Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สาระวิทย์ เดือน พฤศจิกายน

สาระวิทย์ เดือน พฤศจิกายน

Published by Thalanglibrary, 2020-12-03 05:13:30

Description: สาระวิทย์ เดือน พฤศจิกายน

Search

Read the Text Version

A Team Bulletin สารบญั Cover Story 3 บทความพเิ ศษ 6 ระเบียงขา่ ววทิ ย์- เทคโนฯ ไทย 12 ทีป่ รกึ ษา หนา้ ต่างขา่ ววทิ ย์- Sci- สาระ App 21 เทคโนฯ โลก 16 infographic 19 ณรงค์ ศริ เิ ลศิ วรกุล จุฬารตั น์ ตนั ประเสรฐิ รอ้ ยพนั วทิ ยา 22 สภากาแฟ 28 หอ้ งภาพ 34 จุมพล เหมะคีรินทร์ สตั ว์ปา่ ไทย บรรณาธิการผพู้ ิมพ์ผโู้ ฆษณา สาระวิทย์ เปดิ โลก อ๋อ ! มนั เปน็ กลุ ประภา นาวานเุ คราะห์ ในศิลป์ 35 นทิ านดาว 39 อยา่ งนี้นีเ่ อง 42 บรรณาธกิ ารอ�ำ นวยการ เบ้อื งหลงั การค้นพบ สิ่งมีชีวติ ชนดิ ใหม่ น�ำ ชัย ชีววิวรรธน์ ของโลก 35 ชนดิ 44 Sci Quiz 46 คำ�คมนกั วทิ ย์ 47 บรรณาธิการบรหิ าร ENdiototer’s ปริทัศน์ เทียนทอง ภาพยนตร์เป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพสามารถเข้าถึงผู้รับชม สามารถให้ทั้งจินตนาการ เนื้อหาสาระ ความบนั เทิงรายละเอยี ดต่างๆ ไดค้ รบถว้ นนา่ ติดตาม กองบรรณาธิการ เทศกาลภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การเรยี นรู้ (Science Film Festival) จดั โดย สถาบนั เกอเธ่ ประเทศไทย รว่ มกบั หนว่ ยงานภาครฐั หลายแหง่ อาทิ อพวช. สสวท. สวทช. ฯลฯ เปน็ การสรา้ งโอกาสและจดุ ประกาย รกั ฉตั ร เวทวี ฒุ าจารย์ ให้กับการเรียนรู้ สรา้ งความตระหนักทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยใชภ้ าพยนตร์เปน็ สื่อกลางใน วชั ราภรณ์ สนทนา การนำ�สาระความบันเทิงทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปสู่ประชาชน กระตุ้นและส่งเสริมการเรียนรู้ อาทติ ย์ ลมลู ปล่งั ความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์ วีณา ยศวังใจ ในชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายนถงึ ธนั วาคมนี้ เทศกาลภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การเรยี นรู้ ไดจ้ ดั ขนึ้ เปน็ ครงั้ ท่ี ภัทรา สัปปินนั ทน์ 16 แลว้ ภายใต้ประเด็นหลกั ในเรอื่ ง “เป้าหมายการพฒั นาที่ยั่งยืน” หรอื “SUSTAINABLE DEVELOP- MENT GOALS” และดว้ ยสถานการณ์โควดิ 19 ในปนี ้ี เทศกาลภาพยนตรว์ ทิ ยาศาสตร์ 2563 จงึ ไดเ้ สนอ นกั เขยี นประจ�ำ ทางเลือกในการรับชมภาพยนตร์ในรูปแบบออนไลน์ ส�ำ หรับผูท้ ่สี นใจรับชมแบบออนไลน์ สามารถรบั ชม ได้ท่ี https://www.goethe.de/ins/th/th/m/kul/sup/sff/amd.html รวิศ ทัศคร พงศธร กจิ เวช ☺ ขอใหส้ นกุ กับการชมภาพยนตร์วทิ ยาศาสตร์ครับ ป๋วย​ อุน่ ​ใจ วรศิ า ใจดี ปรทิ ศั น์ เทยี นทอง บรรณาธกิ าร บรรณาธิการศิลปกรรม จุฬารตั น์ น่ิมนวล ศิลปกรรม เกิดศริ ิ ขันตกิ ิตติกลุ ผู้ผลิต ฝ่ายสรา้ งสรรค์ส่ือและผลติ ภัณฑ์ ส�ำ นกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีแหง่ ชาติ (สวทช.) กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต.คลองหนง่ึ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0 2564 7000 ตอ่ 1177 โทรสาร 0 2564 7016 เวบ็ ไซต์ http://www.nstda.or.th/sci2pub/ facebook page: นติ ยสารสาระวทิ ย์ ตดิ ต่อกองบรรณาธกิ าร โทรศัพท์ 0 2564 7000 ต่อ 1177 อเี มล [email protected]

CSotovreyr อาทิตย์ ลมลู ปล่ัง นกั วิจยั ไทยพฒั นา เชอ้ื ไวรัสซกิ า ซ่งึ มักพบในประเทศ “อวัยวะจำ�ลองมดลูกและรก” เขตร้อนนั้นเกิดจากยุงลายเป็น ความหวังเพ่ือการยบั ยัง้ พ า ห ะ สำ � คั ญ เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ โ ร ค ไข้เลือดออก แต่ความพิเศษของ ‘ไวรสั ซกิ า’ จาก ‘แมส่ ่ลู กู ’ ไวรสั ซกิ า สามารถแพรเ่ ชอ้ื ไดห้ ลาย ทางเชน่ ผา่ นทางเพศสมั พันธ์ การ ถา่ ยเลือด และจากแม่สู่ลูกในครรภ์ อนั ตรายของไวรัสซิกา คือเชื้อ พฤศจิกายน 2563 สามารถที่จะแพร่จาก แมไ่ ปสทู่ ารกในครรภ์ได้ เมอื่ ทารกรบั เชอื้ จากแมผ่ า่ นทางรกมี โอกาส 20% ทจี่ ะเกดิ เกดิ ภาวะสมองเลก็ !! มปี ญั หาพฒั นาการ ทางสมอง และมีโอกาสเสียชีวิตหลังคลอดทันทีได้ด้วย ซึง่ ปัจจบุ นั ยงั ไมม่ วี ัคซีนหรอื ยาปอ้ งกนั การติดเชือ้ ได้ เม่ือการติดเช้ือไวรัสซิกาในเด็กก่อให้เกิดปัญหาทั้งกาย และใจกับครอบครัว และยังเป็นปัญหาทางเศรษฐกิจและ สังคม นักวิจัยไทย จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุมศึกษา 3

CSotovreyr วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้ ‘สร้างระบบอวัยวะ คลา้ ยกบั อวยั วะจรงิ ในรา่ งกาย โดยนกั วจิ ยั สามารถน�ำ ออรแ์ กนอยด์ จำ�ลองมดลูก’ จากตัวอย่างเน้ือเย่ือของคนไข้อาสาสมัคร หรือระบบอวัยวะจำ�ลองมาศึกษากระบวนการทางชีวภาพต่างๆ เพื่อศึกษากระบวนการติดเช้ือไวรัสซิกาในมดลูก การทดสอบ ตั้งแต่พฤติกรรมของเซลล์ การทำ�งานของระบบอวัยวะของ แอนตบิ อดที มี่ ฤี ทธย์ิ บั ยงั้ การเพมิ่ จ�ำ นวนของเชอ้ื ไวรสั ซกิ า รวมถงึ ร่างกาย ปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบอวัยวะในร่างกาย การตอบ กระบวนการการสง่ ต่อเชอ้ื จากแม่ตงั้ ครรภ์สลู่ กู ในท้อง สนองต่อฮอร์โมนหรือยา ตลอดจนกระบวนการก่อโรคจากเช้ือ ดร.ธีรวัฒน์ วิวัฒน์พาณิชย์ นักวิจัย ทีมวิจัยการออกแบบ ต่างๆ และโรคทางพันธุกรรมได้ ซ่ึงข้อดีของออร์แกนอยด์คือ และวศิ วกรรมชวี โมเลกลุ ขนั้ แนวหนา้ ไบโอเทค สวทช. ใหข้ อ้ มลู นักวิจัยสามารถทำ�การทดลองเพื่อศึกษาโรคและทดสอบยาใน วา่ ไวรสั ซกิ า (Zika virus) อยใู่ นตระกลู ฟลาวิไวรัส (flavivirus) มี ภาวะที่คล้ายคลึงกับร่างกายโดยที่ยังไม่ต้องทดสอบกับอาสา ยงุ ลายเปน็ พาหะน�ำ โรค เหมอื นกบั โรคไขเ้ ลอื ดออก โรคไขป้ วดขอ้ สมัครหรือคนไขจ้ รงิ ยงุ ลาย (Chikungunya) และไขเ้ หลอื ง ในปจั จบุ นั มกี ารแพรร่ ะบาด ของเชอ้ื ไวรสั ซกิ า ในแถบพนื้ ทที่ ะเลคารบิ เบยี นตอนกลางและใต้ “ถึงแม้วา่ การระบาดของเชือ้ ไวรัสซิกาในประเทศไทยจะไม่ ของอเมริกา แอฟรกิ า เอเชียใต้ และเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตซ้ ึง่ รุนแรงมากนัก แต่เน่อื งจากไวรสั ซิกามลี กั ษณะทางพนั ธุกรรม รวมถึงประเทศไทยด้วย แม้ว่าการติดเชื้อไวรัสซิกาในผู้ใหญ่ที่มี ใกลเ้ คียงกบั เชื้อไวรัสเดง็ กี่ ทีเ่ ปน็ สาเหตขุ องโรคไข้เลือดออก สุขภาพร่างกายแข็งแรงจะไม่มีอาการรุนแรง หรือไม่เกิดอาการ ซ่ึงมีการระบาดในประเทศไทยอยู่บอ่ ยครัง้ อกี ท้งั เช้ือไวรัส เลย แตป่ จั จบุ นั ไดม้ ผี ลการศกึ ษายนื ยนั แลว้ วา่ เมอ่ื ผหู้ ญงิ มคี รรภ์ สองชนิดน้ยี งั มียุงลายเปน็ พาหะเหมอื นกัน ซ่ึงท�ำ ให้มีความเป็น ไดต้ ดิ เชอ้ื ไวรสั ซกิ า เชอื้ ไวรสั สามารถถา่ ยทอดจากแมส่ ลู่ กู ในครรภ์ ไปไดส้ งู ทป่ี ระเทศไทยจะประสบปญั หาการแพร่ระบาดใหญ่ ได้ ซง่ึ มผี ลใหท้ ารกมอี าการสมองเลก็ สมองไมพ่ ฒั นา และรวมไป ถึงการท่ีทารกมีความเสี่ยงเสียชีวิตทันทีหลังกำ�เนิด การติดเชื้อ ของเชือ้ ไวรัสซิกาในอนาคต” ไวรสั ซกิ าในทารกสง่ ผลใหเ้ กดิ ปญั หาทง้ั ดา้ นสขุ ภาพและเศรษฐกจิ ให้แก่ประเทศไทยและประเทศท่ีมีการระบาดของเชื้อไวรัสน้ี ซึ่ง ในปัจจุบันยังไม่มียาหรือวัคซีนท่ีสามารถจะยับยั้งการถ่ายทอด เชอ้ื ไวรสั ซิกาจากแมส่ ลู่ ูกในครรภ์ได้ ดร.ธรี วฒั นก์ ลา่ ววา่ ทผ่ี า่ นมาทมี วจิ ยั ไบโอเทค สวทช. ประสบ ความส�ำ เรจ็ ในการสรา้ งออรแ์ กนอยด์ ซง่ึ กเ็ ปน็ กลมุ่ กอ้ นเซลลท์ ่ีได้ เพาะเลี้ยงแบบสามมิติ จนมีลักษณะและคณุ สมบตั ิเสมอื น หรอื พฤศจกิ ายน 2563 4

CSotovreyr ทมี วจิ ยั ไบโอเทค สวทช. และภาควชิ าสตู ศิ าสตร-์ นรเี วชวทิ ยา ปัจจุบันโครงการน้ีได้รับเลือกเป็น 1 คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล เล็งเห็นความสำ�คัญของการ ใน 5 โครงการ (จาก 121 ผ้สู มัครจาก เฝ้าระวังการระบาดของเชื้อไวรัสซิกาแต่เน่ินๆ เพ่ือป้องกันและ 37 ประเทศ) ท่ีชนะ TDR Global เตรยี มพรอ้ มกบั การระบาดของเชอื้ ไวรสั ซกิ าในอนาคต โดยเฉพาะ Crowdfunding Challenge Contest การแพรข่ องเชอื้ ไวรสั ซกิ าจากแมส่ ทู่ ารกในครรภ์ โดยทางทมี วจิ ยั ขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ซึ่ง จะพัฒนาออร์แกนอยด์ของมดลูกและรก เพ่ือใช้ทดสอบและ จัดตั้งเพ่ือสนับสนุนงานวิจัยเก่ียวกับ พัฒนาสารท่ีมีฤทธิ์ยับยั้งการเพ่ิมจำ�นวนของเช้ือไวรัสซิกา เพ่ือ โรคตดิ ตอ่ ในเขตรอ้ น พรอ้ มเปดิ ระดมทนุ การนำ�มาใช้ต้านทานเชื้อไวรัสซิกา และป้องการการแพร่ระบาด เพอ่ื ด�ำ เนนิ งานวจิ ยั (Crowdfunding ของเช้ือไวรัสนีจ้ ากแมส่ ูท่ ารกในครรภ์ต่อไป for Science) ตง้ั เปา้ 8,000 ดอลลาร์ อยา่ งไรก็ดี ทีมวจิ ัยหวังวา่ ระบบการเล้ียงอวยั วะจำ�ลองจาก สหรัฐ (ประมาณ 260,000 บาท) โดย โครงการน้ีจะเป็น ‘ฐานในการสร้างระบบอวัยวะจำ�ลอง’ ในห้อง จะเปิดโอกาสให้ผู้ที่ต้องการสนับสนุน ปฏบิ ตั กิ ารทมี่ คี ณุ สมบตั คิ ลา้ ยกบั รา่ งกายคนจรงิ มากขนึ้ ลดการใช้ โครงการสามารถร่วมบริจาคเงินให้ สัตว์ทดลอง ลดความเสยี่ งการทดลองในมนุษย์ และเพม่ิ โอกาส แก่โครงการได้ที่ http://www. ในการรักษาโรคเพอ่ื มวลมนษุ ยชาติสืบไป experiment.com/noZika4Baby ต้ังแต่วันท่ี 15 ตุลาคม จนถึง 30 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 ข้้อมููลเพิ่่�มเติิมที่่� : https://experiment.com/projects/modeling-zika-virus-transmission-from-mother-to-child-using-uterine-mini-organs 5 พฤศจกิ ายน 2563

เรื่องโดย: นรมน ก�ำ จรพานชิ เจรญิ บทพคเิ ศวษาม สมาคมยุวชนอวกาศไทย นิทรรศการออกแบบอนาคต จากพ้ืนดินสู่อวกาศ จากแนวคดิ เร่อื งความยั่งยืน For All Well-Being และการคาดการณ์ สิง่ ท่ีจะเกดิ ขน้ึ กบั โลกของเราในอนาคต บรษิ ทั แมกโนเลีย ควอลิต้ี ดเี วล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำ กดั (MQDC) ได้เล็งเหน็ ถงึ ความส�ำ คัญของแนวโนม้ ใหม่ๆ ในดา้ นการสร้างคณุ ภาพชีวติ ทด่ี อี ยา่ ง ยงั่ ยืนให้กับสรรพสิ่งบนโลก จึงได้จดั ตั้งศนู ย์วิจยั แห่งอนาคตทแ่ี รก ในประเทศไทย ท่ีมีชอ่ื วา่ \"FutureTales Lab\" เพอ่ื สร้างแพลตฟอร์ม ความร่วมมอื แลกเปลย่ี นข้อมลู กบั นกั อนาคตศาสตร์ท่วั โลก และสง่ ต่อ ข้อมูลสสู่ าธารณะเพ่ือนำ�ไปสู่การออกแบบอนาคตทด่ี ีข้นึ รว่ มกัน พฤศจิกายน 2563 6

บทพคเิ ศวษาม โดยในปนี ี้ทาง FutureTales มมุ ท้งั บนดนิ ใตน้ ้ำ� และสภาวะอากาศ เชื่อมโยงทุกสถิตทิ น่ี ่าสนใจ และ Bangkok Next Lab จะมหี วั ข้อเก่ยี วกบั Tales รจู้ กั และเขา้ ใจเมอื งหลวงของเราในหลากหลายมติ จิ ากขอ้ มลู ทค่ี ณุ อาจไมเ่ คยรจู้ าก Future of organization ซ่ึงประกอบไป ท่ีใดมากอ่ น ดว้ ย live, work, learn, play, move และ Earth Pulse คอื ชพี จรของโลกในชว่ งเวลานนั้ ซงึ่ จะคอยตรวจสอบกระแสลม กระแสน�ำ้ sustain โดยเปิดให้ประชาชนทั่วไป ข่าวต่างๆ ทั่วทั้งดาวเคราะหส์ นี ้ำ�เงนิ ใบนี้ เพอื่ เราจะสามารถมองปัจจบุ ันและคาดการณ์ สามารถเข้าเยี่ยมชม และทดลองเล่น อนาคตได้ เพ่ือดูสัญญาณต่างๆ ที่จะเกิดข้ึน และแสดงสิ่งต่างๆ ที่สามารถเกิดข้ึนใน อปุ กรณต์ า่ งๆ ได้ด้วยตนเอง อนาคตไดว้ า่ ถ้าเรายังใช้ชีวิตแบบนต้ี อ่ ไป อนาคตข้างหนา้ จะเป็นอยา่ งไร โดยมี 3 ประเดน็ หลักท่ี FutureTales ถา้ เรามขี อ้ มลู มากพอ กอ็ าจจะคาดการณ์ไดว้ า่ จะเกดิ เหตกุ ารณอ์ ะไรขน้ึ กอ่ นหนา้ ทจี่ ะ Lab กำ�ลังทำ�อยู่ ดงั น้ี เกดิ นน้ั ประมาณ 1-2 อาทิตย์ ซง่ึ จะช่วยเพิ่มโอกาสในการเตรยี มความพร้อมและปอ้ งกนั 1. Data Platform เปน็ การแสดงขอ้ มลู มากขน้ึ Bangkok Next Tales เป็นเคร่ืองมืออัจฉริยะท่ีจะท�ำ ให้เราสามารถเชื่อมโยงอดีต sea, air, land, ice และแสดงขา่ วทัว่ สูเ่ หตกุ ารณ์ในปจั จุบนั และสถานการณ์ในอนาคตได้ โดยจะมีการแบ่งออกเป็น 4 ส่วน โลกแบบ real time ไม่ว่าจะเป็นข่าว ด้วยกัน ส่วนแรกคือ ประวตั ิศาสตรก์ รุงเทพ ซง่ึ สามารถบอกเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้นึ เก่ียวกับไฟไหม้ ควัน หรือเหตุการณ์ การขยายตวั ของเมืองต่างๆ และการพัฒนาของเมอื งได้ ทำ�ใหเ้ หน็ ว่าในแตล่ ะยุคใช้วธิ ี ตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขึ้น การสัญจรแบบไหน มีการพัฒนาอย่างไร ส่งผลอะไรในอนาคต อีกทั้งยังสามารถเทียบ 2. Foresight Research หรือการวิจัย กบั เหตุการณ์ส�ำ คญั ในโลกได้อีกด้วย ทำ�ให้เห็นว่าประเทศอน่ื ๆ ในโลกพฒั นากา้ วหนา้ ไป ด้านการคาดการณ์อนาคต ไม่ว่า อยา่ งไร และประเทศไทยของเรายังตามหลงั มากนอ้ ยแค่ไหน และเน่ืองจากเป็นข้อมูลท่ี จะเป็น future of living, future of อยู่ในรปู แบบแผนทจี่ งึ มขี ้อมลู ของสถานท่ีส�ำ คัญตา่ งๆ แสดงอยดู่ ้วย education หรือ space exploration ส่วนต่อมาคือเหตุการณ์ตามเวลาจริง ซ่ึงแสดงข้อมูลออกมาแบบ real time เพื่อ 3. Collaboration Platform for Futurist ให้เกิดการต่อยอดและพัฒนาเมืองในทิศทางที่ควรจะเป็น อีกท้ังยังสามารถจุดประกาย หรอื กค็ อื จดั งานตา่ งๆ เพอ่ื ใหผ้ ทู้ สี่ นใจ เรื่องอนาคต ได้มารวมตัวกัน และ พูดคุยในเรื่องที่ตนเองสนใจ ทั้ง offline และ online นอกจากน้ียังมีบริเวณนิทรรศการ อนาคตศึกษา เพื่อสร้างความตระหนักรู้ และให้ความรู้ผ่านนิทรรศการแบบมีส่วน รว่ ม (interactive exhibition) จ�ำ นวน 3 โซน ประกอบดว้ ย โซนที่ 1 : Data Platform แบ่งเป็น 2 ส่วนนิทรรศการ ได้แก่ Earth Pulse มองโลกในมิติแห่งความ เช่ือมโยง จับตาดูชีพจรของโลกในทุกแง่ 7 พฤศจกิ ายน 2563

บทพคเิ ศวษาม สถานการณ์ที่แย่ท่ีสุดคือ การท่ีปล่อยให้ สภาพอาการแย่ไปเลย และสร้างโดมขึ้น มาเพ่ือป้องกันสถานการณ์ที่ต่างๆ ไม่ให้ มมี ลพษิ เขา้ ไป ซง่ึ กจ็ ะท�ำ ใหเ้ กดิ ความแบง่ แยกของชนชน้ั มากขน้ึ ไปอกี เพราะทกุ คน ไม่สามารถเข้าถึงอากาศบรสิ ทุ ธิ์ได้ ความคิด ใหเ้ กิดการพดู คยุ เพอ่ื สรรหาสง่ิ จนกรงุ เทพฯ จมลงไปไดน้ ้ำ� และต้องใช้ โซนท่ี 2 : ที่ดีและเหมาะสมที่สุด ระหว่างภาครัฐ เทคโนโลยีพัฒนาเมืองใหมข่ ึ้นมา เหมอื น Future Living เอกชน และนกั เรียนนักศึกษาได้ สิงคโปร์ท่ีสามารถพัฒนาจนหาวิธีและ Interactive Gamifi- สว่ นตอ่ ไปคอื What if Scenario หรอื สามารถวางแผนไปจนถึงอนาคตได้ หรือ cation จะเกิดอะไรข้นึ ถ้า… เป็นการแสดงข้อมลู อาจจะเกิดเป็นกรุงเทพฯ เมืองสีเขียวท่ี ในปัจจุบันว่าในพื้นท่ีต่างๆ ของกรุงเทพฯ มองไปทางไหนก็มีแต่ต้นไม้ หรือหากเกิด ประกอบด้วย 6 ส่วนนิทรรศการ มีพื้นท่ีสีเขียวเท่าไหร่ มีอัตราการท้ิงขยะ ไดแ้ ก่ พลาสติกเท่าไหร่ การสัญจร ฯลฯ และ 1. Future City Vision เปน็ การจำ�ลอง ถ้าทุกอย่างเพิ่มขึ้นหรือลดลงจะเป็น smart city ทงั้ 6 แห่ง ที่สะท้อนจุดเด่น แบบไหน อะไรจะเกดิ ขนึ้ หากมองหลายๆ ของแต่ละมุมออกมา ไมว่ า่ จะเป็น smart อย่างรวมกันก็จะสามารถหาความเช่ือม government, smart people, smart city, โยงและเกดิ หวั ขอ้ ทส่ี ามารถท�ำ ไปตอ่ ยอด smart living, smart economy และอืน่ ๆ และพัฒนาประเทศได้ อีกหลายหัวข้อ โดยมีการทดลองจริงใน และส่วนสุดท้ายคือ สถานการณ์ แต่ละเมือง และค้นหาเมืองที่เด่นที่สุด สุดข้ัว ซ่ึงมีความเช่ือมโยงกับ What if Scenario โดยจะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเปน็ ไปได้ในรปู แบบตา่ งๆ วา่ กรงุ เทพฯ จะเปน็ อย่างไรในอนาคต ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง รูปแบบต่างๆ เช่น เกิดเป็นกรุงเทพฯ เมอื งลอยน�้ำ ถา้ ระดบั น�ำ้ ทะเลเกดิ เพมิ่ ขน้ึ พฤศจิกายน 2563 8

บทพคเิ ศวษาม ในแต่ละเรื่อง เพื่อหาว่าวิธีการแบบไหน แคลอรี่ท่ีจะเกิดการเผาผลาญหากเรา เกี่ยวกบั การทงิ้ ขยะของประเทศไทยด้วย เหมาะกับเมืองไหน เกิดปัญหาอะไรข้ึน เลือกใช้วิธีน้ีในการเดินทาง การเดินทาง 4. Future Habitat เป็นเกมการหาที่ บ้าง ควรจะแก้ไขอย่างไร และพลเมือง แต่ละแบบไม่มีผิดและถูก แต่จะทำ�ให้ อยู่อาศัยที่เหมาะกับตัวเรามากท่ีสุดใน มกี ารตอ่ ตา้ นแบบไหน แต่ smart ในท่นี ้ี เกิดกระบวนการคิดว่าควรจะใช้การเดิน อนาคต เม่ือโลกปกติไมส่ ามารถอยอู่ าศัย ไม่ได้หมายถึงแค่ในด้านเทคโนโลยีเพียง ทางแบบไหนจึงจะคุ้มค่ามากท่ีสุด เพื่อที่ ได้แลัว ทั้งบนฟ้า ในนำ้� ในอวกาศ โดย อย่างเดียว แต่ยังรวมไปถึงความยังยืน จะทดแทนชอ่ งวา่ งของการเดนิ ทางแตล่ ะ รูปแบบท่ีอยู่อาศัยจะมาจากคำ�ถามและ และอ่นื ๆ อกี ดว้ ย แบบ หายานพาหนะท่ีเหมาะสมในการ กิจกรรมต่างๆ ท่ีเราเลือกทั้ง 15 อย่าง 2. Future Mobility เป็นเกม ให้เรา เดินทางมากที่สุด และสามารถปิดช่อง โดยผู้เล่นแต่ละคนก็จะได้ที่อยู่อาศัยที่ สามารถเลอื กไปยังสถานที่ต่างๆ ได้ โดย ว่างของยานพาหนะที่จะเกิดขึ้นในชีวิต แตกตา่ งกันออกไป เลือกยานพาหนะท่ีสามารถไปในตอนน้ี จริง ไม่ใชแ่ ค่การปลอ่ ยมลพิษออกมา ซ่ึง 5. Create Your City คือการสร้างเมือง และยานพาหนะในอนาคต จากน้ันก็จะ ทกุ คนสามารถมาทดลองเลน่ และเลอื กไป ของเราข้นึ มาเอง คลา้ ยๆ กบั การเล่นเกม มีการเปรียบเทียบในเรื่องของความเร็ว ในทศิ ทางทตี่ วั เองตอ้ งการได้ Sims City โดยมีบล็อกให้สร้างถึง 84 ระยะทาง พลังงานท่ีเสียไป ปริมาณ 3. Journey of Waste เปน็ เกมทเ่ี กยี่ วขอ้ ง บล็อก เราสามารถเลือกได้ว่าจะสร้าง คาร์บอนที่ถูกปล่อยออกมา หรือแม้แต่ กับสิ่งแวดล้อม ท่ีสร้างข้ึนมาให้แยกขยะ อะไร เพยี งแคว่ างเคร่อื งมือ built ลงไป แต่ละประเภทและสามารถเลือกได้ว่า และนำ�เคร่ืองมือต่างๆ วางลงไป แล้วก็ จะแยกอะไรไปแบบไหน และจากนั้นจะ จะมีการปลดล็อกส่ิงก่อสร้างใหม่ๆ ขึ้น น�ำ ไปไหนตอ่ นำ�ไปขาย บริจาค รไี ซเคลิ มา โดยเมื่อนำ�เคร่ืองมือ built ออก ก็ นำ�กลับมาใช้ใหม่ และสามารถบอกได้ จะสามารถเห็นเมืองที่เราสร้างไปแล้วได้ ว่าท่ีเราเลือกไปน้ันถูกต้องมากขนาดไหน ที่เราเลือกจะนำ�ไปขายได้เงินกลับมา เท่าไหร่ อีกท้ังยังมีการบอกข้อมูลสถิติ 9 พฤศจกิ ายน 2563

บทพคเิ ศวษาม และยังมีบอกปัจจัยต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนได้ว่า โซนที่ 3 : ทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่นักวิจัยใช้ ใน สมบูรณพ์ รอ้ มขนาดไหน ท้งั smart city Space Exploration การค้นคว้าและศึกษาพฤติกรรมของ และ happyness city มจี ำ�นวนประชากร พืช และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในสภาวะไร้แรง ที่อยอู่ าศัยในเมืองท่เี ราสรา้ งไดก้ ค่ี น ประกอบดว้ ยส่วนนทิ รรศการ Space โน้มถ่วง เพื่อแสดงให้เห็นถึงปัญหาและ 6. Your Urbanite เปน็ กิจกรรมสุดท้าย Exploration ใหค้ วามร้ดู า้ นอวกาศ ทั้งใน ปรากฏการณต์ า่ งๆ ทอ่ี าจจะสง่ ผลกระทบ ท่เี ป็นการประมวลผลถงึ วถิ ีชีวติ ลกั ษณะ ระดับนานาชาติและระดับประเทศไทย ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืช ของแต่ละบคุ คล แลว้ แสดงออกมาใน 8 รวมถึงแนวความคิดของการที่จะเดิน ยกตัวอย่างเช่น พืชท่ีปลูกได้อย่าง ลักษณะของพลเมืองยุคอนาคต ไม่ว่าจะ ทางไปอยู่อาศัยในดาวดวงใหม่ และการ ง่ายดายบนพ้ืนโลกอย่างต้นถ่ัว แต่กลับ เปน็ นักสร้างสรรค์ นักบุกเบิกหรอื อาจจะ จ�ำ ลองการปลกู ต้นไม้ในโลก ซงึ่ แนวคิดน้ี ไมส่ ามารถเจริญเตบิ โตได้ดีในอวกาศ ซง่ึ เป็นผู้นำ� โดยจะนำ�ข้อมูลมาจากกิจกรรม บรษิ ทั Space ZAB Company ไดแ้ นวคดิ หากไม่ได้รับการแก้ไขในอนาคต นักบิน ตา่ งๆ ที่ได้เลน่ ไปทั้งหมด ไปรวบรวมและ โดยใช้พืชหรือสิ่งมีชีวิตทุกประเภทบน อวกาศกอ็ าจไมส่ ามารถปลกู พชื เพอ่ื น�ำ มา ประมวลผลออกมา โลกเพ่ือทดสอบ สมมุติฐานการดำ�รงชีพ ใช้รับประทานได้ ทำ�ให้การปฏิบัติงานใน อยา่ งยง่ั ยนื ในอวกาศ โดยใชเ้ ครอ่ื งจ�ำ ลอง อวกาศเป็นระยะเวลานานเป็นไปได้ด้วย แรงโน้มถ่วง clinostat เป็นเครื่องมือ พฤศจิกายน 2563 10

บทพคเิ ศวษาม ความยากลำ�บาก เพราะฉะนั้นการศึกษา แมก้ ระทั่งออกไปใชช้ ีวิตในอวกาศ เพราะ ละเลยทำ�ลายเมืองที่อยู่อาศัยของเรา ปรากฏการณ์และการพัฒนาวิธีแก้ไข การหาทอ่ี ยอู่ าศยั ในอนาคตสว่ นมากไมใ่ ช่ และออกไปหาสถานท่ีใหม่ๆ อยู่แทน แค่ เหล่านี้ จะสง่ ผลใหเ้ รามีความเข้าใจเกีย่ ว การพัฒนาส่ิงที่มีอยู่แล้ว แต่เป็นการหา การปรบั เปลยี่ นชวี ติ เลก็ ๆ นอ้ ยๆ ในวนั นกี้ ็ กับธรรมชาติและกลไกลต่างๆ ในพืช หรือสรา้ งพ้ืนที่ใหม่ และไม่วา่ จะเกิดอะไร อาจจะท�ำ ใหก้ ารเปลย่ี นทอ่ี ยอู่ าศยั ใหมน่ น้ั ซึ่ ง ส า ม า ร ถ นำ � ก ลั บ ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ บ น ข้ึนมนุษย์ก็ยังต้องมีท่ีอยู่อาศัย สถานที่ที่ ไมจ่ �ำ เปน็ อกี ตอ่ ไป การออกแบบอนาคตจะ พน้ื โลก เพอ่ื เพม่ิ ผลผลติ และคณุ ภาพของ ยังต้องการการค้นหาอีกมากในตอนนี้ก็ ไมใ่ ชส่ งิ่ ทแ่ี คน่ กั วทิ ยาศาสตร์ นกั การเมอื ง การเกษตรและยกระดบั ความเปน็ อยขู่ อง หนไี ม่พน้ อวกาศ หรือเหล่าผู้ที่มีอ�ำ นาจทำ�ได้ แต่มันจะเร่ิม มนุษย์ชาติไดท้ ัง้ ในปัจจุบนั และอนาคต ถึงแม้ว่าการค้นคว้าวิจัยจะก้าวหน้า จากตัวเราทุกคน ในการออกแบบอนาคตหลายๆ ครั้ง ไปได้มาก และรวดเร็วกว่าในสมัยก่อน ทอ่ี ยอู่ าศยั ยงั คงเปน็ หนง่ึ ในปจั จยั ทส่ี �ำ คญั แต่ก็ยังไม่พบหนทางท่ีจะขึ้นไปใช้ชีวิตใน ของการใช้ชีวิต และเป็นปัจจัยท่ีมีทาง อวกาศได้อย่างสมบูรณ์ การหาแนวทาง เลือกมากท่ีสุด ไม่ว่าจะเป็นใต้พื้นดิน อนื่ ๆ จงึ เปน็ ตวั เลอื กทค่ี นสว่ นมากใหค้ วาม ในน้ำ� บนพน้ื ลอยน�ำ้ อยู่บนอากาศ หรือ สำ�คัญมากกว่า แต่ไม่ใช่การปล่อยปละ 11 พฤศจิกายน 2563

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย “หอมท่าดอกคำ� 8” ขา้ วเหนียวพนั ธุ์ใหม่แดน FoodChoice สแกน สปป. ลาว กอ่ นกนิ ลดอว้ น ดร.ธรี ยทุ ธ ตจู้ นิ ดา รกั ษาการรองผอู้ �ำ นวยการดา้ นวจิ ยั และพฒั นาเทคโนโลยชี วี ภาพ เกษตร ไบโอเทค สวทช. กระทรวง อว. เผยถึง “โครงการปรับปรงุ พันธข์ุ า้ ว สถานการณ์ โรคอ้วนในประเทศไทย โดยเทคโนโลยีเครื่องหมายโมเลกุลสำ�หรับประเทศลุ่มน้ำ�โขง” ว่า เป็นโครงการที่ร่วมกับ เพ่ิมอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเด็ก มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ และหนว่ ยงานทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ เชน่ กรมการขา้ ว, ไทยติดอันดับปริมาณเด็กอ้วนเพิ่มเร็วท่ีสุด มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ , มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธาน,ี Department of Agricultural Research ในโลก เน่ืองจากการบริโภคอาหาร ขนม (DAR) จากเมยี นมา และ National Agriculture and Forestry Research Institute (NAFRI) และเคร่ืองด่ืมท่ีมีรสหวาน รวมถึงการ จาก สปป. ลาว บริโภคอาหารสำ�เร็จรูปเพ่ิมมากข้ึน ทำ�ให้ โดยโครงการนี้มีการจัดฝึกอบรมภาคปฏบิ ัตแิ ละมสี ถานท่วี ิจัย (Challenge Program) เพอื่ เส่ียงต่อโรค NSDs อาทิ โรคอ้วน และ พฒั นาบคุ ลากรและการท�ำ งานวจิ ยั รว่ มกนั รวมถงึ มกี ารใหท้ นุ การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาโทและ เบาหวาน ดังน้ันประชาชนจึงจำ�เป็นต้องมี ปรญิ ญาเอก เพือ่ ให้นักศึกษาและนักวิจยั นำ�เอาความรแู้ ละเทคโนโลยีไปปรับปรุงพนั ธขุ์ ้าวของ ความรทู้ เ่ี พยี งพอเกย่ี วกบั ชนดิ และปรมิ าณ ประเทศตนเอง สารอาหารทีอ่ ยู่ในผลติ ภัณฑ์เหล่านนั้ เพื่อ จากการท�ำ งานรว่ มกนั NAFRI สามารถปรบั ปรงุ พฒั นาจนไดข้ า้ วเหนยี วพนั ธ์ุใหม่ “หอมทา่ ใช้ในการตัดสินใจเลือกรับประทาน โดย ดอกคำ� 8 (HTDK8)” ซ่งึ เปน็ การผสมกนั ระหว่างข้าวเหนียวท่าดอกคำ� 8 ที่ให้ผลผลิตสงู และ “FoodChoice” คอื หนงึ่ ในแอปพลเิ คชนั ที่ นยิ มปลกู ใน สปป. ลาว กบั ขา้ วเหนยี วหอม ทพ่ี ฒั นาโดยหนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารคน้ หาและใชป้ ระโยชน์ จะชว่ ยใหก้ ารอา่ นขอ้ มลู ทางโภชนาการของ จากยีนขา้ ว โดยน�ำ เทคโนโลยเี คร่อื งหมายโมเลกลุ ในการคัดเลือกพันธุ์ (MAS) มาใชค้ ดั เลือก อาหารแต่ละชนดิ งา่ ยขนึ้ ลักษณะความหอมและยนี ตา้ นทานโรคใบไหม้ ท�ำ ให้ข้าวเหนยี วสายพันธ์ุหอมท่าดอกคำ� 8 เป็นพนั ธุท์ ม่ี ีกลิน่ หอมเปน็ เอกลักษณ์ เติบโตดี ให้ผลผลติ สงู อายุ 130-135 วนั ลกั ษณะตน้ เตี้ย ล�ำ ต้นแขง็ ไมล่ ้มง่าย ไม่ไวต่อแสง ทำ�ให้ปลกู ได้ท้ังนาปีและนาปรงั เหมาะสมแก่การปลกู ทั้งในภาคกลาง ใต้ และบางเขตในภาคเหนือของ สปป. ลาว เช่น แขวงบอ่ แกว้ หลวงนำ�้ ทา ไซยะบุรี อดุ มไซ และหลวงพระบาง ปจั จบุ นั ทางกระทรวงเกษตรของ สปป. ลาว โดยศูนยว์ จิ ยั ขา้ ว ก�ำ ลังผลติ เมลด็ พันธเ์ุ พอื่ ส่งมอบให้กับเกษตรกรใน 5 แขวงเป้าหมาย ไซยะบุรี เวียงจันทน์ บอลิคำ�ไซ และคำ�ม่วน เพ่ือปลูกและผลติ ขายในเชิงพาณิชย์ต่อไป เรยี บเรยี งจาก : https://www.thairath.co.th/news/local/1963815 (ไทยรัฐ) พฤศจกิ ายน 2563 12

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย ดร.สาธิต ปิตุเดชะ รฐั มนตรชี ่วยว่าการ อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง 3) สีแดง หมายถึง ขยายผลผลักดันให้เกิดการใช้แอปพลิเคชัน กระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า สธ. รว่ มกบั ปริมาณพลังงานหรอื สารอาหารอยใู่ นเกณฑ์ FoodChoice ภายในโรงเรียน เพ่ือช่วยยก กระทรวง อว. โดย สวทช. เนคเทค ภายใต้ ทีส่ งู เกนิ 4) สีฟ้า หมายถงึ ปรมิ าณโปรตีน ระดับคุณภาพชีวิตของเด็กในวัยเรียน ให้มี การสนับสนุนของ สสส. คิดค้นเครื่องมือที่ แคลเซียม วิตามินบีสอง มีปริมาณตำ่�กว่า ความรแู้ ละมที กั ษะทางดา้ นสขุ ภาพมากขน้ึ แลว้ ” จะชว่ ยใหป้ ระชาชนเลอื กผลติ ภณั ฑอ์ าหารได้ เกณฑ์มาก ซ่ึงหากผู้ใช้สแกนแล้วไม่พบ ดร.ชัย วุฒิวิวัฒน์ชัย ผู้อำ�นวยการ เหมาะสมกบั ความตอ้ งการของร่างกาย โดย ขอ้ มลู ก็สามารถถา่ ยภาพผลิตภัณฑ์ ขอ้ มูล เนคเทคสวทช.กลา่ ววา่ “การสรา้ งแอปพลเิ คชนั แอปพลเิ คชนั FoodChoice ทรี่ ว่ มกนั พฒั นา โภชนาการ สว่ นประกอบ และเลข อย. 13 FoodChoice ขึ้น เป็นหนึ่งในการผลักดัน ขน้ึ นสี้ ามารถใชส้ แกนบาร์โคด้ จากผลติ ภณั ฑ์ หลกั เพอ่ื ชว่ ยเพม่ิ เตมิ ขอ้ มลู ในแอปพลเิ คชนั ให้เกิดระบบนิเวศของการใช้เทคโนโลยีเพื่อ เพื่ออ่านข้อมูลทางโภชนาการในรูปแบบท่ี ใหท้ ันสมยั และครบถ้วนไดอ้ กี ด้วย” สร้างประโยชน์แก่คนหมู่มาก โดยเป็นการ เข้าใจได้ง่าย มีการจำ�แนกเป็นสีท่ีแสดงถึง ดร.สุปรดี า อดุลยานนท์ ผจู้ ดั การ สสส. สรา้ ง big data analytics platform ทเี่ ชอ่ื มโยง คณุ คา่ ทางโภชนาการทแ่ี ตกต่างกัน กล่าวว่า “ปัจจุบันปัญหาท่ีไทยเผชิญไม่ใช่ ข้อมูลอาหารและโภชนาการ เพ่อื ให้ทุกภาค “1)สเี ขยี วหมายถงึ ปรมิ าณพลงั งานหรอื เร่ืองขาดสารอาหารเหมือนอย่างเมื่อ 10 ปี ส่วนสามารถนำ�ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้ง่าย สารอาหารอยใู่ นเกณฑท์ ก่ี �ำ หนด 2) สเี หลอื ง กอ่ นแลว้ เพราะกราฟเดก็ ไทยอว้ นก�ำ ลงั เพมิ่ รวมถึงรัฐสามารถนำ�ข้อมูลการวิเคราะห์ หมายถึง ปริมาณพลังงานหรือสารอาหาร ปริมาณอย่างรวดเร็ว โดยภาพรวมเด็กใน เชิงลึกไปใช้ ในการวางแผนและกำ�หนด เมืองจะอว้ นมากกวา่ เดก็ นอกเมอื ง เพราะมี นโยบายสง่ เสรมิ สขุ ภาพได้อย่างตรงเป้า” การเคล่ือนไหวร่างกายน้อยลง ทำ�กิจกรรม ทางด้านนายสนิท แย้มเกสร รอง นั่งหน้าจอเพิ่มขึ้น นอกจากนั้นยังถูกดึงดูด เลขาธิการคณะ กก.การศึกษาข้ันพื้นฐาน จากการท�ำ การตลาดของบรษิ ทั ขนมขบเคยี้ ว กระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า “เด็กจำ�นวน จงึ เหน็ ถงึ ความส�ำ คัญว่าควรเสรมิ ความรู้ใน 7 ล้านคนในสังกดั รร. สพฐ. มโี ทรศพั ทม์ ือ เรอื่ งนี้ใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ และท�ำ ความเขา้ ใจ ถือใช้ ดังนน้ั แอปพลเิ คชนั FoodChoice จะ ได้ง่ายเพื่อให้เกิดความเท่าทัน โดย สสส. สามารถขยายตัวการใช้งานได้อย่างรวดเร็ว และเครือข่ายเด็กไทยไม่กินหวาน ได้เร่ิม และกวา้ งขวาง” เรียบเรียงจาก : https://www.thaipost.net/main/detail/79989 (ไทยโพสต)์ 13 พฤศจกิ ายน 2563

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย ทช. รว่ ม สวทช. วจิ ัยพันธไ์ุ มป้ า่ ชายเลนเส่ียงสูญพันธ์ุ สรา้ งฐานขอ้ มลู จีโนมครั้งแรกในไทย เมือ่ วันท่ี 2 ตุลาคม 2563 กระทรวงการอุดมศึกษา สวนพฤกษศาสตร์์ป่่าชายเลนนานาชาติิ ร.9 วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย นายโสภณ ทองดี อธิบดี ทช. กล่าวว่า ความร่วมมือในการ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ทำ�งานกับ สวทช. จะทำ�ให้เกิดการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ร่วมกับ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง (ทช.) จัดแถลงข่าว สายพนั ธพ์ุ ชื ปา่ ชายเลนในระดบั จโี นม ความสมั พนั ธ์ในระบบนเิ วศ และ ลงนามข้อตกลงความร่วมมือ การวิจัย พัฒนา และวิชาการ วธิ กี ารเกบ็ รกั ษาเชอ้ื พนั ธกุ รรมของพนั ธุ์ไม้ในระยะยาว เพอื่ ใหส้ ามารถ เก่ยี วกบั ป่าชายเลน น�ำ ความรู้ไปใช้ในการอนรุ กั ษแ์ ละฟนื้ ฟใู นถนิ่ ก�ำ เนดิ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การ ดร.สนิท อักษรแก้ว ประธานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ใช้ประโยชนอ์ ย่างย่งั ยนื แห่งชาติ ในฐานะประธานสมาคมป่าชายเลนนานาชาติ กล่าวว่า “โดยในระยะแรก การวิจัยมุ่งเป้าไปท่ีการศึกษาพันธุ์ไม้ป่า ป่าชายเลนเป็นระบบนเิ วศท่ีมีความสำ�คัญ เพราะเปน็ รอยต่อระหว่าง ชายเลนใกล้สูญพันธ์ุตามบัญชีชนิดพันธุ์ท่ีถูกคุกคาม ขององค์การ นำ้�เค็มและนำ้�จืดท่ีมีพันธุ์พืชมากกว่า 80 ชนิดเจริญอยู่ ซึ่งล้วนเป็น ระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ (IUNC) โดยมี พนั ธพุ์ ชื ทมี่ เี อกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั และยงั เปน็ แหลง่ อนบุ าลของสตั วน์ �ำ้ ระยะเวลาด�ำ เนนิ การ 2 ปี (สน้ิ สดุ ในปี พ.ศ. 2565) มสี ว่ นวจิ ยั ทรพั ยากร ป่าชายเลนจึงเป็นพ้ืนท่ีสำ�คัญท่ีสร้างอาชีพและรายได้ให้กับชุมชนใน ป่าชายเลน กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน ทช. เป็นหน่วยงาน การทำ�ประมงชายฝั่ง ภาคสนาม ครอบคลุมพ้ืนที่ป่าชายฝ่ังทะเลอ่าวไทยและอันดามัน “ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการที่สำ�คัญระดับโลก คือ ‘สวน 24 จังหวดั ” พฤกษศาสตรป์ า่ ชายเลนนานาชาติ ร.9’ ซ่ึงเปน็ สวนพฤกษศาสตรป์ ่า ดา้ น ดร.ณรงค์ ศริ เิ ลศิ วรกลุ ผอู้ �ำ นวยการ สวทช. กลา่ ววา่ สวทช. ชายเลนแห่งแรกของโลก และเป็นแหล่งรวมพันธ์ุไม้ป่าชายเลนจาก ไดม้ ีส่วนรว่ มในการทำ�งานคร้งั นีด้ ้วย การช่วยเพ่มิ ขดี ความสามารถใน ท่วั โลก เพ่อื เรียนร้แู ละทำ�วิจยั ในระดับนานาชาติ ในการน้ี ทช. จงึ รว่ ม การท�ำ วิจยั โดยมีนักวิจยั ที่มคี วามเช่ียวชาญเฉพาะทางและเคร่อื งมือ มอื กบั สวทช. น�ำ เอาความเชย่ี วชาญของแตล่ ะหนว่ ยงานมาบรู ณาการ ที่ทันสมัยในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการทำ�วิจัยในระดับจีโนมและ เพอ่ื เปิดบทบาทการทำ�วจิ ยั ป่าชายเลนในระดบั แนวหนา้ ในไทย” พนั ธกุ รรมรวมถงึ การรกั ษาเชอ้ื พนั ธกุ รรมหรอื ชวี วสั ดใุ นระยะยาวแบบ ปลอดเชอื้ สวทช. มคี วามยินดีเปน็ อย่างย่ิงที่ไดม้ ีโอกาสร่วมทำ�วจิ ยั ใน ครง้ั นี้ ซงึ่ จะน�ำ ไปสกู่ ารคดั เลอื กพอ่ แมพ่ นั ธปุ์ า่ ชายเลนเพอื่ การปรบั ปรงุ พันธุ์ในอนาคต สร้างความมั่นคงทางด้านอาหารและระบบนิเวศให้ กับป่าชายเลนประเทศไทย คงความอุดมสมบูรณ์ สร้างรายได้อย่าง ย่งั ยืน เรียบเรยี งจาก : https://www.nstda.or.th/th/news/13551-20201002-mou (NSTDA) พฤศจิกายน 2563 14

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย ‘อุปกรณร์ องรบั สิ่งขับถ่ายจากทวารเทยี ม’ เพือ่ ผปู้ ่วยมะเร็งลำ�ไสใ้ หญ่ ผู้ป่วยมะเร็งลำ�ไส้ใหญ่ จำ�เป็นต้องใช้ทวารเทียมเพื่อขับถ่าย สงขลานครนิ ทร์ อธิบายวา่ อุปกรณป์ ระกอบดว้ ยแปน้ ตดิ ผวิ หนงั และ อุจจาระทางรูเปิดของลำ�ไส้บริเวณหนังหน้าท้องแทน ถงุ รองรบั สง่ิ ขบั ถา่ ยทมี่ นี �้ำ หนกั เบา โดยอปุ กรณส์ ามารถยดึ ตดิ ผวิ หนงั ทวารหนัก และมีความจำ�เป็นต้องใช้ “อุปกรณ์รองรับสิ่งขับถ่าย ไดด้ ี ปรบั รปู รา่ งไดต้ ามหนา้ ทอ้ ง อกี ทงั้ ยงั สามารถรองรบั น�ำ้ หนกั ไดถ้ งึ จากทวารเทียม” หรือเรียกว่า “colostomy bags” ซึ่งอุปกรณ์ 0.5 กโิ ลกรัม ไมเ่ กิดการร่ัวซมึ ไม่มกี ลิ่นไมพ่ ึงประสงคเ์ ล็ดลอด ในการ ดงั กลา่ วนมี้ รี าคาสงู ถงึ 200-500 บาทตอ่ ชดุ และตอ้ งใชร้ าว 5-10 ชดุ ทำ�วิจัยได้ทำ�งานร่วมกับบริษัทเอกชน 5 ราย ได้แก่ บริษัทโนวาเทค ต่อเดือน จงึ ท�ำ ใหผ้ ้ปู ่วยบางรายตอ้ งประสบภาวะขาดแคลน เฮลธแ์ คร์ จ�ำ กัด, บรษิ ทั พที ีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กดั (มหาชน) หรือ อุปกรณ์ colostomy bags ปัจจุบันต้องนำ�เข้าจากต่างประเทศ GC, บรษิ ทั เอส.เค.โพลเิ มอร์ จ�ำ กดั , กลมุ่ บรษิ ทั ทพี บี ไี อ จ�ำ กดั (มหาชน) อาทิ ญ่ีปุ่น ยุโรป หรืออเมริกา 100% ซ่ึงการใช้งานอุปกรณ์เหล่าน้ี และบริษัทนีโอพลาสท์โตเมอร์ จำ�กัด รวมถึงสถาบันพลาสติก และ ผปู้ ว่ ยบางรายยงั ตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หาในการใชอ้ ปุ กรณ์ เชน่ เกดิ ภาวะ การสนบั สนนุ จากส�ำ นกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) โดยไดร้ บั มาตรฐาน แทรกซ้อนเป็นผ่ืนแพ้ที่ผิวหนัง หรือชุดอุปกรณ์หลุดก่อนเวลา จากสำ�นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) อนั สมควรท�ำ ใหเ้ กดิ กลน่ิ อนั ไมพ่ งึ ประสงค์ เกดิ ผลเสยี ตอ่ คณุ ภาพชวี ติ “การผลิตชุดอุปกรณ์จากยางพาราท่ีสามารถผลิตได้ในประเทศ ของผู้ปว่ ย ท�ำ ให้ราคาของ Colostomy bags ถกู ลงเหลอื ประมาณ 190 บาท จากปัญหาดังกล่าว ทีมวิจัยคณะแพทศาสตร์ มหาวิทยาลัย ต่อช้ิน นอกจากน้ันยังสร้างประโยชน์ให้กับเกษตรกรไทย ช่วยสร้าง สงขลานครินทร์ จึงท�ำ การพัฒนา colostomy bags โดยใชย้ างพารา มลู คา่ เพมิ่ ใหย้ างพาราซงึ่ เปน็ พชื เศรษฐกจิ จากกโิ ลกรมั ละ 30 บาท เปน็ ซ่ึงสามารถผลิตได้ในประเทศเพื่อลดต้นทุนการผลิต โดยพัฒนา กโิ ลกรมั ละ 300 บาท ในอนาคตทมี วจิ ยั ยงั ตงั้ เปา้ ทจี่ ะพฒั นาผลงานใน ชดุ อปุ กรณ์ใหเ้ หมาะกบั รปู แบบผวิ หนงั หนา้ ทอ้ งของคนไทย มกี ารทดสอบ ส่วนที่ใช้พลาสติกเข้ามาเป็นส่วนประกอบให้เป็นไบโอพลาสติกแทน มาตรฐาน (biocompatibility test) เพอื่ ความปลอดภยั ของผปู้ ว่ ย และ อกี ด้วย เพอื่ ให้เป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดล้อมมากย่งิ ขนึ้ ทั้งน้ีหากผลติ ภัณฑ์ ได้ดำ�เนินการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้ป่วยและญาติ เพื่อให้มีความ มีการใช้งาน 5% ของยอดขายเดิม จะสามารถลดการนำ�เข้าได้ เข้าใจในการใช้งานอุปกรณ์โดยพยาบาลเฉพาะทาง รวมระยะเวลาใน 2,000 ลา้ นบาทตอ่ ป”ี การท�ำ งานวิจยั นีก้ ว่า 5 ปี ผลงาน “นวัตกรรมอุปกรณ์รองรับส่ิงขับถ่ายจากทวารเทียม” ผศ. นพ.วรวทิ ย์ วาณชิ ยส์ วุ รรณ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ได้รับรางวัลชนะเลิศสุดยอดนวัตกรรมแห่งชาติด้านสังคมและสิ่ง แวดล้อม ประเภทหน่วยงานภาครัฐ เนื่องในวันนวัตกรรมแห่งชาติ ประจ�ำ ปี 2563 ซงึ่ จดั โดยส�ำ นกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ (องคก์ รมหาชน) หรอื NIA เมอ่ื วันท่ี 5 ตุลาคม ทผี่ า่ นมา เรยี บเรยี งจาก : https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/901456 (กรุงเทพธรุ กจิ ) 15 พฤศจกิ ายน 2563

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย ‘สะเก็ดเงิน’ เปน็ มากกวา่ โรคผิวหนัง ลักษณะผ่นื นนู แดง มสี ะเกด็ สขี าว พบ ได้ทั่วร่างกาย และพบได้บ่อยบริเวณ วนั ท่ี29 ตุลาคม ของทุกปี คือวันสะเก็ดเงินโลก หนังศีรษะ ข้อศอก หัวเข่า หรือเล็บ (World Psoriasis Day) เนอื่ งจากโรคสะเกด็ เงนิ บางคร้ังพบที่อวัยวะเพศ และพบใน ไม่เพียงเป็นโรคผิวหนังเท่าน้ัน แต่ยังมีความสัมพันธ์กับโรคอ่ืนๆ ประวัติครอบครวั ประมาณร้อยละ 30 รวมถงึ อาจสรา้ งปัญหาทางดา้ นจติ ใจจนกลายเปน็ ภาวะซึมเศรา้ ได้ ประการส�ำ คญั คอื โรคสะเกด็ เงนิ เมอ่ื วนั ท่ี 29 ตลุ าคม ทผ่ี า่ นมา สถาบนั โรคผวิ หนงั กรมการแพทย์ ไม่ได้มีอาการทางด้านผิวหนังเท่าน้ัน กระทรวงสาธารณสุข และ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี แต่ยังมีความสัมพันธ์ร่วมกับโรคอ่ืนๆ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล จงึ ไดจ้ ดั กจิ กรรมเพอื่ ใหค้ วามรทู้ ถี่ กู ตอ้ งเกยี่ วกบั โรค เช่น ข้ออักเสบสะเก็ดเงิน โรคหัวใจ แก่ประชาชน และหลอดเลือด รวมถึงภาวะซึมเศร้า ศาสตราจารยค์ ลนิ กิ แพทยห์ ญงิ ณฏั ชา รชั ตะนาวนิ อาจารยส์ าขา และปัญหาทางดา้ นจติ ใจ ดังน้ันการให้ วิชาจติ วทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ และประชาชน มหิดล กล่าววา่ โรคสะเก็ดเงนิ เปน็ โรคทีม่ ีอาการอกั เสบเรอ้ื รังบรเิ วณ ท่ัวไป จะช่วยเสริมกำ�ลังใจให้ผู้ป่วย ผิวหนัง ซ่ึงยังไม่ทราบถึงสาเหตุท่ีแท้จริงของโรคว่ามาจากสาเหตุใด เข้มแข็ง มีสติในการเผชิญหน้ากับส่ิง แต่เป็นโรคท่ีพบได้มากเป็นอันดับท่ี 4-5 ในคลินิกผิวหนังโรงเรียน รบกวนทางจิตใจ ลดการแยกตัวจาก แพทยแ์ ละศนู ยก์ ารแพทย์ ของกระทรวงสาธารณสุข สังคม ลดความรู้สึกหดหู่จากการขาด “ส�ำ หรบั ตวั โรค ผน่ื สะเกด็ เงนิ เกดิ ขน้ึ จากการแบง่ ตวั ทผี่ ดิ ปกตขิ อง ความเชอื่ มน่ั ในการใชช้ วี ติ ประจ�ำ วนั ซง่ึ เซลลผ์ วิ หนงั ซงึ่ แบง่ ตวั เรว็ กวา่ ปกติ 5 เทา่ จากการถกู กระตนุ้ ดว้ ยสาร ก�ำ ลงั ใจจากคนใกลช้ ดิ จะเปน็ ยาขนานเอกในการรกั ษาโรค และชว่ ยให้ เคมีในเซลล์เม็ดเลอื ดขาว “ลมิ โฟไซต์ (Lymphocytes)” ชนดิ เซลล์ ผู้ป่วยดำ�เนนิ ชวี ิตได้อย่างมคี วามสขุ ” “ที (T-cell) ท�ำ ใหเ้ กดิ การอกั เสบจนกลายเปน็ ผนื่ ขนาดใหญต่ ามรา่ งกาย แพทย์หญิงพู่กลิ่น ตรีสุโกศล รองผู้อำ�นวยการด้านการแพทย์ สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า วนั สะเก็ดโลก (World Psoriasis Day) นบั เปน็ โอกาสสำ�คัญทีจ่ ะท�ำ ให้ โรคอยใู่ นความสนใจของสงั คมและเกดิ ความตระหนกั รกู้ นั มากขน้ึ โดย แคมเปญทีเ่ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของงาน คือ “Be Informed” เพือ่ ม่งุ หวงั ให้ เกดิ การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการรกั ษาผปู้ ว่ ย ผา่ นการสง่ เสรมิ ใหผ้ ปู้ ว่ ย บอกเล่าถงึ อาการตา่ งๆ นอกจากอาการทางผวิ หนงั ให้แพทย์รับทราบ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การตรวจวนิ จิ ยั ฉยั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและตรงจดุ มากขนึ้ “นอกจากนี้ในเร่ืองการดูแลรักษาตนเอง ผู้ป่วยควรหลีกเล่ียง ปัจจัยกระตุ้นต่างๆ ทท่ี �ำ ใหเ้ กิดความเครียด การพกั ผ่อนท่ีไมเ่ พยี งพอ ละเว้นการสูบบุหร่ี ด่ืมแอลกอฮอล์ ควบคุมเร่ืองความอ้วน รวมถึง การบรโิ ภคยาทก่ี ระตนุ้ ให้โรคก�ำ เรบิ นอกจากนี้ยงั ควรระมดั ระวังช่วง อากาศเปลย่ี นแปลง เพราะการตดิ เชอ้ื หรอื เปน็ โรคหวดั อาจท�ำ ใหผ้ ปู้ ว่ ย บางรายเกิดผ่ืนเห่อข้ึนได้ โดยมีเคล็ดลับสี่ประการแนะนำ�ผู้ป่วยโรค สะเกด็ เงนิ คอื เขา้ ใจโรคดแู ลรา่ งกายและจติ ใจอยา่ งเครง่ ครดั หลกี เลย่ี ง ปัจจัยกระตุ้น สงั เกตและป้องกันตนเองจากภาวะโรคแทรกซอ้ น” รายละเอียดเพิม่ เติม : https://www.thaihealth.or.th/Content/53378-สะเกด็ เงิน%20เปน็ มากกว่าโรคทางผิวหนัง.html (สสส.) พฤศจกิ ายน 2563 16

หนา้ ตา่ ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยโล-์ ก ออฟฟิศไรส้ ัมผสั ในอเมรกิ า ป้องกันการระบาดโควิด 19 จากการระบาดของโควิด 19 ออฟฟิศของชาวอเมริกันได้ปรับสู่โฉมใหม่ ‘เพิ่มระบบไร้สัมผัส เพื่อรักษาระยะห่างในท่ีทำ�งาน’ เตรียมพร้อมให้พนักงานได้กลับเข้ามาทำ�งานในอนาคตอันใกล้ จดุ เปลย่ี นทเี่ หน็ ไดช้ ดั คอื หอ้ งพกั เบรกซงึ่ เปน็ พน้ื ทใ่ี นการชงกาแฟหรอื พกั สนทนาในชว่ งพกั บรษิ ทั Nestle ผลติ เครอ่ื งชงกาแฟแบบไรส้ มั ผสั เพยี งจอ่ นว้ิ นอกจากเรอ่ื งการบรโิ ภคภายในอาคารส�ำ นกั งานแลว้ รปู แบบ เขา้ ไปใกลๆ้ กส็ ามารถสง่ั กาแฟทตี่ อ้ งการได้ บรษิ ทั Lavazza การตกแต่งภายในก็เปลี่ยนแปลงไป Tom Vecchione เจ้าหน้าท่ี ผลิตเครื่องชงกาแฟท่ีใหส้ ่ังเครอ่ื งดืม่ ผา่ นทางแอปพลเิ คชนั สว่ น สถาปนิกจาก Vocon ในมหานครนิวยอร์กเผยวา่ บรษิ ทั ตดั สนิ ใจ บรษิ ทั Bunn สรา้ งระบบการสง่ั กาแฟผา่ น QR Code หรอื เวบ็ ไซต์ นำ�ประตูและฉากก้ันต่างๆ ออก เพ่ือเพิ่มพื้นท่ีในการรักษาระยะ Alicia LeBeouf เจา้ หนา้ ที่การตลาดของบรษิ ทั Canteen ผู้ ห่างใหม้ ากขึ้น และเปล่ยี นเกา้ อท้ี ำ�งานเดมิ ใหเ้ ปน็ เก้าอี้ไร้พนกั พงิ ให้บริการด้านอาหารอธิบายว่า การเปล่ียนแปลงของการบริการ เพ่อื กระตุน้ ให้พนักงานไม่นัง่ อยูท่ ี่ใดที่หน่งึ มากเกินความจำ�เป็น อาหารในอาคารส�ำ นกั งาน เปน็ โจทย์ใหญข่ องชว่ งโควดิ 19 เพราะ ทั้งน้ีจากการศึกษาของบริษัทวิจัย GoodFirms ในกรุง จะต้องเปลี่ยนจากการให้บริการเรื่องอาหารและเคร่ืองด่ืมโดย วอชงิ ตนั ทศ่ี กึ ษาขอ้ มลู จาก 168 บรษิ ทั ทวั่ โลก พบวา่ ราว 1 ใน 3 พนกั งานเปน็ การใหบ้ รกิ ารอาหารแบบไรส้ มั ผสั แทน อยา่ งทบี่ รษิ ทั ของพนกั งานจะตอ้ งกลบั เขา้ มาท�ำ งานในออฟฟศิ โดยราว 60% Verizon, UnitedHealth Group Inc. และ Microsoft ก็เรมิ่ หันมา ของพนกั งานทว่ั โลกอยากกลบั เขา้ มาท�ำ งาน แตก่ วา่ ครงึ่ ในนน้ั ยงั ใชเ้ ครอื่ งชงกาแฟแบบไรส้ มั ผสั และทบ่ี รษิ ทั Mohawk Industries กังวลเรอ่ื งความปลอดภัยเมือ่ กลบั เข้าไปทำ�งานตามปกติ ก็หันมาใช้ตูเ้ ยน็ แบบใช้เท้าเหยยี บแทนมอื จับ รวมถึงท่ีโรงอาหาร ในอาคารส�ำ นกั งานของ FedEx ได้เปล่ยี นรูปแบบการจ่ายเงินคา่ เรยี บเรียงจาก: https://bit.ly/3egfjAn (VOA Thai) อาหารมาเป็นการจา่ ยผา่ นแอปพลเิ คชันเชน่ กัน 17 พฤศจิกายน 2563

หนา้ ตา่ ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยโล-์ ก นาซาพบนำ�้ บนพื้นผิวดวงจนั ทร์ เพยี งพอส�ำ รวจดาวระยะยาว เครื่องบินสังเกตการณ์ดาราศาสตร์ในบรรยากาศโลกช้ันสตราโตสเฟียร์หรือโซเฟีย (SOFIA) ซึ่งเป็นเคร่ืองโบอิง 747SP ท่ีติดต้ังกล้องโทรทรรศน์รังสีอินฟราเรดของ องค์การนาซา ตรวจพบโมเลกุลน�้ำ บนพืน้ ผวิ ดวงจันทร์ดา้ นสว่างทแ่ี สงอาทิตยส์ ่องถึง การคน้ พบคร้งั น้ี เป็นการคน้ พบครัง้ สำ�คัญทีช่ ว้ี ่า อาจมีนำ้�กระจายตวั อยทู่ ่วั ทุนหนแห่ง บนพืน้ ผิวระดับต้นื ของดาว ซง่ึ ง่ายต่อการน�ำ มาใช้ประโยชน์ กอ่ นหน้าน้ีนักวิทยาศาสตร์เคยค้นพบแหล่ง และน่าจะมีเพียงพอต่อการเป็นฐานท่ีม่ันสำ�รวจดวงจันทร์ใน น�ำ้ บนดวงจนั ทรจ์ �ำ นวนหนงึ่ ซง่ึ มเี ฉพาะ ระยะยาว ซ่ึงจะเป็นปัจจัยเกื้อหนุนแก่โครงการอาร์เทมิส ในแอง่ หลมุ ลึก มืด และหนาวเย็น บรเิ วณดวงจนั ทร์ดา้ นหา่ ง (Arthemis) ของนาซา ทจี่ ะส่งมนษุ ย์กลบั ไปเหยยี บดวงจนั ทร์ ไกลเท่านั้น โดยมักอยู่ในรูปของนำ้�แข็งที่สกัดมาใช้ประโยชน์ อกี ครง้ั ภายในปี พ.ศ. 2567 ได้ยาก แต่การค้นพบคร้ังนี้ นาซาพบโมเลกุลนำ้�บนพ้ืนผิว แมจ้ ะยงั ไมท่ ราบชดั วา่ โมเลกลุ น�ำ้ บนผวิ ดวงจนั ทรม์ าจากไหน ของแอ่งหลุมคลาเวยี ส (Clavius crater) บริเวณใกลก้ บั ขั้ว และคงอยใู่ นสถาวะไรบ้ รรยากาศปกคลมุ ไดอ้ ยา่ งไร แตม่ คี วาม ใต้ของดาว ซ่ึงเป็นหลุมอุกกาบาตรใหญ่ท่ีสุดแห่งหน่ึงบน เปน็ ไปไดว้ า่ อาจมากบั สะเกด็ ดาวขนาดเลก็ ทพี่ งุ่ ชนผวิ ดวงดาว ดวงจันทรแ์ ละสามารถมองเหน็ ได้จากโลก หรือก่อตัวขึ้นจากปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคพลังงานสูงที่ โดยมกี ารรายงานการคน้ พบในวารสาร Nature Astronomy ปลดปล่อยมาจากดวงอาทิตย์ โมเลกุลน้ำ�ดังกล่าวอาจถูก วา่ ปริมาณน�้ำ ที่คน้ พบมีอยเู่ ฉลย่ี ราว 12 ออนซ์หรือเทา่ กับน้�ำ กกั เก็บไว้ในเม็ดแกว้ เล็กๆ ทีป่ ะปนอยูก่ ับเนื้อดินบนดวงจนั ทร์ ดม่ื ขวดเลก็ ในเน้อื ดินทกุ 1 ลูกบาศกเ์ มตร ซ่งึ มีนอ้ ยมากหรอื หรือถูกเก็บรักษาไว้ในกับดักเย็น (cold trap) ซ่ึงเป็นบริเวณ นอ้ ยกว่าในพ้ืนผิวทะเลทรายซาฮาราถงึ 100 เทา่ แต่อยา่ งไร เงามืดถาวรบริเวณขั้วโลกเหนือและขั้นโลกใต้ของดาว โดย ก็ตาม การค้นพบนำ้�ในรูปแบบพิเศษนี้ทำ�ให้เช่ือได้ว่า บน ประมาณการวา่ มพี น้ื ทเี่ กบ็ น�้ำ ไดล้ กั ษณะนอี้ ยถู่ งึ 40,000 ตาราง ดวงจันทร์มีน้ำ�พร้อมให้นำ�ไปใช้ประโยชน์มากกว่าที่คิด กโิ ลเมตรบนดวงจนั ทร์ เรียบเรียงจาก : https://www.bbc.com/thai/international-54698799 (BBC Thai) พฤศจิกายน 2563 18

หนา้ ตา่ ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยโล-์ ก North Atlantic Right Whale นกั วิทยฯ์ และนกั อนุรักษ์ จาก 40 ประเทศ เตือนวาฬและโลมาเส่ยี งสูญพนั ธ์ุ นกั วิทยาศาสตร์และนักอนุรักษ์มากกวา่ 350 คน จาก 40 ประเทศ รว่ มลงนามในจดหมาย เรยี กรอ้ งให้ทวั่ โลกช่วยกนั อนรุ กั ษ์วาฬและโลมา โดยให้เหตผุ ลว่า มากกว่าครึง่ ของสายพันธ์ุ วาฬและโลมาทงั้ หมดอยใู่ นภาวะใกลส้ ูญพนั ธ์ุ และมี 2 สายพันธ์ทุ เี่ สี่ยงใกลส้ ญู พนั ธม์ุ าก ภายในจดหมายระบุว่า “การไม่จัดการกับ นกั วทิ ยาศาสตรร์ ะบวุ า่ วาฬไรตแ์ อตแลนตกิ เหนอื (North สภาพทะเลท่ีเต็มไปด้วยมลพิษและถูก Atlantic Right Whale) เหลอื อยไู่ ม่ก่รี ้อยตวั ในโลก ส่วนโลมา ใช้ประโยชน์มากเกินไป จะทำ�ให้วาฬและโลมาหลายสาย วากตี า (Vaquita) ซึง่ พบในอ่าวแคลิฟอร์เนยี อาจเหลอื เพยี ง พนั ธุ์สูญพนั ธภ์ุ ายในชว่ งอายุเรา แมแ้ ตว่ าฬพันธ์ุขนาดใหญ่ 10 ตัวในโลก และอาจหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะสูญพันธุ์ไปตาม ท่ีรจู้ ักกนั ดีกอ็ าจสูญพันธุด์ ้วย” โลมาไปจ๋ ี (Baiji) ซง่ึ เคยพบทวั่ ไปในแมน่ �ำ้ แยงซแี ตต่ อนนเี้ ชอ่ื วา่ “Save the whales” สโลแกนของนักอนุรักษ์ท่ีคุ้นหูกัน สญู พนั ธุ์ไปแลว้ ดีในช่วงทศวรรษท่ี 80-90 นำ�มาสู่การประกาศยุติวาฬเชิง ดร.ซซู าน ลเิ บอร์แมน บอกกบั ส�ำ นักข่าว BBC วา่ เป็น พาณชิ ยส์ �ำ เรจ็ ในชว่ งเวลาตอ่ มา แตป่ จั จบุ นั สตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ย เรื่องสำ�คัญท่ีรัฐจะต้องพัฒนา ให้ทุน และใช้มาตรการที่ นมเหลา่ นก้ี �ำ ลงั ตอ้ งเผชญิ กบั ภยั ใหมจ่ ากการกระท�ำ ของมนษุ ย์ จ�ำ เปน็ ในการปกปอ้ งและรกั ษาสายพนั ธทุ์ ี่โดดเดน่ เหลา่ น้ีไม่ ทั้งการทิ้งขยะพลาสติก การถูกล่า การถูกเรือท่ีแล่นผ่านชน ใหม้ จี ดุ จบเหมอื นกบั โลมาไปจ๋ ี ในขณะทซี่ าราห์ โดลแ์ มน จาก การเปล่ียนแปลงการสูญเสียถิ่นตามธรรมชาติ รวมถึงการ กลมุ่ อนรุ ักษ์วาฬและโลมาในสหราชอาณาจกั รบอกว่า การจับ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ โดยปัจจัยท่ีสร้างความ สตั วเ์ หลา่ นี้ไปพรอ้ มปลาอน่ื ๆ โดยไมไ่ ดต้ ง้ั ใจเปน็ ปญั หาทเี่ กดิ เสียหายมากท่ีสดุ ในตอนนี้ คอื การติดไปกับอปุ กรณ์จบั ปลา ขนึ้ ในน่านนำ�้ สหราชอาณาจกั ร ซง่ึ นั่นยงั ทำ�ให้สัตวช์ นดิ อ่ืนๆ ซง่ึ เปน็ เหตุให้วาฬและโละมาตายราว 3 แสนตวั ต่อปี เช่น แมวน้ำ�และนกหลายพนั ตัวตอ้ งตายในแตล่ ะปี เรยี บเรยี งจาก : https://www.bbc.com/thai/international-54494909 (BBC Thai) 19 พฤศจิกายน 2563

grSIanpcfohiic พฤศจิกายน 2563 20

grSIanpcfohiic 21 พฤศจิกายน 2563

สAาpรpะ แนะนำ�แอปดี มีความรู้ ชาวเกษตร (Chaokaset) : ระบบบริหารจดั การปฏิทนิ การเพาะปลกู พชื ช า ว เ ก ษ ต ร คื อ โ ม บ า ย วิจัยพฒั นาโดย แ อ ป พ ลิ เ ค ชั น ท่ี ช่ ว ย แ น ะ นํ า เกษตรกรถึงวิธีการเพาะปลูกที่ ศนู ยเ์ ทคโนโลยีอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ ห่งชาติ ถูกต้องตามกรอบเวลา (crop (เนคเทค-สวทช.) calendar) และวิธีปฏิบัติงานใน แปลงอย่างถกู ตอ้ ง และเหมาะสม เชน่ การบรหิ ารจดั การน�ำ้ ปยุ๋ หรอื ยารกั ษาโรคพชื โดยสามารถเชอื่ ม โยงองค์ความรู้ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลปฏิบัติ คลิปวิดีโอความรู้ มานําเสนอตามชนิด พืชท่ีได้รับ กาํ หนดรว่ มกบั นกั วชิ าการเกษตร ท่ีเกี่ยวข้อง และด้วยเทคโนโลยี ปัจจุบันสมาร์ตโฟนมีการใช้งาน อ ย่ า ง แ พ ร่ ห ล า ย ก า ร ดึ ง ค ว า ม สามารถจากเทคโนโลยีมาช่วย บริหารจัดการแปลง ก็เป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพการเพาะปลูกได้ อีกแนวทางหนงึ่ เชน่ การบันทกึ พิกัดแปลง การจดบันทึกบัญชี ฟาร์ม การแจ้งเตือนภัยโรคและ ศัตรูพืช เฝ้าดูสภาพภูมิอากาศ ใกล้เคียง การแจ้งราคาตลาด รับซ้ือสินค้าเกษตรใกล้ตําแหน่ง แปลงเพาะปลกู [Download] [Download] พฤศจิกายน 2563 22

รวอ้ ทิ ยยพานั รวศิ ทัศคร รวิศ ทัศคร เคยเป็นกรรมการบริหารและสมาชิกทีมบรรณาธิการวารสารทางช้างเผือก สมาคมดาราศาสตร์ไทย เคยทำ�งานเปน็ นกั เขยี น ประจ�ำ นติ ยสาร UpDATE นิตยสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของบริษทั ซีเอ็ดยูเคชนั่ (มหาชน) จ�ำ กัด ปจั จุบนั รับราชการ เป็นอาจารย์ประจำ�สาขาวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ภาพ ลัักษณะชั้ �นบรรยากาศของดาวศุุกร์์ในปััจจุุบััน (ที่่�มา https://photojournal.jpl.nasa.gov/figures/PIA23791_fig2.jpg) แนวคิดในการปรบั สภาพ ดาวศุกรใ์ หค้ ล้ายโลก (ตอนท2ี่ ) ดาวศกุ ร.์ .. ดาวท่มี แี สงเจดิ จรสั ที่สดุ บนทอ้ งฟา้ ทีค่ นไทยรจู้ ักกนั ดีมาแตค่ รง้ั โบราณ จนมีชือ่ เรยี กแบบไทยว่า “ดาวประกายพรึก” หรือดาวร่งุ ในยามเชา้ มืดทางทศิ ตะวนั ออก หรือเรียกดาวประจำ�เมอื งเมือ่ เหน็ ในเวลาหวั ค�ำ่ ทางทศิ ตะวันตก 23 พฤศจกิ ายน 2563

รวอ้ ทิ ยยพานั เมอ่ื พูดถึงการปรับสภาพ ของโลก ซึ่งจะป้องกนั มิให้ช้ันบรรยากาศ จากข้อมูลท่ี ได้จากยาน Venus ดาวเคราะห์ ให้มีสภาพ ถูกพัดพาออกไปในอวกาศได้ แต่สนาม Express ขององค์การอวกาศยุโรป ซ่ึง แวดล้อมให้เหมือนโลก (terraforming) แม่เหล็กที่ดาวศุกร์มี กลับเป็นสนาม ไปถึงดาวศุกร์ในปี พ.ศ. 2549 และโคจร ผู้คนก็มักจะมองไปที่ดาวอังคารเป็น แมเ่ หลก็ ทเ่ี บาบาง และมลี กั ษณะลอู่ อกไป รอบดาวโดยสง่ ขอ้ มลู มาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจน ส่วนใหญ่ เนื่องจากดาวอังคารเป็น ด้านหลงั เหมอื นหางของดาวหาง ซึง่ เปน็ เช้ือเพลิงหมด และตกลงสู่บรรยากาศ ดาวเคราะห์ในระบบสรุ ยิ ะทม่ี นษุ ยม์ องวา่ ขอ้ เสยี ทที่ �ำ ใหส้ นามไฟฟา้ ทม่ี ากบั ลมสรุ ยิ ะ ของดาวศุกร์ไปเม่ือปี พ.ศ. 2557 ทีม น่าจะจดั การไดง้ ่ายกว่า เนอ่ื งจากมีสภาพ สามารถทะลุทะลวงเข้ามาในบรรยากาศ นักวิจัย[1] ได้เลือกเก็บข้อมูลจากทุกคร้ัง บรรยากาศเบาบาง การลงจอด และ ชนั้ บนของดาวศกุ ร์ หรอื ชน้ั ไอโอโนสเฟยี ร์ ที่ยานโคจรไปอยู่เหนือขั้วเหนือของ การสร้างอาณานิคมต้ังถิ่นฐานในอนาคต จนมันพดั พาเอาเอาอิออน โดยเฉพาะหมู่ ดาวศุกร์ ซ่ึงจะทำ�ให้ยานบันทึกความเข้ม ย่ อ ม ทำ � ไ ด้ ง่ า ย ก ว่ า ด า ว ศุ ก ร์ ที่ มี ช้ั น ออิ อนทเ่ี ปน็ พวกออกซเิ จนและไฮโดรเจน ของสนามไฟฟ้าที่มีความเก่ียวพันกับ บรรยากาศหนาทึบ และมีสภาพเรือน ออกไปได้ ทำ�ใหด้ าวศุกร์สญู เสียน้�ำ ท่ีเคย เส้นแรงแม่เหล็กของดาวศกุ ร์ได้ กระจกทำ�ให้มีอุณหภูมิและความดัน มีออกไปทีละน้อยเป็นเวลาช้านาน จน จากผลท่ีได้ทำ�ให้นักวิทยาศาสตร์มี พื้นผิวดาวที่สูงมาก นอกจากน้ีดาวศุกร์ กระทงั่ ชนั้ บรรยากาศของดาวศกุ รแ์ ทบไม่ ความเข้าใจเกี่ยวกับกลไกการสูญเสียนำ้� ยงั ขาดสนามแมเ่ หลก็ ทมี่ คี วามเขม้ เทา่ กบั เหลอื องคป์ ระกอบของน้ำ�เลยในปจั จุบัน ของดาวศุกร์มากขึ้น เน่ืองจากอนุภาค รูปที่ 1 ภาพจำ�ลองสนามแม่เหล็กเบาบางของดาวศุกร์ที่ทำ�ให้เกิดหางคล้ายดาวหาง (magnetotail) ซึ่งเป็นการสร้างจากข้อมูลที่ค้นพบโดยยาน Venus Ex- press เครดิต : ESA พฤศจกิ ายน 2563 24

รวอ้ ทิ ยยพานั รูปที่ 2 สนามแม่เหล็กของดาวศุกร์ที่ถูกเหนี่ยวนำ�ให้เกิดขึ้น และการก่อตัวของกระแสการไหลของ ในระยะที่ห่างพอดี ทำ�ให้มีอุณหภูมิพอ อนุภาคมีประจุเนื่องจากอิทธิพลที่เกิดแรงกระทำ�กับอิเลกตรอนซึ่งมีชื่อเรียกว่า electric wind ของ เหมาะจนมีนำ้�ท่ีเป็นของเหลวในโซน ดาวศุกร์ ซึ่งเมื่อมีสนามไฟฟ้าเกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของอิเลกตรอน แม้แรงดึงดูดจะมีแรงดึงให้ ที่สามารถอยู่อาศัยได้น้ัน อาจเป็น อิออนต่างๆ ลงสู่ระดับต่ำ� แต่สนามนี้ก็เพียงพอที่จะเร่งให้ ไฮโดรเจนและออกซิเจนวิ่งออกจากดาง ดาวเคราะห์ที่มีสนามแม่เหล็กน้อย และ ศุกร์ด้วยความเร็วหลุดพ้นได้ เครดิตภาพ[1] มีปรากฏการณ์สูญเสียนำ้�ออกจากช้ัน บรรยากาศเช่นเดียวกบั ดาวศุกร์ก็เปน็ ได้ มีประจุที่เป็นส่วนประกอบของโมเลกุล ซ่ึงปรากฏการณ์น้ีจะเกิดมากกว่าที่เกิด ดาวศกุ รส์ ญู เสยี ชนั้ บรรยากาศเพราะ น้ำ� จะถูกเร่งความเร็วให้พุ่งออกจากชั้น กับโลกของเรามาก เนอื่ งจากโลกของเรา สนามแมเ่ หล็กของดาวศกุ รอ์ ่อน แต่ของ บรรยากาศไปตามแนวของสนามแมเ่ หลก็ มีสนามแม่เหล็กที่มีความเข้มสูงกว่ามาก โลกมสี นามแมเ่ หลก็ ทม่ี คี วามเขม้ สงู แลว้ อ่อนๆ ของดาวท่ีรูปร่างเหมือนหางของ กระแสของอิออนท่ีถูกเร่งตรงขั้วโลก เพราะเหตุใดดาวท้ังสองดวงน้ีถึงมีสนาม ดาวหางไดด้ ว้ ยความเรว็ มากกวา่ ความเรว็ ของเรา จึงว่ิงวนอยู่ท่ีขั้วสนามแม่เหล็ก แม่เหลก็ ทีแ่ ตกต่างกัน หลุดพ้น ซึ่งคือค่าความเร็วท่ีทำ�ให้วัตถุ ของโลกเท่านั้น ซ่ึงเรียกว่า polar wind เหตผุ ลทเ่ี ชอ่ื กนั มานานคอื เปน็ เพราะ มวลสารหน่ึงๆ หนีพ้นแรงดึงดูดของ มีความเรว็ ไม่สงู เทา่ ความเร็วหลุดพ้น จงึ ดาวศกุ รม์ คี าบการหมนุ รอบตวั เองชา้ มาก ดาวเคราะห์ดวงนั้นและหลุดออกไปใน ไม่ถกู พดั พาออกไปสอู่ วกาศ ถึง 243 วัน ซ่ึงบางสมมติฐานมีว่าอาจ อวกาศ ด้วยการค้นพบของ Collinson และ เกิดจากมีวัตถุท้องฟ้าบางอย่างมาชนใน ดังน้ันก๊าซพวกน้ีจึงสูญเสียออกจาก คณะ[1] นักวิทยาศาสตร์จึงมีงานเพิ่ม อดตี ท�ำ ใหแ้ กนกลางของดาวซง่ึ เปน็ โลหะ ดาวศุกร์ไปตลอดกาล ... คือ ดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะต่างๆ หลอมเหลวไม่หมุนทำ�ให้ไม่มีการสร้าง พวกเขาเรียกกระแสการไหลของ ที่ปัจจุบันค้นพบมากมายหลายดวงนั้น สนามแมเ่ หล็กเหมือนโลก อิออนมีประจุของบรรยากาศท่ีถูกเร่ง หลายดวงที่เคยคิดกันว่าอยู่อาศัยได้ อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ไ ด้ ออกไปนว้ี ่า electric wind ของดาวศุกร์ เนื่องจากโคจรรอบดาวฤกษ์แม่ของมัน พัฒนาแนวคิดต่อมาว่า การเกิดสนาม แม่เหล็กของดาวเคราะห์หินแบบโลกได้ น้ันจะต้องมีการพาความร้อนเกิดขึ้นท่ี แกนกลาง (core) ของดาว ซ่งึ จะถ่ายเท ความรอ้ นมาใหช้ นั้ เนอื้ (mantle) ของดาว ซึ่งโลกเรามี แต่ดาวศุกร์ไม่มี เซท เจคอปสัน และคณะผู้ร่วมงาน[2] จาก มหาวิทยาลัยแห่งแคลิฟอร์เนีย ลอส- แอนเจลสิ ไดเ้ สนอแนวคดิ เอาไว้ใน Earth and Planetary Science Letters วา่ โลก และดาวศกุ รอ์ าจลงเอยดว้ ยการกลายเปน็ ดาวท่ีแทบไม่มีสนามแม่เหล็กด้วยกัน ทงั้ คู่ เวน้ แตว่ า่ โลกในตอนทเี่ กอื บจะกอ่ ตวั สมบูรณ์ในยุคบรรพกาลถูกชนจากวัตถุ ท้องฟ้าขนาดใหญ่เท่าดาวอังคาร ซ่ึง 25 พฤศจิกายน 2563

รวอ้ ทิ ยยพานั เหตุการณ์ชนคร้ังน้ันทำ�ให้เกิดดวงจันทร์ เปลือกหัวหอม ท่ีมีความเสถียรในแต่ละ ให้คล้ายกับโลกมีการเสนอข้ึนในปี พ.ศ. ของโลกข้ึน แต่ดาวศุกร์นั้นไม่ได้ถูกชน ระดับความลึก ซ่ึงการพาจะกวนผสม 2504 โดย คาร์ล เซแกน เขาเสนอให้ ทำ�ให้ โครงสร้างของดาวศุกร์ยังคงเป็น ของไหลภายในชั้นเดียวกันจนเป็นเนื้อ โปรยแบคทีเรียหรือสาหร่ายท่ีดัดแปลง ชนั้ ๆ ตามแบบจ�ำ ลองทค่ี ณะของเจคอปสนั เดียว แต่จะป้องกันการผสมข้ามช้ัน พันธุกรรม ที่สามารถขยายพันธุ์ได้เพ่ือ ศึกษา ซ่ึงเสนอแนวคิดในการก่อตัวของ ซงึ่ ดาวกจ็ ะยงั สญู เสยี ความรอ้ นจากกลไก ท่ีจะเปล่ียนคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็น ดาวเคราะห์หินแบบโลกว่า เม่ือเกิดดาว การนำ�ความร้อนจากช้ันหนึ่งไปยังอีก ออกซเิ จน และสารอนิ ทรยี ท์ เ่ี ปน็ ของแขง็ เคราะหห์ นิ ใหมๆ่ สว่ นทเ่ี ปน็ ธาตหุ นกั อยา่ ง ชั้นหน่ึง แต่เกิดขึ้นช้ามาก ทำ�ให้ไม่มี อย่างไรก็ตามหลังจากน้ันเมื่อเราทราบ เหลก็ และนกิ เกลิ จะจมลงไปสใู่ นกลางดาว การไหลหมุนเวียนของชั้นหลอมเหลว ข้อมูลมากขึ้นเก่ียวกับสภาวะบรรยากาศ กลายเปน็ แกน และหลงั จากนน้ั เมอื่ มกี อ้ น ที่จำ�เป็นสำ�หรับการเกิดสนามแม่เหล็ก ดาวศุกร์ ซ่ึงส่วนหน่ึงทีเดียวก็มาจาก วตั ถใุ หมช่ นเขา้ มาคอ่ ยๆ สะสมรวมตวั มาก ซึ่งนี่คือส่ิงท่ีเกิดกับดาวศุกร์ ในขณะที่ การพยายามผลักดันของเซแกนเอง ขึ้นเรื่อยๆ ส่วนโลหะที่เป็นของหนักก็จะ โลกถูกชนอย่างจังตอนท่ีการรวมตัวเป็น เขาจึงทราบว่าแนวทางนี้เป็นไปไม่ได้ จมดิ่งลงไปสู่แกนกลางดาว ในขณะท่ี ดาวเคราะหเ์ กอื บจะเสรจ็ สมบรู ณพ์ อดี ท�ำ ให้ เน่ืองจากบรรยากาศขาดน้ำ�ที่จะให้ จมลงก็จะดึงเอาธาตุท่ีเบากว่า เช่น เกิดการผสมกันของเนื้อวัสดุใจกลางโลก ไฮโดรเจนท่ีต้องการในการสร้างโมเลกุล ออกซิเจน ซิลิกอน และกำ�มะถัน ลงไป จึงมีการพาเกิดขึ้นเพราะโครงสร้างที่เป็น ของสารอินทรีย์ สภาพกรดในเมฆและ ในสว่ นลึกๆ ตามล�ำ ดบั ชัน้ เหล่านนั้ ถูกกวนท�ำ ให้ถกู ทำ�ลายลง สภาวะอุณหภูมิสูงบนพ้ืนผิวท่ีจะย่อย ซ่ึ ง จ ะ ทำ � ใ ห้ สั ด ส่ ว น ข อ ง ธ า ตุ สลายสารอินทรีย์และปล่อยกลับเป็น องคป์ ระกอบเกดิ การแปรผนั กนั แตกตา่ ง แนวคดิ ตา่ งๆ ในการปรบั คาร์บอนไดออกไซดอ์ กี ครงั้ ทันที ไปในแต่ละระดับความลึก จนเน้ือดาว สภาพดาวศกุ ร์ อี ก แ น ว คิ ด ห น่ึ ง ที่ มี ก า ร เ ส น อ คื อ กลายเป็นโครงสร้างแบบช้ันๆ คล้าย แนวคิดแรกๆ ในการปรับสภาพดาวศุกร์ การนำ�เอาแผ่นสะท้อนแสงอาทิตย์ไป รูปที่ 3 การพาความร้อนของโลก จากภาพจะเห็นกระแสการพาความร้อนที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของชั้นเนื้อโลก (mantle) (เครดิตภาพ วิกิพีเดีย https:// th.wikipedia.org/wiki/ร่องลึกก้นสมุทร#/media/ไฟล์:Oceanic_spreading_th.svg และ https://www.rbth.com/science_and_tech/2016/02/16/a- mysterious-new-layer-found-in-earths-mantle_568199) พฤศจิกายน 2563 26

รวอ้ ทิ ยยพานั รูปที่ 4 จุดลากรานจ์คือจุดที่แรงระหว่างวัตถุมวลมากสองชิ้น (กรณีนี้คือดาวศุกร์กับดวงอาทิตย์) ทำ�กิริยาต่อกันทำ�ให้วัตถุมวลน้อยที่จุดนั้นมีความเสถียร สามารถโคจรไปรอบวัตถุมวลมากนั้นโดยมีความเสถียรของวงโคจรและไม่ต้องการเชื้อเพลิง ภาพซ้าย ตำ�แหน่งจุดลากรานจ์ของระบบดวงอาทิตย์-ดาวศุกร์ จุด L1 และ L2 จะอยู่ห่างจากดาวศุกร์ประมาณ 1 ล้านกิโลเมตร ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องเนื่องจากวงโคจรของดาวศุกร์เป็นวงรีเล็กน้อย ( ที่มา [3]) ภาพขวา ภาพในจินตนาการของแผ่นบังแสงอาทิตย์ที่โคจรเหนือดาวศุกร์ เครดิต Kevin Gill (ที่มา https://www.universetoday.com/135976/ construction-tips-type-2-engineer-collaboration-isaac-arthur/) ตดิ ตง้ั ไวท้ จี่ ดุ ลากรานจ์ (lagrangian point) หากมนุษย์ในอนาคตทำ�โครงการน้ี สว่ นชว่ งเปลย่ี นผา่ น คอื ท่ี20 องศาเซลเซยี ส ระหว่างดาวศุกร์กับดวงอาทิตย์ ดังภาพ สำ�เร็จ เม่ือบรรยากาศของดาวศุกร์ นน้ั นา่ จะควบคมุ ไดย้ าก เนอ่ื งจากความรอ้ น ซ่ึงสามารถปรับและควบคุมค่าชดเชย เย็นตัวลง มันจะปรับเปล่ียนสมดุลเพ่ือ ภายในจะถกู ปลดปลอ่ ยออกมา มโี อกาสท่ี ต่างๆ ไดอ้ ยา่ งระมัดระวัง คายความร้อนออกไป ซึ่งจะเกิดขั้นตอน ภูเขาไฟบนดาวศกุ รจ์ ะทำ�ให้ CO2 ระเหดิ ทง้ั นมี้ ขี อ้ กงั ขาวา่ เมอื่ ค�ำ นวณออกมา การเย็นตัวลงเป็นชุด ส่ิงที่จะเกิดขึ้นท่ี กลับไปเปน็ กา๊ ซอกี คร้ัง ดังนน้ั CO2 บาง แล้ว แผ่นบังแดดนี้อาจจะต้องใหญ่กว่า เป็นผลกระทบใหญ่ก่อนคือ การสูญเสีย ส่วนจะยังคงอยู่ในบรรยากาศ ทำ�ให้ ดาวศุกร์เสียอีก แต่ไม่เชิงจะเป็นไปไม่ได้ ชั้นเมฆท่ีปกคลุมอยู่ ทำ�ให้มีแสงอาทิตย์ อณุ หภูมเิ ฉลยี่ เพ่ิมขนึ้ อีกคร้ัง ซง่ึ ต้องการ เนื่องจากปัจจุบันมีการพัฒนาวัสดุท่ีท้ัง ลงไปสู่พ้ืนผิวมากข้ึน ซ่ึงในที่สุดแล้ว ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับโครงสร้าง บางเฉียบและแข็งแกร่งออกมามากมาย อุณหภูมิก็จะลงถึงจุดเยือกแข็งของ ภายในของดาวศุกร์ และกิจกรรมของ นอกจากน้ีในอวกาศก็ต้องการโครงสร้าง คาร์บอนไดออกไซด์ และช้ันบรรยากาศ ภูเขาไฟอีกมากในการนี้ รับแรงน้อยมากๆ แผ่นกันแสงแผ่นกลม ก็จะยุบตัวลงจนหยุดอยู่ที่ความดันราว วธิ ที ีง่ า่ ยกว่าคอื การดึงเอา CO2 ออก อาจขึงให้ตึงแข็งได้ด้วยการหมุนรอบ สามเทา่ ของบรรยากาศโลก ทพ่ี น้ื ผวิ ดาว จากชั้นบรรยากาศด้วยวิธีอ่ืน ทั้งด้วยวิธี ตัวเองช้าๆ โดยไม่ต้องมีโครงเสียด้วยซำ้� ซ่ึงประกอบด้วยไนโตรเจนเกือบทั้งหมด ทางเคมีและกายภาพ ซ่ึงหากมนุษยชาติ นอกจากนี้เทคโนโลยีการใช้ฝูงหุ่นยนต์ ลอยอยู่เหนือช้ันของน้ำ�แข็งแห้ง หรือ ในอนาคตสามารถหาวิธีที่จะขนเอา CO2 ดาวเทยี มจว๋ิ แบบทเ่ี คยมกี ารเสนอแนวคดิ คาร์บอนไดออกไซด์ในสภาพเยือกแข็งที่ ออกจากดาวศุกร์ได้เป็นปริมาณมหาศาล เอาไว้โดยองค์การนาซา สำ�หรับการแก้ หนาหลายกิโลเมตร และหากเราสามารถ ซง่ึ อาจท�ำ ดว้ ยเครอื่ งจกั รในแบบอตั โนมตั ิ ปัญหาสภาวะโลกร้อน อาจถูกนำ�มาใช้ ควบคุมให้มีความร้อนถ่ายเทลงบน เม่ือน้ันชั้นบรรยากาศแบบเดียวกับโลก กับโครงการปรับเปลี่ยนสภาพดาวศุกร์ ดาวศุกร์ได้น้อยลงอีก ไนโตรเจนก็จะ ก็อาจกระทำ�ได้โดยรักษาอุณหภูมิพื้นผิว ไดเ้ ชน่ กัน[5] แข็งตัว ซึ่งการทำ�เช่นนี้ไม่มีประโยชน์ เฉล่ยี อย่ทู ่รี าว 45 องศาเซลเซยี ส ที่ระยะ 27 พฤศจกิ ายน 2563

รวอ้ ทิ ยยพานั รูปที่ 5 แสดงองค์ประกอบของชั้นบรรยากาศดาวศุกร์[4] กระบวนการเดียวกับท่ีเปลี่ยน CO2 ใน บรรยากาศโลกในชว่ งตน้ ใหก้ ลายเปน็ หนิ ห่างจากดวงอาทิตย์ของดาวศุกร์ ซ่ึงจะ อี ก วิ ธี ก า ร ห น่ึ ง คื อ ก า ร เ ติ ม น้ำ � คาร์บอเนต และนำ�คาร์บอนไดออกไซด์ มีบริเวณที่สามารถอยู่อาศัยได้ท่ีละติจูด ปริมาณมากลงไปบนดาวเพื่อให้เกิดการ ออกจากช้ันบรรยากาศ ซง่ึ จะทำ�ได้ก็ตอ้ ง สงู ๆ ขนึ้ ไปจากแนวเส้นศนู ย์สูตร และจะ เปลยี่ นแปลง CO2 ในบรรยากาศใหก้ ลาย ถล่มดาวศุกร์ด้วยดาวหางจำ�นวนมาก ไมม่ ีฤดูกาล[5] เป็นหินคาร์บอเนตชนิดต่างๆ ซึ่งเป็น หรือแม้แต่เปล่ียนทิศทางการโคจรของ ดวงจันทร์ที่มีน้ำ�แข็งของดาวเคราะห์ รอบนอกบางดวงให้มาชนกับดาวศุกร์ ซึ่งอาจจัดการให้ชนในแบบท่ีจะทำ�ให้ ดาวศกุ ร์หมนุ เรว็ ข้นึ ก็เป็นได้ แน่นอนว่าแนวคิดนี้น่าจะออกเป็น แนวไซไฟไปสักนิด เน่ืองจากเราอาจจะ ต้องรอไปอีกหลายร้อยล้านปีกว่าจะย้าย ไปอยู่บ้านใหม่ของเราได้น่ันเอง ถึงตรง น้ีคุณผู้อ่านมีไอเดียอย่างไร ลองโพสต์ เขา้ มารว่ มสนกุ ได้ ในกลมุ่ เฟซบกุ “หวา้ กอ in wonderland” กนั ได้นะครับ แหลง่ ข้อมลู https://sci.esa.int/web/venus-express/-/54068-7-water-loss https://eos.org/research-spotlights/venuss-unexpected-electrifying-water-loss https://sci.esa.int/web/venus-express/-/50246-a-magnetic-surprise-for-venus-express https://skyandtelescope.org/astronomy-news/why-is-earth-magnetized-and-venus-not-magnetized https://phys.org/news/2017-12-doesnt-venus-magnetosphere.html http://news.bbc.co.uk/2/shared/spl/hi/picture_gallery/07/programmes_global_sunshade/html/6.stm http://www.astrobio.net/news-exclusive/pies-in-the-sky-a-solution-to-global-warming/ 1. Collinson, G. A., Frahm, R. A., Glocer, A., Coates, A. J., Grebowsky, J. M., Barabash, S., … Zhang, T. L. (2016). The electric wind of Venus: A global and persistent “polar wind”-like ambipolar electric field sufficient for the direct escape of heavy ionospheric ions. Geophysical Research Letters, 43(12), 5926–5934. doi:10.1002/2016gl068327 2. Jacobson, S. A., Rubie, D. C., Hernlund, J., Morbidelli, A., & Nakajima, M. (2017). Formation, stratification, and mixing of the cores of Earth and Venus. Earth and Planetary Science Letters, 474, 375–386. doi:10.1016/j.epsl.2017.06.023 3. Limaye, S.S., and Kovalenko, I.D. (2019). Monitoring Venus and communications relay from Lagrange Points. Planetary and Space Science, 179, 104710. https://doi.org/10.1016/j.pss.2019.104710 4. Taylor, Fredric W. (2014). \"Venus: Atmosphere\". In Tilman, Spohn; Breuer, Doris; Johnson, T. V. (eds.). Encyclopedia of the Solar System (3rd ed.). Oxford: Elsevier Science & Technology. 5. Taylor, F.W. (2014). The Scientific Exploration of Venus. Cambridge University Press, New York. พฤศจกิ ายน 2563 28

สภากาแฟ ผศ. ดร.ปว๋ ย อุ่นใจ ภาควชิ าชวี วิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ผศ. ดร.ป๋วย​อนุ่ ใจ | http://www.ounjailab.com นกั วจิ ัยชวี ฟสิ ิกส​แ์ ละอาจารยป์ ระจ�ำ ภาควิชาชีววทิ ยา​ คณะวทิ ยาศาสตร์​ มหาวทิ ยาลัย​ มหดิ ล​ นักสอื่ สารวิทยาศาสตร​์ นักเขยี น​ ศลิ ปนิ ภาพสามมิต​ิ และผูป้ ระดษิ ฐ​ฟ์ อนต์ไทย​ มีความสนใจทงั้ ในดา้ นวทิ ยาศาสตร​เ์ ทคโนโลย​ี งานศิลปะและบทกวี แอดมินและผรู้ ว่ มก่อตง้ั ​เพจ​ FB: ToxicAnt​ เพราะทกุ สง่ิ ล้วนเปน็ พิษ โครงร่างไร้เซลล์ กับความลับ แห่งการงอกอวัยวะใหม่ เรื่องราวของเซลล์ต้นกำ�เนิดหรือสเต็มเซลล์เป็นเรื่องท่ีได้ยินกันมานานแล้ว ปัจจุบัน นักวิจัยสามารถแยกสเต็มเซลล์ออกมาจากส่ิงมีชีวิต หรือแม้แต่กระตุ้นให้เซลล์จาก หลายอวัยวะของร่างกายแปรเปลี่ยนตัวเองกลับไปเปน็ สเต็มเซลลก์ ็ยังได้ ยิง่ ไปกวา่ นนั้ เทคโนโลยใี นการเปลยี่ นสเตม็ เซลลไ์ ปเปน็ เซลลท์ ท่ี �ำ งานเฉพาะของอวยั วะตา่ งๆ เชน่ เซลล์ ประสาท เซลลก์ ล้ามเนื้อหัวใจ กไ็ ดร้ ับการพฒั นาและประสบความสำ�เร็จอย่างนา่ ตน่ื เต้น 29 พฤศจกิ ายน 2563

สภากาแฟ ที่เจง๋ ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ คอื นกั วจิ ยั สามารถ พลานาเรียท่ีแม้จะโดนสับเป็นช้ินจ๋ิวๆ ลักษณะและองค์ประกอบของโครงร่าง เล้ียงเซลล์ ในระบบเพาะเลี้ยง ก็ยงั สามารถงอกเปน็ ตัวใหม่ทสี่ มบูรณ์ได้ นอกเซลลก์ จ็ ะเปล่ยี นไปดว้ ย สามมิติ และกระตุ้นให้มันประกอบร่าง สิ่งที่นักวิจัยในด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู และในตอนน้ีนักวิจัยก็เข้าใจเพียง เป็นก้อนเน้ือเยื่อขนาดจิ๋วที่มีโครงสร้าง (regenerative medicine) สนใจจึงเป็น น้อยนิดว่ามีอะไรเกิดอะไรขึ้นบ้างกับ คลา้ ยๆ อวยั วะจรงิ ทเี่ ราเรยี กวา่ อวยั วะมนิ ิ การสร้างโครงร่างสามมิติที่เลียนแบบ โครงร่าง และองค์ประกอบของมันใน (miniorgan) หรือ ออร์แกนอยด์ โครงร่างทางกายภาพท่ีพบจริงๆ ภายใน แต่ละระยะการพัฒนาของสเต็มเซลล์ (organoid) ได้แล้วด้วย แต่โครงสร้าง เนื้อเยื่อให้เซลล์เข้าไปอยู่ และค่อยๆ ไปเปน็ อวยั วะทส่ี มบรู ณ์ ของอวัยวะมินิเหล่านี้ยังห่างไกลจาก เปลยี่ นและประกอบรา่ งขน้ึ มาเปน็ อวยั วะ อีกไอเดียหน่ึงจึงเกิดขึ้นมา ในช่วง ความซับซ้อนของโครงสร้างอวัยวะจริง ใหมต่ ามท่ีตอ้ งการ ปี พ.ศ. 2549 นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย อยมู่ ากนกั หลายเทคโนโลยีถูกเอามาใช้ เช่น นิโซตา ได้แยกเอาโครงร่างสามมิติ การควบคุมชะตาของสเต็มเซลล์ การเลยี้ งเซลลส์ ามมติ ใิ นสารเคลอื บเซลล์ ออกมาจากหัวใจหนู โดยการล้างเซลล์ และกำ�หนดให้มันเติบโตไปเป็นอวัยวะ จำ�ลอง และการพิมพ์โครงร่างอวัยวะ ทั้งหมดออกไปด้วยสารชะล้างอ่อนๆ ท่ีสมบูรณ์น้ันยังคงเป็นเร่ืองท่ีท้าทายใน ออกมาเลยเปน็ สามมิติ (mild detergent) ที่เรียกว่ากระบวนการ วงการอวยั วะทดแทน ทว่าท้ังสองเทคนิคท่ีถูกพัฒนาข้ึน ดเี ซลลลู าไรเซชัน (decellularization) ท้ังนี้เพราะปัจจัยสำ�คัญที่กำ�หนด ม า ยั ง ห่ า ง ไ ก ล กั บ ค ว า ม ซั บ ซ้ อ น ข อ ง ส่ิงที่ได้คืออวัยวะท่ีไร้ซึ่งเซลล์เหลือ ชะตาของสเตม็ เซลล์นัน้ ไมไ่ ดม้ เี พยี งแค่ โครงสร้างเนื้อเย่ือท่แี ทจ้ รงิ มากนกั ท่จี รงิ อยู่ แมจ้ ะคงรปู เหมอื นอวยั วะจรงิ ๆ กต็ าม สารเคมีหรือฮอร์โมนเท่านั้น แต่มีปัจจัย แล้วการพัฒนาอวัยวะในร่างกายนั้นสลับ แต่ก็มีความใสกว่ามาก เพราะเซลล์หาย ทางกายภาพ เช่น แรงผลักจากเซลล์ ซับซ้อนยิ่งกวา่ นัน้ มาก ไปหมดแล้ว รอบข้าง การยึดเกาะของเซลล์กับ ในชว่ งของการสรา้ งอวยั วะ สเตม็ เซลล์ และหลังจากที่พวกเขาลองปลูกถ่าย โครงร่างในเน้ือเย่ือ องค์ประกอบของ จะหลง่ั สารออกมาสอ่ื สารกบั เซลลร์ อบขา้ ง เซลล์หัวใจกลับเข้าไปแล้วเอาไปเลี้ยงต่อ สารเคลือบเซลล์ (extracellular matrix) และร่วมกันควบคุมและกำ�หนดสภาวะ ปรากฏว่าโครงร่างหัวใจหนูท่ีถูกปลูกถ่าย และอื่นๆ อีกมากมาย ซ่ึงสภาวะแวดล้อม แวดล้อมจุลภาคภายนอกเซลล์ด้วย เซลล์กลับเข้าไปแล้ว สามารถฟอร์มตัว รอบๆ เซลลพ์ วกน้ี เรยี กวา่ สภาวะแวดลอ้ ม นน่ั หมายความวา่ ในทกุ ระยะทสี่ เตม็ เซลล์ กลับมาเป็นหัวใจใหม่ท่ีเต้นได้ ภายใน จุลภาค (microenvironment) เปลี่ยนแปลงไปเพ่ือสร้างเป็นอวัยวะใหม่ ระยะเวลาเพียงแคไ่ มถ่ งึ สองสปั ดาห์ งานวิจัยที่ช่วยสร้างองค์ความรู้และ ความเข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่าง ภาพหัวใจหนูที่ผ่านกระบวนการดีเซลลูลาไรเซชัน ภาพ 1-3 จากซ้าย และในระหว่างการปลูกถ่ายเซลล์ สเต็มเซลล์กับสภาวะแวดล้อมจุลภาคน้ี กลับเข้าไป (ขวา) จ ะ เ ป็ น ก้ า ว ท่ี สำ � คั ญ ยิ่ ง ที่ อ า จ นำ � ไ ป สู่ (ภาพโดย Thomas Matthiesen, University of Minnesota) เทคโนโลยีในการสร้างอะไหล่อวัยวะ หรือการกระตุ้นให้ร่างกายของผู้ป่วยน้ัน สร้างและซ่อมอวัยวะใหม่ข้ึนมาได้เอง และรกั ษาอาการเจ็บปว่ ยได้ดว้ ยตัวเอง ! เหมือนกับซาลามานเดอร์ที่งอก หางออกมาใหม่ได้ หรือหนอนตัวแบน พฤศจกิ ายน 2563 30

สภากาแฟ เว็บไซต์บริษัท Miromatrix ที่เน้นพัฒนาเทคนิคดีเซลลูลาไรเซชันเพื่อการสร้างอวัยวะอะไหล่ แม้จะยังมีผิดจังหวะและเพ้ียนๆ อวัยวะสำ�หรับการปลูกถ่ายเซลล์น้ัน มัก สามารถจดจ�ำ โครงรา่ งในบรเิ วณนนั้ ไดอ้ กี ไปบ้าง แต่เท่านั้นก็น่ากร๊ีดแล้ว สำ�หรับ จะมปี ญั หาคอื เซลล์ท่ปี ลกู ถ่ายกลบั เข้าไป ตอ่ ไป จงึ ไมย่ อมเขา้ ไปอยแู่ ละประกอบตวั วศิ วกรเนื้อเยอื่ ไม่สามารถรู้ได้ว่ามันควรไปอยู่ตรงไหนใน เป็นเนือ้ เยือ่ ใหม่ เทคนคิ ดเี ซลลลู าไรเซชนั หรอื เทคนคิ โครงร่างไร้เซลล์ทเ่ี หลืออยู่ ในช่วงแรกท่ีผมกลับมาไทย และ การเตรียมอวัยวะไร้เซลล์ จึงเป็นเทรนด์ จากการสงั เกต ปญั หานมี้ กั จะเกดิ กบั เริ่มเป็นอาจารย์ท่ีภาควิชาชีววิทยา คณะ ใหม่อีกเทรนด์ในช่วงนั้นท่ีน่าสนใจ จน การดีเซลลูลาไรเซชันของเนื้อเย่ือของ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล ผมถกู เริ่มมีบริษัทเอกชนอย่าง มิโรเมตริกซ์ อวัยวะทง้ั กอ้ น แต่จะมปี ัญหานอ้ ยกวา่ กับ ขอใหส้ อนวิชาสตั ว์ไมม่ กี ระดูกสนั หลงั (Miromatrix) ที่กอ่ ตง้ั ขนึ้ มาเพ่ือออกแบบ เนอ้ื เยอื่ ทฝี่ านมาเปน็ ชนิ้ บางๆ เปน็ ไปไดว้ า่ ผมและคุณสมบัติ สิงหาแก้ว และพฒั นาเทคนคิ ดเี ซลลลู าไรเซชนั แบบ เวลาท่ีใช้ในการชะเซลล์โดยใชส้ ารชะลา้ ง นกั วทิ ยาศาสตรผ์ เู้ ชย่ี วชาญดา้ นสตั ววทิ ยา ใหมๆ่ และหาวธิ ใี นการปลกู ถา่ ยเซลลก์ ลบั นั้นอาจจะช้าไป เพราะกว่าสารชะล้างจะ ของภาควิชา จึงได้เริ่มเพาะเล้ียงหนอน เขา้ ไป ดว้ ยความหวงั ทว่ี า่ จะพฒั นาอะไหล่ ลา้ งเขา้ ไปถงึ ภายในของกอ้ นอวยั วะ เซลล์ ตัวแบนในแล็บ โดยได้ความอนุเคราะห์ อวัยวะท่ีสามารถนำ�มาใช้ปลูกถ่ายได้เลย ในเนื้อเยื่อข้างในอาจจะเริ่มตายและเร่ิม สายพนั ธพ์ุ ลานาเรยี มาจาก อ. ดร.วฒุ พิ งษ์ จากวธิ ีนี้ ปล่อยเอนไซม์ในการย่อยสลายทั้งสาร ทองใบ ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวทิ ยาศาสตร์ แตพ่ วกเขากย็ งั ประสบหลายอปุ สรรค เคลอื บเซลล์และโครงรา่ งต่างๆ ไปแลว้ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ท ร วิ โ ร ฒ น์ ทยี่ ังเขา้ มาทา้ ทาย เช่น การชะลา้ งเซลล์ ความเสียหายที่เกิดขึ้นอาจจะมาก ประสานมิตร โดยเทคนิคดีเซลลูลาไรเซชันเพ่ือเตรียม พอที่จะทำ�ให้เซลล์ท่ีปลูกถ่ายเข้าไป ไม่ ผมเร่ิมสนใจในด้านชีววิทยาของ 31 พฤศจิกายน 2563

สภากาแฟ ภาพพลานาเรียที่ถูกกระตุ้นให้มีสองหัวในห้องปฏิบัติการ (ภาพโดย สมบัติ สิงหาแก้ว) ภาพของเซลล์นีโอบลาสต์ที่ปลูกถ่ายกลับลงไปในโครงร่างไร้เซลล์ ของพลานาเรีย (ภาพโดย ดร.เอกสิทธิ์ สอนโพธิ์) หนอนตัวแบนพลานาเรีย เพราะจะตัดก่ีคร้ัง มันก็งอก อวัยวะออกมาใหม่ไดต้ ลอด และการงอกอวยั วะใหม่ของ พลานาเรียน้ัน อวัยวะที่ได้จะสมบูรณ์ เพอร์เฟกต์ ไม่ เหมอื นกบั หางจงิ้ จกทพ่ี องอกขนึ้ มาใหมแ่ ลว้ จะสน้ั ลง แถม ระยะเวลาท่ีใช้ในการงอกอวัยวะใหม่ของพลานาเรียนั้น เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ภายในระยะเวลาเพียงแค่สัปดาห์ เดียวกเ็ ร่มิ เหน็ การสรา้ งอวยั วะใหม่ท่ชี ัดเจนไดแ้ ล้ว พลานาเรียมีสเต็มเซลล์ที่ทรงพลังมาก เรียกว่า “นโี อบลาสต”์ (neoblast) และหากเราเขา้ ใจวา่ นโี อบลาสต์ ถูกกระตุ้นให้เปล่ียนแปลงไปเป็นอวัยวะใหม่ได้อย่างไร และอะไรเปน็ ตวั ก�ำ หนดการเปลยี่ นแปลงของนโี อบลาสต์ จนเปน็ อวยั วะใหมท่ สี่ มบรู ณ์ได้ เราอาจจะหาวธิ กี ระตนุ้ ให้ คนงอกอวัยวะใหม่ไดก้ ็เป็นได้ พฤศจิกายน 2563 32

ภาพแสดงแนวคิดในเรื่องกระบวนการดีเซลลูลาไรเซชันของพลานาเรีย (ภาพโดย ศิวัช เรืองเริงกุลฤทธิ์) พลานาเรีย ถือได้วา่ เป็นสัตว์ทดลอง ภาพของพลานาเรีย (ซ้าย) และโครงร่างไร้เซลล์ของพลานาเรีย (ขวา) (ภาพโดย ดร.เอกสิทธิ์ สอนโพธิ์) ท่ีแบบจำ�ลองในการศึกษาสเต็มเซลล์ท่ี แทบจะเพอร์เฟกต์ และแม้จะมีงานวิจัย แยกโครงร่างสามมิติของหนอนตัวแบน จากมหาวิทยาลัยกาคูชูอิน (Gakushuin มากมายศึกษาวิถีชีวเคมีต่างๆ ท่ีเก่ียวกับ ได้เป็นผลสำ�เร็จเป็นท่ีแรกในโลก และ University) ประเทศญปี่ นุ่ เราไดพ้ ฒั นาวธิ ี พัฒนาการของสเต็มเซลล์ในพลานาเรยี ด้วยความร่วมมือกับห้องปฏิบัติการของ การปลูกถ่ายเซลล์กลับเข้าไปในโครงร่าง แตน่ า่ แปลกใจทก่ี ารศกึ ษาสารเคลอื บ ศ.คิโยคาซู อะกาตะ (Kiyokazu Agata) ไดเ้ ป็นผลสำ�เรจ็ เปน็ ครง้ั แรกอีกดว้ ย เซลล์และโครงร่างสามมิติทางกายภาพท่ี ประกอบกนั เปน็ อวยั วะภายในตวั พลานาเรยี น้ันกลับมีน้อยยิ่งกว่าน้อย และท่ีสำ�คัญ ยังไม่มีใครสามารถทำ�การทดลองดีเซล- ลูลาไรเซชันในพลานาเรียได้ส�ำ เร็จ ซึ่ ง ถ้ า เ ร า ต้ อ ง ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร เปล่ียนแปลงสภาวะแวดล้อมจุลภาคใน พลานาเรีย เราต้องหาวิธีชะเซลล์และ แยกโครงรา่ งไรเ้ ซลลอ์ อกมาให้ไดส้ มบรู ณ์ ทส่ี ดุ กอ่ น ซง่ึ ทา้ ทายมาก เพราะโครงสรา้ ง เคลอื บเซลลข์ องพลานาเรยี นน้ั สญู สลาย ไปได้ง่ายมาก แต่ไม่มีอะไรเหนือความ พยายาม เพราะงานนี้พ่ึงขึ้นหิ้งไปในวารสาร Zoological Sciences เมอื่ เดอื นกรกฎาคม ทผ่ี า่ นมานเ้ี อง ทมี วจิ ยั ของเราสามารถพฒั นาวธิ กี าร 33 พฤศจกิ ายน 2563

และที่น่าตื่นเต้นท่ีสุดสำ�หรับผมก็คือ ไร้เซลล์ของพลานาเรียเพื่อท่ีจะสามารถ สร้างใหม่ของอวัยวะ ที่จะนำ�ไปสู่ความ นเี่ ปน็ อกี ตวั อยา่ งหนงึ่ ทแ่ี สดงถงึ ศกั ยภาพ นำ�ไปปลกู ถา่ ยสเตม็ เซลล์ตอ่ ได้ เข้าใจกลไกอวัยวะงอกใหม่ในพลานาเรีย ของนักศึกษาไทย เพราะงานวิจัยนี้เป็น เอก-ดร.เอกสทิ ธิ สอนโพธิ์ (อดตี นศ. ท่ีในวันหน่ึงอาจจะถูกเอาลงมาจากหิ้ง ผลงานวิจัยที่เกิดจากความร่วมมือกัน ปริญญาตรีและปริญญาเอกในห้องแล็บ และช่วยทำ�ให้ผู้ป่วยสามารถงอกแขน ของนกั ศกึ ษาลว้ นๆ โดยทผี่ มเปน็ เพยี งแค่ ผม) คอื ผู้ทร่ี ่วมบุกเบกิ โปรเจกต์และสาน ขาใหม่ได้เมื่อขาดไป หรือแม้แต่อาจจะ ที่ปรึกษาและผู้ ให้การสนับสนุนชักใย ตอ่ งานนอ้ งดรมี จนสามารถพฒั นาเทคนคิ พัฒนาความสามารถในการซ่อมแซมตัว อยเู่ บอ้ื งหลงั การดีเซลลูลาไรเซชันในพลานาเรียจน เองได้แบบวูล์ฟเวอรีน ในหนังเอกซ์เมน ดรีม-ชนิฎา วุฒิชัยรังสรรค์ (อดีต เป็นโพรโทคอลมาตรฐาน อีกท้ังยังเป็น ก็เป็นได้ ซึ่งอันนี้ก็ต้องรอดูและลุ้นกัน นศ. ปรญิ ญาตรใี นหอ้ งแลบ็ ผม ในขณะนนั้ ) ผู้พัฒนาวิธีการปลูกถ่ายเซลล์กลับเข้าไป ต่อไป คือผู้ริเร่ิมพัฒนาวิธีการแยกสารเคลือบ ในโครงร่างสามมติ อิ กี ดว้ ย แ ต่ ที่ ชั ด เ จ น แ ล้ ว ก็ คื อ ง า น วิ จั ย นี้ เซลลแ์ ละโครงรา่ งสามมติ ขิ องพลานาเรยี แน่นอนว่างานวิจัยหากนำ�ไปต่อยอด ถื อ เ ป็ น บ ท พิ สู จ น์ ท่ี แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ออกมาได้เป็นผลส�ำ เรจ็ ต่ อ ไ ป อ า จ จ ะ เ ปิ ด โ ล ก ใ ห ม่ ใ น ว ง ก า ร ความสามารถของนักศึกษาไทย ว่ามี อุ๋งอิ๋ง-อัญชุลีรัตน์ มาลีหวล (อดีต เวชศาสตร์ฟื้นฟู ที่จะทำ�ให้เราสามารถ ความสามารถผลักดันงานวิจัยได้ไม่แพ้ นศ. ปรญิ ญาตรอี กี คนหนงึ่ ในหอ้ งแลบผม เขา้ ใจบทบาทของสภาวะแวดลอ้ มจลุ ภาค ชนชาติไหนอย่างแน่นอน หากได้รับ ปัจจุบันกำ�ลังศึกษาในระดับปริญญาโท) ท่ีมีต่อสเต็มเซลล์ และการเปล่ียนแปลง การสนบั สนนุ ทีเ่ หมาะสม ! คือผู้ท่ีพัฒนาวิธีการฟอกฆ่าเชื้อโครงร่าง ตา่ งๆ ในระหวา่ งกระบวนการซอ่ มแซมและ เทศกาลภาพยนต ดูรายละเอียดเพม� เติมไดทŒ ่ี วท� ยาศาสตรเพอ�่ การเรย� นรŒู sciencefilmfestival.org คร�งั ท่ี 16 16 - 27 พฤศจ�กายน 2563 (ยกเวŒนวันหยุดราชการ) ณ สาํ นักงานพฒั นาว�ทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี ห‹งชาติ (สวทช.) หŒอง CO-110 (Theater) อาคารสาํ นกั งานกลาง เวลา 12:00 - 13:00 น. สอบถามรายละเอียดเพ�มเตมิ ไดทŒ ่ี 0 2564 7000 ต‹อ 1177, 1179 www.nstda.or.th/sci2pub พฤศจกิ ายน 2563 34

หสอ้ ตัไงทวภยป์ าา่พ ประทีป ดว้ งแค คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ กนิ แมลงอกเหลอื ง Mixornis gularis กนิ แมลงอกเหลอื งเปน็ นกทม่ี ขี นาดเลก็ มาก กระหมอ่ มสนี �ำ้ ตาลแดง ดา้ นลา่ งล�ำ ตวั สเี หลอื งซดี มลี ายขดี สดี �ำ พบไดห้ ลายพน้ื ท่ี เชน่ ปา่ เบญจพรรณ ปา่ ดงดบิ แลง้ ปา่ ดงดบิ ชน้ื ปา่ ดงดบิ เขา ปา่ รนุ่ ทงุ่ โลง่ ผสมพนั ธใ์ุ นชว่ งเดอื นเมษายนถงึ มถิ นุ ายน ท�ำ รงั เปน็ รปู ทรงกลม 35 พฤศจกิ ายน 2563

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ สาระวทิ ย์ ในศิลป์ 13 วรศิ า ใจดี (ไอซ)ี เดก็ สาย(พันธ์ุ)วทิ ยส์ านศลิ ป์ ชอบเรยี นคณติ ศาสตร์และฟิสิกส์ สนใจเรือ่ งเกย่ี วกับอวกาศ และสัตวเ์ ล้ยี งตวั จิ๋ว เวลาว่างชอบทำ�งานศิลปะ กำ�ลังคน้ หาสูตรผสมท่ลี งตัวระหวา่ งวทิ ยก์ บั ศิลป์ Facebook : I-see Warisa Jaidee ทอ่ งอวกาศกบั กลอ้ งโทรทรรศนแ์ บบโรโบตกิ ตอนที่ 2 ตอ่ จากฉบบั ทแี่ ลว้ ทฉ่ี นั ไดเ้ ลา่ วธิ กี ารสมคั ร เข้าใช้งานกล้องโทรทรรศน์แบบโรโบติก 2 ตัวในโครงการ Faulkes telescope ฉบับน้ีฉันจะเล่าถึงกล้องโทรทรรศน์แบบ เดียวกันน้ีอีกตัวหน่ึง กล้องตัวน้ีเปิด ให้คนท่ัวไปเข้าใช้เพื่อการศึกษาได้โดย ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่จะใช้ได้แค่แบบ ออฟไลน์เท่านั้น หรือใช้เป็นการส่งคำ�ขอ ถ่ายวัตถุที่ต้องการไปยังระบบของกล้อง เพ่ือรอรับภาพกลับมา แทนที่จะเข้าไป ควบคุมและจัดแจงถ่ายภาพเสียเอง น่ัน คอื กล้องโทรทรรศน์ Liverpool Tele- scope (LT) ตั้งอยู่ที่ Roque de los Muchachos Observatory ท่ี Canary Island ประเทศสเปน โดยทก่ี ลอ้ งตวั นอี้ ยู่ ภายใต้การจัดการของ The National Schools’ Observatory (NSO) พฤศจิกายน 2563 36

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ภาพ Liverpool Telescope ที่ Roque de los Muchachos Observatory, Canary Island ประเทศสเปน ขอบคุณภาพจาก: https://www.schoolsobservatory.org/gallery/lt การใช้งานสะดวกและง่ายตรง นอกจากน้ีเรายังสามารถขอใช้ภาพ กนั เยอะ ใครอยากทดลองใชก้ อ็ ยา่ ลมื เตรยี ม ที่เราไม่ต้องเข้าไปควบคุม ข้อมูลท่ีถูกรวบรวมไว้แล้วในคลังภาพ วางแผนลว่ งหน้ากันไว้ก่อน ตัวกล้องโดยตรง แต่ระบบจะบันทึกคำ�ขอ (Achieve of Observations) ได้เชน่ กนั โดย ส่วนในกรณีที่เราต้องการภาพถ่าย ของเรา และจะทยอยถ่ายภาพส่งมาให้ผู้ขอ ผู้ที่สนใจสามารถลงทะเบียนสมัครเป็น วัตถุบนท้องฟ้าในช่วงเวลาที่ในอดีตเคยมีผู้ ตามลำ�ดับคำ�ขอที่มีอยู่ การใช้งานแบบนี้จึง สมาชกิ ได้ทเี่ วบ็ ไซต์ของ National Schools’ รอ้ งขอ และได้มกี ารถ่ายภาพนั้นๆ และเกบ็ ซับซ้อนน้อยกว่าแบบเรียลไทม์ เนื่องจาก Observatory (NSO) https://www.school- บันทึกไว้แล้ว เราสามารถเข้าไปเรียกดูภาพ เราไม่ต้องทำ�การตั้งค่าหรือกำ�หนดตำ�แหน่ง sobservatory.org และท่องจักรวาลได้ จากฐานข้อมูลท่ีมีอยู่แล้วได้ท่ี Archive of เอง ภาพท่ีไดม้ าจะถกู ถา่ ยดว้ ยการตงั้ คา่ ของ ผ่านฟังก์ชัน Go Observing ที่ประกอบ Observations โดยใชก้ ารสบื คน้ ตามชอื่ เรยี ก กล้องที่คำ�นวณมาแล้วเพื่อความเหมาะสม ไปด้วยรายช่ือวัตถุท่ีเราสามารถสำ�รวจได้ วัตถุบนท้องฟ้า หรือชื่อของผู้ใช้ที่ร้องขอ ของวัตถุท่ีเราต้องการ ตั้งแต่ระยะเวลา ตามประเภทต่างๆ ตั้งแต่พื้นผิวดวงจันทร์ ให้ถ่ายภาพนั้นๆ รวมท้ังยังสามารถระบุช่วง ชตั เตอรแ์ ละฟิลเตอร์ท่ีใช้ ทำ�ให้ภาพออกมา ดาวเคราะห์ ไปจนถึงเนบิวลาและกาแล็กซี เวลาของภาพทถี่ ูกบนั ทกึ ไว้ไดด้ ว้ ย มีความชัดพอสมควร ภาพที่ได้จะเป็นภาพ ท่ีห่างไกลออกไป พร้อมระบุช่วงเวลาที่ แบบขาวดำ� เหมาะสมทีส่ ามารถมองเหน็ วัตถนุ นั้ ๆ ได้ชัด เราสามารถส�ำ รวจ ในสว่ นของการแต่งภาพน้นั จะเปน็ เรื่อง ประกอบการพิจารณาว่าเราควรจะเลือกดู ไดต้ ามประเภทต่างๆ ของการปรับความละเอียด ขยายขนาด อะไรเพื่อวัตถุประสงค์ใด ภาพตามคำ�ขอ ตง้ั แตพ่ ้ืนผวิ ดวงจนั ทร์ ความสวา่ ง และเตมิ สสี งั เคราะหห์ รอื ฟลิ เตอร์ ของเราทถี่ า่ ยส�ำ เรจ็ แลว้ จะถกู สง่ กลบั มาเกบ็ ดาวเคราะห์ ไปจนถึง เพ่ิมเติมเข้าไป เพ่ือให้ได้ภาพที่สวยงาม รวบรวมไว้ใน My Observations ท้ังน้ีเรา เนบิวลาและกาแลก็ ซที ่ี สอดคลอ้ งตรงตามวตั ถปุ ระสงคท์ จี่ ะน�ำ ไปใช้ สามารถเข้าสู่ระบบดึงภาพจากฐานข้อมูลที่ งานนนั่ เอง และสามารถท�ำ ได้โดยใชฟ้ งั กช์ นั เก็บไว้ หรือส่งคำ�ขอให้ถ่ายภาพใหม่ได้อยู่ ห่างไกลออกไป ในซอฟตแ์ วร์ LTImage ซงึ่ เราสามารถเขา้ ไป เรื่อยๆ อย่างไม่จำ�กัด เพียงแต่อาจต้องใช้ ดาวน์โหลดซอฟต์แวร์น้ีมาใช้งานเพื่อการ ระยะเวลารอภาพถา่ ยทร่ี อ้ งขอนานสกั หนอ่ ย ศึกษาได้ฟรที ่ี https://www.schoolsobser- โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงท่ีมีปรากฏการณ์ vatory.org/obs/software/ltimage ธรรมชาติทีส่ ำ�คัญๆ ท่มี คี นลงจองการใชง้ าน 37 พฤศจกิ ายน 2563

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ภาพแสดงรายการที่ฉันส่งคำ�ขอไปยังกล้องโทรทรรศน์ LT เพื่อให้ถ่ายภาพ ภาพ แสดงตัวอย่างหน้าแสดงผลของของภาพที่กล้องถ่ายและส่ง ตามที่ฉันกำ�หนดเป้าหมายให้ กลับมาให้ฉันเรียบร้อยแล้วที่ My Observation จะเห็นว่ามีระบุชื่อวัตถุ บนท้องฟ้าที่ต้องการถ่ายภาพ เวลาที่ทำ�การถ่ายภาพ ชื่อกล้องที่ใช้พร้อม ฟิลเตอร์ที่ใช้ และชื่อของผู้ส่งคำ�ร้องขอภาพนี้ด้วย ภาพดา้ นล่างนี้เป็นภาพทฉ่ี นั ส่งค�ำ ขอไปยังกล้องโทรทรรศน์ LT และฉนั ได้ใชซ้ อฟตแ์ วร์ LTimage ปรบั ความคมชัดใหภ้ าพชัดเจนแล้ว ภาพ เหลา่ นม้ี เี รอ่ื งราวทนี่ า่ สนใจไมแ่ พร้ ปู รา่ งหนา้ ตาทส่ี วยงามของพวกมนั เลย นอกจากชอื่ ทางวทิ ยาศาสตรท์ ถี่ กู ตงั้ ตามการจดั กลมุ่ แลว้ ยงั มชี อ่ื ทต่ี ง้ั ตาม รปู รา่ งของมนั ตามจนิ ตนาการของคนที่พบเห็นมันอีกด้วย ไปดกู นั เลย! ภาพ Messier 1 ถ่ายด้วยกล้องโทรทรรศน์ LT จะได้ ไฟล์ภาพขาวดำ�ที่ค่อนข้างมืดสนิท เราต้องใช้คำ�สั่ง Display Scaling ในซอฟต์แวร์ LTimage ปรับความคมชัดของภาพจนมองเห็นเป็นรูปร่างที่ชัดเจน Messier 1 หรืออีกชื่อคือเนบิวลาปู (Crab Nebula) เป็นซากของดาวฤกษ์ที่ระเบิดตัวอย่างรุนแรง โดยมีแก่นเป็นดาวนิวตรอนชื่อพัลซาร์ปู (Crab Pulsar) ที่น่าสนใจคือเนบิวลานี้นับเป็นเป็นวัตถุแรกที่เราสามารถระบุได้จากการระเบิดซูเปอร์โนวา และยังเป็นวัตถุทางดาราศาสตร์ที่ให้กำ�เนิดรังสีแกมมาที่รุนแรงที่สุดเท่า ที่เคยเจอ (จากข้อมูลการสำ�รวจทางดาราศาสตร์ล่าสุดในปี 2562 มาจาก https://www.nasa.gov/feature/goddard/2017/messier-1-the-crab-nebula) พฤศจกิ ายน 2563 38

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ตัวอย่างภาพที่ฉันเรียกดูจากฐานข้อมูลที่มีอยู่แล้วใน Archive of Observations และ ภาพตัวอย่างหน้าเพจที่แสดง Observing Conditions ฉันปรับความคมชัดให้ภาพด้วยซอฟต์แวร์ LTimage ซ้าย : Lyra constellation หรือเนบิวลาวงแหวนในกลุ่มดาวพิณ เกิดขึ้นในขั้นตอน สุดท้ายของวงจรชีวิตดาวฤกษ์มวลต่ำ� ตรงกลางที่เป็นรูเหมือนวงแหวนคือเกิดจาก แรงตอนที่ดาวนั้นยุบตัวกลายเป็นดาวแคระขาว ขวา : Cygnus constellation หรือเนบิวลาเสี้ยวจันทร์ ในกลุ่มดาวหงส์ รูปร่าง ที่แหว่งไปเหมือนเสี้ยวของดวงจันทร์นั้นเกิดขึ้นจากการตีกันของลมสุริยะเมื่อดาว Wolf-Rayet 136 (WR 136) ปลอ่ ยออกมาตอนมนั กลายเป็นดาวยกั ษแ์ ดง (Red Giant) ข้อมูลจาก NASA นอกจากนเี้ รายังสามารถเลอื กดสู ถานะของกล้อง Liverpool Telescope ใน ขณะท่ที �ำ การถ่ายภาพทเ่ี ราร้องขอไดด้ ว้ ยการกดเลอื กที่ Observing Conditions โดยจะมขี อ้ มลู บอกถงึ เวลา ณ ขณะนนั้ สภาพอากาศ เฟสของดวงจนั ทร์ ต�ำ แหนง่ ของวัตถุโดยใชด้ าวบนทอ้ งฟ้าเป็นจดุ อา้ งองิ และวดิ โี อถา่ ยทอดสดเรยี ลไทมข์ อง กลอ้ งท่ีก�ำ ลังทำ�งานขณะถา่ ยภาพนน้ั อยู่ ทจี่ รงิ ยงั มอี กี เรอ่ื งทฉี่ นั อยากเลา่ ใหฟ้ งั เปน็ เรอื่ งเกยี่ วกบั การประกวด Image of The Month ของ NSO เราสามารถสง่ ภาพทปี่ รบั แตง่ ดว้ ย LTImage ไปประกวด ได้ดว้ ยนะ ตอ้ งท�ำ อะไร อยา่ งไรบ้าง เด๋ียวฉบับหนา้ มาเลา่ ให้ฟงั ขอบคณุ ข้อมูลจาก พฤศจกิ ายน 2563 https://www.schoolsobservatory.org https://www.nasa.gov/ ขอบคุณแหลง่ เรยี นรเู้ พมิ่ เติมสอนวธิ ีใช้งานซอฟตแ์ วร์ LTImage ใช้แตง่ รปู ถา่ ยทางดาราศาสตร์ https://youtu.be/WMmx2nHY-Q4 39

เปดิ โลก นทิ านดาว พงศธร กิจเวช (อัฐ) Facebook: คนดูดาว stargazer กลมุ่ ดาวแมงปอ่ ง ท่ีมาของเดอื นพฤศจกิ ายน กาลค ร้ั ง ห นึ่ ง น า น ม า แ ล้ ว โอไรออน ได้ขอร้องซูส (Zeus) ราชาแห่ง พฤศจิกายน คำ�ว่า “พฤศจิกายน” มาจาก ในดินแดนกรีกโบราณ มี ทวยเทพ ให้นำ�ร่างของโอไรออนไปประดับ ค�ำ ว่า “พฤศจิก” แปลวา่ แมงป่อง และคำ�ว่า นายพรานชอ่ื โอไรออน (Orion) เป็นดาวบนฟากฟ้า “อายน”แปลวา่ การมาถงึ ดงั นน้ั “พฤศจกิ ายน” วนั หนง่ึ โอไรออนพดู ขนึ้ วา่ “เราจะฆา่ สตั ว์ ซสู ไดน้ �ำ ทง้ั รา่ งของโอไรออนและแมงปอ่ ง จึงแปลว่าการมาถึงแมงป่อง หมายถึง ให้หมดทั้งโลก” ไปเปน็ กลมุ่ ดาว 2 กลมุ่ คอื กลมุ่ ดาวนายพราน ดวงอาทิตย์เดินทางมาถึงกลุ่มดาวแมงป่อง เม่ือไกอา (Gaia) เทพีแห่งโลก ผู้เป็น (Orion) และกลุม่ ดาวแมงปอ่ ง (Scorpius) หรือราศีพฤศจิก (หรอื ใชว้ ่า ราศีพจิ ิก) มารดาแห่งสรรพชีวิต ได้ยินคำ�พูดของ โดยให้กลุ่มดาวท้ังสองอยู่คนละฝ่ัง กลุ่มดาวแมงป่องเป็นกลุ่มดาวเก่าแก่ โอไรออนก็โกรธมาก จึงส่งแมงป่องมาต่อย ตรงข้ามกัน ถ้าเห็นกลุ่มดาวนายพราน โบราณ ตั้งแต่สมัยบาบิลอน (Babylon) โอไรออนจนเสียชวี ติ จะไม่เหน็ กลุม่ ดาวแมงปอ่ ง ถ้าเหน็ กลุ่มดาว ประมาณ 3,000 ปีก่อน ตอนน้ันเม่ือเข้า อาร์เทมิส (Artemis) เทพีแห่งดวง แมงป่องกจ็ ะไม่เห็นกลมุ่ ดาวนายพราน เดือนพฤศจิกายนดวงอาทิตย์จะเข้าไปอยู่ใน จนั ทรแ์ ละการลา่ สตั ว์ ผเู้ ปน็ เพอื่ นลา่ สตั วก์ บั กลุ่มดาวแมงป่องเป็นที่มาของเดือน กลุ่มดาวแมงป่อง (จะมองไม่เห็นกลุ่มดาว พฤศจิกายน 2563 40

เปดิ โลก นทิ านดาว ภาพกระต่ายยิงดวงอาทิตย์ ภาพถ่ายกลุ่มดาวแมงป่อง ดาวที่สว่างที่สุดคือดาวแอนแทรีส ซ้ายมือคือ ทางช้างเผือก ถ่ายภาพโดย Akira Fuji ที่มาภาพ https://www.spacetelescope.org/images/heic0211e/ แมงปอ่ ง เพราะดวงอาทิตย์อยู่ตรงนนั้ ) ภาพแผนที่กลุ่มดาวแมงป่อง เม่ือเวลาผ่านไปดวงอาทิตย์ก็เขยิบห่างออกไปหน่อย ปัจจุบัน ที่มาภาพ สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล (International Astronomical Union วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคันชั่ง ย่อว่า IAU) https://www.iau.org/public/themes/constellations/ (Libra) ทอี่ ยตู่ ดิ กนั (แตจ่ ะสามารถมองเหน็ กลมุ่ ดาวแมงปอ่ งตอนหวั ค�ำ่ หลังดวงอาทิตย์ตก) ต้องรอจนถึงวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ดวงอาทิตย์จงึ จะเขา้ ไปในเขตกลุ่มดาวแมงปอ่ ง กลมุ่ ดาวแมงป่องประกอบด้วยดาวสวา่ งหลายดวง ทำ�ใหส้ ามารถ เหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่ แม้ในเมอื งใหญอ่ ยา่ งกรงุ เทพฯ ดาวทส่ี วา่ งทส่ี ดุ คอื 41 พฤศจิกายน 2563

เปดิ โลก นทิ านดาว ภาพกลุ่มดาวแมงป่อง วันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ตอนดวงอาทิตย์ตก ภาพท่าโยคะที่เรียกว่า ท่าแมงป่อง ที่มาภาพ แอป SkyPortal (scorpion pose) หรือ พิจิกอาสนะ (Vrischikasana) ภาพแมงป่องช้าง (Heterometrus ที่มาภาพ https://www.yogaclassplan. laoticus) เป็นแมงป่องที่พบได้ทุก com/yoga-pose/scorpion-pose/ ภาคในประเทศไทย (ภาพนี้ถ่ายที่ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่) และหลาย ดาวแอนแทรีส (Antares) มาจากคำ�ว่า ประเทศในเอเชีย มีขนาดใหญ่ อาจ ant แปลว่า คูแ่ ขง่ กับค�ำ วา่ Ares (แอรีส) ยาวได้ถึง 12 เซนติเมตร สีดำ�หรือ หมายถึง ดาวอังคาร ดังนั้นแอนแทรีส น้ำ�ตาลเข้ม ก้ามใหญ่ มีนิสัยดุ กิน จงึ แปลวา่ คแู่ ขง่ ของดาวองั คาร เนอื่ งจาก แมลงเป็นอาหาร รวมทั้งกินพวก มีสีแดงเหมือนดาวอังคาร และมีความ เดียวกันด้วย จะใช้ก้ามจับเหยื่อ สวา่ งใกลเ้ คยี งกนั (ดาวแอนแทรสี มคี วาม แล้วใช้เหล็กในต่อยอย่างรวดเร็ว สวา่ งเฉลย่ี ประมาณ+1) คนไทยเรยี กดาว ซ้ำ�หลายๆ ครั้ง จนเหยื่อตาย พิษ แอนแทรีสว่า ดาวปาริชาต (ต้นไม้บน แมงป่องช้างไม่สามารถทำ�ให้มนุษย์ สวรรค์ในสวนของพระอินทร์) เสียชีวิตได้ ถ้าโดนแมงป่องต่อย ก ลุ่ ม ด า ว แ ม ง ป่ อ ง อ ยู่ ใ ก ล้ กั บ จุ ด ให้ทำ�ความสะอาดแผล ใช้น้ำ�แข็ง ศูนย์กลางทางช้างเผือก (Milky Way) ประคบ จะหายเองภายใน 1-2 วัน ถ้าออกไปดูในที่มืดสนิท ไกลจากเมือง ถ้ามีอาการปวดแผลมาก ไข้สูง ไมม่ แี สงไฟหรอื มลพษิ แสงรบกวน จะเหน็ ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว ควรรีบไป กลุ่มดาวแมงป่องและทางช้างเผือก พบแพทย์โดยด่วน สวยงาม ที่มาภาพ Wikipedia https:// en.wikipedia.org/wiki/Het- erometrus_laoticus พฤศจกิ ายน 2563 42

มนั อเอ๋ ปน็ อยา่ งนน้ี เ่ี อง by อาจารย์เจษฎ์ https://www.facebook.com/OhISeebyAjarnJess/ \"จุดเหลือง ใตห้ นงั หมกึ ยักษ์ ไมใ่ ชพ่ ยาธิใบไม้ แต่เป็น อวยั วะเรืองแสง\" มีแม่บ้านท่านหน่ึงโพสต์เฟซบุ๊กในกลุ่มทำ�อาหารว่า \"มีใครรู้บ้างว่ามันคืออะไร พฤศจกิ ายน 2563 สเี หลอื งๆ รีๆ อยู่ใตห้ นงั ของปลาหมกึ ยักษ์ พอลอกเอาออกจะเปน็ รๆู เหมอื น มนั กนิ เนื้อไปแลว้ ก่อนทยี่ งั ไมไ่ ดล้ อกหนงั ออก มันเรอื งแสงสีส้มๆ\" 43

มนั อเอ๋ ปน็ อยา่ งนน้ี เ่ี อง ก็มคี นมาช่วยกนั คดิ ไป เดาไปตา่ งๆ นานา จนมคี นเสนอว่า ในปลา หรอื yellow grub นน้ั แมว้ า่ จะดเู ปน็ เม็ดสีเหลืองๆ อยู่ท่ีใต้ เป็นพยาธิใบไม้ในปลา แลว้ สื่อบางส�ำ นกั ก็รีบเอาไปขยายอยา่ ง เกล็ดของปลา แต่มันเป็นปรสิตของปลานำ้�จืด ไม่ใช่ของหมึกยักษ์ รวดเร็วทำ�ให้คนตกใจกันใหญ่... ไม่ใช่นะครับ มันไม่ใช่พยาธิ ทอ่ี ยูใ่ นทะเล จงึ ตัดท้งิ ไดเ้ ลย (ดู https://en.m.wikipedia.org/wiki/ อยา่ งทเี่ ป็นขา่ วกนั !! Clinostomum_marginatum) 1. บางคนเขา้ ใจวา่ เจา้ ของรปู ภาพนเี้ อาขนมถวั่ แปบ มาแปะบน 3. ผมไดป้ รกึ ษากบั ศ. ดร.สมศกั ด์ิ ปญั หา ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นหมกึ และหอย ของทางจุฬาฯ ว่า เม็ดสีเหลืองๆ นี้จะเป็นปรสิตชนิดไหนของหมึก เน้อื หมกึ ยกั ษ์ เพ่อื ป่นั กระแสแกล้งคน แตเ่ จ้าตวั เขายนื ยัน ยักษห์ รอื เปลา่ ? อาจารยก์ บ็ อกวา่ ไมน่ า่ ใช่ ปรสติ ของหมกึ มกั จะอยู่ วา่ เจอมาจรงิ ๆ แลว้ กเ็ คยมรี ายงานลกั ษณะของจดุ สเี หลอื ง ในบรเิ วณช่องทอ้ ง (ช่อง coelom) ของมนั ไมใ่ ชท่ ่ีใต้ผิวหนังแบบนี้ ท่ีอยู่ใต้หนังหมึกยักษ์น้ีมาก่อนหลายครั้งแล้ว ท้ังในไทย และถ้าคิดว่าเป็นปรสิตชนิด crustacean (พวดเห็บทะเล) มาเกาะ (เช่น https://m.pantip.com/topic/39872419?) และ ท่ีหนัง จากรปู ก็ไม่ไดเ้ ห็นวา่ จะมรี ะยางค์ยนื่ ออกมา แถมมันเรียงเปน็ ต่างประเทศ (เช่น https://sdfish.com/forums/t/yelow- ระเบียบมาก จงึ น่าจะเป็นช้ินสว่ นเน้อื เยอื่ ของหมึกเองมากกว่า spots-in-squid.38954/) โดยเฉพาะของต่างประเทศนั้น 4. ทอี่ าจารยบ์ อกวา่ เปน็ ไปไดม้ ากกวา่ กค็ อื มนั อาจจะเปน็ อวยั วะส�ำ หรบั มักจะบอกว่ามาจากหมึกฮัมโบลด์ ท่ีจับในประเทศแถบ การเรอื งแสง \"โฟโตฟอร์ (photophore)\" ของหมกึ ยกั ษ์ ปกตพิ วกหมกึ อเมรกิ าใต้ แต่ไมม่ คี ำ�อธิบายชดั เจนวา่ คืออะไร ในนำ้�ลึกจะมีการเปลี่ยนแปลงสีตัวและสร้างแสงขึ้นได้ด้วยตนเอง 2. ทบ่ี างคนไปคดิ วา่ เปน็ Clinostomum marginatum พยาธใิ บไม้ โดยใช้โครมาโตฟอร์ (chromatophore) ท่เี ปน็ ถุงทมี่ ีเมด็ สี ซงึ่ อย่บู น ผิวหนังด้านนอก ควบคุมโดยระบบประสาทให้ถุงหดหรือขยายอย่าง รวดเรว็ มากระดบั นาโนวนิ าที แตใ่ นบรเิ วณทน่ี �ำ้ ลกึ มดื มดิ ถงุ โครมาโตฟอร์ หดขยายได้ไม่ดีพอ จึงมีอีกอวัยวะคือ โฟโตฟอร์ (photophores) ทำ�หน้าที่เป็นอวัยวะเรืองแสง ที่ใช้ปฏิกิริยาเคมีแบบลูมิเนสเซนส์ luminescence 5. ความเหน็ น้สี อดคล้องกบั ทเ่ี คยมบี ทความในวารสารการประมง พ.ศ. 2562 เร่อื ง \"อวยั วะสรา้ งแสงเรอื งในปลาหมึก (Bioluminescence in Cephalopods)\" ของ สนธยา ผุยนอ้ ย และคณะ จากภาควชิ า วิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ท่ี อธบิ ายถึง อวัยวะสร้างแสงเรือง (photophores หรอื light organ) นี้ ท่ีพบแทรกอย่ใู นเน้อื หมึกน�ำ เข้าจากตา่ งประเทศ มีลกั ษณะเปน็ ก้อน สีครีมออกขาว รูปทรงกลมและทรงรี ขนาดเท่าเมล็ดข้าวสาร จึง ทำ�ให้คนเข้าใจผิดว่าเป็นปรสิตที่ฝังตัวอยู่ในเน้ือเย่ือของหมึก แต่ เมอื่ สอ่ งดดู ว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศนก์ �ำ ลงั ขยายต�ำ่ จะเหน็ เปน็ กอ้ นทบึ แสง และเม่ือกระตุ้นด้วยสารเคมีบางชนิดจะทำ�ให้เกิดแสงเรืองสีต่างๆ เชน่ ขาว เขียว ฟ้า ชมพู หรือม่วง จากปฏกิ ริ ยิ าออกซเิ ดชันท่มี ีเซลล์ โฟโตไซต์ (photocyte) เป็นตัวสร้าง (ดู https://www4.fisheries. go.th/.../202001211609001_pic.pdf) สรุปคือ เวลาซื้อเนือ้ หมึกยักษจ์ ากตามห้าง ซงึ่ เดี๋ยวนม้ี ักจะเปน็ เน้ือ ของหมึกจากต่างประเทศ แล้วเจอจุดหรือก้อนเหลืองแบบน้ีแทรกอยู่ ใต้ช้ันหนังแข็งด้านนอกของมัน ก็อย่าตกใจแตกตื่นกันนะครับ เป็นแค่ อวัยวะท่ีใช้ในการเรืองแสงของมัน สามารถกำ�จัดออกแล้วเอาเนื้อมา บรโิ ภคได้ตามปกติครบั พฤศจิกายน 2563 44

เบอ้ื งหลงั ดร.ชวลิต วิทยานนท์ การคน้ พบ สง่ิ มชี วี ติ ชนดิ ใหม่ ของโลก 35 ชนดิ ชนิดท่ี 11-18 ปลาคา้ งคาวคุณสบื และผองเพ่ือน ผู้เขียนสำ�รวจพบปลาค้างคาวชนิดใหม่ ซ่ึงพบเฉพาะลำ�ธารในระดับสูงกว่านำ้�ทะเล 1000 เมตร ข้ึนไปในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าดอยเชียงดาว และได้ตั้งชื่อว่า ปลาค้างคาวคุณสืบ Oreoglanis nakasathiani Vidthayanon, Saenjundaeng & Ng, 2009 เพอ่ื เปน็ เกยี รตแิ กค่ ณุ สบื นาคะเสถยี ร ผู้สละเวลาแรงใจแรงกายทั้งชีวิตเพ่ือการอนุรักษ์สัตว์ป่าและผืนป่าตะวันตกจนได้เป็นพื้นท่ีมรดกโลก ทางธรรมชาติ ซง่ึ นอกจากปลาคา้ งคาวคณุ สบื แลว้ ยงั คน้ พบปลาคา้ งคาวชนดิ ใหมข่ องโลกอกี 7 ชนดิ ทเ่ี ปน็ ผองเพ่ือนอีกด้วย ปลาค้างคาวคุณสืบ Oreoglanis nakasathiani จากดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ปลาคา้ งคาวศิลาเพชร Oreoglanis vicinus จากน�ำ้ ตกศลิ าเพชร จงั หวัดน่าน 45 พฤศจกิ ายน 2563

เบอ้ื งหลงั การคน้ พบ สง่ิ มชี วี ติ ชนดิ ใหม่ ของโลก 35 ชนดิ ปลาค้างคาวทงุ่ ชา้ ง Oreoglanis tenuicauda จากทงุ่ ช้าง จังหวดั น่าน ปลาค้างคาวนำ�้ ยวม Oreoglanis heteropogon จากล�ำ น�้ำ แม่ยวมนอ้ ย จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน ปลาค้างคาวน้ำ�ปาย Oreoglanis laciniosus จากล่มุ น้�ำ ปาย จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ปลาคา้ งคาวอาจารย์สุรพล Oreoglanis sudarai จากหว้ ยแม่ปิงน้อย จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน ปลาคา้ งคาวหางสน้ั Oreoglanis colurus จากน�ำ้ ตกในคอยภูคา จงั หวดั นา่ น ปลาค้างคาวดอยตงุ Oreoglanis suraswadii จากดอยตงุ จงั หวดั เชยี งราย เครดติ ภาพ : นณณ์ ผาณิตวงศ์\" พฤศจกิ ายน 2563 46

QSuciiz บ้านนักคิด ในทีส่ ุดเหมียวกร็ ูแ้ ล้ววา่ ท�ำ ไมเหมยี วถงึ เหน็ ปลาทองทอ่ี ยใู่ นถงุ ตวั ใหญก่ ว่าตอนท่อี ย่ใู นตู้ปลา คอื อย่างน้ีฮะ ถุงที่ใส่ปลามีผิวโค้ง ใส พอมีนำ้�อยู่ข้างในก็เลยทำ�ให้มันมีลักษณะเป็นเหมือนเลนส์นูนของ แว่นขยาย เมื่อแสงเดินทางผา่ นผวิ ท่ีโค้งนนู กจ็ ะเกิดการเลีย้ วเบนไปรวมกันท่ีจุดโฟกสั ถ้าระยะระหว่าง ปลากับจุดก่ึงกลางเลนส์ส้ันกว่าความยาวโฟกัส (ระยะห่างระหว่างจุดกึ่งกลางเลนส์กับจุดโฟกัส) ภาพท่เี ห็นจะมีลกั ษณะเหมือนเดมิ ทกุ ประการ แต่มขี นาดใหญข่ ึ้น เหมียวกเ็ ลยเห็นปลาในถงุ ตัวโตกว่าขนาดจริงฮะ ผไู้ ดร้ ับรางวัลประจ�ำ ฉบับที่ 91 รางวัลท่ี 1 หมอนรองคอยางพารา ได้แก ่ คณุ สรรพวีร์ ประสิทธิรัตน์ รางวลั ที่ 2 กิฟตเ์ ซตสมดุ โน้ตและดินสอ I love science ไดแ้ ก ่ ด.ญ.ปาณสิ รา ชุมวาส คุณวราภรณ์ แจ้งสุทธิวรวฒั น์ ด.ช.ภากร สลุ ญั ชปุ กร ฉบับน้ีเหมยี วอยากร้วู า่ ยงุ ชนดิ ใดเปน็ พาหะนำ�โรคตดิ เชอ้ื ไวรัสซิกา และ อาการของโรคมอี ะไรบ้างฮะ รางวัลประจำ�ฉบับท่ี 92 รางวลั ท่ี 1 กฟิ ต์เซตกระเปา๋ ชอปปงิ รางวัลท่ี 2 พวงกุญแจหมอ้ หอ้ ม และกระบอกนำ�้ NSTDA จำ�นวน 2 รางวลั จำ�นวน 1 รางวลั สง่ ค�ำ ตอบมารว่ มสนุกไดท้ ่ี หมดเขตสง่ ค�ำ ตอบ วนั ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 กองบรรณาธิการสาระวิทย์ ฝา่ ยสร้างสรรคส์ อื่ และผลิตภณั ฑ์ ค�ำ ตอบจะเฉลยพร้อมประกาศรายช่อื ผู้ไดร้ ับรางวัล สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ใน สาระวทิ ย์ ฉบับท่ี 93 111 อทุ ยานวทิ ยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหน่ึง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 ส�ำ หรับของรางวัล เราจะจดั ส่งไปให้ทางไปรษณีย์ หรือส่งทางโทรสารหมายเลข 0 2564 7016 หรอื ทาง e-mail ท่ี [email protected] อย่าลืมเขียนชอื่ ที่อยู่ มาด้วยนะฮะ 47 พฤศจิกายน 2563

นคกั �ำ วคทิ มย์ ศาสตราจารย์โยชโิ นริ โอสุมิ (9 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2488–ปจั จบุ ัน) กองบรรณาธิการ ศาสตราจารยโ์ ยชโิ นริ โอซูมิ จากสถาบันเทคโนโลยโี ตเกียว (Tokyo Institute of Technology) ไดร้ บั สาระวทิ ย์ รางวัลโนเบลสาขาสรีรวทิ ยาหรอื การแพทย์ (Nobel Prize in Physiology or Medicine) ประจ�ำ ปี ค.ศ. 2016 จากผลงานการคน้ พบกระบวนการกลนื กนิ ตัวเองของเซลล์ (autophagy) โดยหาก ภาพจาก Nobelprize.org กระบวนการกลืนกนิ ตวั เองนถ้ี ูกขัดขวางกจ็ ะเป็นสาเหตขุ องโรคพารก์ ินสันหรือโรคเบาหวานได้ กระบวนการออโตฟาก้ีคือกระบวนการทเ่ี ซลลก์ นิ บางสว่ นของตัวเองถูกค้นพบมานานนับ50ปีแลว้ แต่ งานวิจยั ในปีพ.ศ.2535ของโอสมุ เิ ป็นการปฏวิ ตั คิ วามเขา้ ใจในเรือ่ งนี้เขาศึกษากระบวนการออโตฟาก้ี ในยสี ตท์ ่ีมกี ารกลายพันธจุ์ ำ�นวนหลายพนั เซลล์ และคน้ พบยนี 15 ยีนทที่ ำ�ใหเ้ กดิ ออโตฟากี้ สง่ ผลให้ นักวทิ ยาศาสตรร์ ู้วิธีการระบยุ ีนท่ีเก่ยี วข้องกับออโตฟากี้ในสิง่ มชี ีวิตอนื่ ๆ ได้ ชวี ติ คอื สถานะสมดลุ ระหวา่ งการสงั เคราะห์ กบั การเสอ่ื มสลายของ โปรตนี ตา่ งๆ ใบสมัครสมาชกิ - โยชโิ นริ โอสมุ ิ - สามารถสมัครผา่ นช่องทางออนไลน์ไดท้ ี่ลงิ ก์ สทิ ธิพิเศษส�ำ หรบั สมาชิก https://forms.gle/jnj86w6J58Y9Nqqb8 - ได้รบั “นติ ยสารสาระวิทย์” e-magazine หรอื Scan QR Code รายเดือนอยา่ งตอ่ เนื่องทางอเี มล โดยไมเ่ สยี ค่าใช้จา่ ย - ซ้อื หนงั สือของ สวทช. ไดร้ บั สว่ นลด 20% ณ ศูนยห์ นังสือ สวทช. อุทยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย https://bookstore.nstda.or.th/ ตดิ ต่อกองบรรณาธิการสาระวทิ ย์ ไดท้ างอีเมล [email protected] ท่อี ยู่ ฝ่ายสรา้ งสรรคส์ ่ือและผลิตภัณฑ์ (MPC) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ 111 อุทยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนงึ่ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 สาระวทิ ย์ เปน็ นติ ยสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-magazine) รายเดือน มีจดุ ประสงค์เพื่อเผยแพรข่ อ้ มูลข่าวสารและความรดู้ ้านวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยที งั้ ของไทยและตา่ งประเทศ ให้แก่กลุม่ ผอู้ ่านทเ่ี ปน็ เยาวชน พฤศจิกายน 2563 48และประชาชนทัว่ ไปท่ีสนใจในเร่ืองดังกลา่ ว โดยสามารถดาวนโ์ หลดไดฟ้ รที ่ี www.nstda.or.th/sci2pub/ หรอื บอกรับเปน็ สมาชิกได้โดยไมเ่ สยี คา่ ใช้จ่ายใดๆ จดั ทำ�โดย ฝา่ ยสร้างสรรคส์ อื่ และผลติ ภณั ฑ์ ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) ข้อความต่างๆ ท่ปี รากฏในนิตยสารอเิ ล็กทรอนกิ ส์ฉบบั นี้ เปน็ ความเหน็ โดยอสิ ระของผเู้ ขียน ส�ำ นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งเหน็ พอ้ งด้วย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook