Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ_เด็กไทยใจเย็นๆ_การฝึกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ (1)

คู่มือ_เด็กไทยใจเย็นๆ_การฝึกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ (1)

Published by Thalanglibrary, 2020-08-17 03:30:08

Description: คู่มือ_เด็กไทยใจเย็นๆ_การฝึกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ (1)

Search

Read the Text Version

CTMEOAAANCCUHHAEILNRG คูมอื สาํ หรบั บคุ ลากรทางการศึกษา ในการดาํ เนนิ การตามโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ การฝกทกั ษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ



CTMEOAAANCCUHHAEILNRG คูมอื สาํ หรบั บคุ ลากรทางการศึกษา ในการดาํ เนนิ การตามโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ การฝกทกั ษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ

COACHING TEACHER MANUAL คํานาํ ความโกรธเปน สภาวะทางอารมณท เี่ ปน ปญ หาสาํ คญั ในสงั คมไทย นาํ มาซงึ่ พฤตกิ รรม การแสดงออกทไ่ี มเ หมาะสม และทาํ ใหเ กดิ ความสญู เสยี อยา งมากทง้ั ตอ ตวั วยั รนุ เอง บคุ คล ทเ่ี กยี่ วขอ ง รวมไปถงึ ชมุ ชน และสงั คม การควบคมุ ความโกรธเปน การชว ยใหบ คุ คลสามารถ เผชญิ สถานการณต า งๆ ทีเ่ กิดข้นึ ในชีวติ ประจําวันไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ โปรแกรมเดก็ ไทยใจเยน็ ๆ เปน ชดุ ฝก ทกั ษะชวี ติ ในการจดั การความโกรธ ประกอบดว ย 1) ชุดฝกทกั ษะชีวิตในการจัดการความโกรธ และ 2) คมู ือสาํ หรับบุคลากรทางการศึกษา ในการดาํ เนนิ การตามโปรแกรมเดก็ ไทยใจเยน็ ๆ ทจ่ี ะชว ยใหบ คุ ลากรทางการศกึ ษาสามารถ นําไปใชอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ คูมือนี้ประกอบดวยชุดกิจกรรมทั้งหมด 10 กจิ กรรม ทผี่ า นการพฒั นาอยา งเปน ระบบเพอ่ื ชว ยใหเ ดก็ มที กั ษะชวี ติ ในการจดั การกบั ความโกรธ ขอขอบคณุ คณะทาํ งานทปี่ ระกอบไปดว ย คณะครู ผปู กครอง และนกั เรยี นโรงเรยี น 2 วดั สวนดอก และเดก็ ๆ ทเี่ ขา มาใหข อ มลู ในการศกึ ษาสถานการณแ ละศกึ ษาความเปน ไปได ในการดําเนนิ งานตามโปรแกรม ทาํ ใหโ ปรแกรมน้ีมีการพัฒนาอยางสมบรู ณ ขอขอบคุณ สํานกั งานกองทุนสนบั สนนุ การสรา งเสริมสุขภาพ (สสส.) ทใ่ี หการสนับสนุนงบประมาณ ในการดําเนินการ คณะผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวาคูมือการดําเนินการตามโปรแกรม เด็กไทยใจเย็นๆ นี้จะชวยใหบุคลากรทางการศึกษาไดมีแนวทางในการเพาะเมล็ดพันธุ แหงความดี ใหงอกงามในเยาวชนของชาติ และชวยใหเยาวชนเหลาน้ีมีทักษะชีวิต ในการจัดการความโกรธ สามารถใชชีวติ ไดอยา งเหมาะสม และทาํ ใหส ังคมอยูเยน็ เปน สุข ตอไป คณะผจู ัดทํา มถิ ุนายน 2562

สารบญั หนา 3 คํานาํ ........................................................................................................... 2 ความเปนมาและความสําคญั ........................................................................ 4 COACHING TEACHER MANUAL คําชีแ้ จงสําหรบั บุคลากรทางการศึกษา .......................................................... 5 แนวคิดการพัฒนาโปรแกรม............................................................................ 6 ลกั ษณะของโปรแกรมเดก็ ไทยใจเย็นๆ............................................................. 7 แผนกจิ กรรม ............................................................................................... 9 แผนกิจกรรมท่ี 1 รจู ักกันไวสบายใจดี.......................................................... 10 แผนกจิ กรรมท่ี 2 ออ นี่หรือคอื ความโกรธ .................................................. 13 แผนกจิ กรรมท่ี 3 จะไมเกดิ โทษเมอ่ื คดิ ดี (คดิ ทางบวก) ................................ 16 แผนกจิ กรรมที่ 4 สานไมตรีเมื่อพูดเพราะ ................................................... 19 แผนกิจกรรมท่ี 5 ประพฤตเิ หมาะทุกโอกาส................................................ 22 แผนกจิ กรรมท่ี 6 มงุ มาดทําหนา ท่ีตน.......................................................... 25 แผนกจิ กรรมท่ี 7 พยายามอดทนระงับใจ.................................................... 28 แผนกิจกรรมท่ี 8 ฝกสติใหแ นแ นว............................................................... 31 แผนกิจกรรมท่ี 9 ทาํ สมาธแิ ลวจิตผองใส ..................................................... 34 แผนกจิ กรรมท่ี 10 ความตงั้ ใจใชช ีวิต.............................................................. 37 เคร่ืองมอื ประเมินผลลัพธ ............................................................................. 40 การแปลผลคะแนน ...................................................................................... 43 เอกสารประกอบ • แบบประเมินความเสีย่ งในการเกิดความโกรธ • วดี ิทศั นเ รื่อง นี่หรอื คอื ความโกรธ • วดี ทิ ศั นเรอ่ื ง จะไมเ กดิ โทษเมื่อคดิ ดี • ชดุ ฝก ทกั ษะชีวติ ในการจดั การกับความโกรธ

COACHING TEACHER MANUAL ความเปšนมาและความสาํ คญั ความโกรธเปนสภาวะทางอารมณท่ีมีความแตกตางกันในระดับความรุนแรงต้ังแต จากระดับความโกรธแบบฉุนเฉียวไปจนถึงความโกรธแบบเดือดดาลอยางรุนแรง (Spielberger et al., 2010) และนับเปนปญหาสําคัญในสังคมไทย นํามาซ่ึงพฤติกรรม การแสดงออกท่ีไมเหมาะสม โดยเฉพาะในเด็กและวัยรุน พบวาความกาวราวรุนแรง ที่เปนผลมาจากความโกรธน้ันมีแนวโนมรุนแรงมากข้ึน ทําใหเกิดความสูญเสียอยางมาก ตอทั้งตัวเอง บุคคลท่ีเกี่ยวของรวมไปถึงผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ และสังคม การควบคุมความโกรธไดถูกกําหนดใหเปนทักษะชีวิต (Life skills) หน่ึงท่ีสําคัญซ่ึงบุคคล จาํ เปน ตอ งไดร บั การฝก ฝนเพอื่ ใหส ามารถใชช วี ติ ในสงั คมและอยรู ว มกบั บคุ คลอนื่ ในสงั คม ทักษะชีวิต (Life skill) เปนลักษณะหรือความสามารถทางจิตสังคม (Psychosocial Competence) ทชี่ วยใหบคุ คลสามารถเผชิญสถานการณตางๆ ท่ีเกิดขึน้ ในชีวติ ประจาํ วนั ไดอยางมีประสิทธิภาพ ทักษะชีวิตมีความจําเปนและสําคัญมากในการดําเนินชีวิต และ จําเปนตองมีการพัฒนาในชวงปฐมวัย หรือในวัยเด็ก (อุมาพร ตรังคสมบัติ, 2549) ตามทฤษฎีพัฒนาการพบวา พัฒนาการของบุคคลในแตละชวงวัยลวนมีผลตอการแสดง 4 ความคดิ อารมณ และพฤตกิ รรมของบคุ คลในชว งวยั เดก็ ตอนปลาย อายอุ ยใู นชว ง 7-12 ป ทตี่ อ งมี “การเตรยี มตวั ” เปน เดก็ วยั รนุ และวยั ผใู หญเ พอื่ พรอ มจะเผชญิ และรบั ผดิ ชอบตอ ตนเองและเตรยี มพรอ มตอ การเปลย่ี นแปลง คณะนักวิจัยจากคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดเห็นความสําคัญ ดงั กลา วจงึ ดาํ เนนิ การรว มกบั คณะทาํ งานจากโรงเรยี นวดั สวนดอก ซง่ึ เปน โรงเรยี นในสงั กดั สํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐานเขต 1 รวมมือกันในการพัฒนาโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ โดยใชกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research) และไดจัดทําคูมือการดําเนินการโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ฉบับนี้ข้ึน เพื่อชวยเพาะ เมลด็ พนั ธแุ หง ความดี ใหง อกงามในเยาวชนของชาตแิ ละชว ยใหเ ยาวชนเหลา นม้ี ที กั ษะชวี ติ ในการจดั การความโกรธ สามารถใชช วี ติ ไดอยางเหมาะสม และทําใหส งั คมอยเู ยน็ เปน สุข ตอ ไป

COACHING TEACHER MANUAL คาํ ชแ้ี จง สทําหางรกบั าบรุคศลกึ าษการ

COACHING TEACHER MANUAL แนวคิดการพฒั นาโปรแกรม โปรแกรมนี้ใชแนวคิดทางดําเนินสายกลาง ไดแก 1) เห็นถูกตอง 2) คิดถูกตอง 3) พูดจาถูกตอง 4) ประพฤติดีงาม 5) ทําหนาที่ของตน 6) มีความพยายาม 7) มีสติ 8) มีการฝกจิตใหมั่น ซ่ึงหากไดปฏิบัติและฝกฝนจะทําใหเกิดทักษะในการปรับตัวท่ีดี นําไปสูความสามารถที่จะรับมือกับสถานการณท่ีจะทําใหเกิดปญหาในชีวิตไดอยาง เหมาะสม โดยหลักธรรมของทางเดินสายกลางไดมีการอธิบายใหเขาใจไดงายและเปน สวนหน่ึงของเน้ือหาพื้นฐานในหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน พระพุทธศาสนา ป.4-5-6 (ฉบบั อญ.) ของกลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม วชิ าพทุ ธศาสนา ในชนั้ ประถมศกึ ษาตอนปลายตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยพระระพิน พุทฺธิสาโร และ พระมหามนัส กิตฺติสาโร (2558) รวมกับแนวคิด การแสดงออกของความโกรธของ Spielberge. et al., (1988) ท่กี ลาววา เมื่อบุคคลเผชญิ สถานการณท ีท่ ําใหเ กดิ ความโกรธจะแสดงออกโดย 1) การเก็บความโกรธไวภ ายในนิง่ เฉย ไมโตตอบหรือกลาวคําพูดใดๆ 2) การแสดงความโกรธภายนอกตอบุคคลอ่ืนหรือสิ่งของ ไมว พิ ากษว จิ ารณ ขวา งปาสงิ่ ของ หรอื ใชก าํ ลงั ในการทาํ รา ยผอู นื่ 3) การควบคมุ ความโกรธ 6 โดยพยายามที่จะควบคุมการพูด ระงับอารมณหรือพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม และ ปรับอารมณของตนเอง โดยพยายามคิดทบทวนหาสาเหตุของความโกรธและแนวทาง ในการยตุ ทิ เี่ หมาะสม (Spielberger et al., 1988) การทเี่ ดก็ ในวยั เดก็ ตอนปลายไดม กี ารฝก ทกั ษะชวี ติ โดยการไดร บั การชแี้ นะแนวทาง ในการฝกฝนตนเองใหมีทักษะในการปรับตัวที่เหมาะสมในชีวิตใหพรอมจะรับมือกับ สถานการณท น่ี าํ ไปสคู วามโกรธเรม่ิ จาก (1) เหน็ ถกู ตอ ง โดยการพฒั นาความคดิ ใหม องเหน็ สถานการณตางๆ ที่จะนําไปสูความโกรธอยางถูกตอง (2) คิดถูกตอง มีความคิดเขาใจ ในสถานการณห รอื สาเหตทุ ท่ี าํ ใหเ กดิ ความโกรธนนั้ มกี ารฝก ฝนทกั ษะการเกบ็ ความโกรธ ไวภายใน (3) พดู จาถกู ตอง โดยใชว าจาสุภาพ เหมาะสม หรอื นิง่ เฉยไมโตต อบหรอื กลา ว คาํ พดู ใดๆ เมื่อเผชญิ กับสถานการณทท่ี าํ ใหโ กรธ (4) ประพฤติดีงาม ฝก ฝนตนใหไ มแสดง ทาทีท่ีไมเหมาะสมตอผูอ่ืน (5) ทําหนาที่ของตน ทําหนาที่ของตนท่ีจะไมพาตนเองไปสู สถานการณเสี่ยงที่จะทําใหตนเองเกิดความโกรธ (6) มีสติในการฝกทักษะท่ีจะควบคุม ความโกรธดวยความพยายาม และ (8) มีการฝกจิตใหม่ัน ฝกฝนทักษะการไมแสดง ความโกรธท้งั ตอตนเอง ตอบุคคลอนื่ เด็กทฝี่ ก ทักษะเหลานยี้ อ มไดพ ัฒนาทักษะชวี ิต คือ ความสามารถในการปรับตัวท่ีเหมาะสมในชีวิตใหพรอมจะรับมือกับสถานการณที่อาจ นําไปสคู วามโกรธท่อี าจเกิดข้นึ ไดในการใชชีวิตประจาํ วนั

โปรแกลรมกั เษดณก็ ไะทขยองใจเยน็ ๆ โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ เปนโปรแกรมท่ีผูนําการฝกทักษะจะดําเนินการ 7 ฝก ทกั ษะตามชดุ ฝก ฯ ใหเ ดก็ ไดม ปี ระสบการณก ารเรยี นรผู า นกจิ กรรมเพอื่ ใหเ ดก็ ไดส่ังสมทักษะท่ีจะนําไปใชในการจัดการกับความโกรธที่อาจเกิดขึ้นไดใน COACHING TEACHER MANUAL ชวี ติ ประจาํ วนั กจิ กรรมทง้ั หมด 10 กิจกรรม ไดแ ก กจิ กรรมที่ 1 รูจกั กนั ไวส บายใจดี กิจกรรมที่ 2 ออ น่หี รอื คอื ความโกรธ กิจกรรมท่ี 3 จะไมเ กดิ โทษเมอ่ื คิดดี กจิ กรรมท่ี 4 สานไมตรเี มื่อพูดเพราะ กิจกรรมที่ 5 ประพฤตเิ หมาะทกุ โอกาส กิจกรรมที่ 6 มงุ มาดทาํ หนา ท่ตี น กจิ กรรมท่ี 7 พยายามอดทนระงับใจ กิจกรรมท่ี 8 ฝก สตใิ หแ นแนว กิจกรรมท่ี 9 ทาํ สมาธแิ ลว จติ ผอ งใส กิจกรรมที่ 10 ความต้งั ใจใชชวี ติ

COACHING TEACHER MANUAL o ระยะเวลาในการดาํ เนนิ การ โปรแกรมน้ีใชเวลาท้ังหมด 5 สัปดาห สัปดาหละ 2 ชัว่ โมง รวม 10 ชว่ั โมง (เวลาในการทํากิจกรรมควรจัดสรรเวลาท่ีไมมีผลกระทบตอเวลาเรียนตามปกติ เชน จดั ในชว่ั โมงแนะแนว หรอื ช่ัวโมงกิจกรรมนอกหลกั สูตร เปน ตน) o สถานที่ หองทีไ่ มม บี คุ คลภายนอก หรอื เสียงมารบกวน o เอกสารในการฝก เอกสารในการฝก มี 2 ชดุ ไดแก 1) คูมือสําหรับบุคลากรทางการศึกษาในการดําเนินการตามโปรแกรม เดก็ ไทยใจเยน็ ๆ 2) ชุดฝกทักษะชวี ิตในการจัดการความโกรธ 8 o ผูน าํ การฝก ทกั ษะ ผูนําการฝกทักษะ ไดแก บุคลากรทางการศึกษาที่ประจําในสถานศึกษา ที่ดําเนินการฝก และไดผ า นการอบรม o ผเู ขา รว มโปรแกรม ผเู ขารวมโปรแกรม ไดแ ก เด็กทมี่ อี ายุระหวาง 9-12 ป ท่สี ามารถอา นและ เขียนภาษาไทยได

COACHING TEACHER MANUAL แผนกิจกรรม

COACHING TEACHER MANUALแผนกิจกรรมท่ี 1 รูŒจกั กันไวŒสบายใจดี j สาระสาํ คัญ แนะนาํ ตนเอง เปน การทําความรจู ักกัน สรา งสมั พนั ธภาพทดี่ ี และแนะนาํ โปรแกรมเดก็ ไทยใจเย็นๆ วา เปนโปรแกรมฝกทักษะในการจดั การกับความโกรธ j สาระการเรียนรู 1. การแนะนําตนเอง และการทาํ ความรูจ ักกนั 2. การแนะนาํ โปรแกรมเด็กไทยใจเยน็ ๆ 10 j จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 1. เพ่ือใหนักเรียนแนะนําตนเอง สรางบรรยากาศ และสัมพันธภาพท่ีดี ตอกนั 2. เพ่ือใหนักเรยี นไดร จู กั และเขาใจโปรแกรมเดก็ ไทยใจเย็นๆ j สื่อและแหลง เรยี นรู 1. ชุดฝก ทกั ษะชีวติ ในการจดั การกับความโกรธ ชดุ กิจกรรมที่ 1 รจู ักกันไว สบายใจดี 2 วดิ โี อเพลง โกรธไปทําไม ตองใจเยน็ ๆ

j กจิ กรรมการเรียนรู 11 1. กลา วทกั ทายกจิ กรรมแนะนาํ ตนเอง และบอกวตั ถปุ ระสงคข องกจิ กรรม COACHING TEACHER MANUAL (5 นาท)ี 2. ใหน กั เรยี นทาํ กจิ กรรมละลายพฤตกิ รรมโดยใชเ กมลมเพลมพดั (20 นาท)ี โดย 2.1 จัดนักเรียนใหเปนวงกลมและผูนําสั่งวา ใหทุกคนรองเพลง ลมเพ ลมพัด โบกสะบัดพัดมาไวๆ ลมเพลมพัดอะไร ลมเพลมพัดอะไร ฉันจะบอกให. ................ แลวผูน ําออกคําสั่ง เชน พดั คนทใ่ี สก างเกง ใหคนที่ใสกางเกงยายว่ิงเปลี่ยนตําแหนง ถาเปลี่ยนไมทันใหออกมา นอกวง เปนเวลา 10 นาที เพอ่ื ความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ เปน การ ละลายพฤติกรรม 2.2 ใหน ักเรยี นทอี่ ยนู อกวง ออกมาแนะนําตนเองโดยบอกชอ่ื นามสกลุ ช่ือเลน และทาํ ทา ทางท่ีเปน เอกลักษณข องตนเองประกอบ และให สมาชิกที่เหลือทําตาม และเลือกเพ่ือนคนตอไปใหแนะนําตนเอง ตอไปจนครบ 3. ใหน ักเรยี นเรียนรูเ กี่ยวกับโปรแกรมเด็กไทยใจเยน็ ๆ (25 นาท)ี โดย 3.1 แนะนําโปรแกรม โดยใหน กั เรียนอานออกเสยี งพรอมกนั ตามขอมูล แนะนาํ โปรแกรม และซักถาม 3.2 ใหน กั เรียนเขียนบนั ทึกวา ฉนั ชอบคนที่มนี สิ ัยอยางไร พรอ มเหตุผล 3 ขอ และความคาดหวังท่ีจะไดเขารวมโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ในชดุ ฝก ทกั ษะชีวติ ฯ 3.3 หลังจากบันทึกแลว ใหเลือกนักเรียน 1 คนอานส่ิงท่ีตนเองบันทึก ใหเ พื่อนฟง และใหเ ลือก 1 คนและใหเพือ่ นในหองพูดพรอ มกันวา เธอช่ือ....... เธอชื่อ....... เธอชอบคนที่มีนิสัย........... และเรียกช่ือ คนตอไป ใหแนะนําตนเองจนครบ 3.4 ใหนักเรียนอานเน้ือรองเพลง โกรธไปทําไม ตองใจเย็นๆ จํานวน 2 รอบ หลังจากนั้นใหดูวิดโี อการรองเพลงประกอบทา ทาง 1 รอบ และใหนกั เรยี นฝก รอ งประกอบทาทาง 4. สรุปกิจกรรมทั้งหมดและกลาวชมเชย และใหกําลังใจที่นักเรียน ใหค วามรวมมอื เปน อยา งดี (10 นาท)ี

COACHING TEACHER MANUALj การวัดและประเมนิ ผล 1. การสังเกตพฤตกิ รรม 2. ตรวจสอบการบันทึกของนกั เรยี นในโปรแกรมเดก็ ไทยใจเย็นๆ j บนั ทกึ ผลหลังการจัดกจิ กรรม k ผลการสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ปญหาอุปสรรค 12 ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ขอเสนอแนะหรอื ขอ คดิ เหน็ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (..........................................................) ลงช่ือครผู ูสอน

แผนกิจกรรมท่ี 2 ออŽ น่ีหรอื คอื ความโกรธ j สาระสาํ คญั 13 ความโกรธ คือ อารมณท่ีเกิดข้ึนเพื่อตอบสนองเหตุการณที่ไมพึงประสงค COACHING TEACHER MANUAL ขณะนน้ั ทันที และยงั เปนนิสยั ทีต่ ิดตัว และมีผลกระทบทจี่ ะเกดิ ขึ้น j สาระการเรียนรู ความหมาย สาเหตุ อาการ อาการแสดง ผลกระทบเม่อื มีความโกรธเกิดขนึ้ j จดุ ประสงคการเรียนรู 1. เพื่อใหน ักเรียนเรยี นรู และรูจักความหมาย สาเหตุ อาการ อาการแสดง และผลกระทบเม่ือมีความโกรธเกดิ ข้นึ 2. เพ่ือใหนักเรียนไดวิเคราะหสถานการณจากการชมสื่อวีดิทัศน เร่ือง นหี่ รอื คอื ความโกรธได j สอ่ื และแหลง เรียนรู 1. โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ชุดฝกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ ชุดกิจกรรมที่ 2 ออ นหี่ รือคือความโกรธ 2. สอ่ื วดี ิทัศน เร่ือง นีห่ รือคอื ความโกรธ

COACHING TEACHER MANUALj กิจกรรมการเรยี นรู 1. กลาวทกั ทาย และบอกวตั ถุประสงคของกจิ กรรม (5 นาท)ี 2. ใหน กั เรยี นไดเรียนรคู วามรเู ร่อื งความโกรธ (20 นาที) โดย 2.1 อานออกเสียงขอมลู ความรูเ รื่องความโกรธพรอมกนั 2.2 ใหน กั เรียนดวู ดี ทิ ศั นเ ร่อื งน่หี รอื คอื ความโกรธ จาํ นวน 1 รอบ 2.3 สรปุ สถานการณ ตวั ละคร ฉาก เนอื้ เรอ่ื งใหน กั เรยี นฟง ตามทเ่ี ขยี น ไวในชุดฝก และใหนักเรียนดูวีดิทัศนเร่ืองนี่หรือคือความโกรธ จํานวน 1 รอบ 2.4 ใหน ักเรยี นเขียนวเิ คราะหส ิง่ ทไี่ ดชมจากวีดทิ ัศน 2.5 ใหนักเรียนอานท่ีตนเองบันทึกในเรื่องความโกรธคืออะไรทีละคน และสรุป ตอจากนั้นใหอานเร่ืองที่บันทึกวาเด็กชายเอมีการ แสดงออกอยา งไร และสรุป 3. ใหนักเรียนวิเคราะหประสบการณการเกิดอารมณโกรธของตนเอง (20 นาท)ี โดย 3.1 วิเคราะหความโกรธ สาเหตุของความโกรธ อาการแสดงเม่ือมี 14 ความโกรธ และผลเสยี ในชุดฝก และบนั ทกึ 3.2 อานส่ิงท่ีตนเองบันทึกในเรื่อง สาเหตุของความโกรธ และสรุป หลงั จากนนั้ ใหน กั เรยี นแตล ะคนแสดงอาการ เมอื่ ฉนั โกรธ ใหเ พอ่ื นดู 3.3 บอกผลเสยี ที่แสดงความโกรธท่ตี นเองบนั ทกึ ใหเ พือ่ นฟง และสรปุ 4. ใหนักเรียนดูวีดิทัศน และรองเพลงประกอบทาทาง โกรธไปทําไม ตองใจเย็นๆ จํานวน 1 รอบ (5 นาท)ี 5. สรุปกิจกรรมท้ังหมดและกลาวชมเชย และใหกําลังใจที่นักเรียน ใหค วามรวมมือเปน อยา งดี (10 นาท)ี

j การวัดและประเมินผล 15 1. การสงั เกตพฤตกิ รรม COACHING TEACHER MANUAL 2. ตรวจสอบการบนั ทกึ ของนกั เรยี นในโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ j บันทกึ ผลหลงั การจดั กจิ กรรม k ผลการสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ปญ หาอุปสรรค ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ขอเสนอแนะหรอื ขอ คิดเห็น ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (..........................................................) ลงช่ือครผู ูสอน

COACHING TEACHER MANUALแผนกิจกรรมท่ี 3 จะไมเ‹ กิดโทษเมื่อคดิ ดี (คดิ ทางบวก) j สาระสําคัญ การคิดบวกเปนแนวคดิ ทช่ี ว ยใหเ รามีความสขุ ไดงา ยๆ แมอ ยูในสถานการณ ท่ีไมดี การมองโลกในแงบวกยังเปนวิธีที่ทําใหเรามองสวนดีของผูอื่นดวย ไมใช เหน็ แตจ ดุ ดอยของผอู ่นื j สาระการเรยี นรู 16 ขอดขี องการคดิ บวก j จดุ ประสงคการเรียนรู 1. เพอ่ื ใหน ักเรียนคิดในทางบวกในการใชช วี ติ ประจําวนั 2. เพอื่ ใหน กั เรยี นสามารถเผชญิ กบั สถานการณท ที่ าํ ใหเ กดิ ความโกรธ และ ฝกหดั มองโลกในแงบ วก j สอ่ื และแหลง เรียนรู 1. โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ชุดฝกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ ชดุ กิจกรรมที่ 3 จะไมเ กดิ โทษเมื่อคิดดี (คดิ ทางบวก) 2. สอ่ื วดี ทิ ัศน เรอื่ ง จะไมเ กิดโทษเมือ่ คิดดี (คิดทางบวก)

j กิจกรรมการเรียนรู 17 1. กลาวทกั ทาย และบอกวตั ถปุ ระสงคของกิจกรรม (5 นาที) COACHING TEACHER MANUAL 2. ใหนักเรียนไดเรียนรูการคิดดีคิดบวกในการใชชีวิตประจําวัน (20 นาที) โดย 2.1 อา นออกเสียงการคิดดี คิดบวกและขอ ดขี องการคดิ บวก พรอ มกนั 2.2 ดูวีดทิ ศั นเ รื่อง จะไมเ กดิ โทษเมอื่ คดิ ดี จํานวน 1 รอบ 2.3 สรุปสถานการณ ตวั ละคร ฉาก เน้อื เรอื่ งใหนกั เรยี นฟงตามท่เี ขยี น ไวในชุดฝก และใหนักเรยี นดู จะไมเ กดิ โทษเมอื่ คิดดี จํานวน 1 รอบ 2.4 เขยี นวเิ คราะหการคิดดีจากวดี ิทัศน 2.5 คนทีต่ อบวาควรใหอ ภัยยกมอื ขึน้ 2.6 บอกเหตุผลท่ีใหอ ภยั ทลี ะคน และสรุป 3. ใหนักเรียนฝกคดิ บวก (20 นาท)ี โดย 3.1 วิเคราะหข อ ดขี องตนเอง จาํ นวน 5 ขอ พรอมบอกเหตุผลในชดุ ฝก และบนั ทึก 3.2 อา นสง่ิ ทต่ี นเองบนั ทกึ ในเรอ่ื ง ขอ ดขี องตนเอง และเลอื กเพอ่ื น 1 คน ใหเลอื กขอ ดีของเพอื่ นทีช่ อบมากท่สี ดุ 1 ขอ 3.3 หลังจากน้ันใหเพ่ือนที่ถูกเลือกมา ไดอานบันทึกของตนเอง และ ปฏิบตั เิ หมอื นคนท่ี 1 จนครบทกุ คน และสรุป 4. ใหนักเรียนใหดูวีดิทัศน และรองเพลงประกอบทาทาง โกรธไปทําไม ตอ งใจเยน็ ๆ จํานวน 1 รอบ (5 นาที) 5. สรุปกิจกรรมทั้งหมดและกลาวชมเชย และใหกําลังใจท่ีนักเรียน ใหความรวมมอื เปนอยา งดี (10 นาที)

COACHING TEACHER MANUALj การวัดและประเมนิ ผล 1. การสังเกตพฤตกิ รรม 2. ตรวจสอบการบันทึกของนกั เรยี นในโปรแกรมเดก็ ไทยใจเย็นๆ j บนั ทกึ ผลหลังการจัดกจิ กรรม k ผลการสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ปญหาอุปสรรค 18 ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ขอเสนอแนะหรอื ขอ คดิ เหน็ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (..........................................................) ลงช่ือครผู ูสอน

แผนกจิ กรรมท่ี 4 สานไมตรีเมอ่ื พดู เพราะ j สาระสาํ คัญ 19 การรูจักการพูดโดยใชวาจาสุภาพในการใชชีวิตประจําวัน เมื่อเผชิญกับ COACHING TEACHER MANUAL สถานการณท ่ที ําใหเกิดความโกรธ j สาระการเรียนรู 1. ฝก พูดจาไพเราะ 2. เขียนเลาสถานการณจรงิ เกีย่ วกบั การพูดไพเราะของนกั เรยี น 3. เขียนเลาสถานการณที่เกิดความโกรธแลวนักเรียนใชวาจาในการพูดจา ไพเราะ j จุดประสงคการเรยี นรู 1. เพ่ือใหน กั เรยี นใชวาจาสภุ าพในการใชช ีวิตประจําวัน 2. เพื่อใหนักเรียนใชวาจาสุภาพเมื่อเผชิญกับสถานการณที่ทําใหเกิด ความโกรธ j สื่อและแหลงเรยี นรู โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ชุดฝกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ ชดุ กิจกรรมที่ 4 สานไมตรีเมื่อพูดเพราะ

COACHING TEACHER MANUALj กจิ กรรมการเรยี นรู 1. กลา วทักทาย และบอกวัตถปุ ระสงคข องกิจกรรม (5 นาที) 2. ใหนักเรียนไดเรียนรูเรื่องการพูดเพราะ วาจาไพเราะในชีวิตประจําวัน และการพดู เพราะเมือ่ เผชญิ สถานการณท ี่ทําใหโกรธ (15 นาที) โดย 2.1 อานออกเสียงเร่ืองการพูดเพราะ วาจาไพเราะในชีวิตประจําวัน พรอ มกัน 2.2 ฝก พดู ภาษาสภุ าพทลี ะคน โดยการใหจ บั คกู นั กลา วคาํ สภุ าพ แลว ขอ อาสาสมัคร จํานวน 2 คู เพศชายและหญิง มาแสดงการสาธิต ยอนกลบั 2.3 เรยี นรกู ารพูดเพราะเมอื่ เผชญิ สถานการณทที่ ําใหโกรธ 2.4 ฝกพูดเพราะเม่ือเผชญิ สถานการณทที่ ําใหโกรธ โดยการใหจบั คูก ัน กลาวคําสุภาพ แลว ขออาสาสมคั ร จํานวน 2 คู เพศชายและหญงิ มาแสดงการสาธิตยอ นกลับ 3. ใหนกั เรยี นถายทอดการใชว าจาไพเราะ (25 นาที) โดย 3.1 เขยี นเลา เรอื่ งทมี่ กี ารใชว าจาไพเราะในสถานการณท ท่ี าํ ใหโ กรธ และ 20 บันทกึ ในชุดฝก 3.2 ใหน ักเรยี นแบงกลมุ กลุม ละ 5 คน และเลอื กเร่ืองทช่ี อบมากท่สี ุด 1 เรื่อง และใหนักเรียนท้ัง 5 คนในกลุมอานออกเสียงพรอมกัน หลังจากน้ันใหเพือ่ นกลุม อืน่ กลาวชน่ื ชมและใหกาํ ลังใจ 4. ใหนักเรียนใหดูวีดิทัศน และรองเพลงประกอบทาทาง โกรธไปทําไม ตอ งใจเยน็ ๆ จํานวน 1 รอบ (5 นาท)ี 5. สรุปกิจกรรมท้ังหมดและกลาวชมเชย และใหกําลังใจท่ีนักเรียน ใหความรวมมอื เปน อยางดี (10 นาท)ี

j การวัดและประเมินผล 21 1. การสงั เกตพฤตกิ รรม COACHING TEACHER MANUAL 2. ตรวจสอบการบนั ทกึ ของนกั เรยี นในโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ j บันทกึ ผลหลงั การจดั กจิ กรรม k ผลการสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ปญ หาอุปสรรค ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ขอเสนอแนะหรอื ขอ คิดเห็น ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (..........................................................) ลงช่ือครผู ูสอน

COACHING TEACHER MANUALแผนกิจกรรมท่ี 5 ประพฤตเิ หมาะทกุ โอกาส j สาระสําคญั การมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการใชชีวิตประจําวัน การเปนผูใหและ ทาํ ประโยชนใหก ับผอู นื่ เมื่อเผชิญกับสถานการณท่ีทาํ ใหโ กรธ j สาระการเรียนรู 1. ลักษณะการเปน ผูใหท ดี่ ี 2. บอกความดีของตนเอง 22 3. พูดชื่นชมความดีของเพื่อนสมาชกิ j จดุ ประสงคการเรียนรู 1. เพือ่ ใหน ักเรยี นมพี ฤติกรรมที่เหมาะสมในการใชช ีวติ ประจําวัน 2. เพอื่ ใหน กั เรยี นมพี ฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมเมอ่ื เผชญิ กบั สถานการณท ท่ี าํ ให โกรธ j สอื่ และแหลงเรียนรู โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ชุดฝกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ ชุดกจิ กรรมท่ี 5 ประพฤตเิ หมาะทุกโอกาส

j กิจกรรมการเรียนรู 23 1. กลา วทักทาย และบอกวัตถปุ ระสงคของกจิ กรรม (5 นาที) COACHING TEACHER MANUAL 2. ใหนักเรียนไดเรียนรูการมีพฤติกรรมท่ีเหมาะสมในการใชชีวิตประจําวัน การเปนผใู หและกลา วชืน่ ชมยนิ ดี (20 นาท)ี โดย 2.1 อา นออกเสียงเร่ืองการทาํ ความดีและการเปนผูใ หท ่ดี ี พรอ มกัน 2.2 อานวิธกี ารพดู ช่นื ชมความดีของเพือ่ นพรอมกนั โดยการใหจ ับคูกัน ฝก ชน่ื ชมความดี แลว ขออาสาสมคั ร จาํ นวน 2 คู เพศชายและหญงิ มาแสดงการสาธิตยอ นกลับใหเ พ่ือนดู 3. ใหนักเรียนวิเคราะหการทําความดีและตั้งใจเปนผูให และทําประโยชน ใหผอู น่ื (20 นาที) โดย 3.1 บันทึกและอานออกเสียงการทําความดีของตนเองยอนหลัง 1 สัปดาห และบอกส่งิ ทบี่ นั ทึกใหเพือ่ นฟง ทีละวนั จนครบทกุ คน 3.2 บันทึกและอา นออกเสยี งสิง่ ทจ่ี ะทาํ ความดใี นสัปดาหต อ ไป 3.3 ฝกชื่นชมความดีโดยใหขออาสาสมัครจํานวน 10 คน และให แตละคนเลอื กเพ่ือนอีก 1 คน เพื่อพูดชนื่ ชมความดหี นา หอง 4. ใหน กั เรียนใหดูวิดีโอ และรองเพลงประกอบทาทาง โกรธไปทาํ ไม ตอง ใจเย็นๆ จาํ นวน 1 รอบ (5 นาที) 5. สรุปกิจกรรมทั้งหมดและกลาวชมเชย และใหกําลังใจที่นักเรียน ใหค วามรว มมือเปนอยา งดี (10 นาท)ี

COACHING TEACHER MANUALj การวัดและประเมนิ ผล 1. การสังเกตพฤตกิ รรม 2. ตรวจสอบการบันทึกของนกั เรยี นในโปรแกรมเดก็ ไทยใจเย็นๆ j บนั ทกึ ผลหลังการจัดกจิ กรรม k ผลการสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ปญหาอุปสรรค 24 ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ขอเสนอแนะหรอื ขอ คดิ เหน็ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (..........................................................) ลงช่ือครผู ูสอน

แผนกิจกรรมท่ี 6 ม‹ุงมาดทาํ หนŒาทีต่ น j สาระสําคัญ 25 มีวินัย รับผิดชอบ จัดสรรเวลา ทําตามบทบาทหนาท่ีของตน เพ่ือใหเปน COACHING TEACHER MANUAL ท่ชี ื่นชอบของคนรอบขา ง และลดความเส่ยี งตอการเกิดความโกรธ j สาระการเรยี นรู 1. การบริหารเวลาในการทํากิจกรรม คือ กิจกรรมการเรียน กิจกรรม สวนตวั และกิจกรรมที่ตอ งรบั ผิดชอบ 2. กจิ กรรมของนักเรยี นท่ีคาดวาจะเลกิ ทาํ และควรทําเพม่ิ เตมิ j จุดประสงคก ารเรียนรู 1. เพ่อื ใหนกั เรยี นมีวินัย 2. เพ่อื ใหน กั เรยี นมีความรับผิดชอบในบทบาทหนา ทีข่ องตน 3. เพอ่ื ใหน กั เรยี นเปน ทช่ี น่ื ชมของคนรอบขา ง และลดความเสยี่ งตอ การเกดิ ความโกรธ j สือ่ และแหลง เรียนรู โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ชุดฝกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ ชุดกิจกรรมที่ 6 มุงมาดทาํ หนา ท่ตี น

COACHING TEACHER MANUALj กิจกรรมการเรียนรู 1. กลาวทกั ทายและบอกวตั ถปุ ระสงคของกิจกรรม (5 นาท)ี 2. ใหน กั เรยี นไดเ รยี นรกู ารมวี นิ ยั และรบั ผดิ ชอบการบรหิ ารเวลา (30 นาท)ี โดย 2.1 อา นออกเสียงเรื่องการบรหิ ารเวลาพรอ มกนั 2.2 จับคูกัน เลาเร่ืองการทํากิจกรรมการเรียน กิจกรรมสวนตัว และ กิจกรรมทตี่ อ งรบั ผิดชอบที่บาน 2.3 บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี น ยอนหลงั 1 สัปดาห และอานใหเ พ่อื นฟง 2.4 บนั ทึกกิจกรรมสวนตวั ยอนหลัง 1 สัปดาห และอานใหเพ่อื นฟง 2.5 บันทึกกิจกรรมท่ีรับผิดชอบท่ีบาน ยอนหลัง 1 สัปดาห และอาน ใหเ พอ่ื นฟง 2.6 บนั ทกึ กจิ กรรมทค่ี าดวา จะเลิกทาํ และอานใหเพือ่ นฟง 2.7 บันทกึ กจิ กรรมทจ่ี ะทาํ เพิม่ เติม และอา นใหเ พื่อนฟง 3. ใหนักเรียนฝกช่ืนชมการมีวินัย รับผิดชอบ จัดสรรเวลา ทําตามหนาที่ ของตน เพือ่ ลดความเส่ยี งตอ การเกิดความโกรธ (15 นาที) โดย 26 3.1 จับคูและชน่ื ชมเพือ่ นซึง่ กันและกัน 3.2 ขออาสาสมัครจํานวน 5 คู มาพูดช่นื ชมกันและกันหนา หอ ง 4. สรุปกิจกรรมท้ังหมดและกลาวชมเชย และใหกําลังใจท่ีนักเรียน ใหความรว มมอื เปน อยางดี (10 นาที)

j การวัดและประเมินผล 27 1. การสงั เกตพฤตกิ รรม COACHING TEACHER MANUAL 2. ตรวจสอบการบนั ทกึ ของนกั เรยี นในโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ j บันทกึ ผลหลงั การจดั กจิ กรรม k ผลการสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ปญ หาอุปสรรค ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ขอเสนอแนะหรอื ขอ คิดเห็น ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (..........................................................) ลงช่ือครผู ูสอน

COACHING TEACHER MANUALแผนกจิ กรรมที่ 7 พยายามอดทนระงับใจ j สาระสําคญั ความอดทนในการทํางานในชีวิตประจําวันใหสําเร็จ และอดทนระงับใจ เมอื่ เผชิญกบั สถานการณทท่ี าํ ใหเกิดความโกรธ j สาระการเรยี นรู การฝกใหนักเรียนทาํ กิจกรรมพัดจกั สาน 28 จุดประสงคก ารเรียนรู 1. เพ่อื ใหนักเรียนมีความอดทนในการทํางานในชีวติ ประจาํ วนั ใหสาํ เรจ็ 2. เพอ่ื ใหน กั เรยี นมคี วามอดทนระงบั ใจเมอ่ื เผชญิ กบั สถานการณท ที่ าํ ใหเ กดิ ความโกรธ j สอ่ื และแหลงเรยี นรู โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ชุดฝกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ ชุดกิจกรรมท่ี 7 พยายามอดทนระงบั ใจ (แบบบันทึกกจิ กรรมพัดจักสาน)

j กจิ กรรมการเรยี นรู 29 1. กลาวทกั ทาย และบอกวัตถปุ ระสงคของกจิ กรรม (5 นาที) 2. ใหนกั เรยี นไดมคี วามอดทนในการทํางานในชวี ติ ประจําวนั ใหสําเรจ็ และ อดทนระงบั ใจเม่อื เผชญิ กบั สถานการณท ่ที าํ ใหเ กิดความโกรธ (30 นาท)ี โดย 2.1 คุณครใู หดวู ดี ิทศั นว ธิ กี ารจกั สาน 2.2 สาธติ การทาํ พดั จกั สานแตล ะขน้ั ตอนอยา งชา ๆ โดยใหน กั เรยี นสงั เกต 2.3 ใหเวลานักเรียนในการฝกทําพัดจักสาน โดยมีคุณครูคอยกระตุน ชวยเหลือแนะนํารายบุคคล รวมท้ังใหแรงเสริมทางบวกโดยคําพูด เพือ่ ใหเ กดิ กาํ ลังใจในการทําตอ 2.4 ใหนักเรยี นเลอื กใชส สี ันและลวดลายตามทีต่ นเองชอบ 2.5 ใหนักเรียนบันทึกกิจกรรมสิ่งที่ไดรับและบอกส่ิงที่ไดรับจากการทํา พดั จักสาน 2.6 ใหนกั เรียนนาํ เสนอผลงานของตนเองหนาชน้ั เรียนแกเพอ่ื นๆ 3. ใหนักเรียนชน่ื ชมผลงานของเพ่ือน เมอื่ เพอื่ นนําเสนอผลงาน (15 นาที) 4. สรุปกิจกรรมท้ังหมดและกลาวชมเชย และใหกําลังใจท่ีนักเรียน ใหค วามรว มมอื เปน อยา งดี (10 นาท)ี COACHING TEACHER MANUAL

COACHING TEACHER MANUALj การวัดและประเมนิ ผล 1. การสังเกตพฤตกิ รรม 2. ตรวจสอบการบันทึกของนกั เรยี นในโปรแกรมเดก็ ไทยใจเย็นๆ j บนั ทกึ ผลหลังการจัดกจิ กรรม k ผลการสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ปญหาอุปสรรค 30 ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ขอเสนอแนะหรอื ขอ คดิ เหน็ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (..........................................................) ลงช่ือครผู ูสอน

แผนกิจกรรมที่ 8 ฝกƒ สตใิ หŒแนแ‹ น‹ว j สาระสําคัญ 31 จิตใจที่จดจอม่ันคง และรูตัวอยูเสมอรูเทาทันอารมณโกรธของตน และ COACHING TEACHER MANUAL ฝก ใหต นเองใจเยน็ ลง j สาระการเรียนรู 1. ขอดขี องการฝก สติ 2. การเขาใจสถานการณท ีท่ าํ ใหโกรธ j จุดประสงคก ารเรียนรู 1. เพื่อใหนกั เรียนมีจิตใจทจี่ ดจอมนั่ คงตอกจิ กรรมท่ีทํา 2. เพื่อใหน กั เรียนรเู ทา ทนั อารมณโ กรธของตนเอง 3. เพื่อใหนักเรียนฝกใหตนเองใจเย็นลง เมื่อเผชิญกับสถานการณท่ีทําให เกดิ ความโกรธ j สือ่ และแหลง เรยี นรู โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ชุดฝกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ ชดุ กจิ กรรมท่ี 8 ฝก สตใิ หแนแนว (ใบความรสู ถานการณทที่ ําใหโกรธ)

COACHING TEACHER MANUALj กิจกรรมการเรียนรู 1. กลา วทักทาย และบอกวตั ถปุ ระสงคของกจิ กรรม (5 นาท)ี 2. ใหนักเรียนไดฝกสติใหมีจิตใจจดจอ มั่นคง และรูตัวอยูเสมอ รูเทาทัน อารมณโ กรธของตน และฝก ใหตนเองใจเย็นลง (30 นาที) โดย 2.1 ใหน กั เรยี นไดส าํ รวจรา งกายตนเองในแตล ะสว น และพดู ออกมาดงั ๆ พรอ มทําทา ประกอบซํ้า 3 ครงั้ โดยมคี ุณครูคอยสังเกตพฤติกรรม นักเรียน ในขณะนักเรียนฝกสํารวจรางกายของตนเอง กรณี นักเรียนที่มีปญหาดานการเขียน ครูจะเปนผูกระตุนและชวยเหลือ ในสิ่งที่นักเรยี นคดิ 2.2 ใหนักเรยี นพูดดังๆ วา จงมีสติ รตู วั อยเู สมอ 2.3 ใหนักเรยี นบันทึกความรูสกึ ของตนเองท่ไี ดร บั จากการทาํ กจิ กรรม 3. ใหนกั เรยี นอานสถานการณที่ทาํ ใหโกรธ และฝก ใหเ ทา ทันอารมณโ กรธ ของตน และพดู ใหตนเองไดยนิ วา ใหใจเยน็ ๆ (15 นาที) 4. สรุปกิจกรรมท้ังหมดและกลาวชมเชย และใหกําลังใจท่ีนักเรียน ใหค วามรว มมอื เปนอยา งดี (10 นาท)ี 32

j การวัดและประเมินผล 33 1. การสงั เกตพฤตกิ รรม COACHING TEACHER MANUAL 2. ตรวจสอบการบนั ทกึ ของนกั เรยี นในโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ j บันทกึ ผลหลงั การจดั กจิ กรรม k ผลการสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ปญ หาอุปสรรค ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ขอเสนอแนะหรอื ขอ คิดเห็น ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (..........................................................) ลงช่ือครผู ูสอน

COACHING TEACHER MANUALแผนกจิ กรรมท่ี 9 ทําสมาธแิ ลวŒ จติ ผอ‹ งใส j สาระสาํ คญั การฝกสมาธิจะทําใหจิตใจสงบ สามารถเผชิญกับสถานการณในชีวิต ประจําวนั ไดอยา งสงบ j สาระการเรียนรู การเรยี นรูการทาํ สมาธิอยางงา ย 34 j จุดประสงคการเรียนรู 1. เพอ่ื ใหนักเรยี นฝกทาํ สมาธิจะชวยใหจิตใจสงบ 2. เพ่ือใหนักเรียนสามารถเผชิญกับสถานการณในชีวิตประจําวันไดอยาง สงบ j สอ่ื และแหลง เรียนรู โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ชุดฝกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ ชุดกิจกรรมที่ 9 ทําสมาธิแลวจิตผองใส (แบบบันทึกความรูสึกของตนเองจาก การนั่งสมาธิ)

j กิจกรรมการเรยี นรู 35 1. กลาวทกั ทาย และบอกวตั ถุประสงคของกจิ กรรม (5 นาท)ี 2. ใหนักเรียนไดฝกสมาธิสามารถเผชิญสถานการณท่ีทําใหเกิดความโกรธ ไดอ ยางสงบ (30 นาที) โดย 2.1 เรยี นรเู รอ่ื งการทําสมาธิอยา งงา ย โดยคุณครูเปนผูอธิบาย 2.2 ทาํ สมาธเิ ปน เวลา 15 นาที โดยคณุ ครชู ว ยช้ีแนะเปนระยะ เพ่อื ให นกั เรียนฝกสมาธไิ ดถ ูกตอง 2.3 บันทึกความรูสึกจากการนั่งสมาธิ โดยคุณครูใชคําถามกระตุน ใหน ักเรยี นเขยี นความรสู กึ ตนเองหลังจากนง่ั สมาธิ 2.4 อานส่ิงท่ตี นเองบนั ทึกถึงความรสู กึ ของตนเองทลี ะคน และสรปุ 3. ใหน กั เรยี นบนั ทกึ ประสบการณจากการนง่ั สมาธิ 3.1 เขียนขอดีของการน่ังสมาธิ โดยคุณครูยกตัวอยางขอดีของการทํา สมาธิ 3.2 อา นขอดขี องการทําสมาธิใหเพ่ือนฟง 4. สรุปกิจกรรมท้ังหมดและกลาวชมเชย และใหกําลังใจที่นักเรียน ใหค วามรว มมอื เปนอยา งดี (10 นาท)ี COACHING TEACHER MANUAL

COACHING TEACHER MANUALj การวัดและประเมนิ ผล 1. การสังเกตพฤตกิ รรม 2. ตรวจสอบการบันทึกของนกั เรยี นในโปรแกรมเดก็ ไทยใจเย็นๆ j บนั ทกึ ผลหลังการจัดกจิ กรรม k ผลการสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ปญหาอุปสรรค 36 ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ขอเสนอแนะหรอื ขอ คดิ เหน็ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (..........................................................) ลงช่ือครผู ูสอน

แผนกจิ กรรมท่ี 10 ความตัง้ ใจใชชŒ วี ิต j สาระสาํ คญั 37 การคิดบวกในการใชชีวิตประจําวัน และเผชิญกับสถานการณท่ีทําใหเกิด COACHING TEACHER MANUAL ความโกรธ j สาระการเรยี นรู ความคิดในทางบวกในการใชชีวิตประจําวัน และสถานการณที่ทําใหเกิด ความโกรธ j จุดประสงคก ารเรียนรู 1. เพอื่ ใหนกั เรียนคิดในทางบวกในการใชช ีวติ ประจําวัน 2. เพอ่ื ใหน กั เรยี นควบคมุ สตเิ มอ่ื เผชญิ กบั สถานการณท ที่ าํ ใหเ กดิ ความโกรธ j สอ่ื และแหลง เรยี นรู โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ ชุดฝกทักษะชีวิตในการจัดการกับความโกรธ ชดุ กิจกรรมที่ 10 ความต้ังใจใชช วี ติ

COACHING TEACHER MANUALj กิจกรรมการเรียนรู 1. กลาวทกั ทาย และบอกวตั ถุประสงคของกจิ กรรม (5 นาท)ี 2. ใหนักเรียนไดเกิดแนวทางในการใชชีวิตประจําวัน เม่ือเผชิญกับ สถานการณทท่ี าํ ใหเกิดความโกรธ ต้ังใจฝก ฝนใหเ ปน คนอารมณด ี และ ใจเย็นๆ (30 นาที) โดย 2.1 คณุ ครสู รุปกิจกรรมตามโปรแกรมทง้ั หมดครา วๆ ใหนกั เรียนฟง 2.2 ใหนักเรียนไดบันทึกและบอกสิ่งที่ไดเรียนรูจากการทําโปรแกรม เดก็ ไทยใจเยน็ ๆ และอา นใหเ พอ่ื นฟง 2.3 คุณครูชวยแนะนําและยกตัวอยางขอความ ความตั้งใจที่จะใหเปน คนอารมณด แี ละใจเยน็ ๆ 2.4 ใหนักเรียนบันทึกความตั้งใจของฉัน โดยคุณครูคอยกระตุน ชวยเหลือ ติดตามการบันทึก เพ่ือใหนักเรียนไดเขียนความรูสึก ความคิดไดอ ยางถกู ตอ ง และนกั เรยี นอานสิ่งท่บี ันทกึ ใหเพือ่ นฟง 2.5 ใหเพ่ือนจํานวน 5 คน เขียนขอความท่ีจะสงเสริมความตั้งใจท่ีจะ ใหเราเปน คนอารมณดแี ละใจเย็นๆ 38 3. ใหนักเรียนดูวีดิทัศน และรองเพลงประกอบทาทาง โกรธไปทําไม ตองใจเยน็ ๆ จํานวน 1 รอบ (5 นาท)ี 4. สรุปกิจกรรมทั้งหมดและกลาวชมเชย และใหกําลังใจท่ีนักเรียน ใหค วามรว มมือเปน อยา งดี (10 นาที)

j การวัดและประเมินผล 39 1. การสงั เกตพฤตกิ รรม COACHING TEACHER MANUAL 2. ตรวจสอบการบนั ทกึ ของนกั เรยี นในโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ j บันทกึ ผลหลงั การจดั กจิ กรรม k ผลการสอน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ปญ หาอุปสรรค ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. k ขอเสนอแนะหรอื ขอ คิดเห็น ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. (..........................................................) ลงช่ือครผู ูสอน

COACHING TEACHER MANUAL เครื่องมือ ประเมนิ ผลลพั ธ

สาํ หรบั ผูวิจัย................................................................................. การวิจยั และพัฒนาโปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ (หรรษา เศรษฐบุปผา ชาลินี สวุ รรณยศ สุวิท อินทอง, 2561-2562) แบบสอบถาม ความเสย่ี งในการเกิดความโกรธ คาํ ชแ้ี จง ขอความตอไปนี้เปนขอความท่เี กย่ี วกับความคิด ความรูสึกตอสถานการณทเ่ี กิดขึ้นในชีวิตประจําวนั ในชวง 1 เดือนท่ผี านมา ใหท ําเครอ่ื งหมาย X ในชอ งทต่ี รงกบั ความคิด ความรสู ึกของตวั เองมากท่สี ุด ไมเคย หมายถึง ความคิด ความรูสึกและการปฏิบตั ิตอสถานการณน้ันไมเคยเกิดขึ้น เคยเปนบางครง้ั หมายถึง ความคิด ความรูสึกและการปฏิบัติตอสถานการณนั้นเกิดขึ้นเปนบางคร้ัง เคยบอย หมายถึง ความคิด ความรูสึกและการปฏิบตั ิตอสถานการณนั้นเกิดขึ้นบอยครั้ง เคยเปนประจํา หมายถึง ความคิด ความรูสึกและการปฏิบัติตอสถานการณน้ันเกิดขึ้นประจาํ ความคิด ความรสู ึกตอ สถานการณท เ่ี กิดขน้ึ ในชีวิตประจําวัน ไมเคย เคยเปน เคย เคยเปน บางครง้ั บอย ประจาํ 1 ฉนั รูวาตัวเองไมพอใจเมอ่ื มีคนมาทํารายคน/ส่งิ ของท่ฉี นั รกั 2 ฉนั รูวาตัวเองไมพอใจเมอ่ื มีคนมาตอวาหรือลอเลียนฉัน 3 ฉันรูวาฉันเลียนแบบการแสดงความโกรธจากคนอืน่ /สอ่ื ตางๆ 41 4 ฉนั รูวาตวั เองไมพอใจเม่อื คนอน่ื คิดแตกตาง 5 ฉนั รูวาตวั เองไมพอใจเม่อื แพการแขงขัน COACHING TEACHER MANUAL 6 ฉนั รูวาตวั เองไมพอใจเมอ่ื ไมมีสิ่งท่คี นอื่นมี 7 ฉันนอยใจเม่อื ไมไดรับการยอมรบั จากเพอ่ื น 8 ฉนั นอยใจเม่อื โดนพอแม/ครดู /ุ ตอวา 9 ฉนั คิดโกรธแคนเพ่อื น 10 ฉนั คิดระแวงวาถูกนินทาวาราย 11 ฉนั คิดวาคนทช่ี นะตองเกงท่สี ดุ 12 ฉนั ไมอยากใหคนอ่นื ไดดีกวา 13 ฉนั พดู ถึงคนอื่นในแงดี 14 ฉนั พดู จาดวยคาํ พดู สุภาพ 15 ฉันพดู ขมขูผูอน่ื 16 ฉันพดู ลอเลียนผูอ่นื 17 ฉันเงียบ ไมพดู เม่อื ไมพอใจ 18 เมือ่ ไมพอใจฉนั ขวางปาสง่ิ ของ ศนู ยประสานงานโครงการเด็กไทยใจเย็นๆ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 110/406 ถนนอินทวโรรส ตําบลศรีภูมิ อําเภอเมือง จังหวดั เชียงใหม 50200 โทร. 053-949014/053-949012/053-936063 E-mail [email protected]

การวิจยั และพฒั นาโปรแกรมเดก็ ไทยใจเยน็ ๆ (หรรษา เศรษฐบุปผา ชาลินี สวุ รรณยศ สวุ ิท อินทอง, 2561-2562) ความคิด ความรูส ึกตอสถานการณท่เี กิดข้นึ ในชีวิตประจาํ วนั ไมเ คย เคยเปน เคย เคยเปน บางครงั้ บอ ย ประจาํ 19 เมอื่ ไมพอใจฉนั ทํารายตัวเอง COACHING TEACHER MANUAL 20 เมอ่ื ไมพอใจฉนั ทํารายคนอน่ื 21 ฉันสนกุ เม่อื แกลงคนอน่ื 22 เมือ่ ไมพอใจฉันแสดงทาทางวาไมพอใจอยางชัดเจน 23 ฉันเขาเรียนตามเวลา 24 ฉันทาํ ตามกฎระเบียบของโรงเรียน 25 ฉนั ทํางานเสร็จตามทไ่ี ดรับมอบหมาย 26 ฉนั มีนํ้าใจชวยเพอ่ื น 27 ฉันชวยเหลืองานครอบครวั 28 ฉันทํางานไมสาํ เรจ็ 42 29 ฉนั พยายามจดั การตวั เองเมอ่ื ไมพอใจ 30 ฉันสนใจงานท่ไี ดรบั มอบหมาย 31 ฉนั พยายามเรียนรูส่งิ ใหมๆ 32 ฉนั มีความอดทนและรอคอยได 33 ฉันควบคมุ ตัวเองไดเม่อื ไมพอใจ 34 ฉนั ควบคมุ อารมณไมได 35 ฉันตั้งใจทาํ งานดวยความรอบคอบ 36 ฉันมุงมั่นในการทาํ งาน 37 ฉนั ใจรอนและวูวาม 38 ฉนั ใจลอย คิดเร่อื งอ่นื ในขณะทํางาน/เรียน 39 ฉันไมสนใจในส่งิ ทีก่ าํ ลงั ทํา 40 ฉันทาํ งาน/เคลอ่ื นไหวดวยความเรงรีบ 41 ฉันไมคอยอยูน่งิ 42 ฉนั มีความสุขใจ ขอขอบคุณ ศูนยประสานงานโครงการเด็กไทยใจเยน็ ๆ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม 110/406 ถนนอินทวโรรส ตําบลศรีภมู ิ อาํ เภอเมือง จงั หวัดเชียงใหม 50200 โทร. 053-949014/053-949012/053-936063 E-mail [email protected]

COACHING TEACHER MANUAL การแปลผลคะแนน

การใหค ะแนน ขอความที่เกี่ยวกับความคิด ความรูสึกตอสถานการณท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน ในชวง 1 เดอื นที่ผา นมา ขอ ความที่ทาํ ใหเ ส่ียงตอ การเกิดความโกรธ ใหคะแนนทางบวก ขอความที่ทําใหไมเส่ียงตอการเกิดความโกรธ ใหคะแนนทางลบ (13-14, 23-27, 29-33, 35-36, 42) ดงั น้ี COACHING TEACHER MANUAL คะแนน ไมเคย 0 หมายถึง ความคิด ความรูสึกและการปฏิบตั ิตอสถานการณนั้นไมเคยเกิดขึ้น เคยเปนบางครงั้ 1 หมายถงึ ความคดิ ความรสู กึ และการปฏบิ ตั ติ อ สถานการณน นั้ เกดิ ขน้ึ เปน บางครงั้ เคยบอย 2 หมายถึง ความคิด ความรูสึกและการปฏิบัติตอสถานการณนั้นเกิดขึ้นบอยคร้งั เคยเปน ประจาํ 3 หมายถึง ความคิด ความรูสึกและการปฏิบัติตอสถานการณนั้นเกิดขึ้นประจาํ การแปลผลคะแนน การใชข อบเขตทแี่ ทจ รงิ (Exact Limits) คอื คา ทอี่ ยรู ะหวา งขอบเขตตา่ํ และ ขอบเขตสงู ตามขอ คําถาม เปน Rating Scale มีคา คะแนนเปน 0, 1, 2, 3 ทกุ คะแนนจะมีขอบเขตต่าํ และ ขอบเขตสงู ดงั น้ี (เนอ่ื งจากคา ตา่ํ สดุ คอื 0.00) นาํ ไปจดั ชว งคะแนนเปน 4 ระดบั ไดด งั นี้ 44 คะแนน ไมม ีความเส่ยี ง มีความเสย่ี งตํ่า มีความเสย่ี ง มีความเส่ยี งสูง สูงสุด-ตํ่าสุด ปานกลาง คะแนน 0-3 0-0.050 0.051-1.50 1.51-2.50 2.51-3.00 ตามคา คะแนน โดยรวม คะแนน ไมมีความเส่ยี ง มีความเส่ยี งตํ่า มีความเสย่ี ง มีความเส่ยี งสูง ดานที่ 1 สงู สุด-ต่ําสุด ปานกลาง ดานท่ี 2 0 1-42 42.1-84 84.1-126 ดานท่ี 3 0-126 0 1-6 12.1-18 ดานที่ 4 0-18 0 1-6 6.1-12 12.1-18 ดานที่ 5 0-18 0 1-5 6.1-12 10.1-15 ดานท่ี 6 0-15 0 1-5 5.1-10 10.1-15 ดานท่ี 7 0-15 0 1-5 5.1-10 10.1-15 ดานที่ 8 0-15 0 1-5 5.1-10 10.1-15 0-15 0 1-5 5.1-10 10.1-15 0-15 0 1-5 5.1-10 10.1-15 0-15 5.1-10 ศูนยประสานงานโครงการเดก็ ไทยใจเยน็ ๆ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 110/406 ถนนอินทวโรรส ตําบลศรีภมู ิ อําเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม 50200 โทร. 053-949014/053-949012/053-936063 E-mail [email protected]

รายชือ่ คณะทํางานพฒั นาชดุ ฝกƒ ทักษะชีวิต ในการจัดการความโกรธในวยั เดก็ ตอนปลาย: โปรแกรมเดก็ ไทยใจเยน็ ๆ นายประเทอื ง ชมชื่น ผูอํานวยการโรงเรียนสวนดอก ที่ปรกึ ษาคณะทํางาน ประธานคณะทาํ งาน นางฐติ ริ ตั น วสษิ ฐพ ล ครโู รงเรยี นวัดสวนดอก รองประธานคณะทาํ งาน สื่อและสารสนเทศ นางสภุ ิต มลู เมอื ง ครโู รงเรยี นวัดสวนดอก เลขานกุ าร ส่ือและสารสนเทศ นายชัชวาล ธิมา ครูโรงเรยี นวัดสวนดอก ผูชวยเลขานุการ ผูประสานงาน นางสาวภัศรา อัจจิมาธร ครูโรงเรียนวัดสวนดอก หวั หนาโครงการวิจัย นางสาววรพชิ ชา บุญชุม ครโู รงเรยี นวัดสวนดอก ผรู วมวิจยั ผรู ว มวิจยั นางสาวภารณี มาณารัตน ครโู รงเรียนวดั สวนดอก ผูชว ยวิจัย ผชู วยวิจยั นางสาวดารุณี เปลา ครโู รงเรียนวดั สวนดอก ผชู วยวิจัย ผชู วยวจิ ัย นายศิรพิ ฒั น กันธยา ผปู กครองโรงเรยี นวัดสวนดอก ผปู ระสานงานโครงการวจิ ยั นางสาวอําภา สงาใจ ผปู กครองโรงเรียนวัดสวนดอก นายเจณวฒั น ฟตู ั๋น ผปู กครองโรงเรียนวดั สวนดอก นางจนั ทนา ใสสะอาด ผปู กครองโรงเรียนวัดสวนดอก 45 นางสาวกมลสา เนมนิ ทอน ผปู กครองโรงเรียนวัดสวนดอก เด็กหญงิ หนอ วไิ ล แสนหนอ นกั เรยี นชน้ั ป.4/1 COACHING TEACHER MANUAL เด็กหญงิ นิชา ปานออ ง นักเรียนชั้น ป.4/2 เด็กชายพพิ ัฒนพงศ อรุณวรี ะชยั นักเรยี นชัน้ ป.5/1 เดก็ หญงิ กมลชนก ใสสะอาด นักเรียนชนั้ ป.5/2 เดก็ หญงิ ณัฐธดิ า ไพรคมุ รศั มี นักเรียนชัน้ ป.5/1 ดร.หรรษา เศรษฐบปุ ผา คณะพยาบาลศาสตร มช. ผศ.ชาลนิ ี สุวรรณยศ คณะพยาบาลศาสตร มช. ผศ.สวุ ิท อินทอง คณะพยาบาลศาสตร มช. นางสาวจรี ภา แกว เขยี ว นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท นางปรยิ ากร รักธัญญะการ นักศกึ ษาปริญญาโท นาวสาวนวรัตน วงศไ ชย นกั ศกึ ษาปริญญาโท นางสาวพุทธชาด ศรีสวุ รรณ นักศึกษาปริญญาโท นางสาวนภัสวรรณ สคี าํ ดี

ผทŒู รงคณุ วุฒิวพิ ากษโปรแกรม โปรแกรมเด็กไทยใจเย็นๆ การฝกƒ ทกั ษะชีวติ ในการจดั การความโกรธในวัยเด็กตอนปลาย COACHING TEACHER MANUAL รายช่อื ผทู รงคณุ วุฒิ ตําแหนง 1. พระมหาบุญชัย ปภสฺสรเมธี อาจารยใ หญสํานกั ศาสนศึกษาวดั สวนดอก พระอารามหลวง รองเจาอาวาสวดั สวนดอก พระอารามหลวง 2. รศ.ดร.เสริมศรี ไชยศร ผูทรงคณุ วุฒิอานผลงานวิชาการทางดา นหลักสูตรและ การสอนใหกับสถาบนั ในประเทศ กรรมการอํานวยการประจําคณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม และกรรมการประจาํ คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ขาราชการบํานาญสังกดั มหาวิทยาลัยเชยี งใหม 46 3. รศ.ดร.พชั รี วรกจิ พนู ผล ผูเชีย่ วชาญดานการพยาบาลเดก็ รองศาสตราจารย ดร. คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม 4. อ.ดร.ดุสิต พรหมชนะ ผเู ช่ียวชาญดานการศกึ ษา การพฒั นาหลักสตู รและการสอน รองผูอ าํ นวยการ โรงเรียนปรินสร อยแยลสว ทิ ยาลัย 5. นายสมนกึ อนันตวรวงศ ผเู ชี่ยวชาญดานสงั คมสงเคราะหเด็กและวยั รุน นักสงั คมสงเคราะหชํานาญการพิเศษ สถาบันพฒั นาการเด็กราชนครินทร 6. นางกณั ฑส ณิ ี ชางสม ผูเ ชยี่ วชาญดานจิตวทิ ยาเดก็ และวยั รุน นกั จิตวิทยาคลนิ ิกชาํ นาญการ สถาบนั พัฒนาการเดก็ ราชนครนิ ทร 7. แพทยหญงิ ดษุ ฎี จึงศิรกุลวทิ ย ผูอาํ นวยการสถาบนั สุขภาพจิตเด็กและวัยรุน ราชนครนิ ทร 8. ดร.อทุ ัย ปญญาโกญ ศกึ ษานเิ ทศก ชาํ นาญการพิเศษ สํานกั งานเขตพ้นื ท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาเชียงใหมเขต 1 9. นางคนึงนิจ ไชยลังการณ หัวหนาหนวยจติ เวชเด็ก คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม

เพลง “โกรธไปทําไม ตŒองใจเย็นๆ” โกรธ โกรธ โกรธ โกรธไปทาํ ไมหรอื นี่ โกรธกนั น้ันมันไมด ี โกรธแลว วนุ วาย ไมสขุ ศรี โกรธแลว ตอยตี ไมเ ขา ที โกรธแลวชีวี วอดวาย ใจเย็น ใจเยน็ ใจเย็น เดก็ ไทยตองใจเย็นๆ เขา ใจในสงิ่ ท่ีเปน ใจเยน็ ใจเย็นใหท องไว คิดดี พูดดี ทําดไี ด ชวี ิตสบาย ตอ งใจเย็น ทาํ นอง เพลงชา ง ชา ง ชา ง เนื้อรอง (ครูกอ ย) ดร.หรรษา เศรษฐบุปผา

โดยความร‹วมมือของ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม‹ และโรงเรยี นวดั สวนดอก จงั หวดั เชียงใหม‹ ติดตอ ดร.หรรษา เศรษฐบปุ ผา หวั หนาโครงการ ศนู ยป ระสานงานโครงการฝก ทักษะชวี ติ ในการจดั การความโกรธ ในวยั เดก็ ตอนปลาย โปรแกรมเดก็ ไทยใจเย็นๆ คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม เลขที่ 110 ถนนอนิ ทวโรรส ตําบลสเุ ทพ อําเภอเมอื งเชียงใหม จงั หวัดเชียงใหม 50200 โทรศพั ท 0 5394 9014 / โทรสาร 0 5321 7145 จัดทํา พิมพ เผยแพร และสงวนลขิ สทิ ธ์โิ ดย สํานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสรา งเสริมสุขภาพ (สสส.) อาคารศูนยเ รยี นรูส ขุ ภาวะ เลขที่ 99/8 ซอยงามดพู ลี แขวงทุง มหาเมฆ เขตสาทร กรงุ เทพฯ 10120 โทรศัพท 0 2343 1500 / โทรสาร 0 2343 1551 ผูจัดทํา พิมพค ร้ังท่ี 1 : กนั ยายน 2562 ดร.หรรษา เศรษฐบุปผา จํานวน : 48 หนา ผศ.ชาลนิ ี สุวรรณยศ จํานวนท่พี ิมพ : 200 เลม ผศ.สุวิท อินทอง ISBN: 978-616-393-245-7