Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 27504

27504

Published by Thalanglibrary, 2020-04-19 00:50:53

Description: 27504

Search

Read the Text Version

หลวงป่ ูเสาร์ หลวงป่ ูม่นั หลวงตามหาบวั หลวงพ่อวริ ิยงั ค์ หลวงพ่อพธุ พระสุปัญญา (ผ้เู ขยี น) สายตรงพ้นทกุ ข์คอื การปฏบิ ตั เิ พอื่ ฆ่ากเิ ลสโดยตรง อยู่ใกล้ๆง่าย อนุปาทเิ สสนิพพาน (เมอ่ื ขันธ์ห้าแตกดบั จากน้ันบรมสุขท่ี นิดเดยี วคอื ทฐี่ านในกาย ใช้กาลงั ไม่มากเพราะออกทางปัญญา (สายกลาง) ปราศจากสมมุตใิ ดๆเข้ามาเกี่ยวข้องกเ็ ป็ นทไ่ี ป = วสิ ุทธิธรรม) ลงทนุ น้อยแต่ได้ผลมาก เปรียบการค้าขายทไ่ี ด้กาไรอย่างมากมาย สะดวก รวดเร็วปลอดภยั อย่าให้จติ ส่งออกไปสู่อดีตอนาคตมาก อย่าใช้ญาณบ่อย ๔ หนังสือสายตรงพ้นทุกข์ (ทางลดั ) (๑๒๓) (เสียพลงั จติ เสียเวลาพจิ ารณา) ใช้เท่าทจ่ี าเป็ น ใช้คาบริกรรมเช่นนึกพทุ โธ มากๆเพอ่ื ทาให้จติ สงบ จากน้ันพจิ ารณาระวงั ตะครุบเงา ประโยชน์ของตวั พระสุปัญญา ธนปัญโญ (ผู้เขยี น) โทร ๐๘๕ – ๗๕๑๐๗๖๕ ท่านเอง (youtube พมิ พ์ สายตรงพ้นทุกข์ ๐๒.๔ แผนผงั ภาวนา) hotmail.com อเี มล์ [email protected] รหัส supanya6 แก้ได้รีบแก้ ตายแล้วแก้ไม่ได้กลบั มาเกดิ ในท้องแม่อกี การเกดิ เป็ น fb – supanya tanapanyo , e – book พมิ พ์ supanya , ทุกข์ (ขดอยู่ในท้องแม่ถงึ เก้าเดือน) ทางการสร้างบารมีและวฏั ฏะยาวนาน line – supanya (id – supanya7773) มภี าษาไทย – องั กฤษ (วนไปวนมา) ผู้มปี ัญญาเห็นทุกข์ท่านจึงหาข้อยตุ ินั่นคอื พระนิพพาน เตรียมตายก่อนตายได้นิพพานแล้วหมดห่วงเพราะน่ันคอื เมอื งพอทใี่ จ ๒๙ ส.ค. ๒๕๕๓ ต้นฉบบั ๑๑ พ.ย. ๒๕๖๒ ปรับปรุง

๑ ประวตั ิ พระ สุปัญญา ๓ สายตรงพ้นทุกข์ ๕ เจริญใจ ๒ Phra Supanya history. ๔ The direct way to , ++ , ๖ บุคคลาธิษฐาน ๗ ธรรมกถกึ ๘ จิตอสิ ระ หนังสือ ๓๕ เล่ม และซีดีสายตรงพ้นทกุ ข์ (ปกหน้าปกหลงั ข้างใน) ๑๗ องค์แทนศาสดา ๑๘ นานาสาระธรรม ๑๙ ธรรมทาน ๒๐ ทพ่ี งึ่ ๒๑ ปัจจัตตัง ๑๐ D๙haธrรmรaมโmอeสdถicine. ๑๑ เคร่ืองหมายคนดี ๑๒ วสิ ุทธิธรรม ๒๒ ธัมมวจิ ยะ ๒๓ สายกลาง ๒๔ ธรรมเหนือโลก ๒๕ พจิ ารณา ๒๖ โทษวฏั ฏะ ๒๗ พอเพยี ง ๒๘ ละพุทธภูมิ ๒๙ วจิ ารณญาณ ๓๐ ของเก่าเล่าใหม่ ๓๑ มหาฯ ๓๒ เมอื งพอ ๓๓ หลกั ใจ ๓๔ อยู่ยอด ๓๕ เกดิ ขึน้ ต้งั อยู่ดบั ไป พมิ พ์แจกเป็ นธรรมทานได้โดยไม่ต้องขอ อนุญาต ยกเว้นเพอื่ จาหน่าย yt พมิ พ์ พระสุปัญญา ธนปัญโญ หรือ สายตรงพ้นทุกข์ hotmail.com อเี มล์ [email protected] , [email protected] , ya3330@ windowslive.com รหสั supanya6 , fb – supanya tanapanyo , skype – supanya3336 ๑๓ พุทธจิต ๑๕ T๑๔heพpุทreธdทicาtนoาfย, ++ ๑๖ ทางลดั (พ้นทกุ ข์) ฟันคุดของพระสุปัญญา ธนปัญโญ เป็ นพระธาตุ (ดูรายละเอยี ดหน้า ๒๙)

คานา ถงึ ใจ นาไปปฏบิ ัตกิ เ็ กดิ มรรคผลเป็ นทน่ี ่าอศั จรรย์ จานวนผู้ได้มรรคผลจงึ มมี าเร่ือยๆคอื ค่อยเป็ นไป เปรียบกริ ิยาเต่าทคี่ ่อยๆคลานไปข้างหน้าอย่าง เจตนาช่วยงานพระศาสนา สนองคุณพ่อแม่ครูอาจารย์ผู้มพี ระคุณ ช้าๆแต่มน่ั คง ของดีมนี ้อยแต่ยงั พอมแี ล้วมมี าเร่ือยๆพอให้ชื่นใจ และเป็ น เป็ นประสบการณ์ทไี่ ด้มาอย่างล้มลกุ คลกุ คลาน ถงึ ข้นั ราบร่ืนมาเป็ นลาดบั กาลงั ใจในการทาประโยชน์น้อยใหญ่ต่อไป ก่อนจะตายจากกนั ไปเสียก่อน จากหลายสานักคดั มาสรุป จะเป็ นประโยชน์สาหรับผู้ต้องการปฏบิ ัติแบบ เรียบง่ายสะดวกรวดเร็วได้ผลคุ้มค่า ธรรมะความสงสัยไม่มสี ิ้นสุดยตุ ิด้วย งานโปรดสอนดาเนินตามปกติ ไม่จาเป็ นต้องรีบร้อนเพราะหากมี การปฏบิ ตั ิ ง่ายๆต้ังใจฟังหรืออ่านแล้วทาตาม อธิษฐานละพทุ ธภูมขิ อสิ้น เมตตาแล้วไม่รู้ประมาณจะพบความเดือดร้อน พระพทุ ธเจ้าครูอาจารย์ กเิ ลสชาตินี้ (หน้า ๑๘) ภาวนาแม่นๆ ๒๐ – ๓๐ นาที หรือมากกว่านีต้ ่อวนั เป็ นเพยี งผู้ชี้แนะ หลกั ๆตัวเราต้องทาเอง คอื มศี รัทธาเพยี รต้งั ใจพจิ ารณา (สายกลาง) ระวงั ตะครุบเงา ภายในสิบวนั กเิ ลสจะเบาบางทส่ี ุดกห็ มดไป (อทิ ธบิ าทส่ี) เพราะมรรคผลไม่มผี ู้ใดสามารถจะมาเสกหรือประทานให้ ราคะปฏฆิ ะลดลง ๑ % คอื เลยโสดาบันแล้ว ของจริงได้แล้วไม่เส่ือม บางท่านน้อยหรือมากกท็ าแต่ถูกทางจึงได้มรรคผล เพยี งแต่อาจ “ ฝึ กตนเองดแี ล้วจงึ ฝึ กผู้อน่ื ชื่อว่าทาตามพระศาสดา ” (มุตโตทยั ) จะได้ช้าหรือเร็วราบรื่นหรือลาบาก ขณะทยี่ งั มชี ีวติ ผู้ใดต้องการพ้นทกุ ข์ ค่าของคนอยู่ทผ่ี ลของงาน เริ่มโปรดสอนมาต้ังแต่ปี ๒๕๕๑ ขณะน้ันกเิ ลส แบบง่ายๆ คอื ลงทุนน้อยแต่ได้ผลมากให้รีบโทรถามหรือมาหา เพราะจะได้ เร่ิมเบาบางแต่ยงั ไม่หมดไป หลวงพ่อวริ ิยงั ค์ท่านเทศน์ว่า “ เรายงั ไม่บรรลุ ความรู้ในแบบทไี่ ม่มกี ารปิ ดบังใดๆในอนั ทเ่ี ป็ นคุณประโยชน์ แต่สอนคนอน่ื ให้บรรลกุ ่อนไม่มปี ัญหาเราได้อานิสงส์ “ สพพฺ ทาน ธมฺม ทาน ชินาติ = ธรรมทานชนะการให้ท้งั ปวง ” (ธมฺมปทคาถา) เพราะสอน เรียนครูสมาธิรุ่น ๓ (๒๕๔๒) สถาบนั พลงั จิตตานุภาพ วดั ธรรม จึงเข้าใจแล้วไม่เป็ นเวร ปฏบิ ัตไิ ปสอนไปเมอ่ื พอเพยี งจงึ เกดิ ผล คอื ผลงาน มงคล กทม. สอนโดยหลวงพ่อวริ ิยงั ค์ สิรินฺธโร เรียนครูสมาธชิ ้ันสูงจบ ความสุขความสาเร็จทส่ี ุดกผ็ ่าน หลวงพ่อท่านให้นักศึกษาทาวทิ ยานิพนธ์ การเขยี นหนังสือสายตรงพ้น ทกุ ข์และหนังสือธรรมะอกี หลายเล่ม จึงเป็ นการทาวทิ ยานิพนธ์ไปในตวั ลูกศิษย์ได้มรรคผล ๔๑๙ ท่าน รวมท้งั ลกู ศิษย์สอนด้วย โดยใช้การ พจิ ารณาจิต ๑๘ พ.ค. ๒๕๖๒ ทตี่ รวจสอบ (ยงั มอี กี มาก) ข้อมูลอยู่ในอเี มล์ ขอให้โชคดมี คี วามสุขราบรื่นสมหวงั ปราศจากโรคภยั ไข้เจ็บ ไม่มี เพราะเป็ นส่ิงทร่ี ู้ได้เฉพาะตนจึงให้ใช้วจิ ารณญาณ เพราะมคี ุณธรรมพระ หนีส้ ิน บรรลพุ ระนิพพานทกุ ท่านเทอญ ธรรมกถึกคอื นักเทศน์ไม่หวงวชิ าและอนุสาสนีปาฏหิ าริย์คอื คาสอนลกึ ซึ้ง พระสุปัญญา ธนปัญโญ (ผู้เขยี น) พรรษา ๑๖ อายุ ๕๓ ปี / ๒๕๖๒ ๑๔๗ ม.๕ บ.คลองน้อย อ.นาแก จ.นครพนม ๔๘๑๓๐

สารบญั หน้า ๑ สวดมนต์ไหว้พระแบบย่อ (หากมีเวลาให้สวดแบบเตม็ ) ๑ สวดมนต์ไหว้พระแบบย่อ ๑ เช้า (กราบ ๓ คร้ัง) ๒ สังโยชน์สิบ , ๓ อริยบุคคลสี่ ๓ อะระหงั สัมมาสัมพทุ โธ ภะคะวา , พทุ ธงั ภะคะวนั ตงั อะภิวาเทมิ ๔ นิพพาน ๒ ๕ (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม , ธัมมงั นะมสั สามิ (กราบ) สุปะฏิ ๕ พระอรหนั ต์ส่ีประเภท ๖ ปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , สังฆงั นะมามิ (กราบ) ๖ อริยสัจสี่ (มรรคสมงั ค)ี ๗ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธสั สะ (๓ จบ) ๗ การเดินจงกรม หน้า ๙ , ๘ ภาวนา แผนผงั จุดพลงั อานาจฯ ๑๐ นะโม วมิ ุตตานัง นะโม วมิ ุตติยาฯ (คาถาป้ องกนั ภยั ) ๙ ส่ิงขวางก้นั มรรคผล ๑๘ แผ่เมตตาให้ตนเอง “ อะหงั สุขโิ ต โหมิ , นิททุกโข โหมิ , อะเวโร ๑๐ การแก้ไขสมาธิ ๑๙ โหมิ , อพั ยาปัชโฌ โหมิ , อะนีโฆ โหมิ , สุขี อตั ตานงั ปะริหะรามิ ” ๑๑ ประวตั พิ ระสุปัญญา ธนปัญโญ (ผู้เขยี น) ๒๒ แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ “ สัพเพ สัตตา สุขติ า โหนตุ , สัพเพ สัตตา ๑๒ เร่ิมแรกปฏบิ ตั ิ (ล้มลกุ คลกุ คลาน) ๒๕ อะเวรา โหนตุ , สัพเพ สัตตา อพั ยาปัชฌา โหนตุ , สัพเพ สัตตา อะนีฆา ๑๓ การเปลยี่ นแปลงคร้ังสาคญั ๒๖ โหนตุ , สัพเพ สัตตา สุขี อตั ตานัง ปะริหะรันตุ , สัพเพ สัตตา สัพพะทกุ ๑๔ สายตรงพ้นทกุ ข์ (ออกทางปัญญา) ๒๗ ขา ปะมุจจันตุ , สัพเพ สัตตา ลทั ธะสัมปัตตโิ ต มา วคิ จั ฉันตุ , สัพเพ สัต ๑๕ จิตอาสา (ทาประโยชน์) ๓๐ ตา กมั มสั สะกา กมั มะทายาทา กมั มะโยนิ กมั มะพนั ธุ กมั มะปะฏสิ ะ ๑๖ อย่าตาหนิพระอรหนั ต์ ๓๑ ระณา , ยงั กมั มงั กะริสสันติ , กลั ยาณงั วา ปาปะกงั วา , ตสั สะ ทายาทา ๑๗ ฐีติภูต (จติ ด้ังเดมิ ) , พระอรหันต์ไม่กลวั ตาย ๓๓ ภะวสิ สันติ ” (กราบ ๓ คร้ัง จบช่วงเช้า) ๑๘ สรุปการพจิ ารณาโดยย่อ ๓๔ ๑๙ สนทนาธรรม ๓๕ เยน็ (กราบ ๓ คร้ัง) ๒๐ สติปัฏฐานสี่ (จริต สตปิ ัญญาอ่อน – เฉียบแหลม) ๓๗ อะระหงั สัมมาสัมพทุ โธ ภะคะวา , พทุ ธงั ภะคะวนั ตัง อะภวิ าเทมิ ๒๑ บาปหนักทสี่ ุด หน้า ๓๘ , ๒๒ ไม่หยุดอยู่ ๔๐ (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธมั โม , ธมั มงั นะมสั สามิ (กราบ) สุปะฏิ ปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ , สังฆงั นะมามิ (กราบ) ๑

คาขอขมาพระรัตนตรัย ๒ สังโยชน์ กเิ ลสเคร่ืองผูกมดั สัตว์ไว้ในความเวยี นว่ายตายเกดิ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพทุ ธสั สะ (๓ คร้ัง) ๑ สักกายทฎิ ฐิ ความเหน็ เป็ นเหตุยดึ ถือกายขนั ธ์ ๕ ว่าเป็ นของเรา ๑ กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา , พทุ เธ กกุ มั มงั ปะกะตงั มะยา ๒ วิจิกิจฉา ความลังเลสงสั ยใน บาปบุญกรรม ในคาตรัสรู้ ของ ยงั พทุ โธ ปะฏคิ คณั หะตุ อจั จะยนั ตงั , กาลนั ตะเร สังวะริตุง วะ พทุ เธ พระพทุ ธเจ้า ในพระรัตนตรัย ๓ สีลพั พตปรามาส ลูบคลาศีลวัตร ทรมาน ๒ กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา , ธมั เม กกุ มั มัง ปะกะตงั มะ ตนให้ลาบากเปล่า ตึงเกนิ ไป (อัตตกิลมถานุโยค) ความไม่แน่ใจในความ ยา ยงั ธัมโม ปะฏคิ คณั หะตุ อจั จะยนั ตงั , กาลนั ตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม บริสุทธ์ิในศีลของตนเอง ความยึดถือศีลพรต ความติดในลัทธิพิธี ถือ ๓ กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา , สังเฆ กกุ มั มงั ปะกะตงั มะยา มงคลต่นื ข่าว ๔ กามราคะ ความกาหนัดในจติ ยนิ ดใี นกาม ๕ ปฏิฆะ ความ ยงั สังโฆ ปะฏคิ คณั หะตุ อจั จะยนั ตงั , กาลนั ตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ กระทบกระท่ังแห่งจิต ความโกรธ ไม่พอใจ กลัว ๖ รูปราคะ ความยินดี แผ่เมตตาให้ตนเอง แผ่เมตตาให้สรรพสัตว์ ใช้คาแผ่เมตตา หน้า ๑ (ติดใจ) ในรูปฌาน จิตสงบกย็ ินดี จิตไม่สงบกว็ ติ กกงั วล พระอนาคามีอยู่ ในข้นั อรหัตตมรรค สังโยชน์ ข้อ ๖ – ๑๐ ติดทุกคน แต่เบาบางละเอยี ดเข้า (กราบ ๓ คร้ัง จบช่วงเยน็ ) ไปเร่ือยๆ ๗ อรูปราคะ ความยนิ ดี (ติดใจ) ในอรูปฌาน ความฝัน นิมิต ๘ มานะ ถือตัว สาคัญตน เปรียบเทียบ อิจฉา จึงเกิดการแข่งขันและเป็ น ๒ นักเลงโต (ไม่ยอมใคร ชอบข่มผู้อ่ืน แต่ไม่ชอบให้ใครมาข่ม) ๙ อุทธัจจะ ความฟ้ ุงซ่าน การพิจารณามากเกินไป ๑๐ อวิชชาคือความไม่รู้ ความรู้ จอมปลอม ทาให้หลงหลอนสะดุ้ง สงสัยในเราและท่านและในมรรคผล จึง เกดิ การจบั ผดิ และตาหนิด้วยประการต่างๆ ๓ อริยบุคคลสี่ (คุณธรรมที่ไม่เสื่อม) ๑ พระโสดาบันละสังโยชน์ได้ ๓ ข้อต้น เป็ นผลทาให้ท่านเห็นว่า กายขนั ธ์ห้าไม่ใช่ของเราเป็ นของไม่เที่ยงจึงไม่ยึด ไม่มีความสงสัยในตน และในพระรัตนตรัย ถงึ ไตรสรณคมน์ไม่มเี สื่อมคลาย เห็นกรรมมใี นตน ๓

ท่านจึงกลวั กรรมไม่กล้าทาบาปด้วยประการท้งั ปวง ศีลบริสุทธ์ิตลอดชีวิต เทยี บสติปัญญาอตั โนมตั ใิ ช้เรียกสาหรับสาวก ไม่มปี ริยตั ิมแี ต่จติ ล้วนๆ ไม่มีการลูบคลาศีล มีความละอายตลอดเจตนาผิดศีลโดยลามกไม่มี ปิ ด ทสี่ ุดลูกศิษย์คอื คุณสมสุข ใจขาน จ.อดุ รฯ ต้องใช้การพจิ ารณาจิตเพอ่ื ทา อบายภูมิ ราคะปฏิฆะยังมเี ต็มร้อย เข้าสู่กระแสพระนิพพาน จะมาเกดิ ใน กเิ ลสส่วนละเอยี ดให้หมดไป (๑ เดอื นต่อมาเกสากลายเป็ นพระธาตุ) บรรลุ ท้องแม่อกี ไม่เกนิ เจ็ดชาติแล้วทาทส่ี ุดแห่งทกุ ข์ โสดาบันสกทิ าคามอี นาคามแี ต่ยงั สงสัยเพราะยงั มอี วชิ ชา ๒ พระสกทิ าคามลี ะสังโยชน์ได้สามข้อต้นและทาสังโยชน์ข้อส่ี คอื ๔ พระอรหันต์ละสังโยชน์ได้สิบข้อ อวชิ ชาดับจึงหมดความสงสัย ราคะ ข้อห้าคอื ปฏิฆะให้เบาบางลง เหลอื ๙๙ – ๕๑ % แต่ละช้ันกเิ ลสขาด จิตอสิ ระเตม็ ภูมถิ ึงความสมบูรณ์และพอตวั ของจติ ใจ จิตบริสุทธ์ิว่าง (ว่าง แล้วขาดเลยไม่เกิดขนึ้ มาอกี ได้แล้วไม่เส่ือม ความกาหนัดเร่ิมเบาบางจึงมี จากกเิ ลส) จิตสูญอย่างย่ิง (สูญจากกเิ ลส) จึงเกิดความรู้ว่ากเิ ลสหมดไป ความราคาญบ้าง จิตดูดดื่มเร่ิมปล่อยวางเป็ นไปตามลาดับ จะมาเกิดใน (นิพพิทาญาณ) กิเลสปรุงก็ปรุงตามธาตุขันธ์ย๊ิบๆแย๊บๆ ปรุงป๊ับดับป๊ ุบ ท้องแม่อกี ไม่เกนิ หน่ึงชาติแล้วทาทส่ี ุดแห่งทุกข์ ปรุงแล้วกด็ ับคือดับได้ไว เฉยๆไม่ตื่นไม่มีอสุภะกรรมฐาน สิ่งเหล่านี้เป็ น ทางเดินผ่านไปหมดแล้ว บรรลุธรรมข้นั สุดยอดเรียกพระนิพพานคือจิต ๓ พระอนาคามลี ะสังโยชน์ได้ห้าข้อต้น ปริยตั ิวางไว้กลางๆเพราะ ดวงเดียวหรือธรรมธาตุ ไม่ถอยหลงั ไม่เดินหน้าไม่ราคาญเพราะอทุ ธัจจะ จะสับสน เรื่องกามราคะไม่ดดี ดิน้ ความกาหนัดขาด ๕๐ % จงึ ไม่ราคาญ คือความฟ้ ุงซ่านหมดไป องอาจสง่าผ่าเผย พระนิพพานเที่ยงว่างตลอด จดื ชืดเรียนจบสอบผ่านคอื ตายแล้วไม่มาเกดิ ในท้องแม่อกี แต่ไปเกดิ แบบ อนันตกาลต้งั แต่ขณะทก่ี เิ ลสพงั ลงไปจากใจ อปุ ปาตกิ ะ (เกดิ แบบเตบิ โตขนึ้ ทนั ที) ทเี่ กดิ ของอนาคามคี อื สุทธาวาสห้า (อวหิ า อตัปปา สุทสั สา สุทสั สี อกนิฏฐา) เปรียบเทยี บ ๕๐ – ๙๙ % จิตยงั ๔ นิพพานสอง (ทสี่ ุดแห่งจติ ทส่ี ุดแห่งทุกข์) ไม่บริสุทธ์ิละเอยี ดเข้าไปเรื่อยๆ เต็มภูมทิ อี่ กนิฏฐาแล้วดีดเข้านิพพานเลย สังโยชน์ข้อ ๖ – ๑๐ ตดิ ทกุ คนเบาบางละเอยี ดเข้าไปเร่ือยๆ ความฟ้ ุงซ่าน ๑ สอปุ าทเิ สสนิพพาน บรรลนุ ิพพานขณะมชี ีวติ จิตเป็ นธรรมธาตุ ลดลง กเิ ลสเบาบางมากแทบไม่มีเพราะกเิ ลสตวั หนักๆหมดไปเหลอื เป็ น ธรรมธาตุครอบไตรโลกธาตุ ประสบเวทนาบ้าง แต่เวทนาเข้าไม่ถึงจิต ฝอยๆ สตปิ ัญญาความเพยี รฆ่ากเิ ลสอตั โนมตั ิ (เป็ นไปเองไม่ต้องบังคบั ) สุดท้ายของเวทนาเช่นความเจบ็ ปวด กต็ ้องมาลา่ ลากนั ทตี่ รงธาตุขนั ธ์ใกล้ ชานาญการเข้าออกสมาธิ เรียกมหาสติมหาปัญญา (สตปิ ัญญาข้นั สูงสุด) จะแตกดับ (ใกล้ตาย) คอื เหลอื แต่ความรู้ หลงั จากน้ันกไ็ ม่ต้องมาเจอะเจอ ใช้เรียกสาหรับพระพทุ ธเจ้า เกดิ จากสติทมี่ กี าลงั กล้าและมคี วามคล่องตัว กนั อกี ไปตลอดอนันตกาล พระอรหันต์ไม่มเี วทนาทางใจมแี ต่เวทนาทาง กาย สักแต่ว่ารู้ๆไม่เป็ นกเิ ลส ไม่มเี กดิ ดับเพราะจิตเทย่ี งตลอดเป็ นกลางๆ ๔ ๕

ไม่สุขทุกข์ไม่ยนิ ดียนิ ร้ายไม่สะทกสะท้านจติ ปล่อยวางเต็มร้อย ปล่อยวาง สังฆาปาราชิกไม่มใี นอริยบุคคล เมอื่ หลดุ พ้นไปจากสมมุตดิ ้วย ข้างนอก (ทข่ี นั ธ์) ปล่อยวางข้างใน (ทจ่ี ติ ) ปล่อยวางด้วยประการท้งั ปวง ประการท้งั ปวงแล้ว พระอรหนั ต์จึงเป็ นสติวนิ ัย คอื ฉลาดรอบคอบรอบตวั โดยธรรมชาติ ไม่ใช่เสแสร้งแกล้งทา ไม่ใช่โดยสัญญาหรือฝึ กดัด ไม่มปี ัญหาอะไรกบั สมมุติ เป็ นอฐานะคอื เป็ นไปไม่ได้ทจ่ี ะเป็ นอาบตั ดิ ้วย ประการท้งั ปวง รู้แล้วอย่าไปโจษเพราะจะเกดิ โทษตามมา ไม่ต้องสนใจว่า ๒ อนุปาทเิ สสนิพพาน เมอื่ ขนั ธ์ห้าแตกดับการรับรู้อารมณ์ท้งั ปวง จะบรรลอุ รหนั ต์ประเภทใด ไม่ต้องแข่งกบั ใคร “ ชนะตนประเสริฐสุด ” ดบั สนิท จากน้ันบรมสุขทปี่ ราศจากสมมตุ ิใดๆเข้ามาเกยี่ วข้องกเ็ ป็ นทไี่ ป (อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท สหัสสวรรคท่ี ๘) กเิ ลสหมดคอื (สุดแดนสมมตุ ิ ทส่ี ุดของทส่ี ุด วสิ ุทธธิ รรม) ใช้ได้ (เพยี งพอสุดยอด) ถงึ เวลาน้ันไม่ดดี ดิน้ ไม่ตนื่ อะไรๆกส็ ักแต่ว่า ๕ อรหันต์สี่ประเภท ๖ อริยสัจสี่ (มรรคสมังค)ี ๑ สุกขวปิ ัสสโก เป็ นผู้รู้อย่างค่อยละเอยี ดลออ บรรลอุ ย่างสงบเงียบ ๑ ทุกข์คอื ความทนอยู่ไม่ได้ ทนไม่ได้ เป็ นเหตุทาให้ความไม่สบาย ไม่รู้ขณะ เปรียบเดินทางโดยน่ังรถแล้วหลบั สบาย เมอ่ื ถึงจุดหมายกย็ งั กายใจเกดิ ขนึ้ ๒ สมทุ ยั ความไม่เทยี่ ง = อนิจจัง ความแปรเปลย่ี น สลาย หลบั อยู่ (เปรียบกเิ ลสหมดแต่ไม่รู้) คนขบั ต้องมาปลกุ ให้ตืน่ (อปุ มาส่ิง ไป (อนัตตา) ความบกพร่องต่างๆ ความบกพร่องทางจติ ใจ เป็ นเหตุทาให้ ทดสอบ) จงึ รู้ว่าถึงแล้ว ผู้เขยี นเป็ นแบบนี้ ตัณหาเกดิ ๓ นิโรธ ความสมบูรณ์ ความพอตัวของจิต ความอยากหมดไป ทุกข์จึงดับ ๔ มรรค ทางสู่ความดบั ทุกข์ มชั ฌมิ าปฏปิ ทา คอื มรรคมอี งค์ ๒ เตวชิ โช ได้วชิ ชาสามบรรลุรู้ขณะ (กเิ ลสหมดกร็ ู้ทนั ท)ี เปรียบ แปดเรียกว่าทางสายกลาง จึงไม่เป็ นธรรมทล่ี ้าสมยั เดินทางแล้วชมทวิ ทศั น์ไปด้วย ถงึ จุดหมายกร็ ู้ว่าถึงแล้ว ลกู ศิษย์จาก จ. อดุ รฯ คอื คุณสมสุข ใจขาน บรรลปุ ระเภทนี้ พระโสภติ เถระ เอตทคั คะ ๑ สัมมาทิฎฐิ (ความเห็นชอบ) ๑.๑ ความเห็นชอบท่ัวไป บาปมี ในทางระลกึ ปุพเพนิวาสานุสติญาณ (ระลกึ ชาตหิ นหลงั ) บุญมี ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ช่ัว ๑.๒ ความเห็นชอบในกลุ่มของนักปฏิบัติผู้ พจิ ารณา โดยกาหนดพิจารณากายเห็นว่าเป็ นสิ่งไม่เท่ียง ไม่ควรประมาท ๓ ฉฬภิญโญ ได้อภิญญาหกแสดงฤทธ์ไิ ด้ เช่นเหาะเหนิ เดินอากาศ นอนใจ แล้วหาวธิ ีแก้ไขเพอ่ื ให้พ้นไปจากทุกข์ ๑.๓ ความเห็นชอบในธรรม รู้จติ ใจผู้อน่ื บรรลรุ ู้ขณะ พระโมคคลั ลานเถระ เอตทคั คะในทางผู้มฤี ทธ์ิ ทปี่ ระณตี คอื เห็นชอบในอริยสัจส่ีว่าเป็ นของจริงอกี แบบหนึ่ง ๔ ปฏสิ ัมภทิ า คอื แตกฉานกว้างขวางลกึ ซึ้งสอนเก่ง บรรลรุ ู้ขณะ ๒ สัมมาสังกปั โป (ความดาริชอบ ความคดิ ชอบ) ๒.๑ คดิ ในการไม่ เช่น จตุปฏสิ ัมภทิ ปั ปัตโต แตกฉานในอรรถ ธรรม นิรุตติ (ภาษา) ปฏภิ าณ พระมหาโกฏฐิตเถระ เอตทคั คะในทางแตกฉานในปฏสิ ัมภิทาส่ี ๗ ๖

เบยี ดเบยี น ๒.๒ คดิ ไม่พยาบาทปองร้าย ๒.๓ คดิ เพอ่ื พ้นไปจากทุกข์ ๘ สัมมาสมาธิ (สมาธิชอบ) สมาธิท่ีสัมปยุตด้วยสติปัญญาไม่ใช่ ๓ สัมมาวาจา (วาจาชอบ) ไม่พูดปด ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคา สมาธิแบบหัวตอ (สงบอย่างเดียวไม่ออกทางปัญญา) จิตสงบมสี ติรู้อยู่ใน องค์สมาธิ เพ่งเบาๆทฐ่ี านนึกให้สลายฯ จิตจะเป็ นวปิ ัสสนาโดยอตั โนมตั ิ หยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ ๓.๑ วาจาชอบที่กล่าวทว่ั ไป ๓.๒ วาจาชอบท่ีกล่าว ตามสุภาษติ ไม่เป็ นพษิ ภัยแก่ผู้ฟัง กล่าวมเี หตุผลน่าฟังจับใจ กล่าวสุภาพ ในองค์มรรค ๑ เหน็ ชอบดาริชอบสงเคราะห์เข้าเป็ นปัญญาสิกขา อ่อนโยน ๓.๓ วาจาชอบยงิ่ คอื กล่าวสัลเลขธรรม (ฆ่ากเิ ลสอย่างเดยี ว) ๒ วาจาชอบการงานชอบเลยี้ งชีวติ ชอบสงเคราะห์เข้าในศีลสิกขา ๓ เพยี ร ชอบระลกึ ชอบสมาธชิ อบสงเคราะห์เข้าในจติ ตสิกขา ๔ สัมมากมั มนั โต (การงานชอบ) ๔.๑ การงานชอบท่วั ไปประการ หน่ึง เช่น การงานที่ทาโดยชอบธรรมไม่ผิดกฎหมาย ๔.๒ การงานชอบ “ ภกิ ขู สัมมา วหิ ะเรยยุง อะสุญโญ โลโก อะระหันเตหิ อสั สะฯ = โดยธรรมอกี อย่าง เช่น ทานศีลภาวนาเดนิ จงกรมทาข้อวตั ร ตราบใดทย่ี งั มผี ู้ปฏบิ ตั ิในมรรคมอี งค์แปดโดยชอบแล้ว โลกนีจ้ ะไม่ว่างเว้น ไปจากพระอรหันต์ ” (มหาปรินิพพานสูตร ๑๐ / ๑๔๕) ๕ สัมมาอาชีโว (อาชีพชอบ เลยี้ งชีพชอบ) ๕.๑ การแสวงหาอาชีพ โดยชอบธรรม ๕.๒ การพจิ ารณาเป็ นธรรม จะนาอาหารคือโอชารสแห่ง ๗ การเดนิ จงกรม ธรรมเข้ามาหล่อเลยี้ งหัวใจให้มคี วามชุ่มชื่นด้วยความฉลาดแห่งปัญญา ก่อนเดินจงกรมให้ระลกึ ถึงคาว่า “ เมตตา กรุณา มุทติ า อเุ บกขา ๖ สัมมาวายาโม (ความเพยี รชอบ) ๖.๑ เพยี รระวงั อย่าให้บาปเกดิ พทุ โธๆๆ ” อย่ใู นท่าสารวม มอื ขวาวางทบั มอื ซ้ายวางบริเวณหน้าท้อง นึก ขนึ้ ในสันดาน ๖.๒ เพยี รทาลายบาปทเี่ กดิ แล้วให้หมดไป ๖.๓ เพยี รรักษา บริกรรมคาว่าพทุ โธไปเรื่อยๆ หรือใช้คาอนื่ กไ็ ด้ ใช้คาเดยี วไม่ต้องเปลย่ี น กศุ ลทเี่ กดิ ขนึ้ แล้วอย่าให้เส่ือมและทาให้เจริญยงิ่ ขนึ้ ไป สรุปคอื ความเพยี ร เพอื่ ความชานาญ (วสี) และเพอ่ื ไม่ให้เกดิ ความโลเล เดินปกตไิ ม่ช้าไม่เร็ว ทปี่ ระกอบด้วยปัญญา จงั หวะเร่งกเ็ ตม็ ที่ จงั หวะพกั กพ็ กั ลดความเพยี ร เวลากลบั ให้กลบั ทางขวาเพอ่ื ความเป็ นสิริเป็ นมงคล (กลบั ทางซ้ายเปรียบ เปลยี่ นอริ ิยาบถ มคี วามปลอดภัยสถานทเี่ หมาะสมและมกี ลั ยาณมติ ร วนขนึ้ เมรุ) เป็ นการเปลย่ี นอริ ิยาบถหลงั จากนั่งภาวนา ประโยชน์เป็ นการ สะสมพลงั จิต (วหิ ารธรรม สมาธติ นื้ ) ออกกาลงั กายไปในตัวทาให้สุขภาพ ๗ สัมมาสติ (สติชอบ) สตปิ ัฏฐานสี่ มสี ติกาหนดพจิ ารณากาย แขง็ แรงได้พลงั จติ เยอะ ไม่ต้องกาหนดเวลาให้กาหนดสติ เสร็จแล้วให้แผ่ เวทนาจติ ธรรม ในทน่ี ีจ้ ะยกเอาสติกาหนดพจิ ารณาจิตนามาแสดงพอให้ เมตตาด้วยคาว่า “ สัพเพ สัตตา สุขติ า โหนตุ = ขอให้สัตว์ท้งั หลายจงเป็ น เป็ นทเ่ี ข้าใจ จติ สงบเพ่งเบาๆทฐี่ านนึกให้สลายฯ มสี ติตลอด (สัมมาสติ) สุขเป็ นสุขเถิด ” แรกๆสตติ ามไม่ทนั ไม่ต้องกงั วล ทาให้ต่อเน่ืองแล้วจะชานาญ ๙ ๘

๘ ภาวนา (การพจิ ารณาจติ = สายตรงพ้นทุกข์) การใช้และกากบั ญาณ จติ สงบให้ถามว่าใครคอื ผู้รู้ นมิ ติ เกดิ ถามใคร คอื ผู้รู้ สังเกตคาตอบจะออกมาในรูปแบบต่างๆ แม่นบ้างไม่แม่นบ้างเพราะ สัมมาวายาโม (เพยี รชอบ) สัมมาสติ (สติชอบ) สัมมาสมาธิ (สมาธิ เป็ นอานาจกฎไตรลกั ษณ์ เมอ่ื พอเพยี งนึกแล้วกม็ า แต่บางคร้ังกเ็ กดิ ขนึ้ โดย ชอบ) = จิตตสิกขา สติปัฏฐานส่ี มีสติกาหนดพิจารณากายเวทนาจิต ไม่คาดฝัน เพราะเป็ นความพอเพยี งของบุญกศุ ลเรียกธรรมะจัดสรร อย่า ธรรม เลอื กพจิ ารณาอย่างหน่ึงตามความเหมาะสมในจริตของตนเองเพ่ือ ใช้ญาณบ่อยเพราะจิตจะส่งออก ความชานาญ ในท่ีนี้จะยกเอาสติกาหนดพิจารณาจิตนามาแสดงเพ่ือให้ เป็ นทเ่ี ข้าใจ (หน้า ๓๗ – ๓๘) ๓ บางท่านภาวนาโดยใช้พทุ ธคุณคอื อติ ปิ ิ โสฯ เป็ นคาบริกรรม ต้ัง สัจจะหลายรอบ เช่น อติ ิปิ โสฯ ๑๐๘ นานไปจงึ เมอ่ื ยล้าฟ้ ุงซ่านควบคุม ก่อนภาวนาระลกึ ถงึ พทุ โธธัมโมสังโฆ อารมณ์ไม่อยู่ อปุ มารถเครื่องร้อนแล้วกระตุก เพราะขาดปัญญาจึงไม่รู้จัก ๑ นั่งภาวนาหลบั ตาแล้วถามขนึ้ มาในจิตหนึ่งคร้ังว่า “ ใครคอื ผู้รู้ ” ปล่อยวาง การแก้ไขอย่าดูทวี หี รือดูให้น้อยลงเพราะจิตจะส่งออก (อธิบายเพมิ่ เติมจากคาสอนของหลวงพ่อวริ ิยงั ค์ เป็ นการทาวทิ ยานิพนธ์ ไปในตวั ) แล้วไม่ต้องสนใจ จากน้ันนึกพทุ โธทหี่ น้าผากมากๆ หรือเปิ ด เริ่มต้นภาวนาหลบั ตาแล้วถามในใจว่าใครคอื ผู้รู้หน่ึงคร้ัง นึกคา เทศน์กาหนดจติ ไปด้วย จติ จะขยบั ตามเพมิ่ สติปัญญาได้ความรู้ไปในตัว บริกรรมไปเรื่อยๆ จิตสงบทงิ้ คาบริกรรม จบั ลมหายใจคอื มสี ติทล่ี มหายใจ ทาให้เกดิ ความราบรื่น หรือปฏบิ ตั ิตามอธั ยาศัย ลมหายใจหายไปอย่ากงั วล วางจิตทฐี่ านเพ่งเบาๆแล้วถามว่าใครคอื ผู้รู้หนึ่ง ๒ จติ สงบถามขนึ้ มาในจติ ว่าใครคอื ผู้รู้หนึ่งคร้ัง นิมติ เกดิ ถามว่า คร้ัง นึกให้สลายแยกออกฯ หากเกดิ นิมติ ให้ถามว่าใครคอื ผู้รู้หน่ึงคร้ัง ใช้ ใครคอื ผู้รู้อกี ถามเพอ่ื ควบคุมจิตเมอ่ื พอเพยี งกเ็ กดิ ญาณ ป้ องกนั จติ วปิ ลาส กระแสจิตบังคบั นิมติ ให้สลายแยกออกฯ ประครองสตติ ัวรู้ไว้ เมอื่ พอเพยี ง = คลาดเคลอ่ื นเตลดิ เพยี้ นบ้า กเิ ลสจะหมดไป เมอ่ื จติ สงบนึกให้สลายแยกออก ไม่ต้องละเอยี ดตามเข้าไปเร่ือยๆ โดยอนุโลมปฏโิ ลม เมอ่ื พอเพยี งกเิ ลสจะหมดไป เรียกว่าการพจิ ารณาจิต ๔ จติ สงบเพ่งพจิ ารณาได้ไม่มปี ัญหา เพ่งจดจ่อเบาๆทฐ่ี านอย่าเพ่ง (ผู้รู้) ซึ่งเป็ นหนึ่งในสตปิ ัฏฐานส่ี ออกทางปัญญา พจิ ารณาไตรลกั ษณ์และ แรงเพราะจะปวด นึกให้สลายแยกออกไม่ต้องละเอยี ดตามเข้าไปเร่ือยๆ ๑ สัมมาสมาธิ (สมถะ + วปิ ัสสนา = ปัญญา) แรกเร่ิมปฏบิ ตั ิการถามเมื่อ นาที หยุดพกั ทฐี่ าน ๑ นาที ทาเหมอื นเดิมสลบั ไปมา (อนุโลมปฏโิ ลม) ด้วย พอเพยี งคอื ได้มรรคผลศีลจะบริสุทธ์ิตลอดแล้วหยุดถาม ความมสี ติตามตลอด (สัมมาสติ) จะเป็ นวปิ ัสสนาอตั โนมตั ิ (เป็ นไปเอง) ๑๐ ๕ ทาต่อเนื่องแล้วจะชานาญ ภายในสิบวนั สังเกตราคะปฏฆิ ะจะ ๑๑

เบาบาง (บรรลสุ กทิ าคาม)ี จาก ๑๐๐ % เหลอื ๙๙ – ๕๑ % ทส่ี ุดกห็ มดไป ๓ เพ่งเบาๆเพ่งแรงจะปวดเพราะกระแสจิตแรง เป็ นการเข้าสู่จุด จิตดูดด่มื เร่ิมปล่อยวางเป็ นไปตามลาดับ ท้งั นีข้ นึ้ อยู่ทบี่ ุญวาสนาความ พลงั อานาจอตั โนมตั ิ ในทนี่ ีเ้ น้นพ้นทุกข์ หลวงป่ ูเจ๊ียะ จุนฺโท ท่านเทศน์ว่า เพยี ร เช่น ทามากหรือทาน้อย จากน้ันแผ่เมตตา “ จิตสงบบริกรรมพทุ โธยา้ เข้าไปอกี กไ็ ด้เพราะสมาธิจะมนั่ คง ” ภาพอนัตตา (ไตรลกั ษณ์ฯ) ๔ จติ สงบจะสว่างมดื เกดิ กระแส เหน็ นิมติ หรือไม่เหน็ กไ็ ม่เป็ นไร ไม่ต้องกงั วลเพราะน่ันคอื กริ ิยาจติ เปรียบทานอาหารมเี ปรี้ยวหวานเผด็ เคม็ อนัตตาแปลว่าสลายไป สลายทาลายกเิ ลสไม่ยดึ ไม่ใช่ตวั ตน เป็ นตัว มสี ตินึกให้สลายแยกออกโดยอนุโลมปฏโิ ลม จิตจะเป็ นวปิ ัสสนาอตั โนมตั ิ ปัญญา ตวั วปิ ัสสนา ตัวไตรลกั ษณ์ ในทน่ี ีจ้ ิตสงบแล้วนึกให้สลายแยกออก ภพชาตคิ อื การเกดิ จะถูกทาลายไปเร่ือยๆทสี่ ุดกห็ มดไป เช่นเดยี วกนั กเิ ลส ไม่ต้องละเอยี ด (ดูหน้า ๑๑) จะราบร่ืนกว่าและไม่สับสน (ดูภาพประกอบ) คอื ราคะโทสะโมหะภายในจติ จะเบาบางทสี่ ุดกห็ มดไป เวลานอนหรือนอน ภาวนาอย่าเอาหัวทบั มอื เพราะจะทบั เส้นเลอื ด หนักเข้าจะเป็ นอมั พาต อธิบาย ผู้ปฏบิ ัติให้ดูการเปลยี่ นแปลงภายในจติ แล้วเทยี บกบั สังโยชน์สิบ ๑ พุทโธคือคาบริกรรมเป็ นเบื้องต้น ใช้คาอ่ืนเช่นสัมมาอะระหัง อริยบุคคลสี่ (หน้า ๓ – ๗) หากดาเนินสมถะจะข่มกเิ ลสชั่วคราว แต่ถ้า ยุบหนอพองหนอหรือคาอน่ื กไ็ ด้ ใช้คาเดยี วไม่ต้องเปลยี่ นเพอื่ ให้เกดิ ความ พจิ ารณาถูกต้องเมอื่ พอเพยี งมรรคผลกเ็ กดิ แต่ละช้ันของอริยบุคคลกเิ ลส ชานาญ หรือใช้อานาปานสติ (อานาปานัสสติ = สติกาหนดลมหายใจเข้า จะขาดแล้วขาดเลยไม่เกดิ ขนึ้ มาอกี ได้แล้วไม่เสื่อม (สมุจเฉทปหาน) ออก) หรือเพ่งเบาๆทฐี่ าน ทก่ี ล่าวมาเป็ นอบุ ายทาให้จิตสงบ “ งานของโลกเป็ นงานทตี่ ดิ ต่อต่อเนื่องกนั เหมือนสายโซ่ คอื ย่งุ ไป ๒ การกาหนดจุด (ฐาน) ให้กาหนดในร่างกาย โดยทวั่ ไปกาหนดท่ี หมดไม่ใช่ทางพ้นทกุ ข์ งานของธรรมคอื ถอนวัฏฏะ จบั ทเ่ี ดยี วจุดเดยี ว หน้าผากจมูกหน้าอกท้อง จุดใดกไ็ ด้จุดเดยี วไม่ต้องเปลย่ี นเพอื่ ให้เกดิ ความ (สังขารผู้รู้วญิ ญาณภพชาต)ิ ตรงไหนกไ็ ด้จดุ เดยี วทเ่ี ดยี ว (ฐาน) แล้วเจาะ ชานาญ ในทนี่ ีจ้ ะกาหนดทห่ี น้าผากเพอื่ ไม่เป็ นการสับสน ทห่ี น้าผากเรียก ลงไปเลย ” (หลวงป่ ูจวน กลุ เชฏฺ โฐ) จติ สงบแล้วพจิ ารณาระวงั ตะครุบเงา จุดต่อม (จุดพลงั อานาจฐานทพ่ี กั ทตี่ ้ังของจติ ) จติ สงบผู้รู้ภพชาตอิ วชิ ชา สรุป จิตสงบนึกให้สลายแยกออกไม่ต้องละเอยี ดฯ (หน้า ๑๐ – ๑๑ youtube จิตจะมารวมกนั ทตี่ รงจุดนี้ เรียกชัยภูมิ = ทาเลทเ่ี หมาะ พมิ พ์ สายตรงพ้นทกุ ข์ ๐๒.๔ แผนผงั ภาวนา) ๑๒ ๑๓

๑ จติ ปกติ (แผนผงั จุดพลงั อานาจ วปิ ัสสนาอตั โนมตั )ิ ๒ จติ สงบ = เข้าภวงั ค์ = ภพ = รังอวชิ ชา = อยู่ในข้นั สมถะ ขนั ธ์ ๕ ๑๐ / ๑ ขนั ธ์ ๕ อวชิ ชา ปฏฆิ ะ จติ จเดติ มิเดมิ กามราคะ มวี มชิ วีชชิ าชา สังโยชน์ ๑๐ ร่างกาย กายหยาบ ร่างกาย กายหยาบ บาบ ๑ สี่เหลย่ี มคอื ขนั ธ์ห้า วงกลมนอกสีดาคอื กเิ ลส วบงากบลมในสีขาวคอื ๒ หลบั ตานึกพทุ โธทีห่ น้าผากให้มาก (ทหี่ น้าผากคอื จุดต่อมฐาน จติ เดิม (จติ ปกต)ิ มวี ชิ ชาเป็ นมูลการหยุดหมุน และมอี วชิ ชาเป็ นมูลการ ทพี่ กั ทต่ี ้ังของจติ ) เมอื่ จิตสงบ (เข้าภวงั ค์ = ภพ = รังอวชิ ชา การทาสมาธิ เวยี นว่ายตายเกดิ น่ังภาวนาระลกึ ถงึ “ พทุ โธ ธัมโม สังโฆ ” (๓ คร้ัง) นั่ง คอื การบบี จิตและกเิ ลสให้เลก็ ลง เพอื่ ให้ง่ายต่อการฆ่ากเิ ลส) เพ่งเบาๆท่ี ด้วยความสารวม (ดูรายละเอยี ดหน้า ๑๐ – ๑๑) ฐานอย่าเพ่งแรงเพราะจะปวด จติ จะเข้าสู่จุดพลงั อานาจโดยอตั โนมตั ิ ใน ทน่ี ีจ้ ะเน้นพ้นทกุ ข์ (หน้า ๑๐ – ๑๓) ๑๔ ๑๕

๓ จติ สงบ สมถะ + วปิ ัสสนา การพจิ ารณาจติ ๔ จติ บริสุทธ์ิ สอปุ าทิเสสนิพพาน (มขี นั ธ์ห้า) ขนั ธ์ ๕ ขนั ธ์ ๕ จติ (ดวงเดยี ว) มวี ชิ ชา ร่างกาย กายหยาบ ร่างกาย กายหยาบ ๓ นึกให้สลายแยกออกไม่ต้องละเอยี ดตามเข้าไปเบรื่อายบๆ ด้วยความ ๔ (วงกลมนอกคอื กเิ ลสหมด วงกลมในคอื จิตดวงเบดาียบว) อวชิ ชาดบั มสี ติโดยอนุโลมปฏโิ ลม จติ จะเป็ นวปิ ัสสนาอตั โนมตั ิ เมอื่ พอเพยี งกเิ ลสจะ มวี ชิ ชาเป็ นมูลหยดุ หมุน หมดการเวยี นว่ายตายเกดิ ถึงความสมบูรณ์และ เร่ิมเบาบางทส่ี ุดกห็ มดไป ตัวสลายคอื ตวั อนัตตา ตวั ปัญญา ตวั ไตรลกั ษณ์ พอตัวของจติ ใจ จิตบริสุทธ์ิว่าง (จากกเิ ลส) จึงเกดิ ความรู้ว่ากเิ ลสหมดไป (เส้นประ) สลายทาลายกเิ ลสทฐ่ี านในกาย ผลคอื ได้มรรคผล (ภายใน ๑๐ (นิพพทิ าญาณ) กเิ ลสปรุงกป็ รุงตามธาตุขนั ธ์ยบิ๊ ๆแย๊บๆ ปรุงปั๊บดบั ป๊ ุบ วนั ) จากน้ันแผ่เมตตา เฉยๆ บรรลธุ รรมข้นั สุดยอดเรียกพระนิพพาน (หน้า ๕ – ๖) ๑๖ ๑๗

๙ สิ่งขวางก้นั มรรคผล ๗ พิจารณาผิดทาง เช่น ตะครุบเงา วิปัสสนาตกน้า สมาธิหัวตอ ๑ อนันตริยกรรม มี ๑ ฆ่าพ่อ ๒ ฆ่าแม่ ๓ ฆ่าพระอรหันต์ ๔ ทา คือสงบอย่างเดียวไม่ออกทางปัญญา ต้องให้จิตสงบแล้วพจิ ารณา สงสัย ร้ายพระพุทธเจ้าถึงห้อเลอื ดแม้ไม่ตาย ๕ ยุยงสงฆ์ให้แตกแยก ที่กล่าวมา ถ้ามีสติดีอย่าทาเพราะบาปหนักท่ีสุดต้องแล้วแก้ไม่ได้ มีเพ่ิมเติมคือถือ ให้รีบถามครูอาจารย์ทร่ี ู้จริง อย่าให้ค้างคาในใจเพราะจะเกดิ ทกุ ข์ ศาสดาอนื่ มชี ีวติ รีบแก้ไข ไม่ง้ันตายแล้วอเวจีมหานรกจะเป็ นทไี่ ป ๘ ลงั เลสงสัย (ลูบคลา) ในพระรัตนตรัย วิธีแก้ ถือไตรสรณคมน์ ๒ ปาราชิกสี่ มี ๑ ฆ่ามนุษย์ ๒ ลกั ทรัพย์ ๓ เสพเมถุน ๔ อวดอตุ ริ มนุสธรรมทไี่ ม่มใี นตน เมอื่ ต้องแล้วขาดจากการเป็ นภิกษุ ต้องลาสิกขาคอื รักษาศีลให้บริสุทธ์ิ ภาวนาแม่นๆระวังตะครุบเงายุติด้วยการปฏบิ ัติ ระลกึ สึกอย่างเดียวเพราะโทษหนักจะเบาลง ถงึ พระรัตนตรัยและพ่อแม่ครูอาจารย์ ๓ สังฆาทเิ สส ภกิ ษุต้องเข้าแล้วต้องเข้าอบรมปริวาสกรรม ๔ นิสสัคคยิ ปาจติ ตยี ์ ต้องสละสิ่งของแล้วแสดงอาบัติ ข้อ ๑ – ๘ เกย่ี วกบั พระ ข้อ ๑ , ๖ – ๘ เกย่ี วกบั ฆราวาส ๕ อาบัติอน่ื แสดงอาบตั ิแล้วให้สารวม ๖ การปรารถนาต่างๆ เช่นปรารถนาพทุ ธภูมิ วธิ แี ก้ต้ังนะโม ๓ คร้ัง ๑๐ การแก้ไขสมาธิ (ดูหน้า ๑๘ ประกอบ) แล้วอธิษฐานขอละการปรารถนาพุทธภูมิ ขอละการปรารถนาต่างๆน้ัน ปรารถนาพอเป็ นพอไป ขอละส่ิงขวางก้นั มรรคผล ขอสิ้นกิเลสในชาตินี้ สติปัฏฐานสี่ มสี ติกาหนดพจิ ารณากายเวทนาจติ ธรรม ส่วนมากครู อธิษฐาน ๑ – ๒ คร้ัง เพราะใจเป็ นใหญ่จึงละทใ่ี จ การปรารถนาตาทิพย์หู อาจารย์จะสอนให้พจิ ารณากาย (แก้ราคะ) คอื จติ สงบเพ่งกายส่วนหน่ึงให้ ทิพย์การพ้นทุกข์จะล่าช้า หากจะเกิดก็ให้เกดิ ขึน้ มาเอง อย่าใช้ญาณบ่อย เหน็ จริง (หลบั ตาแล้วมองเหน็ กายชัดจริง เหน็ เหมอื นตาทพิ ย์ เหมอื นดู (จิตส่งออกมาก) จติ ทสี่ ่งออกนอกเป็ นสมทุ ยั (เหตุให้เกดิ ทกุ ข์) ทวี )ี จากน้ันใช้กระแสจติ บังคบั กายส่วนทเี่ หน็ ให้สลายแยกออกตามเข้าไป เรื่อยๆโดยอนุโลมปฏโิ ลม เมอ่ื พอเพยี งกเิ ลสจะเบาบางทส่ี ุดกห็ มดไป หาก ๑๘ จติ สงบแล้วเห็นชัดจริงกพ็ จิ ารณาลกั ษณะดังทก่ี ล่าวมา สักระยะอย่าให้นานเกนิ ไป ถ้าพจิ ารณากายแล้วไม่เหน็ จริงคอื สงบ มดื ลกั ษณะนึกพจิ ารณาเองโดยไม่เห็นจริงเรียกตะครุบเงา วปิ ัสสนาตกนา้ สมาธิหวั ตอ วปิ ัสสนาจริงไม่เกดิ ทาให้หลงข่มกเิ ลสชั่วคราว เปรียบค้าขาย ไม่มกี าไรเสียเวลาเพราะกเิ ลสมเี ตม็ ร้อยจิตปล่อยวางไม่ได้ สังเกตเมอ่ื มสี ่ิง ทดสอบ รีบแก้ไขหากปล่อยนานไปจะตดิ แก้ไขยากร้ันหลงเข้าข้างตัวเอง ๑๙

ภาวนา ๔ – ๕ วนั จติ สงบรีบตักตวง วนั ท่ี ๖ – ๘ ไม่สงบ เพราะจิต มาทดสอบ สังเกตการเบาบางและหมดไปของกเิ ลส อย่าสนใจอดีตเช่นการ ต้องการพกั ลดความเพยี รเปลย่ี นอริ ิยาบถ วนั ที่ ๙ – ๑๓ สงบเหมอื นเดมิ ระลกึ ชาติเพราะล่วงมาแล้ว อย่าสนใจอนาคตเช่นการรู้ล่วงหน้าเพราะยงั เกดิ ดบั สลบั ไปมาเพราะเป็ นอานาจกฎไตรลกั ษณ์ ทุกส่ิงไม่เทยี่ ง นิพพาน มาไม่ถงึ ทาให้ล่าช้าต่อการพ้นทกุ ข์ ทาปัจจุบนั ให้ดที ส่ี ุด คอื ละช่ัวสร้างบุญ สิ่งเดยี วเทยี่ งตลอดเหนือไตรลกั ษณ์ กฎอนิจจงั ทุกขงั อนัตตาเข้าไม่ถึงจติ กศุ ลภาวนาแม่นๆ เมอ่ื พอเพยี งอนาคตกด็ ีเอง จติ ทเ่ี ข้าถงึ พระนิพพานแล้วจึงมคี วามเทยี่ งตรงไปตลอดอนันตกาล มหาสติมหาปัญญาใช้เรียกสาหรับพระพทุ ธเจ้า เทยี บสติปัญญา มรรคผลไม่เกดิ ใช้สติกาหนดพจิ ารณาจิต เพราะ “ ธรรมท้งั หลาย ความเพยี รฆ่ากเิ ลสอตั โนมัตใิ ช้เรียกสาหรับสาวก คอื เคร่ืองมอื ฆ่ากเิ ลส มใี จเป็ นหัวหน้า มใี จเป็ นใหญ่ สาเร็จด้วยใจ ” (ธรรมบท / ยมกวรรค) แก้ หลงั จากงานแก้กเิ ลสสิ้นสุดเคร่ืองมอื นีก้ ว็ าง สติวนิ ัยเข้ามาแทนท่ี อปุ มา ได้ทกุ จริตค่อยๆปฏบิ ตั ิเพราะเป็ นทางพ้นทกุ ข์โดยตรง ใช้กาลงั ไม่มาก เข้ามาคุมเชิง สตวิ นิ ัยคอื ฉลาดรอบคอบรอบตวั รอบกบั ทกุ สิ่งทเี่ กยี่ วข้อง เพราะออกทางปัญญา จงึ ลงทุนน้อยแต่ได้ผลมากเปรียบการค้าขายทไี่ ด้ กาไรมากมาย สะดวกรวดเร็วปลอดภัย ปฏบิ ตั ิสมา่ เสมอในทางสายกลาง การภาวนาข้อวตั รปฏบิ ัตติ ามปกติเพอื่ เป็ นวหิ ารธรรม (เคร่ืองอยู่) ภายในสิบวนั มรรคผลกเ็ กดิ ช้าหรือเร็วราบร่ืนหรือลาบากขนึ้ อยู่ทว่ี าสนา เน่ืองจากธาตุขนั ธ์ยงั มี การพจิ ารณาทาเหมอื นเดมิ สักระยะ (เผอ่ื ) ป้ องกนั การรักษาจติ และความเพยี ร เช่น ทามากหรือทาน้อย วปิ ัสสนูปกเิ ลส (หลง) หลงั จากน้ันให้หยุดพจิ ารณา เอาจติ วางพกั ทฐ่ี านมี สติรู้อยู่เพอ่ื สะสมพลงั จติ ฟอกธาตุขนั ธ์ นานไปอฐั ิธาตุจะเกดิ เร็วขนึ้ สร้าง ทาจติ ให้สงบ อย่ากาหนดให้เห็นหรือสว่าง ให้เห็นหรือสว่างเอง บุญกศุ ลยงั ประโยชน์ตนและท่านให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท มอง เหน็ กบ็ ังคบั ให้สลายแยกออกตามเข้าไปเร่ือยๆโดยอนุโลมปฏโิ ลม ไม่เห็น โลกเป็ นกลางๆ เพราะโลกมสี ูงต่าดาขาว ดแี ละชั่วคละเคล้ากนั ไป จงึ จะสม กน็ ึกให้สลายแยกออกไม่ต้องละเอยี ดตามเข้าไปเรื่อยๆ โดยอนุโลมปฏโิ ลม กบั การเกดิ มาเป็ นคนอย่างเต็มภาคภูมิ เมอ่ื พอเพยี งกเิ ลสจะเบาบางทส่ี ุดกห็ มดไป ๒๑ หากจติ ส่งออกคดิ โน่นนี่คอื สมทุ ยั (เหตุให้เกดิ ทุกข์) การแก้ไขใช้คา บริกรรมเช่นนึกพทุ โธมากๆ ทาต่อเนื่องจิตจะออกทางปัญญาเป็ นวปิ ัสสนา โดยอตั โนมตั ิ ภพชาติคอื การเกดิ จะถูกทาลายไปเร่ือยๆทส่ี ุดกห็ มดไป เช่นเดียวกนั กเิ ลสจะเบาบางทส่ี ุดกห็ มดไป จติ จะเริ่มปล่อยวางเมอ่ื มสี ่ิงเข้า ๒๐

๑๑ ประวตั พิ ระสุปัญญา ธนปัญโญ (ผู้เขยี น) อปุ สมบท ก่อนจะบวชคร้ังล่าสุดเคยภาวนากบั พ่อแม่ครูอาจารย์ หลายสานัก ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๔๐ จึงมพี นื้ ฐานการปฏบิ ตั ิมาเป็ นอย่างดี นามเดิม สุปัญญา ปัญญาดิลกพงษ์ เป็ นบุตรคนที่ ๗ มีพ่ีน้อง (บวช ๒๒ พ.ค. ๒๕๔๗ เวลา ๑๒.๓๓ น. ขณะอายุ ๓๘ ปี ณ วดั ป่ าศิริวนั บรรพต ต.โนนสมบูรณ์ อ.เสิงสาง จ.นครราชสีมา โดยพระครูอรุณคุณา ท้ังหมด ๘ คน ของนายสุภาพ นางสุภาพร เกิดวันเสาร์ท่ี ๔ มิ.ย. พ.ศ. ทร (ล.พ.สุเมธ) เป็ นพระอุปัชฌาย์ พระเจริญ โรจนธัมโม เป็ นพระ กรรมวาจาจารย์ พระสมปอง อริยจิตโต เป็ นพระอนุสาวนาจารย์) เคย ๒๕๐๙ แรม ๑ คา่ ปี มะเมยี ณ บ้านเลขท่ี ๑๖๗ หมู่ ๔ อ.นาแก จ.นครพนม ศึกษาปฏิบัติกับหลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร เจ้าอาวาสวัดธรรมมงคล กรุงเทพฯ หลวงป่ ูอว้าน เขมโก เจ้าอาวาสวดั ป่ านาคนิมติ บ.นามน อ.โคก เกดิ วนั เสาร์ = ๗ (อาทติ ย์ = ๑) ศรีสุพรรณ จ.สกลนคร ระยะหน่ึง และพ่อแม่ครูอาจารย์หลายท่าน ไม่ สะดวกทจี่ ะนามากล่าว จึงขออภยั มา ณ ทนี่ ีด้ ้วย ๔ ม.ิ ย. พ.ศ. ๒๕๐๙ / ปฏทิ นิ ๑๐๐ ปี = ๗ (เดอื น ๗ แรม ๑ คา่ ) ศึกษาปฏบิ ัติด้วยตนเองเป็ นส่วนมาก บางคร้ังศึกษากบั ครูอาจารย์ ปี มะเมยี สูง ๑๗๔ ซ.ม. = ๗ (ชวด = ๑) บางท่าน จึงต้องรีบเรียนให้จบแล้วอย่าไปเข้าโรงเรียนอีกเพราะผิด ธรรมชาติวนไปวนมาเปรียบเขยใหม่ คือไปอยู่ใต้บังคับบัญชาของพ่อตา นา้ หนัก ๖๔ ก.ก. เป็ นบุตรคนท่ี ๗ = ๗ (สีผวิ ขาวเหลอื ง) แม่ยาย พ.ศ. ๒๕๔๘ ฟังธรรมะจากพ่อแม่ครูอาจารย์หลายท่าน จากสถานี วิทยุเสียงธรรมเพื่อประชาชน จ.อุดรฯ หลักๆคือหลวงตามหาบัว ๒๕๐๙ (๒ + ๕ + ๐ + ๙ = ๑๖) , ๑ + ๖ = ๗ (สัณฐานสันทดั ) ญาณสัมปันโน เพราะเป็ นธรรมอนั เหนือโลกจึงมีความอศั จรรย์ทาให้เกิด ศรัทธาปสาทะ ส่วนมากจะภาวนาเปิ ดวทิ ยุฟังเทศน์ธรรมะกาหนดจิตไป พรรษา ๗ (เริ่มเขยี นหนังสือ) = ๗ (ธรรมทาน) ด้วยวันละหลายชั่วโมงอย่างต่อเน่ือง ได้รับรู้ธรรมะอย่างหลากหลายแบบ ค่อยๆซึมซับ ดังน้ันมรรคผล (ธรรมช้ันสูง) หลกั ๆจึงได้มาจากสถานีวิทยุ ๗ ต.ค. พ.ศ. ๒๕๕๖ ลูกชายเสียชีวติ = ๗ (นายสุพพฒั วงศ์) เสียงธรรมเพอ่ื ประชาชน การศึกษา เรียนช้ันประถม ร.ร.นาแกผดุงราชกจิ เจริญ ร.ร.บ้าน ๒๓ แพง ร.ร.บ้านแพงวทิ ยา จบ ป.6 ร.ร.บ้านนาแกน้อย (๒๕๒๒) จบ ม.๖ ร.ร.นาแกสามคั ควี ทิ ยา (พ.ศ. ๒๕๒๘) กฬี าหลกั บาสเกตบอล กฬี าอนื่ ๆ วอลเล่ย์บอล แฮนด์บอล ปิ งปอง หมากรุก จบเรียบเรียงดนตรีทร่ี .ร.ดนตรี สยามกลการปทมุ วนั ครูสมาธิรุ่น ๓ ครูสมาธิช้ันสูง สถาบนั พลงั จติ ตานุ ภาพ วดั ธรรมมงคล กรุงเทพฯ ๒๕๔๒ การทางาน ครูดนตรี นักดนตรีอาชีพ (เปี ยโน คยี ์บอร์ด) ๑๕ ปี ตัวแทน บ. เอ ไอ เอ ๘ ปี มคี รอบครัวแล้วแยกทาง บุตรช่ือนายสุพพฒั วงศ์ ปัญญาดิลกพงษ์ (นาค) เสียชีวติ ด้วยอบุ ตั เิ หตุ เมอ่ื ๗ ต.ค พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒๒

ประวตั กิ ารจาพรรษา ได้ขอให้อยู่คนเดยี วไปคนเดียวเพราะไม่กงั วลพระอรหันต์ตายง่าย ไป หลายๆจังหวดั ไปทศั นศึกษาดูงานทเ่ี ป็ นประโยชน์แล้วนามาประยกุ ต์ใช้ พรรษา ๑ / ๒๕๔๗ ทพ่ี กั สงฆ์ บ. คาแคน ต. หนองสรวง อ. หนองกรุงศรี ไปได้ไปตายแล้วไปไม่ได้ อย่าหวงของอร่อยไว้กนิ คนเดียว (สังเกตคนเห็น จ. กาฬสินธ์ุ แก่ตัวเวลามอี าหารหลายอย่าง บางคนชอบเลอื กทานแต่อาหารทด่ี ๆี อาหาร ทไี่ ม่ดกี ม็ กั เหลอื ให้คนอน่ื รู้ทางแล้วรีบแก้ไขแล้วจะราบรื่น) ลูกศิษย์จะเก่ง พรรษา ๒ / ๒๕๔๘ วดั ธาตุศรีคุณ อ. นาแก จ. นครพนม ขนาดไหนกอ็ ยู่ใต้ฝ่ าเท้าครูอาจารย์ อย่าไปตาหนิเพราะท่านเป็ นพ่อแม่เรา พรรษา ๓ / ๒๕๔๙ สานักสงฆ์บ้านชาติพฒั นา ต. อ่มุ เม่า อ. ธาตุพนม จ. เราบอกท่านไม่ฟังให้น่ิงเฉย หากไปทะเลาะกบั ท่านเราจะเป็ นฝ่ ายผดิ ” นครพนม ๑๒ เริ่มแรกปฏบิ ัติ ล้มลกุ คลกุ คลาน พ.ศ. ๒๕๔๐ พรรษา ๔ / ๒๕๕๐ ป่ าช้า บ. จาปาศรี อ. นาแก จ. นครพนม สร้างวดั ยงั จับทางวปิ ัสสนาไม่ได้ แม้จะเพยี รปฏบิ ตั ขิ นาดไหนกเ็ ป็ นเพยี ง เน่ืองจากบ้านไม่มวี ดั อยู่ ๑ รูป สมถะ (ความสงบข่มกเิ ลสช่ัวคราว) เมอื่ หมดกาลงั สมาธิกเิ ลสกเ็ กดิ ขนึ้ มา พรรษา ๕ / ๒๕๕๑ ทพ่ี กั สงฆ์ป่ าช้า บ. นาสีนวล อ. สหสั ขนั ธ์ จ. กาฬสินธ์ุ เหมอื นเดมิ (สมาธิหวั ตอสงบอย่างเดยี วไม่ออกทางปัญญา) จงึ เป็ นช่วงที่ ล้มลกุ คลกุ คลาน จะตายกไ็ ม่ตายจะบ้ากไ็ ม่บ้าจะเพยี้ นกไ็ ม่เพยี้ น เกดิ ความ อยู่ ๑ รูป สงสัยท้อแท้ บางคร้ังจติ หลอนสะดุ้งตื่นคดิ จะเลกิ ปฏบิ ตั ิจงึ โทรหาหลวง พรรษา ๖ / ๒๕๕๒ ทพ่ี กั สงฆ์ขนั ไทย บ. ดานสาวคอย อ. นาแก จ. นคร พ่อวริ ิยงั ค์ สิรินธโร เนื่องจากผู้เขยี นอยู่ต่างจงั หวดั พนม อยู่ ๑ รูป ท่านตอบว่า “ แกกร็ ู้จกั ปล่อยวางบ้างซี หยุดไม่ได้สมาธติ ้องทา พรรษา ๗ – ๑๒ / ๒๕๕๒ – ๕๘ ทพ่ี กั สงฆ์ของโยมน้องสาว (น.ส.มุกดา) ต่อเนื่องสิบนาทตี ่อวนั เป็ นอย่างตา่ มเี วลากท็ าให้มากกว่านี้ การทาสมาธิแต่ ละคร้ังจะได้พลงั จติ จะเข้าไปช่วยรักษาใจให้เป็ นปกติ เทวทตั ต์กท็ าสมาธิ กเิ ลสหมดตรงนี้ (ทเี่ กดิ ทดี่ นิ ของพ่อแม่ จึงเป็ นสถานที่ ได้ ” ความหมายแม้กระทง่ั คนหยาบบาปหนากย็ งั ทาสมาธิได้ เพราะธาตุ มหามงคล) เลขท่ี ๑๖๗ ม.๔ อ.นาแก จ.นพ. อยู่ ๑ รูป ขนั ธ์ยงั มอี ยู่ สมาธิจึงเป็ นวหิ ารธรรมและนามาซ่ึงความสุข แต่เพราะบาง พรรษา ๑๓ – ๑๖ / ๕๙ – ๖๒ สานักสงฆ์พระสุปัญญา อ.นาแก อยู่ ๑ รูป คนได้สร้างกรรมหนักจงึ ไม่สามารถบรรลุมรรคผล แต่การดาเนินชีวติ กย็ งั รักสันโดษอยากพ้นทกุ ข์เร็วไม่คลกุ คลี ส่วนมากอยู่คนเดยี วไปคน เดยี วกนิ ง่ายอยู่ง่าย ชอบความเป็ นระเบียบสะอาดแบ่งปันทาทานเออื้ เฟื้ อ ๒๕ เป็ นนิสัยปกติ ด้วยเหตุนีช้ ีวติ พระจึงมภี ูมติ ้านทานสูง อาหารกแ็ ล้วแต่เขา จะหามาให้ตามสมควรในธรรม หลวงตามหาบัวท่านเทศน์ว่า “ อยู่ไหนก็ ๒๔

ต้องเป็ นไปกระทง่ั ตายจากกนั ไปข้างหน่ึง โลกมสี ูงตา่ ดาขาว ดีและชั่วคละ ฌานญฺจ ปญฺญญฺ จ นิพพานสฺสสนฺติเก = ฌานไม่มแี ก่ผู้ไม่มปี ัญญา ปัญญา เคล้ากนั ไป อกี อย่างกเ็ ป็ นโทษวฏั ฏะ ดังน้ันแม้ยงั ออกทางปัญญาไม่ได้ แต่ ไม่มแี ก่ผู้ไม่มฌี าน ฌานและปัญญาท้งั สองนี้มอี ยู่ในผู้ใด ผู้น้ันอยู่ใกล้พระ กท็ าสมาธิมาสมา่ เสมอหลายปี สอนได้แล้วหลวงพ่อบอกตรงๆกบั ผู้เขยี น นิพพานนัก ” (หนังสือประวตั หิ ลวงป่ ูจวน กลุ เชฏฺ โฐ หน้า ๓๒๒) ๑๓ การเปลย่ี นแปลงคร้ังสาคญั สะเปะสะปะแต่พอได้บ้าง ๑๔ สายตรงพ้นทุกข์ (จบั จุดการพจิ ารณาจติ ได้) ๘ ม.ค. พ.ศ. ๒๕๕๑ จาริกไปทาง จ.เลย พกั วดั อมั พวนั บ.ไร่ม่วง ๓ ธ.ค. พ.ศ. ๒๕๕๑ ณ ทพี่ กั สงฆ์ป่ าช้า บ.นาสีนวล อ.สหสั ขนั ธ์ ขณะนั่งสมาธิช่วงหัวคา่ ได้ยนิ หลวงตามหาบัวท่านเทศน์สดทางวทิ ยุ ณ จ.กาฬสินธ์ุ สนทนาธรรมทางโทรศัพท์กับโยมผ่องศรี บุญวัฒน์ ซ่ึงเป็ น สวนแสงธรรมสรุปว่า “ นั่นแหละตรงน้ันแหละยา้ เข้าไปจุดเดยี ว ถ้าหลวง สหธรรมมิก ได้ยนิ ว่า “ ตัด พจิ ารณา อนัตตา ” สักระยะในวนั เดียวกนั ได้ ป่ ูมนั่ ท่านสั่งให้เรายา้ เข้าไปตรงน้ันจุดเดยี ว เราสาเร็จนานแล้ว ” (เพ่งเบาๆ ยินเสียงหลวงพ่อพุธ ฐานิโย ทางวิทยุเสียงธรรมฯ ท่านเทศน์ว่า “ การ ทฐี่ านแล้วพจิ ารณาจุดเดยี ว) ดาเนินวิปัสสนาให้มโนภาพขนึ้ มาในจิต จิตจะเป็ นวิปัสสนาโดยอตั โนมัติ อนัตตาแปลว่าสลายไป ” (พิจารณาไตรลกั ษณ์) สักระยะวันเดียวกนั ช่วง ต้ังแต่น้ันมา จติ สงบเพ่งเบาๆทห่ี น้าผากแล้วนึกให้สลายแยกออก หัวคา่ ได้ยินหลวงตามหาบัวท่านเทศน์ทางวทิ ยุว่า “ เราล้มลุกคลุกคลาน บางคร้ังกพ็ จิ ารณา บางคร้ังกไ็ ม่พจิ ารณา เดอื นมนี าคมราคะปฏฆิ ะเร่ิมเบา มาสารพดั แบบ เพราะฉะน้ันสอนได้ทกุ รูปแบบ น่ันแหละยา้ เข้าไปตรงน้ัน บางยบ๊ิ ๆแย๊บๆศีลบริสุทธ์ิตลอดเป็ นลกั ษณะพระสกทิ าคามี เสียงจากหลวง แหละจุดเดยี วได้ผลเยอะทส่ี ุด ” (พจิ ารณาทฐี่ านจุดเดียว) ตามหาบัว “ สะเปะสะปะแต่พอได้บ้าง ” เริ่มมน่ั ใจในทางดาเนินจติ ดูดดืม่ เริ่มปล่อยวางแต่ยงั ไม่ออกทางปัญญาเตม็ ท่ี หลวงป่ ูเจ๊ียะ จุนโท ท่านเทศน์ ต้ังแต่น้ันมาจิตสงบจงึ เพ่งเบาๆทหี่ น้าผาก จากน้ันนึกให้สลายแยก ว่า “ เพ่งอย่างเดียวข่มกเิ ลสช่ัวคราว ” ออกไม่ต้องละเอยี ดโดยอนุโลมปฏโิ ลมทส่ี ุดกเิ ลสกห็ มดไปแบบโล่งอกไปที (สุกขวปิ ัสสโก) ในวนั ท่ี ๒๐ ก.ค. พ.ศ. ๒๕๕๓ พรรษาทหี่ ก เวลา ๑๘.๐๐ – สังเกตเพ่งเบาๆทฐ่ี านต่อเน่ือง ประมาณส่ีเดือนความง่วงเริ่มหมด ๒๐.๐๐ น. ณ เรือนว่างทด่ี นิ พ่อแม่ เลขท่ี ๑๖๗ ม.๔ อ.นาแก จ.นพ. การ ไป (ถีนมทิ ธะคอื ความง่วงเหงาหาวนอน หรือความขาดสติปัญญาของจิต) บรรลเุ ป็ นไปตามลาดับ โสดาบันสกทิ าคามอี นาคามอี รหนั ต์ รู้ละเอยี ดลออ ฉันอาหารมากๆแล้วภาวนาจะไม่ง่วง การเพ่งกระแสจิตจะแรงจะลงไปตัด เข้าไปเรื่อยๆ หมดกเิ ลสไม่รู้ขณะและรู้แบบเงียบๆคนเดียว ตวั ถีนมทิ ธะ สติจะตามตลอดไม่ว่าจติ จะลงลกึ ขนาดไหน เมอื่ ออกทาง ปัญญาจงึ เรียกสัมมาสมาธิ “ นตฺถิ ฌาน อปญญสฺส นตฺถิ ปญฺญา อฌายโิ น ๒๑ ก.ค. พ.ศ. ๒๕๕๓ มเี สียงรบกวนเข้ามาทดสอบแต่ไม่ราคาญ ๒๖ ๒๗

(เวทนาเข้าไม่ถึงจิต เริ่มรู้ว่าผ่าน) ๒๗ ก.ค. ๒๕๕๓ ได้ยนิ หลวงตามหาบวั มกี เิ ลสอยู่เต็มหัวใจ ถึงเวลาจะมสี ิ่งเข้ามาทดสอบ เช่น ความตายมดี ปื นผา ท่านเทศน์สดทางวทิ ยุว่า “ หมดแล้ว ” (งานรื้อวฏั ฏะเสร็จสิ้น) เพราะเป็ น หน้าไม้และการถูกข่มขู่ด้วยประการต่างๆ ธรรมเหนือโลกและธรรมจัดสรร จากน้ันจงึ ออกอทุ านว่า “ หาแทบตายอยู่ ใกล้ๆง่ายนิดเดยี ว ” ๑๗ ก.ย. พ.ศ. ๒๕๕๕ ไปผ่าฟันคุด ที่ ร.พ.อ.นาแก ผ่าเหงือกแล้ว ผ่าแยกฟันคุดออกเป็ นห้าเสี่ยงเพราะถอนไม่ได้ ๒๑ ส.ค. ๒๕๕๘ ฟันคุดท่ี กลางคนื จาวดั ในป่ าช้าเปลยี่ วรูปเดียวรู้สึกเฉย อาการจติ หลอน ผ่าออกมาสามเส่ียงกลายเป็ นพระธาตุขนาดข้าวปลายเมด็ ใหญ่ (ปกหลงั สะดุ้งตื่นหายขาดสักแต่ว่ารู้ๆไม่เป็ นกเิ ลส ไม่สุขไม่ทุกข์เฉยๆไม่ยนิ ดียนิ ข้างใน) สองเสี่ยงใหญ่โยมลกู ศิษย์ขอไปบูชา เป็ นฟันคุดทไ่ี ม่สามารถขนึ้ ร้าย ไม่มเี กดิ ดบั ไม่ถอยหลงั ไม่เดินหน้า เทยี่ งตรงตลอดจติ เป็ นกลางๆ ได้ตามปกติในช่องปากทาให้เกดิ ผลข้างเคยี งทไ่ี ม่ดี ไม่ผ่าออกกป็ วดทาให้ เรียกสอปุ าทเิ สสนิพพาน (บรรลพุ ระนิพพานขณะมชี ีวติ ) แค่นีก้ เ็ พยี งพอ โรคอย่างอนื่ ลกุ ลาม สรุปว่าต้องถอนดกี ว่าเพราะปล่อยไว้จะเป็ นปัญหา กเิ ลสหมดแล้วจบเพราะรสชาติเหมอื นกนั เมอื่ รู้จกั ประมาณจึงพ้นทกุ ข์ แบบพอเพยี ง อปุ มารบร้อยคร้ังชนะร้อยคร้ัง อย่าฝื นเพราะลาบากเปล่า เปรียบเทยี บระยะเวลาการปฏิบัติ ต้น พ.ศ. ๒๕๕๔ เดินทางโดยรถกระบะความเร็ว ๙๐ ก.ม. / ชม. (๑) ๑๒ เริ่มแรกปฏิบัติ (ล้มลุกคลุกคลาน) พ.ศ. ๒๕๔๐ ถึงพ้น จาก อ.นาแก จ.นครพนม ไป จ.อดุ รฯ เวลา ๐๒.๐๐ น. มรี ถกระบะอกี ฝั่ง ทุกข์ ๒๐ ก.ค. พ.ศ. ๒๕๕๓ ใช้เวลาประมาณ ๑๓ ปี วงิ่ เสียหลกั สวนทางข้ามฝั่งเข้ามา ใกล้ๆประมาณ ๘ เมตร แล้วหักหลบไป ทางซ้าย รถผู้เขยี นน่ังหกั หลบไปทางขวา ต่างคนต่างไปด้วยความปลอด (๒) ๑๓ การเปลยี่ นแปลงคร้ังสาคญั (สะเปะสะปะแต่พอได้บ้าง) ๘ ภยั เหมอื นไม่มอี ะไรเกดิ ขนึ้ (ธรรมะจดั สรรให้แคล้วคลาด) ม.ค. พ.ศ. ๒๕๕๑ ถงึ พ้นทุกข์ ๒๐ ก.ค. พ.ศ. ๒๕๕๓ ใช้เวลา ๒ ปี กว่า จิตผู้เขยี นนิ่งเฉยเพราะเวทนาเข้าไม่ถึงจิต จากน้ันถามคนขบั รถว่า (๓) ๑๔ สายตรงพ้นทุกข์ (การพจิ ารณาจิต จบั จุดได้) ๓ ธ.ค. พ.ศ. “ โยมเป็ นไงบ้าง ? ” คนขบั ตอบว่า “ อาจารย์ผมยงั ทาใจไม่ได้ ” เพราะ ๒๕๕๑ ถึงพ้นทกุ ข์ ๒๐ ก.ค. พ.ศ. ๒๕๕๓ ใช้เวลา ๑ ปี กว่า เวทนาเข้าถงึ จิตเต็มร้อย “ วริ ิเยน ทกุ ขฺ มจฺเจติ = คนล่วงทุกข์ได้เพราะ ความเพยี ร (สคาถวคฺค) จติ ฺต ทนฺต สุขาวหา = จิตทฝี่ ึ กดีแล้วนาสุขมาให้ ” สังเกตใช้เวลาไม่นานหากจับจุดได้อาจใช้เวลาหนึ่งปี หรือน้อยกว่านี้ (ธมฺมปทคาถา) พจิ ารณามองอย่างเป็ นกลางๆระหว่างผู้ไม่มกี เิ ลสกบั คนท่ี เขยี นเพอื่ เป็ นแนวทางและให้กาลงั ใจผู้ทาความเพยี รไม่ให้ท้อถอย อย่าคดิ ว่าตนบุญวาสนาน้อยหรือไม่มเี วลา เพราะหากพจิ ารณาถูกต้องกค็ งไม่พ้น ๒๘ วสิ ัยของเราๆท่านๆ (ทุกคนรักสุขเกลยี ดทุกข์ด้วยกนั ท้งั น้ัน) ๒๙

๑๕ จติ อาสา (ทาประโยชน์) แก้ไข การเขยี นเจตนาเพอื่ ให้เกดิ ศรัทธาปสาทะแล้วนาไปปฏบิ ัติ เน้นพ้น ทุกข์ด้วยวธิ งี ่ายๆแต่ได้ผลมาก อย่าประมาทให้เหน็ โทษวฏั ฏะ วธิ ใี ดเป็ น มโี อกาสโปรดสัตว์ไปด้วย ต้ังใจสอนบ่อยๆกช็ านาญเพราะไม่มี ประโยชน์อยู่ใกล้รีบขวนขวายเพราะความตายเป็ นของแน่นอน หากยงั ไม่ ใครเก่งมาแต่เกดิ มผี ู้ได้มรรคผลเยอะจึงได้รับอานิสงส์จากธรรมทาน บรรลุอนาคามตี ายแล้วต้องมาเกดิ ในโลกนีอ้ กี ทุกข์เหมอื นเดมิ เพราะกรรม เกดิ ความสุขราบรื่นขนึ้ เรื่อยๆและมกี ลั ยาณมติ รมาก ภาวนาแม่นๆ ๒๐ – เก่า (จติ เดิมอาศัยร่างใหม่) สานักปฏบิ ัติสถานศึกษาหรือโดยทวั่ ไปหาก ๓๐ นาที / วนั หรือมากกว่านี้ ภายในสิบวนั มรรคผลกเ็ กดิ ราคะปฏฆิ ะลด ภาวนาโดยใช้การพจิ ารณาจติ ๑๐ – ๑๕ นาที / วนั ภายในสิบวนั จะมผี ู้ได้ เพยี ง ๑ % น่ันคอื เลยโสดาบนั แล้ว (บรรลสุ กทิ าคาม)ี สุดท้ายพระอรหันต์ มรรคผลมากมาย จึงเป็ นความเจริญของพระศาสนาอย่างแท้จริง ทาให้ น้ันช้าหรือเร็วเป็ นบางคนเพราะเป็ นความแตกต่างทางวาสนา อกี อย่าง เกดิ ประโยชน์ใหญ่ เพราะพลงั ธรรมจะยงั ประโยชน์ให้กบั โลกและสังคม เกย่ี วเน่ืองกบั การรักษาจิตและระยะเวลาทาความเพยี ร อย่ากงั วลวางจติ เหมอื นเดิมอย่าใจร้อน เพราะความโลภอยากได้เร็วเป็ นอนั ตรายต่อสมาธิ ๑๖ อย่าตาหนิพระอรหันต์ ทาให้ต่อเนื่องเมอ่ื พอเพยี งกผ็ ่าน วาสนาคือส่ิงท่ีฝังอยู่ในจิต ทางกุศลเช่นบุญบารมี ทางอกุศลคือ ที่น่าสนใจคือภูมิพระอนาคามีมีห้าช้ัน (อวิหา อตัปปา สุทัสสา บาป เกดิ จากกรรมเก่าทเ่ี คยทาไว้ บารมมี สี ามระดบั ข้นั ต้นเรียกสามญั ข้นั สุทัสสี อกนิฏฐา) เปรียบเทยี บ ๕๐ – ๙๙ % ปฏบิ ัติไม่ยากประมาณ ๔ – กลางเรียกอุปบารมี สูงสุดเรียกปรมัตถบารมี บารมีคือคุณความดีที่เคย ๑๕ วัน ช้ันใดกไ็ ด้เข้าถึงแล้วถือว่าเรียนจบสอบผ่าน คอื ตายจากโลกนี้แล้ว บาเพญ็ มา คุณความดีทท่ี าได้ยาก ภาวะท่ีทาให้เต็มจึงมีกาลงั ใจเยอะ ทาให้ ไม่กลบั มาเกดิ ในท้องแม่อกี จิตจะไปเกดิ แบบเติบโตขนึ้ ทันที (อุปปาติกะ) เกิดความย่ิงใหญ่ เช่นเกิดญาณมรรคผล กิริยาอาการใดท่ีไม่เรียบร้อย ในสุ ทธาวาสห้ าละเอียดเข้าไปเร่ือยๆ (ยาวนานมากเป็ นกัปๆนับ พระพุทธเจ้าเท่าน้ันที่ละได้ ตรัสรู้แล้วสวยงามยอดเยี่ยมสมบูรณ์แบบ ล้านๆๆๆๆๆๆปี ) เต็มภูมทิ อี่ กนิฏฐาแล้วดดี เข้าพระนิพพานเลย เพราะเป็ นศาสดาเอกของโลก บาเพ็ญบารมีมายาวนาน จึงเป็ นยอด ประเสริฐสุดคอื หนึ่งไม่มีสอง (เอกนามก)ึ ส่วนสาวกละวาสนาไม่ได้ เช่น น่ันคอื ความสาเร็จในข้นั ต้น (อ่นุ ใจ) อย่าติดทตี่ รงนีเ้ พราะเสียเวลา พระสารีบุตร เคยเกดิ เป็ นลิงมาหลายร้อยชาติ เมื่อมาถึงชาติที่ท่านหมด ขณะมชี ีวติ โอกาสในการบรรลุอรหนั ต์มมี ากทส่ี ุดเอาให้จบไปเลย กเิ ลส กริ ิยาทไี่ ม่เรียบร้อยจงึ ยงั คงติดตามมา สาวกละกเิ ลสได้แต่วาสนาละ ไม่ได้ กิริยาของผู้เขียนก็เช่นกัน บางคร้ังเหมือนลิงค่างบ่างชะนี (ลิงร้อย การสนทนาธรรมจะอยู่ในวงปฏบิ ตั ิ คอื พดู ในทางการปฏบิ ตั ิ พูด ตามเป็ นจริงเพอื่ ให้ความมน่ั ใจและให้กาลงั ใจ หากผดิ พลาดจะได้ช่วยกนั ๓๑ ๓๐

ตัวสู้ไม่ได้) บางคร้ังกด็ ดั คอื ยงั กะจะส่งไปประกวด เมื่องานรื้อวัฏฏะเสร็จ ๑๗ ฐีตภิ ูต (จติ ด้งั เดมิ ) มีวชิ ชาและอวชิ ชา การเกดิ ปัญญา สิ้นบางอย่างจึงปล่อยวาง อย่าถือสาเพราะจะเป็ นบาปกรรม แต่ให้คดั เอา ในสิ่งที่เป็ นประโยชน์ หลวงตามหาบัวท่านเทศน์ว่า “ เขาศรัทธาไม่ “ มูลสังสารวฏั คอื ฐีตภิ ูตซ่ึงเป็ นจิตด้งั เดมิ อนั ประกอบด้วยอวชิ ชา ศรัทธาก็หัวใจเขา ” หลวงพ่อวิริยังค์ท่านเทศน์ว่า “ ทานเยอะๆ นอน และวชิ ชา ฐีตภิ ูตทม่ี อี วชิ ชาเป็ นมูลการเวยี นว่ายตายเกดิ ฐีตภิ ูตทม่ี วี ชิ ชา เยอะๆ (อ่อนน้อมบอกสอนง่ายไม่จาเป็ นต้องดดั มากเพราะลาบากเปล่า) ใส่ เป็ นมูลการหยดุ หมุน คอื หมดการเวยี นว่ายตายเกดิ ” (ภูริทตฺตธมฺโมวาท) รองเท้าด้วย (รักษาความสะอาดดูบ้านดูเมืองบ้างอย่าเถรตรงหลาย) เผ่ือ หน่อยนะ (จะได้มน่ั ใจ) ” ปฏบิ ัตอิ วดโลกพระวนิ ัยปรับอาบัติ อธิบาย จติ สงบเพ่งเบาๆทฐ่ี านนึกให้สลายฯ (หน้า ๑๔ – ๑๗) ตัว สลายคอื ตัวอนัตตาตวั ปัญญาตวั วปิ ัสสนาตวั ไตรลกั ษณ์ สลายทาลายกเิ ลส พระอรหนั ต์แต่ละท่านจริตนิสัยต่างกนั อย่าเพ่งโทษหรือจับผดิ เมอื่ พอเพยี งกเิ ลสจะเบาบางทสี่ ุดกห็ มดไป เกดิ วชิ ชาปัญญาทางโลกตุ ระ เพราะจะเกดิ บาปกรรม หากท่านไม่บอกเราจะไม่รู้ว่าท่านคอื พระอรหนั ต์ ปัญญาหยาบ (โสดาบนั สกทิ าคาม)ี ปัญญาอย่างกลาง (อนาคาม)ี ปัญญา (ไม่รู้จงึ สาคญั ไปเรื่อยว่าเป็ นอย่างน้ันอย่างนี้) หากสงสัยไม่มศี รัทธาให้น่ิง ละเอยี ด (พระอรหันต์) ผู้ไม่กลวั ตายมคี นเดยี วคอื พระอรหนั ต์ เพราะกเิ ลส เฉย อย่าคดิ แม้ตาหนิในใจ ต่างคนต่างอยู่กจ็ บอย่าก้าวก่ายกนั หมดเชื้อเกดิ จึงไม่มี เพราะวมิ ตุ อิ าศัยสมมุติสัญชาตญาณการเอาตัวรอดจึง มี เมอื่ ขนั ธ์ห้าแตกดบั คอื ตาย การรับรู้อารมณ์ท้งั ปวงดับสนิท = อนุปาทิ “ การตาหนิติเตียนผู้อน่ื ถึงเขาจะผดิ จริงกเ็ ป็ นการก่อกวนใจของ เสสนิพพาน จากน้ันบรมสุขทปี่ ราศจากสมมุติใดๆเข้ามาเกย่ี วข้องกเ็ ป็ นท่ี ตนเองให้ข่นุ มวั ไปด้วย ” (หลวงป่ ูมน่ั ) จึงควรพจิ ารณาแก้ไขตนเองให้มาก ไป (วสิ ุทธิธรรม) จงึ สิ้นเวรสิ้นกรรมอย่างสมบูรณ์ ดีกว่า ธรรมะความสงสัยไม่มที ส่ี ิ้นสุดยุตดิ ้วยการปฏบิ ตั ิ อยากรู้อยากพ้น ทุกข์ให้ทาตามคาสั่งสอนของท่าน พระพทุ ธเจ้าไม่ตาหนิพระอรหันต์ ดัง่ ส่วนปถุ ุชนพระโสดาบนั พระสกทิ าคามพี ระอนาคามยี งั ต้องเกดิ อกี ทท่ี รงตรัสว่า “ ชาตสิ ิ้นแล้วพรหมจรรย์เราได้อยู่จบแล้ว กจิ ทค่ี วรทาเราได้ การเกดิ เป็ นทุกข์เสียเวลาตามเป็ นจริงผู้มกี เิ ลสจงึ กลวั ตาย ผู้เหน็ ภยั จงึ ไม่ ทาเสร็จแล้ว กจิ อน่ื อกี เพอ่ื ความเป็ นอย่างนี้มไิ ด้มี ” (อาทติ ตปริยายสูตร) ประมาท รีบแสวงหาความรู้และทาความเพยี รเพอื่ จะได้พ้นทกุ ข์ซะที ๓๒ ๓๓

๑๘ สรุปการพจิ ารณาโดยย่อ ข้นั สมถะ ทสี่ าคญั พจิ ารณาแม่นๆ จึงจะเป็ นการปฏบิ ัติเพอื่ บรรลุธรรมอนั สุดยอดและมคี วามราบร่ืน “ การพจิ ารณาผู้รู้คอื จิตล้วนๆนับเป็ นธรรมช้ันสูงยง่ิ ผู้ปฏบิ ตั เิ มอ่ื มาถึงจุดนีไ้ ม่มที างพจิ ารณาส่วนอน่ื นอกจากพจิ ารณาจิตเพอื่ ธรรมะสุด พระอริยบุคคลท่านได้สร้างบารมี คอื ลงทนุ มามากนับชาติไม่ถ้วน ยอดเท่าน้ัน ถ้าไม่บอกไว้ว่าให้พจิ ารณาจติ ผู้ปฏบิ ัติกจ็ ะติดอยู่ในจุดน้ัน ปัจจุบันบ่งบอกถึงอดีต การกระทาในปัจจุบนั เป็ นสิ่งบ่งบอกถงึ อนาคต ทา แล้วจะหาทางหลดุ พ้นไม่เจอ การพจิ ารณาจิตเป็ นทางหลดุ พ้นสาหรับ ปัจจุบันให้ดที สี่ ุด “ ละช่ัวสร้างบุญกศุ ลทาจติ ให้ผ่องใส (ภาวนาแม่นๆ) ” ธรรมช้ันสูง (ปัญญา) ส่วนธรรมช้ันตา่ (ศีล) ธรรมช้ันกลาง (สมาธิ) น้ัน (โอวาทปาฏโิ มกข์) เมอื่ พอเพยี งอนาคตกด็ ีเอง เป็ นอกี เรื่องหน่ึง โปรดอย่านามาคละเคล้ากนั (แยกแยะให้ออก) เพราะจะ เกดิ ความสงสัยหาทย่ี ดึ ไม่ได้ เลยจะเสียหลกั ทค่ี วรจะได้จากธรรมทที่ ่าน ๑๙ สนทนาธรรม อธิบายให้ฟัง จะทาให้ใจสงบสุขได้แล้วเป็ นถูกต้อง ” (ธมั มะในลขิ ติ ฉบบั ที่ ๕๖ เขยี นโดยหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน) การบอกภูมธิ รรมไม่ใช่อวดเรียกพูดตามเป็ นจริง ปฏบิ ัตไิ ด้อย่างไร กพ็ ดู ออกมาอย่างน้ัน พูดเพอ่ื อนุเคราะห์สัตว์เหมอื นมขี องดแี ล้วเอามาแบ่ง อธิบาย เน่ืองจากตาทพิ ย์ไม่เกดิ จิตสงบจะนึกคาดคะเนให้เป็ นกาย เป็ นอบุ ายการโปรดสอน บ่งบอกถงึ การไม่ถือตวั ลดตัวใจกว้างเมตตาสูง รู้ ไม่ได้เพราะข่มกเิ ลสชั่วคราวทาให้หลงและเสียเวลา พจิ ารณาแบบนีเ้ รียก ว่าใครได้มรรคผลให้รู้จกั อนุโมทนาอย่าหาเร่ืองจบั ผดิ เพราะมองดูแล้ว ตะครุบเงา สมาธหิ วั ตอ วปิ ัสสนาตกนา้ (ดูเพมิ่ เติมทหี่ น้า ๑๙ – ๒๑) เหมอื นอจิ ฉา (อวชิ ชาเป็ นปัจจยั ) บ่อยเข้าจงึ สะสมในทางเลว เมอ่ื พอเพยี ง จึงบาปหนัก ผู้เข้าใจท่านจะให้ความเคารพไม่พูดมาก รู้ว่าได้มรรคผลแล้ว ทาจติ ให้สงบด้วยคาบริกรรมหรือเพ่งเบาๆทฐี่ าน อย่ากาหนดให้ จบ ต่างคนต่างทาหน้าทแ่ี ล้วสงเคราะห์กนั ระวงั จะเป็ นด่งั มหาโจรข้อสาม สว่าง (ให้สว่างเอง) อย่ากาหนดให้เหน็ (ให้เห็นเอง) ทหี่ น้าผากคอื จุดต่อม “ ดูกรภิกษุท้งั หลาย อกี ข้อหน่ึงภิกษุผู้เลวทรามบางรูปในธรรมวนิ ัยนีย้ ่อม (รังอวชิ ชา) ผู้รู้ภพชาติอวิชชาจิตอยู่ตรงจุดนี้ จติ สงบเพ่งเบาๆทฐ่ี านแล้ว ตามกาจัดเพอื่ นพรหมจารีผู้หมดจด ผู้ประพฤตพิ รหมจรรย์อนั บริสุทธ์ิ นึกให้สลายแยกออก ไม่ต้องละเอยี ดตามเข้าไปเร่ือยๆ โดยอนุโลมปฏโิ ลม อยู่ด้วยธรรมอนั เป็ นข้าศึกแก่พรหมจรรย์อนั หามูลมไิ ด้ ดูกรภกิ ษุท้งั หลาย เมอื่ พอเพยี งกเิ ลสจะเบาบางทส่ี ุดกห็ มดไป นีเ้ ป็ นมหาโจรจาพวกทส่ี ามมปี รากฏอยู่ในโลก ” (พระไตรปิ ฎกเล่มท่ี ๑ พระวนิ ัยปิ ฎกเล่มที่ ๑ มหาวภิ งั ค์ ภาค ๑) การออกบวชรักษาศีลอยู่ป่ ารักษาข้อวตั รสมาทานธุดงค์ หรือลดอด อาหาร ให้ดูตามจริตตามกาลงั ของตนเอง ทก่ี ล่าวมาคอื เคร่ืองอาศัยอยู่ใน ๓๕ ๓๔

๑ การขดั ขวางคนดสี ่งเสริมคนชั่วคอื ทางแห่งความเส่ือม ๒ การ ๒๐ สตปิ ัฏฐานส่ี (จริต ปัญญาอ่อน – เฉียบแหลม) สนับสนุนคนดีไม่ส่งเสริมคนช่ัวคอื ทางแห่งความเจริญ อริยบุคคลศีลจะ บริสุทธ์ิตลอดชีวติ บาปเข้าไม่ถงึ จติ เหน็ กรรมมใี นตน เห็นตนมใี นกรรม “ อธิ ภกิ ฺขเว ภกิ ขฺ ุ (ภิกษทุ ้งั หลาย ภกิ ษุในศาสนานี)้ , จิตฺเต จิตฺตา (ญาณ) ละเอยี ดเข้าไปเร่ือยๆท่านจงึ กลวั กรรม แต่ยงั รักษาพระธรรมวนิ ัย นุปสฺสี วหิ รติ (เหน็ จติ ในจิตอยู่เนืองๆ) , อาตาปี สมุปชาโน สติมา (มคี วาม เป็ นปกติเพราะเป็ นเคร่ืองอยู่ เมอ่ื สุดวสิ ัยจงึ ปล่อยวางแต่วางด้วยความเตม็ เพยี ร มสี ตสิ ัมปชัญญะ) , วเิ นยยฺ โลเก อภชิ ฺฌาโทมนสฺส (กาจัดอภิชฌา รอบ เปรียบจากเด็กเตบิ โตมาเป็ นผู้ใหญ่แล้วไม่กลบั ไปเป็ นเดก็ อกี โทมนัสในโลกเสียฯ) ” (มหาสตปิ ัฏฐานสูตร , มาในทฆี นิกาย มหาวรรค ในพระสุตตนั ตปิ ฎกฉบบั สยามรัฐ พ.ศ. ๒๕๒๕ เล่ม ๑๐ ข้อ ๒๗๓ – ๓๐๐ นักปฏบิ ตั หิ ลายท่านแสวงหาครูอาจารย์ ลงทุนศึกษาหลายสานัก หน้า ๓๒๒ – ๓๔๖ฯ , หนังสือปาฐัปปริวตั ต์ หน้า ๑๗๒) อภิชฌาคอื โลภ บางท่านสละครอบครัวเข้ามาบวชมสี มหวงั ไม่สมหวงั เพราะต่างกรรมต่าง อยากได้ของเขา โทมนัสคอื ความทุกข์ใจ วาระจงึ ลงทุนมากน้อยต่างกนั หากผดิ ทางจะขดั ข้องถูกทางจะราบร่ืน ผู้เขยี นผ่านการครองเรือนมาก่อนเหน็ ปัญหามามาก จงึ เกดิ ความเมตตาที่ ๑ กายานุปัสสนาสตปิ ัฏฐาน สติกาหนดพจิ ารณากายอารมณ์หยาบ จะนาพาสัตว์ให้พ้นไปจากทุกข์ให้มากตามภูมวิ าสนา การปฏบิ ัติต้อง เป็ นทางแห่งความบริสุทธ์ิของคนตณั หาจริตมปี ัญญาอ่อน แสวงหาครูอาจารย์ทปี่ ฏบิ ัตดิ ีชอบสถานทเี่ หมาะสมหากผดิ ทางกเ็ สียเวลา ๒ เวทนานุปัสสนาสตปิ ัฏฐาน สติกาหนดพจิ ารณาเวทนาอารมณ์ บางคนตดิ สมถะ แม้ปฏบิ ัติเคร่งครัดขนาดไหนมรรคผลกไ็ ม่เกดิ ละเอยี ด ทางแห่งความบริสุทธ์ขิ องคนตัณหาจริตมปี ัญญาเฉียบแหลม ผดิ ทางให้ระวงั เพราะจะเข้าข้างตัวเองแล้วสาคญั ไปเร่ือยๆ (มานะ) ดง่ั สานวนตาบอดคลาช้าง ปฏบิ ตั ิถูกทางเมอ่ื พอเพยี งมรรคผลกเ็ กดิ ชีวติ ๓ จติ ตานุปัสสนาสติปัฏฐาน สติกาหนดพจิ ารณาจติ มอี ารมณ์อนั นักบวชหรือฆราวาสกจ็ ะเป็ นไปโดยราบร่ืน เหตุออกไปไม่มากนักจิตไม่ค่อยส่งออก เป็ นทางแห่งความบริสุทธ์ขิ องคน ทฐิ ิจริตมปี ัญญาอ่อน พจิ ารณาแม่นๆแล้วการปฏิบัติจะเป็ นไปโดยราบร่ืน ๓๖ หลวงตามหาบัวท่านเทศน์ว่า “ เราล้มลกุ คลกุ คลานมาสารพดั แบบ เพราะ ฉะน้ันสอนได้ทุกรูปแบบ น่ันแหละยา้ เข้าไปตรงน้ันแหละจุดเดยี วได้ผล เยอะทสี่ ุด ” (พจิ ารณาทฐี่ านจุดเดยี ว) ดูเพมิ่ เติมหน้า ๑๐ – ๑๓ ๔ ธมั มานุปัสสนาสติปัฏฐาน สตกิ าหนดพจิ ารณาธรรมมอี ารมณ์ อนั แยกออกไปมาก (จติ ส่งออกมาก) ใช้คาบริกรรมเช่นนึกพทุ โธมากๆแล้ว ๓๗

พจิ ารณา ทางแห่งความบริสุทธ์ิของคนทฐิ ิจริตมปี ัญญาเฉียบแหลม เหล่าน้ันท้งั หมดเป็ นผู้มคี วามปรารถนาลามก ดูสัมมาสตหิ น้า ๘ – ๙ ข้อ ๑ – ๔ พจิ ารณาหนึ่งอย่างตามความ ดูก่อนภิกษทุ ้งั หลาย แม้ในอดตี กาลนานไกล แม้ในอนาคตกาลนาน เหมาะสมในจริตตนเองเพอื่ ความชานาญ ทาลายกเิ ลสได้รีบทา สังเกตข้อ ไกล แม้ในปัจจุบันกาลนานไกล สัตว์ท้งั หลายย่อมเข้ากนั ได้ลงกนั ได้โดย ๓ (พจิ ารณาจติ ) อนั นีล้ งทนุ น้อยแต่ได้ผลมาก เปรียบการค้าขายทไี่ ด้กาไร ธาตุ ท้งั ผู้มอี ธั ยาศัยเลวและผู้มอี ธั ยาศัยทดี่ งี าม (๑๓๕ ตวั อย่างของผู้เข้า มากมาย สะดวกรวดเร็วปลอดภยั เพราะจติ สงบมดื สว่างเหน็ จริงไม่เหน็ กนั ได้โดยธาตุ ๑๖ / ๑๘๖ พระไตรปิ ฎกฉบับประชาชน ตอนว่าด้วยพระ จริงกพ็ จิ ารณาได้ แตกต่างจากพจิ ารณากาย “ ประโยชน์ตวั ท่านเอง ” สูตร หน้า ๖๗ – ๖๘ ไฟล์ pdf เรียบเรียงใหม่โดยย่อ) พระตถาคตครูอาจารย์เป็ นเพยี งผู้ชี้แนะ หลกั ๆตัวเราต้องทาเอง คง พจิ ารณาอนันตริยกรรมท่ีเทวทตั ต์ได้กระทา ขณะนีท้ ่านกย็ งั รับ ไม่ถงึ ข้นั ป้ อนข้าวป้ อนนา้ เพราะผดิ ธรรมชาติ กรรมในอเวจีมหานรกเพอื่ ให้เกดิ ความละอายเกรงกลวั ต่อบาป หากจะ เปรียบเทยี บผลของกรรม กใ็ ห้มองไปทว่ี วั ควายทใี่ ช้ลากคนั ไถเพอ่ื ทาไร่นา ๒๑ บาปหนักที่สุด หรือข้าทาสบริวาร ววั ควายเมอื่ ใช้งานแล้วบางคนถึงเวลากย็ งั ฆ่าเพอ่ื นา เนือ้ มาทาเป็ นอาหาร แต่ยงั น้อยไปนามาเปรียบเทยี บให้มองเห็นชัดเจน ๑ พระศาสดาตรัสถามภกิ ษุท้งั หลายว่า ดูก่อนภกิ ษทุ ้งั หลาย ท่าน เพราะงานรื้อวฏั ฏะของผู้ทตี่ ้องอนันตริยกรรม จึงทุกข์สุดๆและยาวนาน ท้งั หลายเห็นสารีบุตรกาลงั เดนิ จงกรมร่วมกบั ภิกษุมากหลายหรือไม่ อนันตริยกรรมนีถ้ ้ามสี ตดิ อี ย่าทาเพราะโทษหนักทส่ี ุด ตายแล้วต้องลงไป ชดใช้กรรมในอเวจมี หานรกไปอกี นานแสนนาน ภกิ ษทุ ้งั หลายกราบทูลว่าเหน็ พระเจ้าข้า ดูก่อนภิกษทุ ้งั หลาย ภกิ ษเุ หล่าน้ันท้งั หมดเป็ นผู้ทมี่ ปี ัญญามาก ๓๙ ๒ ดูก่อนภกิ ษุท้งั หลาย ท่านท้งั หลายเห็นโมคคลั ลานะกาลงั เดนิ จงกรมร่วมกบั ภิกษมุ ากหลายหรือไม่ ภิกษทุ ้งั หลายกราบทูลว่าเหน็ พระเจ้าข้า ดูก่อนภกิ ษทุ ้งั หลาย ภกิ ษุเหล่าน้ันท้งั หมดเป็ นผู้ทมี่ ฤี ทธ์มิ าก ๓ ดูก่อนภกิ ษทุ ้งั หลาย ท่านท้งั หลายเหน็ เทวทตั ต์กาลงั เดินจงกรม ร่วมกบั ภิกษุมากหลายหรือไม่ ภกิ ษทุ ้งั หลายกราบทูลว่าเห็นพระเจ้าข้า ดูก่อนภกิ ษุท้งั หลาย ภกิ ษุ ๓๘

๒๒ ไม่หยุดอยู่ พระพทุ ธเจ้าไม่ทรงสรรเสริญ ความหยุดอย่ใู นกศุ ลธรรมท้งั หลาย (ทสกนิบาต องั คุตตรนิกาย ๒๔ / ๑๐๑ พระไตรปิ ฎก ฉบบั ประชาชน หน้า ๓๓ – ๓๔ ไฟล์ pdf) การบันทกึ เสียงเทศน์ธรรมะค่อยๆเป็ นไป ตอนนีใ้ ช้ไมค์ไดนามคิ ยหี่ ้อชัวร์ sm58 พ.ศ. ๒๕๕๘ ราคาทอ่ี เมริกาไม่รวมภาษี ประมาณ ๓,๐๐๐ บ. ทเี่ มอื งไทยประมาณ ๒๖,๐๐๐ บ. เพราะรวมภาษี แต่ดอี ย่างเพราะตดั เสียงก้องเสียงรบกวนได้ดี ระยะการวางปากกบั ไมค์ต้องพอดี ใช้ทกี่ นั ลม เพราะไม่ง้ันเสียงลมจากปากกระแทกไมค์ทาให้มเี สียงปึ กๆน่าราคาญ แต่ง เสียงลาบาก ไมค์คอนเดนเซอร์บนั ทกึ เสียงสบายแต่ห้องบันทกึ เสียงต้องดี หน่อยเพราะไมค์ดูดเสียงดี ไม่เคยใช้แต่ต่อไปกน็ ่าทดสอบ คุณโน๊ตคุณเป็ ด บอกว่าต้องดูทงี่ านเพราะไม่จาเป็ นถึงขนาดน้ัน ดังน้ันเนือ้ หาธรรมะจึง สาคญั เพราะไม่สงสัยในธรรมช้ันสูง ไม่หยดุ อยู่ในกศุ ลธรรมท้งั หลายและ เป็ นธรรมกถกึ ไม่หวงวชิ าความรู้จึงเกดิ อนุสาสนีปาฏหิ าริย์ คอื คาสอนที่ ลกึ ซึง้ ถึงใจ นาไปปฏบิ ตั กิ เ็ กดิ มรรคผลเป็ นทนี่ ่าอศั จรรย์ ใช้วจิ ารณญาณ ด่ังทพ่ี ระศาสดาทรงแสดงไว้ในกาลมาสูตร รองลงมาเป็ นความสามารถในการอ่านและบันทกึ เสียง เสร็จแล้ว นามาจดั การ เรียกง่ายๆว่ามกิ ซ์เสียงคอื เรียกแบบบ้านๆ หากใช้ภาษาผดิ ก็ ต้องขออภัย ข้นั ตอนต่อไปทาวดี โี ออพั โหลดเข้าจเี มล์แล้วโพสต์แชทเพอื่ เผยแพร่เป็ นธรรมทานต่อไป ๔๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook