Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาเริ่มต้นเมื่อคนกินอยู่เป็น

การศึกษาเริ่มต้นเมื่อคนกินอยู่เป็น

Published by Thalanglibrary, 2020-12-19 04:13:48

Description: ...คนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่ดี มีอาหารการกินอย่างดีที่เรียกว่า มีมาตรฐานการครองชีพสูง แต่กินอาหารแล้วไม่ได้คุณภาพชีวิต เลยกลายเป็นว่ามาตรฐานการครองชีพสูง แต่คุณภาพชีวิตเสีย เป็นการกินที่ไม่ฉลาด...
...ให้การรับประทานอาหารเป็นเครื่องเกื้อหนุนช่วยให้เรามีเรี่ยวแรงกำลัง เพื่อเราจะได้ทำกิจทำหน้าที่ศึกษาเล่าเรียนทำงานทำการ...พูดสั้นๆ ว่าบริโภคอาหาร เพื่อเป็นปัจจัย คือเป็นเครื่องเกื้อหนุนให้เราดำเนินชีวิตที่ดี พัฒนาตนเอง และทำสิ่งที่ดีงามได้ยิ่งขึ้นไป...

Search

Read the Text Version

⌦    

การศกึ ษาเร่ิมตน   พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต)

การศกึ ษาเร่ิมตน เมื่อคนกินอยูเ ปน ,๐๐๐ เลม © พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ISBN 974-87198-9-8 พิมพครัง้ แรก ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๒ ๒๐,๑๐๐ เลม - ชมรมรวมใจเพอ่ื ธรรมฯ ม.ก. และผศู รทั ธาสมทบพมิ พ พมิ พค รงั้ ท่ี ก.พ. ๒๕๕๐ พิมพท ี:่ Dhammaintrend รว่ มเผยแพรเ่ ป็ นธรรมทาน

สารบญั (๑) คาํ ปรารภ ๑ ๓ การศึกษาเร่ิมตน เมื่อคนกินอยเู ปน ๘ เรยี นรจู ากชีวติ พระ ๑๙ ดเู ปน ฟงเปน ฯลฯ ๒๗ กินเปลอื ง ไมใ ชกินเปน ๓๘ กินอยา งมีปญญา เรียกวากินเปน ๔๗ ลกู ท่ีเลี้ยงงา ย คอื มนี ้ําใจตอพอ แม ๕๖ สันโดษแท คือสันโดษเพ่ือทํา สรปุ

⌦   เรียนรูจ ากชีวิตพระ เมอื่ เรามชี วี ติ อยูก จ็ ําเปนตองเกีย่ วขอ งกับปจ จัย ๔ คือ อาหาร เครอื่ งนงุ หม ท่อี ยู และหยกู ยา ซึ่งเปนส่งิ จําเปน พนื้ ฐาน จะเห็นไดจ ากขอปฏบิ ตั ิของพระ วา ทา นเริม่ ศึกษาตงั้ แตการรจู กั บริโภคปจ จยั ๔ ซง่ึ ทานถือเปนศลี ดวย บางคนอาจจะไมไดน กึ วาการรู จกั บรโิ ภคอาหารกเ็ ปนศีล การฉนั อาหารทว่ี า เปน ศีล หมายถึงการฉนั หรอื บรโิ ภคโดย พจิ ารณาวา บรโิ ภคเพื่ออะไรเปนตน เรียกงายๆ วา บริโภคดวยปญญา ซึ่งจะทําใหเปนการบริโภคท่ีพอดี หรือกินพอดี ภาษาพระเรียกวา โภชเนมัตตัญตุ า (ความรจู ักประมาณในการบรโิ ภค) อกี เรอื่ งหนึง่ ทพี่ ระพุทธเจาทรงเนน มาก คอื อินทรยี สังวร ไดแก การรจู กั ใชอนิ ทรีย (ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ) ใหดู ฟง เปนตน อยางมสี ติ จัดเปนการศึกษาเบื้องตน อยใู นขัน้ ศลี และเปน ศลี เบือ้ งตนย่งิ กวาศีล ๕ อีก

๒ การศึกษาเริ่มตนเมื่อคนกนิ อยูเ ปน เรามกั จะมองกนั แคศ ลี ๕ ทจ่ี รงิ อนิ ทรยี สงั วร และโภชเน- มัตตัญุตา ท่ีเปนศีลเบอื้ งตน น่ีแหละ พระพุทธเจา ทรงเนนมาก พระเณรพอบวชเขา มากเ็ รมิ่ ดว ยอนิ ทรยี สงั วร ใหส าํ รวมอินทรีย วา เวลารบั รู ดู ฟง เห็นอะไรตางๆ กใ็ หเ ปนไปโดยมสี ติ แลวกต็ ามมา ดว ยปญ ญา ใหไ ดค วามรู ไมใหเกดิ โลภะ โทสะ โมหะ ใหไดแ ตกศุ ล พูด งายๆ วารบั รดู วยสติ มิใหอ กศุ ลธรรมเขา มาครอบงาํ จติ ใจ แคนกี้ ็ใชไ ด หลักอกี อยา งหนง่ึ ทม่ี าสนับสนนุ ทา นเรยี กวา สนั โดษ หมายถึง ความพอใจในปจจัย ๔ คือ จีวร(เคร่ืองนุงหม) บิณฑบาต(อาหาร) เสนาสนะ(ท่ีอยู) และเภสชั บรขิ าร(หยกู ยา) ตามมีตามได มีฉันมใี ชพอ ใหอยูไ ด พอใหสนองความตองการของชวี ิต เมื่อมปี จจัย ๔ พอเปน อยไู ดแ ลว ไมล มุ หลงมวั เมาอยูก บั การ เสพบรโิ ภค กเ็ อาเวลา แรงงาน และความคิด ไปอทุ ิศใหแกการศึกษา พัฒนาชวี ิต การทาํ กิจหนาท่ี การงาน และการเพียรสรา งสรรคก ศุ ล ธรรมหรือสิ่งที่ดีงามใหเ ตม็ ท่ี ทาํ อยา งนี้เรยี กวา “สันโดษ” การฝกฝนพัฒนาตนเก่ียวกับปจจัยส่ีนั้น มีสาระท่ีพึงปฏิบัติ ตามหลักอินทรียสังวร โภชเนมัตตัญุตา และสันโดษ การฝก หรอื ศกึ ษาในหลกั ธรรมเหลา นี้ มใิ ชเ ฉพาะพระภกิ ษสุ ามเณร เทา นัน้ ท่คี วรปฏิบตั ิ แมแ ตคฤหสั ถค ือชาวบานท้งั หลาย กค็ วรนาํ มาใช ประโยชน เพ่ือใหชวี ติ และสงั คมของเราเจรญิ งอกงามอยา งถกู ตอง ดูเปน ฟงเปน ฯลฯ เราอยูในโลก ชีวิตของเราท่ีเปนอยูไดตองมีการสื่อสารกับโลก ภายนอก สิ่งท่ีชวยสื่อสาร หรือเครื่องมือสื่อสาร ก็คือ ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ของเรา ถาเราใชตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ ไมเปน ตา หู จมกู ลนิ้

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๓ กาย ใจ ของเรา ก็กลับเปน ทางมาของโทษความเสียหาย ทาํ ใหเกดิ ความเดือดรอ นท้งั แกตนเองและผูอน่ื ที่วา ใช ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ ไมเปน ก็คือใชดว ยโมหะ ใชดวย สกั แตว า ความรสู ึก ดกู ็ไมเ ปน ฟง ก็ไมเ ปน ดแู ลว ก็เกดิ โทษเกิดปญหา แกช ีวติ ทําใหเ กดิ ความลุมหลง เพลิดเพลินมัวเมา โลภะ โทสะ โมหะ ยิง่ เฟองฟู เชน อยากดูทวี ีก็ดไู มเปน ดแู ลวแทนที่จะไดความรู กลบั ได แตค วามลุม หลง ความเอะอะโวยวาย เสียสขุ ภาพกาย เสยี งาน เสีย การศกึ ษาเลาเรียน แตถ า ดูเปน กจ็ ะไดความรู คือรจู กั เลือกดูรายการท่ีดีๆ มี ประโยชน หรือวา แมรายการจะไมด ี แตร ูจักดูก็ไดความรู ไดค ติ เพราะรู จกั แยกแยะจับเอาประโยชนม าใชไ ด ถา ดเู ปน การศกึ ษาก็เริ่มตน เพราะการศกึ ษาเริม่ ตนท่ี ตา หู จมกู ล้ิน กายของเรา ถา จดั การเร่อื งน้ไี มไ ดกแ็ สดงวาการศึกษาพลาด การศึกษาปจจุบนั นน้ี าจะพลาด เพราะไมไ ดเ อาใจใสเรอื่ งนี้ เพราะฉะน้ันจงึ ตอ งมาพดู กันในเรอ่ื ง อนิ ทรียสังวร คือ การ สํารวมรจู กั ใชอินทรยี  อนั ไดแ ก ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ของเรา การศึกษาพ้ืนฐาน คือเรือ่ งการบรโิ ภคปจจยั สี่ กบั เรอื่ งการใช ตา หู จมกู ลนิ้ กาย ใจ นี้ จะตอ งใหเปนจดุ เร่มิ ตนของการศกึ ษา ถาไดจ ุด น้แี ลว การศึกษากเ็ ร่มิ เดินหนา เพราะฉะน้ันหลักเบื้องตนในการฝกอบรมพระใหมจึงเนนท่ีน่ี แลว ตอไปก็ตอ งใชต ลอด ในเรอื่ งอนิ ทรยี สงั วรน้ี เพื่อเปน การฝก โบราณไดจดั ออกมาเปน กริ ิยาอาการในการสํารวมตา หู จมูก ลิ้น ตานี่โผลก อ นเขา เพอ่ื ใหมีการฝก ทา นก็เอารปู แบบมาชวย คือ ใหพ ระฝก เวลาเดินตาไมส อดสา ย ไมเทย่ี วหนั ดโู นนดนู ่ี และใหดพู อ

๔ การศกึ ษาเริ่มตนเมื่อคนกินอยเู ปน ประมาณ ทอดสายตาในขนาดที่พอใชก จิ คอื พอใหก ารเดนิ ของตวั ไปได ถกู ตอ ง อาการสาํ รวมอยา งนีก้ เ็ ลยกลายเปนความเปน อยูของพระไป การปฏบิ ตั ิอยา งทวี่ านนั้ เปน การเอารูปแบบมาชว ย คอื เอา อาการกริ ยิ ามาชวยในการฝก แตต อ งรวู า สาระทแี่ ทจ รงิ คอื ทา นตอ งการ ใหเราฝก สติ ตองเอาสติมาคุมไมใ หอ กศุ ลธรรมความรูส กึ ทไี่ มดีเขามา ครอบงาํ ใหร บั รดู ว ยสตแิ ละเกดิ ปญ ญา แลว ไดป ระโยชน คอื ดแู ลว ฟง แลว ใหไ ดค วามรแู ละความดี บางคนดอู ะไรแลว ไดแ ตส นกุ ตนื่ เตน ผา นไปเปลา ๆ ไมไ ดอ ะไรเลย ถาอยางนี้ก็แสดงวาไมมีการศึกษา ถาเขาโรงเรียนแลวยังไมร ูจ ักใช ตา หู จมูก ลนิ้ ก็คอื ไมม ีการ ศึกษา เพราะยังไมไดเริ่มการศกึ ษาเลย เพราะฉะน้ัน ตองถามตัวเองวา ๑. ดแู ลว ไดความรไู หม? ไดความรูคือไดป ญ ญา หรือเดนิ หนาไป ในการทจี่ ะเขาถึงความจริง เราตองมคี วามรูจึงจะดําเนนิ ชีวติ และทํา กิจการตางๆ ไดส าํ เร็จ และจึงจะแกป ญหาได เพราะฉะนั้นดูแลวตอ ง ไดขอ มูล ไดความรู เกิดความเขาใจ กาวไปหาความจริง ๒. ดูแลวไดป ระโยชนไ หม? ไดป ระโยชนคอื สามารถเอามาพัฒนา ชวี ิตและทาํ การสรา งสรรคต างๆ คอื ดแู ลวไดต ัวอยางทด่ี ี ไดแงม มุ ความ คดิ ไดคติ ที่จะเอามาใชประโยชน ถา ได ๒ อยางนี้ ก็แสดงวาไดปญ ญาทงั้ คู คือปญญาท่เี อา ความรู และปญ ญาทเี่ อาประโยชนไ ด ฟงก็เชน เดียวกนั ท้ังดูและฟงน้ี ตอ งฝก ตองหดั กนั ต้งั แตเดก็ ๆ วา ดทู วี เี ปนไหม ฟงวิทยเุ ปนไหม ไดค วามรูและไดประโยชนอะไรบา งจาก สงิ่ เหลา นนั้ อยา เปน เพยี งนกั เสพทไ่ี ดแ คส นกุ สนานเพลดิ เพลนิ ผา นๆ ไป

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๕ เดี๋ยวนเ้ี ราไดน ักเสพ มากกวานักศึกษา ทั้งทเ่ี ปนเพียงนักเสพ แต เรียกตัวเปนนักศึกษา ถาไมไดเปนนักศึกษาจริง ก็ควรบอกมาวาฉันเปนแคนักเสพ เรื่องน้ีตองแยกใหดี มิฉะน้นั จะเปนอนั ตรายมาก ยุคนม้ี ีสภาพอยา งทวี่ า นน้ั การทเ่ี รียกยคุ ของพวกเราวาเปน “บรโิ ภคนิยม” ก็ชดั คือ นิยมบรโิ ภค หมายความวาเห็นแกกนิ กค็ อื เปน นักเสพนัน่ แหละ เมอ่ื เปนนกั เสพแลว จะไปเรยี กเปน นักศึกษาไดอยา งไร นกั เสพ กบั นกั ศกึ ษาน้นั คนละพวก ถาเปนนกั เสพกไ็ มใ ชน ักศกึ ษา ถา เปนนักศึกษากต็ องใชตา หู จมูก ลน้ิ เพ่อื เรียนรู คือใชหา ปญ ญา และหาทางสรา งสรรคป ระโยชน เวลาน้ี ทงั้ ทใี่ ชตาหเู พียงแคห าสงิ่ บํารงุ บําเรอ ก็เรียกกันไปวานัก ศกึ ษา ปรากฏวาไดสมั ผสั เกี่ยวของกบั ประสบการณตางๆ ทาง ตา หู จมูก ล้นิ มากมาย แตไมเ คยศึกษาเลย ไดแ ตเสพอยางเดียว ขอยา้ํ วา เรอื่ งนส้ี ําคญั มาก อินทรยี สังวรนี้เปน ขอปฏิบตั สิ าํ คัญท่ี จะทําใหเปน นักศกึ ษา คือเปน นักเรียน นักรู หมายความวาใชตาดู หฟู ง เปนตน หรอื เก่ยี วของกับประสบการณทกุ อยา ง ตอ งไดป ญ ญา ทเ่ี กิด ความรู และเอาประโยชนจากสิ่งเหลา นัน้ ได กนิ เปลือง ไมใ ชกินเปน ในการฝกเบื้องตน พอพระเณรบวชเขามา ก็เรม่ิ ฝกการบรโิ ภค ปจจยั ๔ ทันที สาํ หรบั พระเณรนัน้ มีหลักอยแู ลววา ใหเปน อยงู าย อาศยั ปจจยั ๔ พอเลยี้ งชีพ ตอ งใหบริโภคคอื ฉนั ดว ยปญญา เพราะฉะนน้ั จึงมีบท พจิ ารณาใหท อง

๖ การศกึ ษาเร่ิมตน เมือ่ คนกินอยเู ปน กอนจะบวชกใ็ หทอ ง บท ตงั ขณิกปจ จเวกขณะ คอื พจิ ารณาใน ขณะนนั้ ๆ เชน เวลาจะฉนั กพ็ ิจารณาอาหาร เพ่ือใหม สี ติ คอื ฉนั โดยรู ตัววา ท่ีฉันนี้ เพอื่ สนองความตองการที่แทจริงของชวี ติ นะ ไมใ ชเ พียง เพ่ือเอร็ดอรอย โกเ ก อนึง่ เพอ่ื เตือนสติไวเสมอๆ ทา นนิยมทาํ ใหร สู ึกวาเอาจริงเอาจัง โดยสวดบทพิจารณาน้ันในเวลาจะเรม่ิ ฉัน ในบรรดาบทสวดมนตท ้งั หลายนัน้ มบี ทหน่งึ ท่ีถือวาสาํ คญั สาํ หรบั พระเณร เรยี กกนั วา บท “ปฏิสังขา-โย” คือเรียกตามคําเร่ิมตน ของบทสวดน้ัน บทปฏสิ งั ขา-โยนแ่ี หละภาษาทางการเรยี กวา ตงั ขณกิ ปจ จเวกขณะ คือบททพี่ ูดถงึ เม่ือกี้ ปจ จเวกขณ แปลวา การพจิ ารณา ตงั ขณกิ ะ แปลวา ในขณะนน้ั ๆ พจิ ารณาในขณะนนั้ ๆ หมายถงึ พจิ ารณาปจ จยั ๔ ในขณะทบ่ี รโิ ภคนน่ั เอง ถา พจิ ารณาตอนทฉี่ นั กเ็ ปน การพจิ ารณาในขณะนั้นๆ จงึ เรยี กวา ตังขณิกปจจเวกขณะ แตใ นกรณที บ่ี างทเี ผลอไป ก็พจิ ารณายอนหลงั เปน การทบทวนและเตอื นตนเอง เรยี กวา อตีตปจ จเวกขณะ คือเปล่ียน ตงั ขณกิ ะ เปน อตตี ะ แปลวา การพจิ ารณาสว นอดตี คอื สว นทล่ี ว งไปแลว การพจิ ารณาตอนเปน อดตี นี่ กน็ ยิ มเอามาจดั เปน บทสวดมนตเ ชน เดียวกัน บางวดั เวลาคํา่ กส็ วดบทอตตี ปจ จเวกขณะนี้ดว ย การพจิ ารณาปจ จยั ๔ ถอื เปนเรือ่ งสาํ คญั เพราะชีวิตความเปน อยูข องทกุ คนตอ งเก่ียวเนือ่ งดว ยปจ จัย ๔ ทานจงึ สอนใหบรโิ ภคใชสอย ปจจัย ๔ ดว ยพจิ ารณา คอื บรโิ ภคดวยปญญา ไมบ รโิ ภคดว ยตณั หา บรโิ ภคดวยปญญา ตางกับบรโิ ภคดว ยตัณหาอยา งไร บริโภคดว ยตณั หา ก็คือ บริโภคเพ่ือเสพรส เพอ่ื มุงเอรด็ อรอย คอื สนองความรสู กึ ชอบใจไมชอบใจ เอาแคค วามสขุ จากการเสพ ท่วี า สุข

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๗ ในเร่อื งของอาหารกค็ อื อรอย เปน การสนองตัณหาซง่ึ อยากบาํ รุงบําเรอ ตา หู จมกู ล้นิ กาย ถาเปน เครอื่ งนุงหม ก็มงุ ความสวยงาม ความโกเก ตลอดจน ประกวดประขันแขง ฐานะกัน เอาอาหาร เอาเครื่องนุงหม เอาที่อยู อาศยั เปนเครือ่ งอวดแสดงฐานะ การทําอยา งนี้ ไมเปน การสนองความตอ งการที่แทจรงิ ของชีวติ พดู ภาษาสมัยใหมว า มันไมไดเปน เครอื่ งแสดงการมีคุณภาพชีวิต บางคนมฐี านะเศรษฐกิจดี มีอาหารการกนิ อยา งดี ท่เี รียกวามี มาตรฐานการครองชีพสงู แตก ินอาหารแลวไมไดค ุณภาพชวี ิต เลย กลายเปนวา มาตรฐานการครองชีพสูง แตคุณภาพชวี ติ เสีย เปนการกนิ ท่ี ไมฉ ลาด สมยั กอ นนนั้ คนมุงเนน เรอ่ื งมาตรฐานการครองชพี มาก อยางที่ ภาษาฝรั่งเรยี กวา standard of living คนพากนั อยากมมี าตรฐานการ ครองชีพสงู แตตอ มายคุ หลงั เกดิ มคี าํ ใหมเ รยี กวา quality of life แปล วา คณุ ภาพชวี ิต การมีมาตรฐานการครองชีพสูงไมไดเ ปน หลักประกนั วาจะมีชวี ิต ทด่ี ี เพราะฉะน้ันจงึ ตองมาวดั กนั ใหมวาชวี ติ ดีอยทู ่ีอะไร กเ็ ลยไดศัพท ใหมวา “คุณภาพชีวติ ” แลว หนั มาเนนกนั ที่น่ี บางคนกินอาหารแพงๆ เปนอยูอ ยา งดี มีมาตรฐานการครองชพี สงู แตเปน โรคภยั ไขเจ็บเยอะ เพราะดําเนนิ ชวี ิตผดิ เปนอยผู ิดธรรม ชาติ เกิดเปนโรค อยางทบี่ างทเี รียกวาโรคอารยธรรม ดังปรากฏวา ประเทศทเี่ จรญิ แลว มักจะมีโรคเหลา นี้มาก เชน โรคหัวใจ โรคความดนั โลหิตสูง ซึ่งประเทศที่ยากจนกลบั ไมค อ ยเปน ท่ีเปนอยางนี้ เพราะเขาไดแคก นิ เปลอื ง แตก ินไมเปน

๘ การศึกษาเริ่มตน เม่อื คนกินอยเู ปน เพราะฉะนน้ั การท่ปี ระเทศเจริญแบบนจ้ี งึ ไมไดเ ปน หลกั ประกัน วา จะทําใหค นมีสขุ ภาพดี ซึง่ เปน ดานหนงึ่ ของคณุ ภาพชวี ิต กนิ อยา งมปี ญ ญา เรยี กวา กนิ เปน หันมาดูตวั อยา งจากชวี ิตของพระสงฆ ทที่ า นนําหลักธรรมมา ปฏบิ ตั ิ พระเกา ๆ กอ นฉนั ทา นจะวา บทพจิ ารณาอาหารเตือนสติไวกอน ความจริงน้นั สติตองเปน ไปในเวลาฉนั ตลอดเวลา ไมใ ชม แี คต อนเรมิ่ แต ทเ่ี ราวาหรือสวดออกมากอ น ก็เพื่อจะเตือนตวั เอง ใหม ีสติตง้ั ใจ พิจารณาตั้งแตต อนเรม่ิ ฉัน โดยเอาคาํ บาลที พ่ี ระพทุ ธเจา ตรัสไว มาวา ตอนนนั้ เลย คอื วาคําพจิ ารณาอาหารดังน้ี ปฏสิ งั ขา โยนโิ ส ปณ ฑะปาตงั ปะฏเิ สวามิ ขา พเจา พจิ ารณาแลว โดยแยบคาย คอื พจิ ารณาโดยใชป ญ ญาไตรต รองอยางดแี ลว คํานึงถึง เหตุผลแลว จงึ ฉันอาหารบิณฑบาต เนวะ ทะวายะ นะ มะทายะ นะ มณั ฑะนายะ นะ วภิ สู ะนายะ (โดยรู ตระหนักวา) มใิ ชเพื่อจะสนกุ สนาน เห็นแกเ อรด็ อรอยหลงมัวเมา สวย งามโออ า โกเก ยาวะเทวะ อมิ สั สะ กายัสสะ ฐิตยิ า ยาปะนายะ ทฉ่ี นั นก้ี ็เพ่ือให รางกายน้ีดาํ รงอยู ใหชวี ติ ดาํ เนินไปได วิหิงสปุ ะระตยิ า เพอ่ื ระงบั ความหิวกระหาย หรอื การขาดอาหาร ซงึ่ เปน ภาวะทบ่ี บี คั้นเบียดเบยี นรา งกาย พรหั มจริยานุคคหายะ เพ่อื อนุเคราะหพรหมจรยิ ะ คอื เพอ่ื เกื้อ หนุนชีวิตดีที่ประเสริฐ

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๙ ตรงนี้มาถึงจุดสาํ คญั เพราะชวี ิตของพระก็เพื่อประพฤติพรหม- จรยิ ะ คือดําเนนิ ตามอริยมรรค พรหมจริยะ หรอื พรหมจรรยใ นทน่ี ม้ี ี ความหมายกวาง ถา จะปอ งกนั ความสบั สนกพ็ ดู วา เพอื่ เกอ้ื หนนุ การดาํ เนนิ ชวี ติ ตามมรรคมอี งค ๘ รวมท้ังการบําเพ็ญไตรสกิ ขา คือเพือ่ เราจะไดมีกาํ ลงั ทํากิจหนา ท่ี ฝกฝนพฒั นาชีวติ ที่ดงี ามของเรา สาระสาํ คญั ก็คอื ใหการรับประทานอาหารเปนเคร่ืองเกอื้ หนนุ ชว ยใหเรามีเรย่ี วแรงกําลงั เพ่อื เราจะไดท ํากิจ ทําหนา ที่ ศึกษาเลา เรยี น ทาํ งานทาํ การ บาํ เพญ็ สมณธรรม บาํ เพญ็ ศีล สมาธิ ปญ ญา ใหไดผล พดู สัน้ ๆ วา บริโภคอาหารเพือ่ เปน ปจ จยั คือเปน เคร่ืองเกือ้ หนุน ใหเราดาํ เนนิ ชีวิตทด่ี ี พัฒนาตนเอง และทาํ สิง่ ทด่ี งี ามไดยง่ิ ขึ้นไป อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะติหังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อปุ ปาเทสสามิ โดยการรบั ประทานดว ยปญ ญาอยางน้ี เราจะระงับ เวทนาเกา คือแกความทกุ ขร อนกระวนกระวายเน่อื งจากความหวิ ได กับท้งั จะไมใ หเ กิดเวทนาใหม เชน ไมอึดอัด แนน จุกเสยี ด ทอ งเสีย เปนตน เนือ่ งจากรบั ประทานมากเกนิ ไป หรือกนิ ของไมดีมพี ษิ ยาตรา จะ เม ภะวิสสะติ และเรากจ็ ะมชี ีวติ ดาํ เนินไปได อะนะวชั ชะตา จะ พรอ มทงั้ จะเปน การบรโิ ภคทบ่ี รสิ ทุ ธิ์ ไมม โี ทษ ปราศจากขอเสยี หาย หมายความวา ไมม โี ทษภยั ไรข อ บกพรอ งเสียหายทีจ่ ะพงึ ตาํ หนิ ติเตยี นได เชน ไมต อ งทาํ การแสวงหาโดยทางทุจรติ ผิดธรรม ไมเ บยี ด เบียนตนเอง ไมเ บียดเบียนผูอน่ื ไมเ บียดเบียนสงั คม ไมเ บียดเบียน ธรรมชาติแวดลอม ไมเบียดเบยี นทัง้ ภายในและภายนอก ผาสุวหิ าโร จาติ แลวกเ็ ปน อยูผาสุกดวย

๑๐ การศกึ ษาเริ่มตน เมอ่ื คนกินอยเู ปน นเี่ ปน วัตถุประสงคข องการรับประทานอาหาร ซ่ึงพระจะตอง พิจารณาทุกคร้ังในเวลาฉนั เพอ่ื ใหเ ขา ใจและรกั ษาวตั ถปุ ระสงคข องการ ฉันใหถ ูกตอง ตรงตามคณุ คา ทีแ่ ทข องอาหาร น่ีแหละเปน ศีลเบอ้ื งตนของพระ ซ่งึ ทานใหฝ ก กนั ตง้ั แตม าอยวู ดั โดยใหท อ งบทพจิ ารณาไว แลว เวลาฉันกพ็ จิ ารณาอยา งน้ี ถา เรากนิ ดว ยปญ ญาแลว ความรเู ขา ใจจดุ มงุ หมายในการกนิ กจ็ ะมา ๑. จาํ กดั ปรมิ าณอาหาร ใหพ อดกี บั ความตอ งการของรา งกาย ๒. จาํ กดั ประเภทอาหารใหพ อดที จ่ี ะไดส งิ่ ทม่ี คี ณุ คา เปน ประโยชน และไดสดั สวน พอถงึ ตอนนี้ การกนิ พอดกี เ็ กดิ ขนึ้ เพราะฉะนน้ั การกนิ ดว ยปญ ญา จงึ มชี อื่ วา การกินพอดี เรยี กเปน ภาษาพระวาความรูจ กั ประมาณใน การบริโภค ภาษาบาลีวา “โภชเนมัตตญั ตุ า” หลักน้ีสําคัญมาก ผูท่ีบวชเขามาเบื้องตนจะตองฝกในเร่ือง โภชเนมัตตญั ุตา ใหม คี วามรูจ ักประมาณในการบรโิ ภค ซ่งึ จะมผี ลดี ตอชีวิตของตนเอง เปนการฝก ในข้ันศีล คือเปน การฝกพฤตกิ รรมใน การฉัน ในการรบั ประทาน หรือในการบริโภค แลวกข็ ยายไปถึงสิ่งอืน่ ๆ ท่ีเรากนิ ใชบ ริโภคทง้ั หมด เชน เส้ือผา เครอ่ื งนุง หม ก็พิจารณาทาํ นอง เดยี วกนั พระสมยั กอ นนัน้ เวลาจะฉันขา ว ก็ตกั ขา วข้นึ มาชอนหนึง่ เปน ตัวอยา งเพือ่ เรมิ่ พจิ ารณา แลว กฉ็ นั ขาวเปลา ๆ ไปชอ นหนึ่งกอน เดย๋ี วนี้ กย็ ังมกี ารปฏิบัตกิ นั เพราะทานทท่ี าํ มาตง้ั แตเปน เณรก็เคยชนิ สว นจวี ร จะหยบิ มาหม กพ็ จิ ารณา ปฏสิ งั ขา โยนโิ ส จวี รงั ปฏเิ สวามิ ขา พเจา พจิ ารณาแลวโดยแยบคาย คือพจิ ารณาเหตผุ ลมองเห็นคุณ คา ท่ีแท และเขา ใจความมุงหมายดีแลว จึงใชสอยหม จวี รน้ี เพอ่ื จะได

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๑ กนั หนาว กันรอ น กนั เหลือบยงุ รน้ิ ไร เปน ตน ตลอดจนปอ งกนั ความ ละอาย นี่ก็คือใหเขาใจความมงุ หมายของการใชเครือ่ งนมุ หม วา จะเอา คณุ คา ท่แี ทจริงของมนั ทําใหตองฝกปญ ญา หัดนกึ คิดพิจารณาวา เอ.. เราหม จีวรน้ี เพ่ืออะไรกันแน ออ .. จดุ มุง หมายท่แี ทจรงิ คอื เพอื่ อยา งนี้ๆ แตเวลาใชมัน เราไดผลตามวตั ถปุ ระสงคนหี้ รือเปลา หรือใชเ สอ้ื ผาเปน เพียงเครอื่ งประดบั ตกแตง มุงจะเอาสวยงาม โกเ ก อวดฐานะกนั ทําใหใ ชของราคาแพงเกินไปฟุมเฟอ ยสิน้ เปลืองโดยใชเ หตุ โดยไมไ ด คณุ คาทีแ่ ทจรงิ เพราะบางทีของท่ีราคาแพงกลบั ไมม คี ณุ คาท่ีแทจ ริง เลย เปน การใชม นั อยางลมุ หลงไมมปี ญญา ตองยอมรบั วาคนสมยั นีย้ ังหลงมาก เราพูดกันไปเร่อื ยๆ เปอ ยๆ วาเรามกี ารศกึ ษา แตเ ราไมไ ดใ ชป ญญา แมแตใ นการปฏบิ ตั ิตอ ปจจยั สี่ เราบริโภคดว ยความหลง ดว ยตณั หา ดวยอวชิ ชา กนิ ใชดว ยความไม รไู มค ดิ แลวลองคิดดซู วิ า การศกึ ษาจะเดนิ หนา ไปไดอ ยางไร เพราะแม แตการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานกย็ ังไมไ ดเร่มิ ตน เลย สําหรับมนษุ ยป ถุ ุชนอยา งชาวบาน เรายอมใหบางในเร่ืองความ เอร็ดอรอยสวยงามโกเ ก แตควรจะมีหลักวา ๑. ตอ งใหไดคณุ คา ที่แทจ รงิ เปนฐานไวก อ น อยาใหเ สียอนั นี้เด็ด ขาด ถา เสยี ก็คือดาํ เนินชีวติ ผิด ไมม ีการศึกษา ๒. สวนที่มาประกอบเสรมิ ในดา นคณุ คา เทยี ม เชน ความอรอย สวยงามโกเกนัน้ อยาใหเ ลยเถดิ ไปจนกลายเปนการเบยี ดเบยี นตน เบียดเบยี นผอู ื่น ตรงนสี้ าํ คญั มาก ก) อยาใหเบียดเบียนตน เชน รับประทานอาหารแลว ทาํ ใหส ขุ ภาพรา งกายเสยี ไป เพราะเหน็ แกค ณุ คา เทยี ม เชน เหน็ แกเ อรด็ อรอยโกเ ก เลยกนิ จนอืดเฟอ หรือกินอาหารท่เี ปน พษิ

๑๒ การศึกษาเริ่มตน เมื่อคนกินอยเู ปน ข) อยา ใหเ บียดเบียนผอู น่ื เชน ทาํ ใหส งั คมเดือดรอนเพราะ แยง ชงิ เอาเปรยี บกนั หรอื เอาจากผอู ่นื มากโดยใชเหตุ ค) อยา ทาํ ลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มมาก ไมใ ชว า กนิ กเ็ ปลอื ง ขยะกเ็ ปรอะ ลกู ทีเ่ ลีย้ งงา ย คอื มีนา้ํ ใจตอพอแม ศีล ไมใ ชหมายถงึ เฉพาะศีล ๕ ท่วี า ไมเ บียดเบียนละเมิดกนั อยางเห็นๆ เทาน้นั ศลี เบื้องตน ทอ่ี ธบิ ายมานี่แหละสําคัญมาก โดย เฉพาะเร่ืองการปฏบิ ตั ิตอปจ จยั ๔ เปน อันวา จะตองพจิ ารณาเวลาฉันเวลาใชของทุกอยาง แตท ่ี เนน มากกค็ อื เร่อื งอาหาร เพราะเปนจดุ สาํ คญั ทเ่ี ดน ในชีวิตประจําวัน ของคน ถาในเวลาท่ฉี ันนนั้ ไมไดพ ิจารณา ก็เอาไปพิจารณายอนหลัง บทยอนหลังก็เปลี่ยนเปน อชั ชะ มะยา อปจ จะเวกขติ ว๎ า แปลวา ในวันนี้ สวนอดตี ท่ผี า นมา ทีข่ าพเจาฉนั โดยไมไดพิจารณานนั้ ขอทบ ทวนไว พรงุ นกี้ ห็ นั กลบั มามสี ตพิ จิ ารณาใหม ใชกับปจจัยท้ัง ๔ อยาง มีปจจัย ๔ ก็มีบท ปฏสิ งั ขา-โย ๔ บท แลว กม็ บี ทอชั ชะ มะยา ๔ บท บทสวดเหลา น้ี เมือ่ เราอยูกันมากขึน้ กลายเปน เรอ่ื งของหมู คณะ ก็อาจจะตองมรี ูปแบบมาชว ย เพ่อื ใหเ กิดความเปน ระเบียบ และ เปนส่ือนําไปสูการปฏิบัติจรงิ จัง เชนตกลงเปนกติกาวา กอนฉัน เรา สวดปฏิสังขา-โยพรอมกันนะ อยา งน้ีเปนตน ของฝรั่งเขากม็ กี ารสวดกอ นรบั ประทานอาหารเหมือนกัน แตเ ขา สวดขอบคณุ พระเจาวา ทีเ่ ขาไดอาหารมารบั ประทานนี่ กด็ วยพระผู เปน เจามอบให แตใ นพระพทุ ธศาสนา การทส่ี วด กค็ อื ใหพ จิ ารณาฉนั อาหารดว ย ปญ ญา โดยเขา ใจความมุง หมายทีแ่ ทจ ริงของการรับประทานอาหาร

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๓ ถา จะขอบคณุ ก็ขอบคณุ บิดามารดาเปน ตน และอนโุ มทนา ญาตโิ ยมทไี่ ดม ศี รทั ธามาบาํ รงุ ใหม ฉี นั มปี จ จยั ทจ่ี ะเกอื้ หนนุ พรหมจรยิ ะ สามารถบาํ เพญ็ กจิ หนา ทไ่ี ด โดยไมต อ งเปน หว งกงั วลดา นความเปน อยู ตอนนไ้ี ดพูดเนนเฉพาะในแงข องการฉนั ภตั ตาหาร เพราะวา พระ สงฆนนั้ พระพทุ ธเจา ทรงบัญญตั ิวนิ ัยไว ใหม ีความเปนอยโู ดยไมท าํ มา หาเลีย้ งชีพดวยตนเอง หมายความวาไมประกอบการอาชีพหาเงนิ ทอง อยางชาวบาน แตใ หท ําหนาที่บาํ เพ็ญกิจกรณยี ข องตนเอง การทาํ หนาท่ขี องตนเองนัน่ แหละเปน การทําอาชีพอยูใ นตวั ไมใ ชว าพระไมม ีอาชีพ พระกม็ อี าชพี คอื การดํารงชีวิตของตวั เองใหถ ูกตอ งตามบทบาทดา นธรรมวนิ ัย ซ่งึ เปนอาชีพทบ่ี ริสุทธ์ิ ประชาชนเขามศี รทั ธา เขาตองการใหธรรมดํารงอยใู นโลก เขา ตอ งการใหคนดีมีอยใู นโลก เพอ่ื เปน หลักประกันความมั่นคงของสังคม เขากต็ อ งมาทาํ นบุ าํ รงุ ญาตโิ ยมจงึ มาถวายภตั ตาหาร ดว ยศรทั ธา และ ดว ยจติ ทมี่ งุ หมายวา จะชว ยรกั ษาธรรม โดยมาอดุ หนนุ ทา นผดู าํ รงธรรม ประพฤติธรรม เผยแผธรรม ใหม ชี วี ิตอยูแ ละทาํ กจิ หนา ทีไ่ ดสะดวก พระอาศัยผูอนื่ เปน อยู ทา นใหพ จิ ารณาระลึกไวตลอดเวลาวา ปรปฏพิ ทั ธา เม ชวี กิ า แปลวา ชวี ติ ความเปน อยขู องเรานเี้ นอ่ื งดว ยผอู นื่ เพราะฉะนน้ั เราจะตองทําตวั ใหเ ล้ียงงาย การเปน ผทู ่ีเลี้ยงงา ยน้นั กค็ ือไมเ ปนคนท่ีเอาแตใ จ ไมเปน นัก เรียกรอง ไมม งุ แตจ ะหาลาภ ทค่ี อยจะใหเ ขาบาํ รงุ บาํ เรอตัว แตกินอยู พอดี แลวตัง้ ใจทําหนา ท่ขี องตน ขวนขวายในการศึกษา นําความดีงาม มาใหแ กสงั คม ผูที่เลย้ี งงายน้ี ภาษาพระเรยี กวา สภุ โร เปน ภาวนามวา สภุ รตา แปลวาความเปนผูเลย้ี งงา ย แสดงวา เปนผมู ีนํ้าใจตอประชาชน

๑๔ การศึกษาเริ่มตนเม่อื คนกินอยเู ปน ความเปน ผูเ ล้ียงงา ยนถ้ี อื เปนหลักสาํ คัญ ไมเ ฉพาะพระเณรเทา น้ัน เดก็ ๆ หรือลูกๆ ทีบ่ า น อยูกบั พอ แมก ็ตอ งนกึ คิดอยา งนี้ เรายงั ไมมคี วามพรอมท่ีจะหากนิ ดว ยตนเอง คุณพอคณุ แมห า เงินทอง ตง้ั ใจเล้ียงดูเราใหเจริญเติบโต ใหม กี ารศึกษา ทานตองเหน็ด เหนอื่ ย หนกั ทงั้ กายและใจ เราจงึ ไมค วรรบกวนคณุ พอ คณุ แมใ หม ากนกั ถา เขา ใจวตั ถปุ ระสงคน แี้ ลว ใชปญ ญาในการบริโภค ก็จะมชี ีวติ ท่พี ฒั นาจริง พรอมทั้งเปน ผเู ลีย้ งงาย และไดช ่ือวา เปน ผูมีนํ้าใจตอคุณ พอ คณุ แม รักคณุ พอ คุณแมจริง จะทาํ ใหค ณุ พอคุณแมซาบซึง้ ใจ และ มคี วามสุขขึน้ เยอะเลย สันโดษแท คอื สันโดษเพื่อทาํ เนื่องจากพระตองทําตัวใหประชาชนเลยี้ งงา ย จงึ มีหลกั อีกอยาง หน่ึงมาสนบั สนนุ ทที่ านเรยี กวาสนั โดษ สนั โดษ หมายถงึ ความพอใจในปจ จยั ๔ คอื อาหาร บณิ ฑบาต จีวร เสนาสนะ อะไรพวกนี้ ตามมตี ามได หมายความวา เม่ือญาติโยมถวาย มาอยา งไรกไ็ มไ ปเทย่ี วเรยี กรอ ง ไมร บกวนชาวบา น เอาแคพอทจี่ ะทาํ ให มีกําลงั เรี่ยวแรงพรอมที่จะไปทาํ กจิ หนาทไ่ี ด ความสันโดษนี้จะมาชว ยเรา ท้งั ในแงท ไี่ มเ กดิ ความทกุ ข ไมเ กดิ ความทรุ นทุรายเพราะเรอื่ งสิง่ เสพบรโิ ภค และในแงที่จะมุง หนา อุทิศตวั อุทศิ ความคดิ อุทิศเวลาใหแกงานในหนา ทข่ี องตน โดยไมพะวกั พะวง ถาคนใดไมส ันโดษ เขาไมพอใจในวตั ถทุ มี่ ี อยากไดส งิ่ บาํ รงุ บาํ เรอปรนเปรอความสขุ ของตน จิตใจกม็ ุงไปทะยานหาส่งิ ฟุงเฟอ ฟมุ เฟอ ยทไ่ี มมี ตองใชเวลา แรงงาน และความคิดสน้ิ เปลอื งไปกับการ ท่จี ะแสวงหาส่งิ เหลานั้น เวลาก็หมดไป เรย่ี วแรงก็หมดไป ความคดิ ก็ ครนุ ขอ งอยูวา พรงุ นี้จะฉนั อะไรใหอรอย

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตโฺ ต) ๑๕ เร่อื งนีส้ าํ หรบั พระสงฆยิ่งสาํ คัญมาก ถาพระไมส ันโดษเสยี แลว กเ็ ปนอันวากิจหนาที่เสยี หมด แตพ อสันโดษแลว เราก็ออมแรงงาน สงวนเวลาและความคิดไวไ ดหมด สันโดษทําใหเ ราสขุ งา ยดว ยวตั ถุเพยี งเล็กนอย เมอื่ เราสขุ งาย ดวยวตั ถุนอยแลว เราก็เอาเวลาแรงงานและความคดิ เทา ทเี่ รามไี ปทมุ เท อทุ ิศใหกับการปฏิบตั ิกิจหนา ทขี่ องตน ถา เปนพระกบ็ ําเพญ็ ไตรสกิ ขา ถาเปน ญาติโยมก็ไปทาํ งานทาํ การตามบทบาทของตน ถา เปน เด็กกม็ งุ มน่ั ในการศกึ ษาฝกฝนพฒั นา ชีวติ การงานกจิ การตา งๆ กด็ ําเนนิ กาวหนา ไปดวยดี การพฒั นา ประเทศชาติกป็ ระสบความสาํ เร็จ สันโดษจึงมาอุดหนุนการพฒั นา คนจํานวนไมนอยเขาใจผดิ คดิ วา ถา สันโดษแลว จะขัดขวางการ พฒั นา เพราะเขาไมเขา ใจความหมายและความมงุ หมายของสันโดษ ความจริงน้นั ตรงขา มกบั ทเี่ ขาเขาใจผิด คือ ถา ไมส ันโดษ กพ็ ฒั นาไมได อยางไรกต็ าม ถาเราปฏิบัติสันโดษผิด ก็จะขัดขวางการพัฒนา ไดเ หมือนกัน คือ เมื่อสันโดษพอใจในวตั ถตุ ามมีตามได กม็ คี วามสุข ก็ เลยนอนสบาย อยางนกี้ ก็ ลายเปน สันโดษทีม่ ีความสุขเปน จดุ หมาย หรอื สนั โดษเลอื่ นลอย เปนสันโดษข้ีเกยี จ ใชไ มไ ด สนั โดษแท ตองเปนสนั โดษเพอ่ื ทาํ คือเพื่อ ออมเวลา แรงงาน และความคดิ ไวท ํากจิ หนา ท่ี หมายความวา สนั โดษเพ่อื เตรยี มตัวใหพ รอ มท่จี ะระดมเวลา - แรงงาน - ความคดิ ไปอทุ ิศใหแกการเพยี รพยายามกา วไปในการเลา เรยี นศกึ ษา ทาํ หนา ท่ี และสรา งสรรคส ิ่งที่ดงี ามเปนประโยชน เพราะฉะนัน้ พระพุทธเจาจงึ ตรัสสอนวา ใหส ันโดษในวตั ถุเสพ แตใ หไมสันโดษในกุศลธรรม หลักการน้สี ําคญั

๑๖ การศกึ ษาเรม่ิ ตน เมอ่ื คนกินอยเู ปน ขอย้ําวา การใหไ มสนั โดษในกุศลธรรมคอื ความดีงาม เปนคาํ สอนสาํ คัญของพระพุทธเจา พระพุทธเจาถึงกับตรัสวา พระองคที่ตรสั รู ไดกเ็ พราะไมส ันโดษ คือพระพุทธเจา ทรงไมอ ิม่ ไมพ อในกศุ ลธรรม สงิ่ ที่ ดีงามตอ งบาํ เพ็ญใหก า วหนา ยง่ิ ขนึ้ เรอื่ ยไป จนกวา จะบรรลจุ ดุ หมาย ถาพระไมสันโดษในวัตถุเสพ เดี๋ยวก็ยุง เพราะตองหาทางหา ลาภใหมาก ดีไมด กี ไ็ ปเทีย่ วรบกวนญาตโิ ยม ถา รบกวนโดยตรงไมได กไ็ ปหลอกลวง เชนใชวิธีประจบประแจง หรอื เอาลาภตอลาภ วิธหี า ลาภมีมาก วิธกี ารเหลาน้ีทา นเรียกวา อเนสนา แปลวา การแสวงหาใน ทางท่ีผดิ ถือวาเปน มิจฉาชพี ของพระ พระนัน้ แมแ ตจ ะไปขออาหารชาวบานกไ็ มไ ด มีวินยั บญั ญตั ไิ ว เลยวา ภกิ ษไุ มเจ็บไขไ ปออกปากขออาหารกับผทู ไ่ี มใ ชญ าติ ไมใชผทู ี่ ปวารณา เพ่ือตนฉัน เปนอาบัตปิ าจิตตีย มคี วามผิด พระตอ งเดนิ ไปโดยสงบ ไมม สี ทิ ธไ์ิ ปขอเขา เมือ่ เดนิ ไป เขารคู วาม ตองการ และถา เขามศี รัทธา เขามาถวาย จงึ จะรบั ได จะไปออก ปากขอไมไ ด ถาจะออกปากขอ ตองขอกะคนท่เี ปนญาติ และญาติกม็ ี กาํ หนดวาตองอยใู น ๗ ชัน้ ระดับตัวเองหนึง่ ระดบั สงู ข้ึนไปสาม และ ลงไปสามเทานั้น สวนผูปวารณากค็ ือผูทเ่ี ขาบอกใหโ อกาสไวว า ทา น ตอ งการอะไรกบ็ อกฉนั นะ พระสงฆ เมือ่ ดํารงชวี ิตอยูท ามกลางสังคม จะตอ งถอื คตอิ ยาง เดียวกบั แมลงผ้งึ คอื ไมทําใหเขาชอกช้ํา ไมวาจะเปน ศรัทธา หรอื ทรัพย สินเงินทอง ทรพั ยส ินเงินทองของเขาเรากไ็ มท ําใหช อกชํา้ ศรทั ธาในจติ ใจก็ไมท าํ ใหช อกช้าํ พระจะตอ งเปน อยอู ยางนี้ น่ีคติของพระพทุ ธเจา ตรสั ไวเตือนพระสงฆ ยิ่งกวา น้นั แมลงผึง้ น้ันนอกจากไมท ําใหดอกไมก ลิ่นและสีชอก ชํ้าแลว ยังทําใหต น ไมเจริญงอกงามยง่ิ ขึน้ โดยแพรพนั ธใุ หอ ีกดวย

พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ ฺโต) ๑๗ เหมอื นกับพระสงฆน้ี ถาประพฤติตัวถกู ตอ งแลว กเ็ ปน ท่ีเชิดชูจิตใจ ของหมูประชาชน แผเอาความรม เยน็ เปนสุขไปให ทําใหป ระชาชนงอก งามในธรรม ในความดงี ามและความรมเย็นเปนสุข เหมือนตน ไมท ม่ี ี หมภู มรแมลงผึง้ ไปเทยี่ วคลกุ เคลา เกษร ก็เจรญิ แพรพ นั ธุงอกงามขยาย ออกไป นแี่ หละคือคตชิ ีวติ ของพระ สรุป เปน อนั วา ขอ ปฏบิ ตั ใิ นการฝก เบอ้ื งตน ทพ่ี ระพทุ ธเจา ทรงเนน คอื ๑. อนิ ทรยี สงั วร การสาํ รวมอนิ ทรยี  คอื รจู ักใชต า หู จมกู ลนิ้ กาย ใจใหเปน เชน ดูเปน ฟงเปน เปน ตน ๒. โภชเนมตั ตญั ตุ า ความรจู กั ประมาณในการบรโิ ภค คือรูจกั กนิ พอดี โดยกินดว ยปญ ญา พอได ๒ ขอ น้ีแลว ก็มีฐานทพี่ รอมจะมาเช่อื มเขากบั การปฏบิ ตั ิ ตอ ไป ท่เี รียกวา ๓. ชาคริยานโุ ยค แปลวา การหม่นั ประกอบการต่นื โบราณแปล มาวา การประกอบความเพียรเครื่องตนื่ อยู หมายความวา ไมเหน็ แก หลับแกนอน ใชเวลาใหเปนประโยชน เมอ่ื เราต่นื มสี ติ เราก็มาคาํ นงึ ระลกึ วา อะไรที่เราควรจะทํา อะไรเปนกิจในไตรสกิ ขา เปนหนาทขี่ อง พระสงฆ แลวเราก็ทาํ กิจหนาที่นั้นๆ ดว ยสตทิ ี่มคี วามตนื่ ตัวอยูเสมอ เพราะฉะนัน้ เมอื่ พระมอี นิ ทรยี สงั วร และโภชเนมตั ตญั ตุ า เปนฐานแลว การดําเนินชีวิตท่ัวไปก็จะอยูในขอบเขตท่ีงามและพอดี เกอ้ื หนุนตอ การทจี่ ะบําเพญ็ กจิ สูงขน้ึ ไป กม็ าตอดว ยชาครยิ านโุ ยค แปลวา เปน คนทตี่ นื่ ตวั อยเู สมอ ไมเ หน็ แกห ลบั แกน อน ใชเ วลาใหเ ปน ประโยชนใ นการทาํ กจิ หนา ทข่ี องตน แลว ก็

๑๘ การศกึ ษาเริม่ ตนเม่ือคนกนิ อยเู ปน บาํ เพญ็ ศลี สมาธิ ปญ ญา พฒั นาตนดว ยชวี ติ แหง การเรยี นรฝู ก หดั ให เจรญิ กา วหนา ทาํ ประโยชนสขุ ใหส าํ เร็จ ท้งั แกตนเองและแกส ังคม ความตนื่ เองกเ็ ปน สตอิ ยูใ นตวั แลว สตินนั้ เปน เรือ่ งของจติ เปน องคป ระกอบสําคัญในการฝกจิต จัดอยูในฝายสมาธิ เมื่อมสี ติแลวก็ใช ปญ ญาพจิ ารณาความจรงิ ในสิง่ ในเร่อื งตา งๆ จึงตอเขากับปญ ญา รวมความวา อินทรียสังวร และโภชเนมตั ตญั ตุ า เปน ศลี มาตอ กบั สมาธแิ ละปญ ญาตรง ชาคริยานโุ ยค แมแ ตต วั โภชเนมตั ตญั ตุ าเอง กต็ อ จากศลี ไปสมาธปิ ญ ญาอยแู ลว อยา งที่วา เมื่อก้ี เวลาจะกิน พฤตกิ รรมในการกินจะพอดกี ต็ อ งมี ปญ ญา ท่ฝี ก โดยพิจารณาใหร ูเ ขา ใจความมงุ หมายของการกนิ จากนั้นกต็ องควบคุมจติ ของตัวเองได ใหตงั้ จติ ตัง้ ใจปฏิบตั ิไปใน ทางท่ีถกู ตอ งตามท่ปี ญญาบอกใหน นั้ เพ่ือใหเกิดความพอดี ตอนนี้ก็ เปน การฝก ดานจิต ใหแนวแน เขมแข็งม่ันคงในความถูกตอง ซึ่งอยู ในฝายสมาธิ แลวยังเกิดความพอใจท่ีเรากินแลวไดคุณภาพชีวติ ทําใหเกดิ ความสุขความอมิ่ ใจ ซึ่งเปนการพฒั นาดา นจิตเพิ่มขน้ึ อกี คนพวกหนึ่งนั้นมีความสขุ จากการกิน เพราะไดส นองความ ตองการในการเสพ ดังนน้ั พออรอยกส็ ขุ คฤหสั ถโ ดยมากเขากินเพ่อื สนองความตอ งการในการเสพ สว นของพระน่ฉี นั อาหาร เพื่อสนอง ความตองการในการทําใหเกิดคุณภาพชวี ติ วตั ถุประสงคต างกนั เปน เศรษฐกจิ คนละระบบ ตามหลักของพระศาสนา เมือ่ เรากนิ โดยไดส นองความตอ งการ ในการทาํ ใหเ กดิ คณุ ภาพชวี ิต เรากจ็ ะมีความสุขข้นึ มาอีกอยางหน่ึง ซ่ึง เปน ความสขุ ทางปญ ญา ก็เปลยี่ นจากตณั หามาเปนฉนั ทะ อยากกิน

พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) ๑๙ เพอื่ เสพ เรยี กวา ตณั หา อยากกินเพอ่ื คณุ ภาพชวี ติ เรยี กวาฉนั ทะ แยก กันไปคนละทิศ สว นเรอื่ งของอนิ ทรียสังวร คอื การใช ตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจนัน้ ไมเ ฉพาะพระเทานั้นทจี่ ะตอ งฝก ญาตโิ ยมประชาชนกต็ อ งฝก โดยเฉพาะเดก็ ๆ ถาปฏบิ ัติตามหลักการน้ี ก็จะมคี วามภมู ใิ จและ มั่นใจในตนเอง เพราะเปนการปฏิบตั ิทีเ่ กดิ จากปญ ญา คนที่มปี ญญา ทําดว ยความรู เมอ่ื ทาํ อะไรดว ยความรกู จ็ ะมคี วามมน่ั ใจในตวั เองอยา ง จรงิ จงั ไมใ ชม นั่ ใจตามเสยี งเขาวา เราพดู วามชั ฌมิ าปฏปิ ทา ตองใชใ นกจิ กรรมทกุ อยา ง แตเ ราจะ ไมเห็นชัดวาอยา งไรเปนมชั ฌมิ าปฏปิ ทา ตอเมื่อไดเ ขาใจและปฏิบตั ิ อยางทวี่ ามาแลว ก็จะอธบิ ายไดวา ออ ..มัชฌิมาปฏิปทาเปนอยางน้เี อง เชน เมือ่ กนิ ดว ยปญ ญา ความพอดีในการกินเกิดขึน้ แลว นีแ่ หละเปน มัชฌิมาปฏปิ ทาเสร็จในตัว ทางสายกลาง คอื ทางแหง ความพอดี หรอื ทางแหงดลุ ยภาพ เปน ขอ ปฏิบตั ทิ ่ีบรู ณาการ ที่ศลี สมาธิ ปญญา มากันครบ มีท้ังพฤตกิ รรม จิตใจ และปญ ญาที่ถกู ตอง ซง่ึ ตองมาดวยกัน ถา ขาดอยา งใดอยา ง หนงึ่ กไ็ มบูรณาการ เม่ือบรู ณาการกัน ก็เปน องคร วม ซง่ึ สมั พนั ธก นั เปน ระบบ ระบบนี้ คอื อะไร กค็ อื ระบบแหง การดาํ เนนิ ชวี ติ ของเรา ทเ่ี ปน อยอู ยา งถกู ตอ งดงี าม ท้ังไดประโยชนแ ละมีความสขุ น่ันเอง พอกนิ อยูดฟู ง เปน อยางท่ีวานี้ ก็คอื เริม่ ดาํ เนนิ ชวี ติ เปน แลว พดู ไดเ ตม็ ปากวา การศกึ ษาเรม่ิ ตน แลว จากนก้ี ก็ า วไปในชีวติ ทดี่ ีงามและ เจริญงอกงามมคี วามสุขย่ิงขึ้นไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook