห นึ่งหนว ยงานในชุมชนเปนตนไป จา งหนว ยงานอนื่ หรือสองอยา งผสมกัน ลักษณะเดนของคลาวดชุมชน คือ การกระจายความรับผิดชอบ ความมั่นคงปลอดภัยที่สูงกวา คลาวดส าธารณะ และคาใชจ ายทีค่ มุ คา เพราะหนวยงานหลายหนวยงานรว มรบั ผิดชอบ 3) คลาวดส าธารณะ เปนสถาปต ยกรรมคลาวดท่ีใหบ ริการทวั่ ไปกับบุคคลภายนอก อาจถูกดำเนินการ โดยบริษัทเอกชน สถาบันการศึกษา หรือหนวยงานภาครัฐก็ได โดยผูใชเพียงเลือกซื้อทรัพยากรที่ ตอ งการใชงาน ผูใหบ รกิ ารจะจดั หาทรพั ยากรใหโดยคิดคาบรกิ ารเปน รายช่วั โมง ลกั ษณะเดน ของคลาวดสาธารณะ คือ ความสามารถในการรองรับการขยายตัวสูง มขี อตกลงระดับ การใหบริการที่ดีเยี่ยม ราคาไมแพง ดูแลรักษางาย แตมีความมั่นคงปลอดภัยนอยกวาคลาวด รปู แบบอ่นื การเขา ถงึ จำเปนตองมีอนิ เทอรเนต็ ตลอดเวลา 4) คลาวดผสม เปนโครงสรางของคลาวดที่ประกอบดวยสองโครงสรางของคลาวดที่แตกตางกัน แต สามารถเชื่อมโยงกันดวยเทคโนโลยีมาตรฐานหรือเทคโนโลยีเฉพาะที่ทำใหขอมูลและแอปพลิเคชัน เคลื่อนยายระหวางคลาวดได โดยทั่วไปมักเปนการผสมผสมระหวางคลาวดสวนตัวและคลาวดสา ธารณะ ลักษณะเดนของคลาวดผสม คือ รองรับการแบงภาระงานไวในประเภทของคลาวดที่ตองการ เชน ระบบที่เปนความลับใชคลาวดสวนตัว และระบบที่ตองการใหรองรับการขยายตัวและสามารถเขาถึงจาก ภายนอกหนวยงานไดใ ชคลาวดส ว นตวั แตก ารบริหารจดั การทำไดย ากและซบั ซอ น รปู แบบการใหบรกิ ารของการประมวลผลกลุม เมฆ โดยทว่ั ไปมี 3 รปู แบบ คอื 1) รูปแบบการใหบริการแบบสถาปตยกรรมเปนบริการ เปนรูปแบบที่มีราคาถูกที่สุด สามารถ เปลี่ยนโครงสรางไดตามตองการ นิยมใชโดยบริษัทประเภทสตารทอัพ (Start-up) เพราะ สามารถใชเ งินทุนท่ีมีอยูจ ำกัด 2) รูปแบบการใหบริการแบบแพลตฟอรมเปนบรกิ าร เปน รูปแบบทผี่ ูใชงานเพียงเปล่ียนจากการ พัฒนาแอปพลิเคชันในและทำงานในเครื่องภายในหนว ยงานมาพฒั นาบนออนไลน โดยที่ไมตอง กังวลคาใชจายเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ซอฟตแวร นิยมใชโดยทีมพัฒนาซอฟตแวรที่ตองการลด ระยะเวลาในการพัฒนาและการสง มอบ 26

3) รูปแบบการใหบริการแบบซอฟตแวรเปนบริการ เปนรูปแบบการใหบริการที่ชวยใหผูใชงาน สามารถเรียกใชงานซอฟตแวรตามความตองการ โดยมีคาใชจายตามระยะเวลาที่ใชงานเชน รายชั่วโมง หรือรายเดือน แทนการซื้อลิขสิทธิ์ถาวรมากอน รูปแบบการใหบริการนี้จะชวยให ผูใชสามารถเขาถึงซอฟตแวรไดจากที่ไหนก็ได หรืออุปกรณใดก็ได โดยที่ไมจำเปนตองติดต้ัง ซอฟตแวรลงไปในเครื่อง โดยทั่วไปนิยมเขาถึงผานเว็บเบราเซอร เหมาะสำหรับซอฟตแวรทาง ธุรกจิ ตาง ๆ ทผ่ี ูใชบรกิ ารเพียงเขา ถงึ ขอ มูลของระบบไดท ันที เทคโนโลยที ขี่ บั เคล่ือนการประมวลผลกลมุ เมฆในปจ จบุ ันมเี ทคโนโลยหี ลักอยู 2 เทคโนโลยี คอื 1) เทคโนโลยีเสมือน เปนเทคโนโลยีที่ชวยสรางสภาพแวดลอมที่เปนอิสระตอกันใหกับสถาปตยกรรม แบบหลายผูอาศัย เมื่อใชเทคโนโลยีเสมือนทรัพยากรในโครงสรางทางกายภาพ เชน กำลังการ ประมวลผล พนื้ ทจ่ี ัดเก็บขอมลู เครือขา ย หนว ยความจำหลัก เปนตน จะถกู นำมาแบงปนใหกับผูใช หลายคนเสมือนหนึ่งผูใชแตละคนไดเขาถึงทรัพยากรเหลานั้นทางกายภาพ แตในความเปนจริงแลว มาจากทรพั ยากรท่ีเดยี วกนั 2) เทคโนโลยีบรรจุคอนเทนเนอร เปนเทคโนโลยีที่ชวยสรางภาพแวดลอมที่เปนอิสระตอกันระหวาง แอปพลเิ คชันกับไลบรารีท่ตี อ งพง่ึ พาจากแอปพลิเคชนั เอง และสภาพแวดลอ มของระบบปฏบิ ัติการ 27

แบบฝกหัดบทที่ 2 1. บอกคณุ ลักษณะทีส่ ำหรบั ของคลาวดท ี่มรี ปู แบบการปรบั ใชแ บบสว นตวั 2. บอกคุณลกั ษณะทีส่ ำหรับของคลาวดท ี่มีรปู แบบการปรับใชแ บบสาธารณะ 3. บอกคณุ ลกั ษณะทีส่ ำหรับของคลาวดท่ีมีรปู แบบการปรับใชแ บบผสม 4. บอกคุณลักษณะท่สี ำหรบั ของคลาวดท ี่มรี ปู แบบการปรับใชแบบชมุ ชน 5. การประมวลผลกลมุ เมฆรปู แบบการใหบ ริการแบบสถาปตยกรรมเปนบริการเหมาะสมกับสถานการณใ ด 28

6. การประมวลผลกลมุ เมฆรูปแบบการใหบ รกิ ารแบบแพลตฟอรเ ปนบรกิ ารเหมาะสมกบั สถานการณใ ด 7. การประมวลผลกลมุ เมฆรปู แบบการใหบ รกิ ารแบบซอฟตแวรเ ปนบริการเหมาะสมกบั สถานการณใ ด 8. อะไรเปนปจ จยั ในการเลือกใชรูปแบบการใหบรกิ ารที่แตกตางกนั ของการประมวลผลกลุมเมฆ 9. เทคโนโลยีเสมือนสามารถนำมาใชขับเคล่อื นการประมวลผลกลุม เมฆไดอยา งไร 10. เทคโนโลยีบรรจคุ อนเทนเนอรส ามารถนำมาใชขบั เคล่ือนการประมวลผลกลุมเมฆไดอ ยางไร 29

30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook