Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 123 เดือนมิถุนายน 2566

นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 123 เดือนมิถุนายน 2566

Published by Thalanglibrary, 2023-07-03 02:45:07

Description: นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 123 เดือนมิถุนายน 2566

Search

Read the Text Version

มถิ นุ ายน 2566 1

A Team Bulletin สารบญั เลขเปลี่�ย่ นโลก 36 ทีป่ รกึ ษา Cover Story 3 ห้องภาพสัตว์ปา่ ไทย 42 ชกู จิ ลิมปิจ�ำ นงค์ Sci Delight 9 เปิดโลกดาราศาสตร์ 43 จมุ พล เหมะครี ินทร์ Sci Variety 192 สาระวทิ ยใ์ นศิลป์ 48 บรรณาธิการผู้พิมพโ์ ฆษณา ระเบยี งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย 16 ออ๋ ! มันเป็นอย่างนีน้ ี่เอง 52 จฬุ ารัตน์ ตันประเสรฐิ หนา้ ตา่ งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ โลก 18 ปั�้้นน้ำำ��เป็็นปลา 54 บรรณาธกิ ารอำ�นวยการ Sci Infographic 20 Sci Quiz 56 น�ำ ชัย ชวี ววิ รรธน์ ร้อยพันวิทยา 24 Sci เขา้ หู โน้ตความร้ฉู บบั ย่อ 58 บรรณาธิการบรหิ าร สภากาแฟ 31 ค�ำ คมนกั วทิ ย์ 59 ปรทิ ัศน์ เทียนทอง ENdiototer’s บรรณาธกิ ารจดั การ เมื่อ่� เข้า้ สู่่�ฤดูฝู น ต้อ้ งระวังั เห็ด็ พิิษอันั ตราย รักฉตั ร เวทวี ฒุ าจารย์ มาถึึงเดืือนมิิถุุนายน ประเทศไทยเราก็็เข้้าสู่�ฤดููฝนอย่่างเต็็มรููปแบบ อากาศที่�เคยร้้อนอบอ้้าวก็็เริ่�มคลายตััวลง เป็็นลำ�ำ ดัับ แต่่ในช่่วงเวลากลางวัันแสงแดดก็็ยัังคงร้้อนแรงอยู่� ดููเหมืือนว่่าเราคงต้้องพร้้อมปรัับตััวรัับอากาศร้้อน กองบรรณาธิการ ตลอดทั้้ง� ปีใี นประเทศไทยครับั ศศิธร เทศน์อรรถภาคย์ สำ�ำ หรับั นิติ ยสารสาระวิทิ ย์ฉ์ บับั ต้อ้ นรับั ฤดูฝู นเดือื นมิถิ ุนุ ายน พ.ศ. 2566 มาพร้อ้ มกับั Cover Story “เห็ด็ พิษิ อันั ตราย วัชราภรณ์ สนทนา ภััยร้้ายฤดููฝน” เรื่�องอัันตรายที่�มาคู่�ฤดููฝน เพราะช่่วงนี้้�จะเป็็นฤดููกาลของการเก็็บเห็็ดป่่าในธรรมชาติิ ซึ่่�งเห็็ดป่่ามีี วณี า ยศวงั ใจ ความสำ�ำ คััญทั้้�งในแง่่ของการเป็็นแหล่่งอาหารและรายได้้ของชุุมชน แต่่ด้้วยเห็็ดมีีความหลากหลายทางชีีวภาพสููง ภทั รา สปั ปินนั ทน์ มีีทั้้�งเห็็ดกิินได้้และเห็็ดมีีพิิษ เห็็ดพิิษบางชนิิดมีีรููปร่่างคล้้ายกัับเห็็ดกิินได้้อย่่างมาก โดยเฉพาะอย่่างยิ่�งเห็็ดอ่่อนใน อาทิตย์ ลมูลปลั่ง ระยะดอกตูมู จึงึ ทำ�ำ ให้เ้ กิดิ ความเข้า้ ใจผิดิ และเป็น็ สาเหตุใุ ห้ป้ ระชาชนเจ็บ็ ป่ว่ ยและเสียี ชีวี ิติ จากการรับั ประทานเห็ด็ พิษิ จำ�ำ นวนมากทุกุ ปีี บทความนี้้จ� ะช่ว่ ยให้ผ้ ู้้�อ่า่ นรู้�จักเห็ด็ พิษิ ได้ด้ ียีิ่�งขึ้น� ครับั นกั เขยี นประจ�ำ แต่อ่ ย่่างที่�เราได้้ยินิ กันั บ่อ่ ย ๆ ว่า่ เหรียี ญมีสี องด้้าน ในด้า้ นการใช้้ประโยชน์์ทางยาและอาหารนั้้น� เห็ด็ ก็ม็ ีีคุุณค่่าไม่่ ชวลติ วิทยานนท์ แพ้ใ้ คร ในคอลัมั น์ร์ ้อ้ ยพันั วิทิ ยาฉบับั นี้้� อ.รวิศิ ได้เ้ ขียี นบทความเล่า่ อีกี แง่ม่ ุมุ หนึ่�งของการใช้ป้ ระโยชน์เ์ ห็ด็ ทางยาและ รวิศ ทศั คร ทางอาหาร พร้อ้ มด้ว้ ยสูตู รปรุงุ ซุปุ เห็ด็ สูตู รเด็ด็ ที่่�ผู้้�อ่านนำ�ำ ไปทำ�ำ ได้ไ้ ม่อ่ ยากไว้ใ้ ห้อ้ ่า่ นกันั ด้ว้ ยครับั พงศธร กจิ เวช ป๋วย​ อนุ่ ใ​ จ อีกี หนึ่�งเรื่อ� งสำ�ำ คัญั ที่่�ต้อ้ งระวังั ในฤดูฝู นก็ค็ ือื “โรคไข้ห้ วัดั ใหญ่”่ ซึ่ง่� ป้อ้ งกันั ได้โ้ ดยการฉีดี วัคั ซีนี ป้อ้ งกันั โรคไข้ห้ วัดั ใหญ่่ วริศา ใจดี ปีลี ะ 1 ครั้ง� สามารถฉีดี ได้ท้ ุกุ เพศทุกุ วัยั ในเด็ก็ สามารถฉีดี ได้ต้ั้้ง� แต่อ่ ายุุ 6 เดือื น ขึ้น� ไป ส่ว่ นในหญิงิ ตั้้ง� ครรภ์ค์ วรฉีดี นครนิ ทร์ ฉนั ทะโส เพื่่อ� ป้อ้ งกันั ลูกู น้อ้ ยที่�เพิ่�งคลอดยังั ไม่ถ่ ึงึ เกณฑ์ท์ี่�จะฉีดี วัคั ซีนี ครับั ธนกฤต ศรวี ลิ าศ ถกล ตั้งผาติ ������ขอให้ผ้ ู้้�อ่า่ นสาระวิทิ ย์ท์ ุกุ ท่า่ นดูแู ลสุขุ ภาพช่ว่ งหน้า้ ฝน และมีสี ุขุ กาพกายและใจที่�แข็ง็ แรงตลอดช่ว่ งฤดูฝู นนี้้ค� รับั บรรณาธิการศลิ ปกรรม ปริทิ ััศน์์ เทีียนทอง บรรณาธิกิ าร จฬุ ารัตน์ น่ิมนวล มิถุนายน 2566 ศิลปกรรม 2 เกดิ ศิริ ขันตกิ ิตติกลุ ผผู้ ลติ ฝ่ายสร้างสรรคส์ อ่ื และผลิตภณั ฑ์ ส�ำ นักงานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ตอ่ 1177 โทรสาร 0 2564 7016 เวบ็ ไซต์ http://www.nstda.or.th/sci2pub/ facebook นติ ยสารสาระวทิ ย์ ติดต่อกองบรรณาธกิ าร โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ตอ่ 1177 อีเมล [email protected]

Cover Story วัชราภรณ์ สนทนา เห็็ดพิิ ษอัันตราย ภััยร้้ายฤดููฝน ฤดูฝู นคืือฤดูกู าลของการเก็็บเห็็ดป่่าในธรรมชาติิ ซึ่ง�่ ต้อ้ งยอมรับั ว่า่ เห็ด็ ป่่ามีีความสำ�ำ คัญั ทั้ง�้ ในแง่่ของ การเป็็นแหล่ง่ อาหารและรายได้้ของชุุมชน แต่่ด้้วยเห็็ดมีคี วามหลากหลายทางชีวี ภาพสูงู มีีทั้ง�้ เห็็ดกิินได้้ และเห็็ดมีพี ิิ ษ เห็็ดพิิ ษบางชนิดิ มีีรูปู ร่า่ งคล้า้ ยกับั เห็ด็ กิินได้อ้ ย่า่ งมาก โดยเฉพาะอย่า่ งยิ่่�งเห็็ดอ่อ่ นในระยะ ดอกตููม จึึงทำ�ำ ให้เ้ กิดิ ความเข้้าใจผิดิ และเป็็นสาเหตุุให้้ประชาชนเจ็บ็ ป่่วยและเสีียชีีวิิตจากการรัับประทาน เห็ด็ พิิ ษจำ�ำ นวนมากทุกุ ปีี ล่า่ สุุดมีีข่า่ วชาวบ้้านตำ�ำ บลกกสะทอน อำ�ำ เภอด่่านซ้า้ ย จังั หวััดเลย จำำ�นวน 9 คน เก็บ็ เห็็ดระงากหรืือระโงกหิินที่่�มีพี ิิ ษนำ�ำ ไปทำำ�อาหารบริิโภค จนเกิิดอาการท้้องร่ว่ ง และมีีผู้้�เสียี ชีวี ิิตจำ�ำ นวน 2 คน มิถุนายน 2566 3

Cover Story สำำ�รวจเห็็ดพิิ ษ คร่่าชีีวิติ คนไทย เห็ด็ ระโงกหินิ , ระงาก, ตายซาก ทีมนักวิจัยพิพิธภัณฑ์เห็ดราของธนาคารจุลินทรีย์ ธนาคาร เห็ด็ ระโงกขาวหรืือเห็ด็ ไข่่ห่า่ น ทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี ชีวภาพแห่งชาติ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านอนุกรมวิธานเห็ดรา ได้ ให้ข้อมูลตัวอย่างเห็ดพิษท่ีพบบ่อยในประเทศไทยและ เปน็ สาเหตุของการเจ็บปว่ ยและเสยี ชีวติ อนั ดบั ต้น ๆ ในแตล่ ะปี เหด็ ในกลมุ่ เหด็ ระโงกพษิ อยา่ งเหด็ ระโงกหนิ เหด็ ระงาก หรอื เหด็ ไขต่ ายซาก มพี ษิ รา้ ยแรงถงึ ขน้ั เสยี ชวี ติ เหด็ ชนดิ นคี้ ลา้ ยคลงึ กับเห็ดระโงกขาวหรือเห็ดไข่ห่านที่รับประทานได้ หากสังเกต เบือ้ งตน้ จะพบวา่ เหด็ ระโงกหนิ มีเกลด็ ขาวขนาดเล็ก ฝุ่นผงสีขาว ปกคลุมบนหมวกดอก และก้านกลวง ขณะที่เห็ดระโงกขาว หมวกเรียบมนั กลางหมวกดอกอมเหลอื งเลก็ นอ้ ย และก้านตัน เน้ือแน่น แต่ว่าชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่นิยมบริโภคเห็ดระโงกขาว ในชว่ งดอกเหด็ บานแลว้ แตจ่ ะนยิ มเกบ็ ชว่ งเหด็ ออ่ น ซงึ่ มลี กั ษณะ ดอกเห็ดตมู คลา้ ยไข่ กลมรี จึงยากตอ่ การจำ�แนก มิถุนายน 2566 4

Cover Story ตอ่ มาคอื เหด็ ถ่านครีบเทียน มักสบั สนกบั เห็ดถา่ นและเหด็ - เห็็ดนกเอี้้ย� ง นกเอี้ยง โดยเหด็ ถา่ นครีบเทยี นมสี ารพษิ กลุ่มโคพรนี (coprine) ทำ�ให้มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ความดันโลหิตสูง ปากชา มอี าการขาดน�้ำ หวั ใจลม้ เหลว เหด็ ถา่ นเลอื ด มลี กั ษณะคลา้ ยกบั เหด็ ถา่ นใหญ่ ซง่ึ เหด็ ถา่ น- เลือดหากมีรอยโดนสัมผัสหรือโดนใบมีด จะมีสีแดงติดบริเวณ เน้ือเหด็ หากรับประทานเขา้ ไปจะทำ�ใหเ้ กดิ ภาวะกลา้ มเนื้อสลาย จนกระทัง่ เกดิ อาการตบั และไตวายและเสยี ชวี ติ เห็ด็ ถ่า่ นครีีบเทียี น เห็ดระโงกพิษสีนำ้�ตาล คล้ายกับเห็ดระโงกยูคาจนไม่สามารถจำ�แนกด้วย เห็็ดถ่่าน ตาเปล่า มีพิษรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต และเป็นชนิดใหม่ท่ีพบในประเทศไทย เมอื่ ปี พ.ศ. 2560 เห็ด็ ถ่่านเลือื ด เห็ด็ ระโงกพิิษสีีน้้ำตาล เห็็ดระโงกยููคา มิถนุ ายน 2566 5

Cover Story กลมุ่ เหด็ คลา้ ยกบั เหด็ โคน เปน็ เหด็ อกี ชนดิ ทมี่ พี ษิ รนุ แรงถงึ นอกจากนี้ยังมีเห็ดพิษท่ีมีการเก็บผิดเป็นประจำ�ทุกปี ก่อให้ ชวี ติ พบระบาดไดม้ ากเพราะมลี กั ษณะเหมอื นกบั เหด็ โคนที่ไดร้ บั เกิดอาการเจ็บป่วย แต่ไม่อันตรายถึงชีวิต คือ เห็ดหัวกรวด ความนยิ มมาก ครีบเขียว มีความคล้ายคลึงกับเห็ดนกยูงและเห็ดกระโดงท่ี รบั ประทานได้ โดยในชว่ งทเ่ี ปน็ ดอกออ่ นจะคลา้ ยกนั มาก เมอ่ื เหด็ เรมิ่ แกส่ ปอรข์ องเหด็ หวั กรวดครบี เขยี วจะเปลย่ี นสแี ละท�ำ ใหค้ รบี ใต้ดอกมีสีเขียวปนเทา ส่วนสปอร์ของเห็ดนกยูงจะเป็นสีขาวไม่ เปลี่ยนสี เมื่อแก่ครีบใต้ดอกจะมีสีขาว สำ�หรับอาการที่เกิดจาก การบริโภคเห็ดชนิดน้ีไม่ถึงกับเสียชีวิต แต่จะมีอาการคลื่นไส้ อาเจยี น ปวดทอ้ ง ทอ้ งเสียภายใน 5 นาที ถงึ 1 ชั่วโมง เห็็ดหมวกจีีน เห็็ดหััวกรวดครีีบเขีียว เห็็ดนกยููง เห็ด็ โคน มถิ นุ ายน 2566 6

Cover Story สำ�หรับสาเหตุการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากการบริโภคเห็ด สร้า้ งคลังั ข้อ้ มูลู คััดแยก “เห็ด็ พิิ ษ” พิษส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากผู้ที่ไม่ชำ�นาญในการเก็บเห็ด หลาย ด้ว้ ยลายพิิ มพ์์ เพปไทด์์ กรณีเป็นลูกหลานท่ีกลับบ้านหลังจากทำ�งานในเมือง เมื่อเห็น การจดั จ�ำ แนกเหด็ พษิ เปน็ เรอ่ื งทย่ี ากมากและตอ้ งอาศยั ความ เหด็ อยากเกบ็ มารบั ประทาน และคดิ วา่ เปน็ เหด็ ชนดิ เดยี วกบั ทพี่ อ่ เชี่ยวชาญ ท่ีผ่านมาทีมวิจัยพิพิธภัณฑ์เห็ดราทำ�งานสนับสนุน แมเ่ คยทำ�อาหารให้ แต่ไม่รวู้ า่ มีกลุ่มเห็ดพิษท่ีรูปร่างคลา้ ยกัน จึง ศูนย์พิษวิทยา สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กระทรวง ท�ำ ให้เกิดอนั ตราย สะทอ้ นให้เห็นการขาดชว่ งการสบื ทอดความรู้ สาธารณสุข ในการตรวจวินิจฉัยชนิดของเห็ดป่าท่ีมีพิษ หากแต่ ในการจ�ำ แนกเหด็ ปา่ จากปยู่ า่ ตายายจากพอ่ แมส่ ลู่ กู หลาน อกี กรณี ตัวอย่างเห็ดพิษที่ได้มามักจะเป็นช้ินส่วนท่ีมีลักษณะรูปร่างไม่ หนึ่งคือป่าบ้านตนเองแทบไม่เหลือเห็ดแล้วจึงย้ายไปเก็บเห็ดใน สมบรู ณ์ ลา่ สดุ ทมี วจิ ยั พฒั นา “คลงั ขอ้ มลู เหด็ กนิ ไดแ้ ละเหด็ พษิ ป่าพื้นท่ีอื่น ทำ�ให้ไม่คุ้นเคยกับพ้ืนท่ี เก็บเห็ดพิษมาบริโภคโดยรู้ ในประเทศไทย” จากการวเิ คราะห์ “ลายพมิ พเ์ พปไทด”์ (กรดอะมโิ น เทา่ ไมถ่ งึ การ นอกจากนอี้ าจมาจากการทชี่ าวบา้ นเกบ็ เหด็ ทกุ ชนดิ สายสน้ั ๆ ท่ีเปน็ สว่ นสร้างสารพิษของเห็ด) ในตัวอย่างเห็ด ด้วย ใส่ตะกร้ารวมกนั ซ่ึงเห็ดพิษหนึ่งดอกมีพษิ ในแทบทุกสว่ น ตง้ั แต่ เครอ่ื งวดั มวล MALDI-TOF (matrix-assisted laser desorption/ สปอร์ หมวก ครบี กา้ น ท�ำ ใหพ้ ษิ หลน่ ไปปนเปอื้ นกบั เหด็ ชนดิ อนื่ ๆ ionization-time of flight) ท�ำ ให้ไดล้ ายพิมพม์ วลเพปไทด์ของ การลา้ งท�ำ ความสะอาดอาจไมช่ ว่ ยใหพ้ ษิ ของเหด็ ทป่ี นมาในตะกรา้ เหด็ แตล่ ะชนดิ ทเ่ี ปน็ เอกลกั ษณข์ องแตล่ ะสายพนั ธ์ุ และรวบรวมเปน็ เดียวกนั หมดไป เม่อื น�ำ ไปบรโิ ภคยอ่ มมีโอกาสไดร้ บั พษิ ท่ีส�ำ คัญ คลงั ข้อมลู สำ�หรับใช้เป็นเคร่อื งมือในการจัดจ�ำ แนกชนดิ เหด็ และ สารพิษจากเห็ดบางชนิดมีความเป็นพิษรุนแรงมาก โดยสารพิษ ความเป็นพิษ ซ่ึงปัจจุบันพิพิธภัณฑ์เห็ดรามีการจัดทำ�ลายพิมพ์ เพียงระดบั ไมโครกรมั กเ็ ป็นอนั ตรายแก่ชวี ิตได้ มวลเพปไทดข์ องเห็ดในประเทศไทยแลว้ มากกว่า 200 ตวั อยา่ ง มิถุนายน 2566 7

Cover Story ข้อดีของการพัฒนาวิธีจำ�แนกชนิดเห็ดด้วยการวิเคราะห์ นอกจากนคี้ วรเลยี่ งการเกบ็ เหด็ ทโี่ ดนฝนชะโดยตรงซงึ่ อาจชะ ลายพิมพ์เพปไทด์ คือใช้ตัวอย่างปริมาณน้อย และแม้สภาพ เอาสดี อกและเกลด็ บนหมวกของเหด็ ใหห้ ลดุ ไปหรอื ท�ำ ใหล้ กั ษณะ ตวั อยา่ งเหด็ จะเหลอื เปน็ เพยี งเศษซากหรอื แยแ่ คไ่ หนกย็ งั ใชต้ รวจ บางอย่างของเห็ดเปล่ียนไปได้ ท่ีสำ�คัญก่อนเก็บเห็ดหรือก่อน วิเคราะห์ได้ ที่สำ�คัญต้นทุนการตรวจวิเคราะห์ต่อครั้งมีราคาถูก ปรงุ อาหารตอ้ งพิจารณาเหด็ ทกุ ดอกอย่างรอบคอบ เพราะเหด็ ที่ ทราบผลภายในไมเ่ กิน 30 นาที และมีความแมน่ ย�ำ ดังนน้ั หากมี มีพิษเพียงดอกเดียวก็เสี่ยงท่ีจะเสียชีวิตได้ ส่วนประชาชนท่ัวไป เคสผปู้ ว่ ยจากการบรโิ ภคเหด็ พษิ ทบ่ี างครงั้ ตวั อยา่ งเหด็ ที่ไดม้ าจะ ควรเลือกซ้ือเห็ดกับร้านค้าท่ีเชื่อถือได้ เลือกเห็ดท่ีสด และควร ไมส่ มบรู ณ์ กส็ ามารถน�ำ เขา้ เครอ่ื งวเิ คราะหล์ ายพมิ พม์ วลเพปไทด์ บริโภคทันที ไม่ควรเก็บเห็ดไว้นานเพราะอาจมีการเจริญเติบโต แล้วนำ�ผลที่ได้ไปเปรียบเทียบกบั คลงั ข้อมลู ทีจ่ ัดทำ�ไว้ กจ็ ะทราบ ของแบคทเี รียทเ่ี ปน็ สาเหตุให้เกดิ การเจบ็ ปว่ ยได้ ทันทีว่าเป็นเห็ดพิษชนิดใด ซ่ึงจะช่วยให้ข้อมูลแก่แพทย์ท่ีรักษา ศกึ ษาขอ้ มูลเห็ดเพม่ิ เตมิ ที่ : ผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงที อีกทั้งยังแจ้งเตือนประชาชนในพื้นที่ให้ เฟซบกุ๊ Macrofungi of Thailand (เหด็ ราไลเคน จากปา่ ของไทย) ทราบถงึ ชนดิ เหด็ พษิ ทต่ี อ้ งระวงั ไดท้ นั การณ์ ลดอตั ราการเสยี ชวี ติ https://m.facebook. com/groups/730883133682369/ จากการบริโภคเห็ดพษิ ได้มากขึ้น เว็บไซต์ https://oer.learn.in.th/nbt “คาถา 3 ช.” ช่ว่ ยปลอดภัยั จากเห็ด็ พิิ ษ ส�ำ หรบั ขอ้ ควรระวงั ในการรบั ประทานเหด็ ในฤดฝู นนี้ แนะน�ำ การวิเคราะห์ลายพิมพ์มวลเพปไทด์ (peptide mass ว่าถ้าไม่มีความชำ�นาญในการแยกชนิดของเห็ด ไม่ควรเก็บเห็ด fingerprinting) ดว้ ยเครือ่ งวัดมวล MALDI-TOF (matrix- ป่ามาบริโภคเด็ดขาด เพราะการจำ�แนกเห็ดจะดูเพียงหมวกหรือ assisted laser desorption/ionization-time of flight) สีแต่ลำ�พังไม่ได้ ต้องดูเห็ดครบทุกลักษณะท้ังดอก ต้องอาศัย ใชเ้ ทคนคิ การยงิ แสงเลเซอร์ไปยงั ตวั อยา่ งทต่ี อ้ งการตรวจสอบ ผู้เชี่ยวชาญยืนยัน จึงอยากให้ผู้ท่ีบริโภคเห็ดและชาวบ้านท่ี จนเพปไทด์เกิดการแตกตัวเป็นไอออน (อนุภาคท่ีมีประจุ) เก็บเห็ด ยึดหลัก 3 ช. เพ่ือความปลอดภัยจากเหด็ พิษ ไดแ้ ก่ กอ่ นเดนิ ทางไปยงั ตวั จบั สญั ญาณ (detector) ไดผ้ ลการตรวจสอบ 1. ไมช่ วั ร์ คอื ทงั้ คนกินและคนเกบ็ เหด็ หากไม่แน่ใจว่าร้จู ักเหด็ เปน็ กลมุ่ มวลเพปไทดเ์ รยี งลําดบั จากมวลขนาดเลก็ ไปหามวล ชนิดนน้ั ๆ ก็ไม่ควรเก็บ-ไม่ควรกิน 2. ไมเ่ ช่ยี วชาญ คอื ถา้ ไม่รวู้ ่า ขนาดใหญ่ ซึ่งนำ�มาประยุกต์ใช้จำ�แนกชนิดเห็ดและความ เห็ดชนิดนั้น อันตรายหรือไม่ ให้สอบถามได้ท่ีสายด่วน 1422 เป็นพิษได้ กรมควบคุมโรค และ 3. ไม่ชิม คือ ไม่ควรกินหรือชิมเห็ดที่ไม่ ค้นุ เคยเพอ่ื ลดความเสย่ี งและปลอดภัยจากเห็ดพษิ มิถุนายน 2566 8

Sci Delight ภทั รา สปั ปินันทน์ นวััตกรรมยกระดับั ‘การนำ�ำ ส่่งสารสกัดั CBD ในกัญั ชา’ สร้า้ งจุุดขายเวชสำำ�อางและท่่องเที่่ย� วไทย แม้้ประเทศไทยจะอนุุญาตให้้นำ�ำ กััญชามา ใช้ป้ ระโยชน์ท์ างการแพทย์แ์ ละการวิิจัยั ทาง วิทิ ยาศาสตร์ไ์ ด้ถ้ ููกต้อ้ งตามกฎหมายตั้้ง� แต่่ ปีี พ.ศ. 2562 แต่่ปััจจุุบันั ตลาดกััญชายังั คงมีมี ููลค่่าต่ำ��ำ เหตุจุ ากยังั ไม่่สามารถแปรรููป และใช้ป้ ระโยชน์ใ์ นอุุตสาหกรรมมููลค่่าสููง มิถุนายน 2566 9

Sci Delight ศูนู ย์์นาโนเทคโนโลยีแี ห่ง่ ชาติิ ดร.คทาวุธ นามดี นักวิจัยทีมวิจัย ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ดา้ นทสี่ อง (นาโนเทค) สำำ�นัักงาน เวชศาสตรน์ าโน กลมุ่ วจิ ยั การหอ่ หมุ้ ระดบั คือ “ลดการเสื่อมสภาพของสาร” การ พัฒั นาวิทิ ยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีแี ห่ง่ ชาติิ นาโนนาโนเทคสวทช.อธบิ ายถงึ การพฒั นา ห่อหุ้มด้วยอนุภาคระดับนาโนจะช่วยลด (สวทช.) พัฒั นา “อนุภุ าคนาโนสำ�ำ หรับั นำำ� อนุภาคนาโนสำ�หรับนำ�ส่งสารว่า ทีมวิจัย การโดนแสง ค่าความเป็นกรด-ด่าง ที่ไม่ ส่ง่ สารสกัดั แคนนาบิไิ ดออล (cannabidiol: ได้พัฒนากระบวนการห่อหุ้มอนุภาคของ เหมาะสม รวมถึงออกซิเจนในอากาศที่ CBD) ในกััญชาและกัญั ชง (Cannabis สารสกัด CBD ด้วยอนุภาคไขมันผ่าน ท�ำ ใหค้ ุณสมบตั แิ อนติออกซิแดนต์ (anti- sativaL.)”เพื่�อลดข้อ้ จำ�ำ กัดั ในการใช้ส้ ารสกัดั เทคโนโลยีนาโนเอนแคปซูเลชัน (nano- oxidant) ของสารเสอื่ มสภาพ ทั้�งในด้า้ นการนำ�ำ ส่ง่ สารเข้า้ สู่่�ร่า่ งกายและ encapsulation) เพื่อลดจุดอ่อนของสาร “การลดข้อจำ�กัดของสารสกัด CBD การไม่่ทนทานต่่อสภาพแวดล้้อม ซึ่�งเป็็น สกัด CBD ใน 2 ด้านหลัก ด้านแรกคือ ทั้ง 2 ด้านน้ีได้สำ�เร็จ จะทำ�ให้สารสกัด อุุปสรรคสำ�ำ คััญที่�ขวางกั้�นการพััฒนาสาร “การนำ�ส่งสาร” ท่ียังมีประสิทธิผลตำ่� CBD ออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาได้อย่างมี สกััด CBD สู่�สารสำ�ำ คััญมููลค่่าสููงสำำ�หรัับ เนอ่ื งจากสารสกดั CBD ละลายน�ำ้ ไดน้ อ้ ย ประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยลดปริมาณการ ประยุกุ ต์ใ์ ช้ใ้ นผลิติ ภัณั ฑ์ต์ ่า่ ง ๆ เชิงิ พาณิชิ ย์์ ซึมผ่านผิวหนังได้ไม่ดี จึงมักสะสมอยู่ ใชส้ ารสกดั CBD ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ทำ�ให้ต้นทุนการผลิตลดลง และยังลด ท่ีหนังกำ�พร้าชั้นนอก การ อตั ราเสย่ี งใหแ้ กผ่ ู้ใชง้ านทอ่ี าจตอ้ งสมั ผสั ห่อหุ้มด้วยอนุภาคไขมันจะ สารปริมาณมากจนเกิดการระคายเคือง ช่วยให้สาร CBD ซึมผ่านช้นั ซงึ่ จะเปน็ ประโยชนห์ ากจ�ำ เปน็ ตอ้ งใชส้ าร ผิ ว ห นั ง ข อ ง ม นุ ษ ย์ ไ ด้ ดี ข้ึ น สกัด CBD ในปริมาณสูงเพ่ือพัฒนายา สามารถละลายหรอื น�ำ สง่ สาร รกั ษาโรคในอนาคต” อ อ ก ฤ ท ธิ์ ไ ป ยั ง เ ป้ า ห ม า ย ท่ี มิถนุ ายน 2566 10

Sci Delight ปัจจุบันประเทศไทยเริ่มนำ�สารสกัด ซิแดนต์ประสิทธิภาพสูง ช่วยชะลอการ The Global Cannabis Report โดย CBD มาใช้เป็นสารสำ�คัญในผลิตภัณฑ์ เสื่อมสภาพของเซลล์หรือการเกิดร้ิว Prohibition Partners ผู้ให้บริการข้อมูล เวชสำ�อางบ้างแลว้ แต่ส่วนใหญ่ยงั จำ�กัด รอยเหี่ยวย่น และยังช่วยลดการอักเสบ เชิงลึกและที่ปรึกษาด้านกลยุทธ์ช้ันนำ� อยู่ในรูปแบบของผลิตภัณฑ์ประเภท สมานแผล รวมถงึ เพม่ิ คอลลาเจนไฟเบอร์ ระดับโลกคาดว่าในปี พ.ศ. 2567 ตลาด น�ำ้ มนั เทา่ นน้ั เพราะสาร CBD ละลายไดด้ ี (collagen fiber) ให้แกผ่ ิวไดเ้ ปน็ อย่างดี กัญชาด้านสุขภาพและการแพทย์จะมี ในน�ำ้ มนั แตจ่ ะแยกชน้ั หรอื ตกตะกอนในน�ำ้ “อีกหนึ่งอุตสาหกรรมท่ีสารสกัด สัดส่วนสูงถึงร้อยละ 60 และมีแนวโน้ม การวิจัยและพัฒนาอนุภาคนาโนสำ�หรับ CBD มีแนวโน้มเติบได้สูง คือ กลุ่ม ว่าภาพรวมตลาดกัญชาจะมีมูลค่าสูงกว่า นำ�ส่งสารสกัดนับเป็นโอกาสที่ช่วยให้ การท่องเท่ียวเพื่อสุขภาพ (health and แสนล้านดอลลาร์สหรัฐและยังเติบโต คนไทยได้ใชผ้ ลติ ภณั ฑจ์ ากสารสกดั CBD wellness travel) เพราะเป็นที่ทราบกัน อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ผลงานวจิ ยั ชนิ้ นถ้ี อื เปน็ ฟนั รปู แบบใหม่ ๆ มากยิ่งขนึ้ ดีว่าประเทศไทยอนุญาตให้ ใช้กัญชา เฟืองสำ�คัญที่จะช่วยผลักดันผู้ประกอบ ดร.คทาวุธอธิบายว่า การห่อหุ้มด้วย เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์ได้อย่างถูก การไทยให้คว้าส่วนแบ่งการตลาดนี้มา อนภุ าคไขมนั จะชว่ ยเพมิ่ สมบตั กิ ารละลาย กฎหมาย ทำ�ให้มีนักท่องเท่ียวจากต่าง ครองไดส้ �ำ เร็จ นำ้�ให้แก่สารสกัด CBD ทำ�ให้ผู้ประกอบ ประเทศจำ�นวนมากที่มองหากิจกรรม ผปู้ ระกอบการทสี่ นใจวจิ ยั และพฒั นา การหรอื นกั พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ใชส้ าร CBD การท่องเท่ียวประเภทสปาท่ีมีการนำ� ผลติ ภณั ฑท์ างดา้ นสขุ ภาพและการแพทย์ ในเวชสำ�อางประเภทซีรัมหรือน้ำ�ตบ สารสกัด CBD มาใช้เป็นสารสำ�คัญใน หรือต้องการขอรับถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เนื้อบางเบา ซึมเข้า ผลิตภัณฑ์เพ่ือให้บริการแก่ลูกค้า ดังนั้น การผลิต ติดต่อได้ท่ี ดร.คทาวุธ นามดี ผิวได้รวดเร็ว ให้ความรู้สึกเบาสบายผิว หากผปู้ ระกอบการมกี ารพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ นกั วจิ ยั ทมี วจิ ยั เวชศาสตรน์ าโน ศนู ยน์ าโน เหมาะแกก่ ารใชเ้ ปน็ ประจ�ำ ทกุ วนั มากกวา่ ทเ่ี ปน็ สตู รเฉพาะซง่ึ ออกฤทธ์ิไดด้ กี จ็ ะเปน็ เทคโนโลยีแห่งชาติ อีเมล katawut@ ผลิตภัณฑ์ที่มีเนื้อหนักซึมเข้าผิวช้าได้ จุดแข็งที่ดึงดูดนักท่องเท่ียวให้มาใช้ nanotec.or.th โดยสารสกัด CBD เป็นสารสำ�คัญที่มีจุด บริการในช่วงที่การท่องเที่ยวไทยกำ�ลัง เด่นทั้งในด้านการเป็นสารแอนติออก- กลบั มาคกึ คกั ได”้ มถิ นุ ายน 2566 11

Sci Variety ภัทริน เกยี รตกิ มลกลุ ความแตกต่า่ งระหว่า่ ง ลิขิ สิิทธิ์�์กัับสิทิ ธิบิ ััตร เราได้ย้ ินิ คำ�ำ ว่่า “ลิขิ สิิทธิ์์�” กัับ “สิิทธิบิ ัตั ร” จากสื่่�อต่่าง ๆ อยู่่�บ่่อยครั้้�ง และหลายครั้้�งก็ม็ ีกี ารใช้้คำ�ำ ทั้้�งสอง นี้้�ผิดิ ความหมายไปจากที่่ค� วรจะเป็็น อย่่างการพููดถึึงสิิทธิบิ ััตร แต่่เรีียกเป็็นลิิขสิิทธิ์�์ อาจเกิิดจากความ คุ้้�นชิินของคนทั่่�วไปที่่�ในชีีวิิตประจำ�ำ วัันเกี่่�ยวข้้องกัับลิิขสิิทธิ์�์มากกว่่า ไม่่ว่่าจะจากเพลง หนัังสืือ หรืือ ภาพยนตร์์ และอาจจะมาจากความที่่�ชื่�่อก็็ค่่อนข้้างคล้้ายกัันเลยเกิิดความสัับสน หรืือบางคนอาจจะไม่่ สัับสนแต่่ยังั แยกความแตกต่่างระหว่่างลิิขสิิทธิ์ก์� ัับสิิทธิิบัตั รไม่่ออก ความจริิงแล้้วลิขิ สิิทธิ์ก์� ับั สิิทธิิบัตั ร เป็็นทรัพั ย์ส์ ิินทางปััญญาคนละประเภทกััน มีวี ััตถุุประสงค์์ในการใช้แ้ ตกต่่างกัันอย่่างชัดั เจน มถิ ุนายน 2566 12

Sci Variety เริ่่�มกันั ที่�ลิขิ สิทิ ธิ์�(copyright) จำำ�เป็น็ ต้อ้ งจดทะเบียี น แต่เ่ จ้า้ ของผลงาน นั่่� น ห ม า ย ค ว า ม ว่่ า ค น ทั่ � ว ไ ป ใ ช้้ ง า น ที่่�มีสี ัญั ลักั ษณ์์ © คือื การ จะแจ้ง้ ข้อ้ มูลู ลิขิ สิทิ ธิ์์�ต่อ่ กรมทรัพั ย์ส์ ินิ ทาง เหล่่านี้้�ได้้โดยไม่่ต้้องขออนุุญาต แต่่ ให้ค้ วามคุ้�มครองความคิดิ ริเิ ริ่�มสร้า้ งสรรค์์ ปััญญาก็็ได้้เช่่นกััน โดยผลงานจะได้้รัับ แนะนำ�ำ ว่่าควรอ้้างอิิงแหล่่งที่�มาของงาน แก่่เจ้้าของผลงาน ซึ่�งต้้องใช้้สติิปััญญา ความคุ้�มครองตลอดอายุขุ องผู้�สร้า้ งสรรค์์ เพื่ �อให้้เครดิิตแก่่ผู้ �สร้้างสรรค์์ผลงานด้้วย ความรู้� ความสามารถ และความวิิริิยะ และจะคุ้�มครองต่่อไปอีีก 50 ปีี นัับแต่่ ในขณะที่�สิิทธิิบััตร (patent) จะ อุุตสาหะของตนเองในการสร้้างสรรค์์ ผู้�สร้้างสรรค์์ถึึงแก่ค่ วามตาย คุ้�มครองงานที่�เป็็นการประดิิษฐ์์ (inven- ผลงานนั้�น ๆ ขึ้�นมา โดยกฎหมายจะให้้ อย่า่ งไรก็ต็ ามพระราชบัญั ญัตั ิลิ ิขิ สิทิ ธิ์� tion) ที่่�ต้้องใช้้กระบวนการในการวิิจััย ความคุ้ �มครองงานที่ �ได้้สร้้างสรรค์์มาโดย พ.ศ. 2537 มาตรา 7 กำำ�หนดให้ง้ านบาง และพััฒนา เช่่น สููตรสารเคมีี กรรมวิิธีี อััตโนมััติิ (automatic protection) ซึ่�งงาน อย่า่ ง ไม่ถ่ ือื เป็น็ งานลิขิ สิทิ ธิ์� งานเหล่า่ นั้้�น การผลิิต กลไกหรืือองค์์ประกอบของ สร้้างสรรค์์ตามพระราชบััญญััติิลิิขสิิทธิ์ � ได้้แก่่ อุปุ กรณ์ห์ รือื เครื่�องจักั ร และการออกแบบ พ.ศ. 2537 มีี 9 ชนิิด ได้้แก่่ 1) ข่า่ วประจำ�ำ วันั และข้อ้ เท็จ็ จริงิ ต่า่ ง ๆ ที่� ผลิติ ภัณั ฑ์์ (product design) เช่น่ รูปู ทรง 1) งานวรรณกรรม เช่น่ หนังั สือื บทความ โทรศัพั ท์์มืือถือื รูปู ทรงรถยนต์์ โดยรััฐจะ มีลี ักั ษณะเป็น็ เพียี งข่า่ วสาร เว้น้ แต่ม่ ีี ออกหนังั สือื สำำ�คัญั ให้เ้ พื่�อคุ้�มครองงานดังั บทกลอน โปรแกรมคอมพิิวเตอร์์ การนำำ�ข้อ้ มูลู ดังั กล่า่ วมาเรียี บเรียี งจน กล่่าวในช่่วงระยะเวลาที่่�กฎหมายกำำ�หนด 2) นาฏกรรม เช่่น ท่่าเต้้น ท่่ารำ�ำ ที่� มีีลัักษณะเป็็นงานวรรณกรรม เช่่น ซึ่�งตามพระราชบััญญััติิสิิทธิิบััตร พ.ศ. การวิิเคราะห์์ข่่าว บทความ ผลงาน 2522 จะแบ่่งออกเป็็น 3 ประเภท คืือ ประกอบขึ้�นเป็น็ เรื่�องราว นั้�นอาจได้ร้ ับั ความคุ้�มครองในลักั ษณะ 1) สิิทธิิบััตรการประดิิษฐ์์ จะเป็็นสิ่�ง 3) ศิิลปกรรม เช่น่ ภาพวาด ภาพถ่่าย ของงานวรรณกรรม 4) ดนตรีกี รรม เช่น่ ทำ�ำ นองเพลง เนื้�อร้อ้ ง 2) รััฐธรรมนูญู และกฎหมาย ประดิิษฐ์์ที่�ใหม่่ มีีขั้�นการประดิิษฐ์์ที่� 5) โสตทััศนวััสดุุ เช่่น วีีซีดี ีีคาราโอเกะ 3) ระเบียี บ ข้อ้ บังั คับั ประกาศ คำำ�สั่�ง หรือื สูงู ขึ้�น อายุกุ ารคุ้�มครอง 20 ปีี 6) ภาพยนตร์์ หนัังสืือตอบโต้้อื่ �นใดของหน่่วยงาน 2) อนุสุ ิทิ ธิบิ ัตั ร จะเป็น็ สิ่�งประดิษิ ฐ์ท์ี่�ใหม่่ 7) สิ่่�งบันั ทึึกเสียี ง เช่่น ซีดี ีเี พลง ของรัฐั ไม่่มีีขั้�นการประดิษิ ฐ์ท์ ี่่�สูงู ขึ้�น อายุุการ 8) งานแพร่่เสีียงแพร่ภ่ าพ เช่น่ รายการ 4) คำ�ำ พิิพากษา คำำ�สั่�ง คำำ�วิินิิจฉััย และ คุ้�มครอง 6 ปีี ต่อ่ อายุไุ ด้้ 2 ครั้�ง ครั้�งละ รายงานของทางราชการ 2 ปีี โทรทัศั น์์ 5) คำำ�แปลและการรวบรวมสิ่�งต่่าง ๆ 3) สิทิ ธิบิ ัตั รออกแบบผลิติ ภัณั ฑ์์ จะเป็็น 9) งานอื่�นใดในแผนกวรรณคดีี แผนก ตามข้อ้ 1) ถึึง 4) ที่�กระทรวง ทบวง การออกแบบผลิติ ภัณั ฑ์์ รูปู ร่า่ ง สีสี ันั กรม หรือื หน่ว่ ยงานอื่�นใดของรัฐั หรือื ลวดลายภายนอกของผลิิตภััณฑ์์ที่ � วิิทยาศาสตร์์ หรืือแผนกศิิลปะ เช่่น ของท้้องถิ่ �นจััดทำำ�ขึ้ �น ใหม่่เท่่านั้้�น โดยไม่่คุ้�มครองถึึงกลไก การเพนต์์ศิลิ ปะบนร่า่ งกาย 6) ความคิดิ ขั้�นตอน กรรมวิธิ ีี ระบบ วิธิ ีใี ช้้ การทำำ�งานภายในแบบผลิิตภััณฑ์์ ซึ่่�งเจ้้าของลิิขสิิทธิ์์�มีีสิิทธิิแต่่เพีียง หรืือทำำ�งาน แนวความคิิด หลัักการ นั้�น ๆ อายุุการคุ้�มครอง 10 ปีี ผู้�เดีียวที่�จะทำ�ำ อะไรกัับงานของตััวเอง การค้้นพบ ทฤษฎีีทางวิิทยาศาสตร์์ สิิทธิบิ ััตรทั้�ง 3 ประเภทต้้องประยุกุ ต์์ ก็็ได้้ คนที่�จะนำ�ำ ผลงานนั้�นไปใช้้ก็็ต้้องขอ หรือื คณิิตศาสตร์์ ใช้ใ้ นทางอุตุ สาหกรรมได้้ โดยเจ้า้ ของงาน อนุุญาตจากเจ้้าของก่่อน หากนำำ�มาเผย แพร่่ต่่อสาธารณชนโดยไม่่ได้้รัับอนุุญาต จากเจ้้าของลิิขสิิทธิ์� ก็็อาจเข้้าข่่ายการ ละเมิิดลิขิ สิิทธิ์� ไม่่ว่า่ ตั้้�งใจหรือื ไม่่ก็ต็ าม ความพิิเศษอีีกอย่่างของงานลิิขสิิทธิ์ � คืือ จะได้้รัับความคุ้�มครองทัันทีีโดยไม่่ มิถนุ ายน 2566 13

Sci Variety ต้อ้ งไปยื่�นขอจดทะเบียี นต่อ่ สำ�ำ นักั สิทิ ธิบิ ัตั ร โทรศััพท์์ก็็ยื่ �นขอจดสิิทธิิบััตรออกแบบ เครื่�องจักั ร ระบบการมอนิเิ ตอร์แ์ ละแสดงผล ในประเทศที่่�ต้้องการได้้รัับการคุ้ �มครอง ผลิิตภััณฑ์์ และส่่วนที่�เป็็นคู่่�มืืออธิิบาย จากตััวอย่่างเรื่�องโทรศััพท์์ ถ้้ามีีการ ซึ่�งจำ�ำ เป็็นต้้องเปิิดเผยรายละเอีียดและ ฟังั ก์์ชันั และวิิธีีการใช้้งาน หรืือซอฟต์แ์ วร์์ ใช้้ซอฟต์์แวร์์ที่่�มีีระบบการทำ�ำ งานร่่วมกัับ สาระสำ�ำ คััญของงานประดิิษฐ์์นั้�น ดัังนั้�น ที่�ใช้้ ก็็จะได้้รับั ความคุ้�มครองลิขิ สิิทธิ์� ตัวั โทรศััพท์์ ก็็จะจดสิิทธิบิ ัตั รได้้ เนื่�องจาก หากต้้องการทำำ�การตลาดหรืือส่่งออก ตััวอย่่างต่่อไปขอยกตััวอย่่างความ เป็็นการประดิิษฐ์์ที่ �เกี่ �ยวกัับซอฟต์์แวร์์ สิินค้้าไปยัังต่่างประเทศ สิ่�งที่�ควรทำ�ำ คืือ แตกต่่างระหว่่างลิิขสิิทธิ์์�กัับสิิทธิิบััตรใน (software-related invention) ที่่�มีีการ ยื่ �นจดสิิทธิิบััตรในประเทศที่่�สิินค้้าจะออก เรื่�องซอฟต์แ์ วร์์ (software) ที่�หลายคนมักั เชื่ �อมต่่อระหว่่างอุุปกรณ์์หรืือเครื่ �องจัักร สู่�ตลาดต่่างประเทศ เพื่�อไม่่ให้้เกิิดการ เข้า้ ใจว่า่ ซอฟต์แ์ วร์ไ์ ด้ร้ ับั การคุ้�มครองด้ว้ ย ที่่�มีีซอฟต์์แวร์เ์ ป็น็ ตัวั ควบคุุมนั่�นเอง ลอกเลีียนแบบสินิ ค้า้ ในประเทศนั้�น และ ลิขิ สิทิ ธิ์�ประเภทงานวรรณกรรมเท่า่ นั้้�น ไม่่ แม้้ทรััพย์์สิินทางปััญญาประเภท เป็็นประโยชน์์ในการบัังคัับใช้้สิิทธิิทาง สามารถขอรับั ความคุ้�มครองเป็น็ สิทิ ธิบิ ัตั รได้้ ลิิขสิิทธิ์ �และสิิทธิิบััตรมีีความแตกต่่างกััน กฎหมาย ความเข้า้ ใจที่�คลาดเคลื่�อนนี้�อาจติดิ หูมู าจาก แต่่ในความต่่างกัันนั้ �นก็็ยัังมีีความเหมืือน เ พื่ � อ ใ ห้้ เ กิิ ด ค ว า ม เ ข้้ า ใ จ ชัั ด เ จ น ขึ้ � น การรณรงค์์ให้้ใช้้ซอฟต์์แวร์์ที่่�ถููกลิิขสิิทธิ์ � กัันในความเป็็นทรััพย์์สิินที่่�จัับต้้องไม่่ได้้ ระหว่่างลิิขสิิทธิ์์�กัับสิิทธิิบััตร ขอยก แต่แ่ ท้จ้ ริงิ แล้ว้ ถึงึ ซอฟต์แ์ วร์จ์ ะได้ร้ ับั ความ รวมถึึงการใช้้ประโยชน์์ในทรััพย์์สิินทาง ตัวั อย่่างมาอธิิบายดังั นี้� คุ้ �มครองโดยกฎหมายลิิขสิิทธิ์ �ที่ �คุ้ �มครอง ปัญั ญาในแง่ก่ ารให้ส้ ิทิ ธิคิ วามเป็น็ เจ้า้ ของ ตัวั อย่า่ งแรก ขออธิบิ ายให้เ้ ข้า้ ใจก่อ่ น รหััสต้้นฉบัับ (source code) ขณะที่� กัับเจ้้าของผลงานเพีียงผู้�เดีียว ยกเว้้นมีี ว่่าเมื่ �อเราผลิิตผลิิตภััณฑ์์ขึ้ �นมาหนึ่ �งชิ้ �น สิิทธิิบััตรก็็จะไม่่ให้้แก่่การประดิิษฐ์์ที่ �เป็็น การตกลงไว้เ้ ป็น็ อย่า่ งอื่�น การเป็็นรางวัลั เราขอรับั ความคุ้�มครองได้ท้ั้�งลิขิ สิทิ ธิ์�และ ซอฟต์์แวร์์คอมพิิวเตอร์์ที่่�มีีรหััสต้้นฉบัับ ตอบแทนในการคิิด ริิเริ่�ม สร้้างสรรค์์ให้้ สิิทธิิบััตร หรืือแค่่อย่่างใดอย่่างหนึ่�งก็็ได้้ เพียี งอย่า่ งเดียี ว ต้อ้ งมีรี ะบบการทำำ�งานที่� แก่่ผู้�ประดิิษฐ์์หรืือผู้�ออกแบบ การสร้้าง ขึ้ �นอยู่่�กัับว่่าผลิิตภััณฑ์์นั้ �นเข้้าตามหลััก เป็็นรููปแบบ ขั้�นตอน วิิธีกี ารการควบคุมุ / ให้้เกิิดวััฒนธรรมในการสร้้างสรรค์์อย่่าง เกณฑ์์ของกฎหมายหรืือไม่่ ตััวอย่่างเช่่น สั่�งการ หรืือลัักษณะการเชื่�อมต่่อไปยััง ต่่อเนื่�อง และการสร้้างแรงจููงใจให้้เกิิด โทรศัพั ท์์มืือถือื เรายื่่�นขอจดสิิทธิบิ ััตรการ อุปุ กรณ์ต์ ่า่ ง ๆ ในระบบด้ว้ ย พูดู ง่า่ ย ๆ คือื การถ่่ายทอดเทคโนโลยีี ประดิิษฐ์์ในส่่วนโครงสร้้างหรืือระบบการ ซอฟต์์แวร์์ที่ �สร้้างสรรค์์ขึ้ �นนั้ �นต้้องมีีการ ท้้ายสุุดนี้ �หากต้้องการนำำ�ผลงานของ ทำ�ำ งานของโทรศััพท์์ได้้ ส่่วนรููปทรงของ ทำำ�งานร่ว่ มกับั อุปุ กรณ์์ เช่น่ ระบบควบคุมุ คนอื่ �นที่่�มีีลิิขสิิทธิ์ �หรืือมีีสิิทธิิบััตรคุ้ �มครอง ไปใช้้ วิิธีีที่่�ดีีที่่�สุุดคืือต้้องขออนุุญาตจาก เจ้้าของผลงานก่่อน เพื่�อลดความเสี่�ยง ในการทำำ�ความผิิด ไม่่ว่่าจะเจตนาหรืือไม่่ เจตนาก็็ตาม เพราะถึึงแม้้ว่่าเจ้้าของผล งานจะไม่่ได้้ระบุุว่่าห้้ามลอกเลีียนแบบ ห้้ามนำำ�ไปใช้้ ก็็ไม่่ได้้แปลว่่าเราสามารถ ลอกเลีียนแบบ หรืือนำำ�ไปใช้ไ้ ด้้ หวัังเป็็น อย่่างยิ่ �งว่่าบทความนี้ �จะช่่วยให้้เข้้าใจได้้ อย่่างถููกต้้องว่่าลิิขสิิทธิ์์�กัับสิิทธิิบััตรนั้ �น ต่่างกัันอย่่างไร มิถุนายน 2566 14

Sci Variety มิถนุ ายน 2566 15

เยาวชนไทยวิิจัยั สร้้างธุุรกิจิ ‘Ross (รอส) บอดีสี ูทู พยุุงหลััง’ ‘นวลลออ (Nuallaor)’ ป้้องกัันการบาดเจ็็บจากการยก ซีรี ัมั เห็ด็ เยื่อ�่ ไผ่่ เยาวชนไทยศิษย์เก่ายุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ เอม็ เทค สวทช. ร่วมกับพนั ธมติ รออกแบบและพัฒนา ‘Ross นำ�ผลงานการวิจัย ‘ซีรัมจากเห็ดเยื่อไผ่วัตถุดิบทางการเกษตร (รอส) ชุดบอดีสูทพยุงหลัง (Motion-assist exosuit) รุ่น Back ทพี่ บในชมุ ชน’ ซง่ึ ประสบความส�ำ เรจ็ จากการแขง่ ขนั ในเวที GPSC support’ เพื่อให้ผู้ใช้งานหลังเป็นประจำ�อย่างบุคลากรทางการ Young Social Innovator โดย GPSC ปตท. มาทำ�วิจัยต่อกับ แพทย์ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ หรือผู้ที่ต้องยกของท่ีมีนำ้�หนักมากได้ใช้ นาโนเทค สวทช. จนได้ ‘นวลลออ (Nuallaor)’ ผลติ ภณั ฑ์ intensive ป้องกนั การบาดเจ็บ moisturizing serum สำ�หรับบำ�รุงผิวหน้า เพ่ือเพิ่มความชุ่มชื้น ความกระจ่างใส ลดร้วิ รอย และเสริมความแข็งแรงใหแ้ กผ่ วิ เมื่อผู้ใช้งานสวมใส่ Ross และปรับชุดให้กระชับบริเวณ กลา้ มเนอื้ 4 จุด หนา้ อก หลัง เอว และต้นขา ชุดจะชว่ ยควบคุม ผลจากการวิจัยและพัฒนานี้ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลผลิต ใหผ้ ู้ใชง้ านออกแรงยกดว้ ยทา่ ทางทเี่ หมาะสม พรอ้ มชว่ ยเสรมิ แรง ทางการเกษตรในพื้นที่ได้เป็นอย่างดี โดยทีมวิจัยได้หักรายได้ ในจดุ ทส่ี ำ�คัญต่อการป้องกนั การบาดเจ็บให้แก่ร่างกาย จากการจ�ำ หน่ายผลติ ภัณฑ์น้รี ้อยละ 10 ไปช่วยพฒั นาชุมชนดว้ ย ดรู ายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ เกย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑ์ไดท้ เ่ี ฟซบกุ๊ เพจ Nuallaor ท้ังนี้ Ross ผ่านการออกแบบให้มีราคาท่ีจับต้องได้เพ่ือให้ Official คนไทยเขา้ ถงึ การใชง้ านไดจ้ รงิ ทสี่ �ำ คญั คอื ผลติ จากวสั ดใุ นประเทศ ทม่ี าและรายละเอียดเพิ่มเตมิ : MGR Online เพือ่ ลดการน�ำ เข้าและลดความเสยี่ งขาดแคลนวัสดุจากเหตุวิกฤต (https://bit.ly/3IU4nc3) ต่าง ๆ ด้วย ปจั จุบนั ผลงานอยูใ่ นสถานะพร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยี แล้ว ทม่ี าและรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ : สวทช. (https://bit.ly/3MRagYT) มิถนุ ายน 2566 16

ผ้า้ มัดั ย้อ้ มสีีธรรมชาติจิ าก ‘เปลือื กมะพร้า้ วและใบลิ้น้� จี่’�่ สิินค้า้ ท้อ้ งถิ่น่� เมือื งสามน้ำ��ำ วสิ าหกจิ ชมุ ชนเกษตรสวนนอก ต�ำ บลบางยร่ี งค์ อ�ำ เภอบางคนที ส�ำ หรบั ท�ำ ‘ผา้ มดั ยอ้ ม’ โดยผสานภมู ปิ ญั ญาดง้ั เดมิ เขา้ กบั เทคโนโลยี จงั หวดั สมทุ รสงคราม รวมกลมุ่ แกป้ ญั หาราคาผลผลติ ทางการเกษตร ตา่ ง ๆ เพอ่ื ยกระดบั กระบวนการผลติ และสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ เชน่ การใช้ ตกต่ำ� ด้วยการแปรรูปมะพร้าวผลสดสู่ผลิตภัณฑ์น้ำ�มันมะพร้าว ‘เอนไซมเ์ อนอซี ’ ท�ำ ความสะอาดและลอกแปง้ ออกจากผา้ ในขน้ั ตอน สกัดเย็น และนำ�เปลือกมะพร้าวที่เหลือท้ิงมาใช้เป็นสีธรรมชาติ เดยี ว ชว่ ยใหผ้ า้ ยอ้ มสตี ดิ มากยง่ิ ขน้ึ และการใชน้ าโนเทคโนโลยสี รา้ ง มูลคา่ เพิ่มใหผ้ ลิตภณั ฑ์ หลังจากนั้นกลุ่มวิสาหกิจฯ ยังได้ขยายผลการแก้ปัญหา ไปยังผู้เพาะปลูก ‘ล้ินจี่พันธ์ุค่อม’ ในจังหวัดที่กำ�ลังเผชิญปัญหา ผลผลิตน้อย โดยนำ� ‘ใบล้ินจ่ี’ มาใช้เป็นวัสดุสำ�หรับทำ�สีย้อมผ้า อีกชนดิ ดว้ ย ปจั จบุ นั กลมุ่ วสิ าหกจิ ฯ ไดน้ �ำ ผา้ มดั ยอ้ มในชมุ ชนมาตดั เยบ็ เป็นเสื้อผ้า หมวก ผ้าพันคอ กระเป๋า ฯลฯ เพ่ือให้ผลิตภัณฑ์มี ความหลากหลายตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของลกู ค้ามากยิ่งข้ึน และ เปิดศูนย์เรียนรู้ด้านการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากมะพร้าวและการทำ� ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติเพ่ือให้บริการแก่นักท่องเที่ยวหรือผู้ที่ สนใจด้วย ทมี่ าและรายละเอยี ดเพิ่มเติม : สวทช. (https://www.nstda.or.th/r/7Yrkz) นักั วิิจัยั ม.รามฯ เผยผลทดลองอนุุรักั ษ์์ปะการัังด้ว้ ยเทคนิิคการทำ�ำ ชิ้้น� ส่่วนขนาดเล็็ก และเชื่่อ� มโคโลนีี ในต่างประเทศ แตย่ ังไม่มีการทดลองในไทย) โดยการสนับสนนุ จาก สำ�นักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ว่า ปะการังพ่อแม่พันธ์ุท่ีทนต่อ ความเครียด อุณหภมู ิ และความเข้มแสง ซ่งึ น�ำ มาขยายพนั ธ์ทุ ี่โรง เพาะเลี้ยงและแปลงอนุบาลในจังหวัดชลบุรี สามารถเติบโตและ เชือ่ มต่อกันเป็นโคโลนขี นาดใหญ่ได้เปน็ อย่างดีภายใน 9 เดือน ถือ ได้ว่าวิธีการน้ีค่อนข้างประสบความสำ�เร็จ น่าจะเหมาะจะใช้ฟื้นฟู ปะการงั ในนา่ นน�ำ้ ไทย ทมี วจิ ยั จงึ มแี ผนทจี่ ะเดนิ หนา้ ท�ำ แปลงอนบุ าลเพอ่ื ทดสอบตอ่ ใน พืน้ ทน่ี �ำ รอ่ ง 3 แหง่ คอื เกาะค้างคาว เกาะขามนอ้ ย และเกาะลา้ น เพื่อฟื้นฟูความหลากหลายทางชวี ภาพตอ่ ไป นักวิจัยมหาวิทยาลัยรามคำ�แหงเผยถึงผลการดำ�เนินโครงการ ที่มาและรายละเอยี ดเพ่มิ เติม : พฒั นาเทคนิคการฟื้นฟูปะการัง ด้วยเทคนิคการท�ำ ชิน้ ส่วนปะการงั Thai Post (https://bit.ly/42riywg) ขนาดเล็กและการเชือ่ มโคโลนปี ะการงั (เป็นเทคนิคทีเ่ ร่มิ มีการวจิ ยั MGR Online (https://bit.ly/3NgFLgg) มถิ ุนายน 2566 17

‘หอมขจรฟาร์์ม’ ชวนจัับตา แหล่่งเรียี นรู้้�-ท่่องเที่่ย� ว ‘แบตเตอรี่่แ� รงโน้ม้ ถ่่วง’ กิจิ กรรมเกษตรสมััยใหม่่ จังั หวัดั สุุพรรณบุุรีี กัักเก็บ็ พลัังงานสะอาดส่่วนเกิิน มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ รว่ มกบั จงั หวดั สพุ รรณบรุ แี ละพนั ธมติ ร Enerygy Vault สตารต์ อปั ดา้ นพลงั งานจากประเทศสวติ เซอร-์ เปดิ ‘หอมขจรฟารม์ ’ เมอื งตน้ แบบเกษตรปลอดภัยอจั ฉริยะ ม่งุ แลนดพ์ ฒั นากระบวนการเกบ็ พลงั งานไฟฟา้ สว่ นเกนิ ที่ไดจ้ ากแหลง่ ถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยจี ากมหาวิทยาลัย พลังงานสะอาดไว้ในก้อนอิฐขนาดใหญ่น้ำ�หนัก 24 ตันต่อก้อน สู่เกษตรกรและผู้ประกอบการตลอดห่วงโซ่การผลิตตั้งแต่น้ำ�ถึง โดยการดึงก้อนอิฐเหล่าน้ันข้ึนไปเก็บไว้บนที่สูง เมื่อเจ้าของระบบ ปลายน�ำ้ กักเก็บพลังงานมีความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้า ระบบจะปล่อย ใหก้ ้อนอฐิ ตกลงมาตามแรงโน้มถ่วง เพอ่ื แปลงพลังงานกลับ ข้อดี ภายในฟารม์ ประกอบดว้ ย 5 โครงการหลกั คอื ‘Homkhajorn ของการกักเก็บพลังงานด้วยรูปแบบน้ีคือมีราคาถูกกว่าการใช้ garden’ เปิดให้คนภายนอกเช่าพื้นท่ีปลูกผักสวนครัวและผลไม้ กระบวนการทางเคมซี ่งึ เป็นวธิ ที ่ีใชก้ นั อยเู่ ดมิ ‘Homkhajorn knowledge’ ศนู ย์การเรยี นร้แู ละวิจัยด้านโรงเรอื น เพาะปลูก ‘Homkhajorn cosmetic’ ศนู ยแ์ ปรรปู ผลผลิตทางการ ปจั จบุ นั บรษิ ทั ก�ำ ลงั เดนิ หนา้ สรา้ งโพรเจกตน์ ี้ในประเทศจนี แลว้ เกษตรเป็นเครื่องสำ�อาง ‘Homkhajorn food and beverage’ ดูภาพความคืบหน้าของโครงการและติดรายละเอียดเพิ่มเติมได้ท่ี ศูนย์แปรรูปผลผลิตทางการเกษตรเป็นอาหารและเครื่องดื่มเพื่อ Enerygy Vault โพรเจกต์ ‘EVx’ สุขภาพ และสุดท้ายคือ ‘แปลงอนุรักษ์พันธุกรรมพืช’ พ้ืนที่เก็บ ท่มี าและรายละเอยี ดเพม่ิ เติม : รวบรวมพชื สายพนั ธตุ์ า่ ง ๆ เพอื่ การอนรุ กั ษ์ ดรู ายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ TNN Online (https://bit.ly/3MXv94L) ได้ท่เี ฟซบ๊กุ เพจ ‘หอมขจรฟาร์ม’ Enerygy Vault (www.energyvault.com) ทม่ี าและรายละเอียดเพิม่ เติม : MGR online (https://bit.ly/3IXZXRG) หอมขจรฟารม์ (https://bit.ly/3WRmWna) มิถนุ ายน 2566 18

‘Cultural Pavilion’ แมวก็็ ‘ตด’ เหมืือนกันั แค่่ ฮอลล์์คอนเสิิร์ต์ เคลื่อ�่ นที่่ไ� ด้้ ‘ไม่่เหม็น็ ’ สถาปนิกออสเตรยี สรา้ งฮอลลค์ อนเสริ ์ต ‘Cultural Pavilion’ แมวเป็นส่ิงมีชีวิตท่ี ‘กินเนื้อ’ เป็นอาหารหลัก เพราะไม่ ขนาด 390 ตารางเมตร ด้วยเทคนิคการสร้างแบบกึ่งสำ�เร็จรูป สามารถย่อยและดูดซึมสารอาหารประเภทไฟเบอร์จากผักและ เพ่ือให้ถอดประกอบฮอลล์แห่งนี้ ไปใช้งานท่ีอื่นต่อได้สะดวก คาร์ โบไฮเดรตซึ่งเป็นตัวการที่ทำ�ให้เกิดกระบวนการหมักใน รวดเรว็ รวมถงึ ขยายขนาดของฮอลลต์ ามความตอ้ งการได้ กระเพาะจนเกดิ ก๊าซตา่ ง ๆ ปรมิ าณมากได้ สง่ ผลใหแ้ มวเป็นสตั ว์ ทผ่ี ายลมนอ้ ย การผายลมสว่ นใหญไ่ ร้เสียงและกลิ่น แนวคิดในการออกแบบผลงานคือการเดินหน้าลดการปล่อย คาร์บอนจากอตุ สาหกรรมบนั เทิง โดยยังคงสนุ ทรยี ภาพอนั งดงาม อย่างไรก็ตามหากพบว่าแมวที่เล้ียงมีการผายลมบ่อยครั้งข้ึน ของอาคาร ดูภาพฮอลลน์ ้ีได้ท่ี https://bit.ly/3P4WCEp นั่นอาจเป็นสัญญาณบ่งชี้ถึงโรคในทางเดินอาหาร เช่น โรคลำ�ไส้ ที่มาและรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ : แปรปรวนในแมว (IBS) หรือมีการสะสมของแบคทีเรียในลำ�ไส้ กรุงเทพธุรกิจ (https://bit.ly/45KSbVb) มากเกินไป เจ้าของควรพาแมวไปพบสัตวแพทย์เพ่ือเข้ารับการ Urban Creature (https://bit.ly/3CfUp17) ตรวจและรักษา Moselikely (https://bit.ly/3P4WCEp) ที่มาและรายละเอียดเพิม่ เตมิ : BBC Thai (https://bbc.in/3J0gi8w) มิถุนายน 2566 19

Sci Infographic มิถุนายน 2566 20

Sci Infographic มิถุนายน 2566 21

Sci Infographic มิถุนายน 2566 22

Sci Infographic มิถุนายน 2566 23

รวอ้ ทิ ยยพานั รวิศ ทัศคร รวิศ ทศั คร เคยเปน็ กรรมการบริหารและสมาชิกทีมบรรณาธิการวารสารทางช้างเผอื ก สมาคมดาราศาสตร์ไทย เคยท�ำ งานเปน็ นักเขยี น ประจ�ำ นติ ยสาร UpDATE นติ ยสารวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของบริษัทซเี อด็ ยเู คชน่ั (มหาชน) จำ�กัด ปัจจบุ นั รับราชการ เป็นอาจารย์ประจำ�สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เห็็ดต้้านมะเร็ง็ ยาจากธรรมชาติิ เห็็ดมัักจะถููกเอาไปจััดไว้้ในกลุ่่�มเดีียว กัับพืื ช แต่อ่ ัันที่�จ่ ริิงแล้้วเห็็ดเป็็น เชื้้�อราชั้้�นสููง ไม่่ใช่่ทั้้�งพืื ชและสััตว์์ มิถนุ ายน 2566 24

รวอ้ ทิ ยยพานั เห็ด็ ในโลกนี้�เท่่าที่่�เคยมีีการจำ�ำ แนกเอาไว้้นั้�นมีีมากถึึง 14,000 ชนิิด (สปีีชีีส์์) บางชนิิดก็ม็ ีีพิษิ ไม่ค่ วรนำำ�มาบริิโภค เคยมีรี ายงานว่่าเห็็ด ที่่�รัับประทานได้้ในโลกนี้้�มีีถึึง 3,000 ชนิิด มีี 200 ชนิิดที่�คนเรานิิยมนำำ�มารัับประทาน มีี 100 ชนิิดที่่�มีีการผลิิตในเชิิงเกษตรกรรม และมีีเพีียงบางชนิิดที่่�มีีการผลิิตในระดัับ อุุตสาหกรรม[1] ซึ่�งมีกี ารควบคุุมจึงึ รับั ประทานได้้อย่่างปลอดภัยั ต่า่ งจากเห็ด็ ที่�เก็็บในป่า่ ต้อ้ งมีีการพิิจารณาชนิิดอย่่างระมัดั ระวังั มเี ห็ดอยูห่ ลายชนดิ ทม่ี ีสารต้านมะเร็งอยใู่ นตัว ไดแ้ ก่ - เหด็ รา่ งแห (ชอื่ สามัญ bamboo fungus, veiled lady ชื่อวิทยาศาสตร์ Dictyophora indusiata) - เห็ดนางรมสีทองหรือเห็ดนางรมทอง (ช่ือสามัญ golden oyster mushroom ช่ือ วิทยาศาสตร์ Pleurotus citrinopileatus) - เห็ดหหู นู (ชอ่ื สามัญ Jew’s ear, jelly ear, Judas’s ear ชอื่ วิทยาศาสตร์ Auricularia auricula, A. polytricha, A. delicata) - เหด็ หวั ลงิ หรอื เหด็ ยามาบชู ติ าเกะ (ชอ่ื สามญั lion’s mane mushroom ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Hericium erinaceus, H. coralloides) - เหด็ ไมตาเกะ (ชอ่ื สามญั maitake, signorina mushroom หรอื chestnut Mushroom ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Polyporus frondosus) - เห็ดตีนแรด (ช่ือสามัญ Mongolia tricholoma ชื่อวิทยาศาสตร์ Tricholoma mongolicum) - เหด็ นางรม (ชื่อสามัญ oyster mushroom ช่ือวทิ ยาศาสตร์ Pleurotus ostreatus) - เหด็ สนหรอื เหด็ มตั สทึ าเกะ (ชอ่ื สามญั pine mushroom ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Tricholoma matsutake) - เห็ดกระดุมบราซิล (ชื่อสามัญ princess matsutake, Brazilian mushroom ช่ือ วทิ ยาศาสตร์ Agaricus blazei, A. subrufescens, A. brasiliensis, A. rufotegulis) - เห็ดกระชายหรือเห็ดขอนสนนำ้�ผึ้งแบบไม่มีวงแหวน (ช่ือสามัญ ringless honey mushroom ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Armillaria tabescens) - เห็ดหอม (ช่อื สามญั shiitake, sawtooth oak mushroom ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Lentinus edodes) - เหด็ หมิ ะหรอื เหด็ หหู นขู าว (ชอ่ื สามญั snow fungus ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Tremella fuciformis) - เหด็ แครงหรอื เหด็ ตนี ตกุ๊ แก (ชอ่ื สามญั split gill mushroom ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ Schizo- phyllum commune) - เหด็ ฟาง (ชือ่ สามัญ straw mushroom ชื่อวิทยาศาสตร์ Volvariella volvacea) - เหด็ เขม็ ทอง (ชอื่ สามญั winter mushroom, enokitake ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Flammulina velutipes) มถิ ุนายน 2566 25

รวอ้ ทิ ยยพานั เหด็ เหลา่ น้ี หากมโี อกาสอาจไดน้ �ำ มา รีวิวให้ผู้อ่านฟังอีก แต่ในบทความฉบับ น้ีเราจะเลือกมาสักสองสามชนิดเพ่ือมา สนทนาบอกเลา่ เรอ่ื งราวของมันกันครบั เห็ด็ หััวลิงิ หรือื เห็็ดยามาบู-ู เห็็ดหััวลิิงสดและแห้ง้ น�ำ้ หนกั ตวั 1 กโิ ลกรมั ) เปน็ เวลา 2 สปั ดาห์ จะลดนำ้�หนักของเน้ืองอกลงไปได้ถึง ชิติ าเกะ (lion’s mane ท่ีความเข้มข้นร้อยละ 50 สกัดร่วมกับ ร้อยละ 38 และยังขัดขวางการลุกลาม การใช้ไมโครเวฟ (microwave assisted ของมะเร็งปอดในหนูทดลองไปได้ถึงร้อย mushroom) extraction: MWE) สามารถผลักดันให้ 66 ส�ำ หรบั HWE และร้อยละ 69 ส�ำ หรับ เหด็ ชนดิ นพ้ี บไดท้ ว่ั ไปในทวปี อเมรกิ า- เกิดการตายของเซลล์ด้วยกระบวนการ MWE อีกดว้ ย[3], [4] โดยตัวอยา่ งทน่ี �ำ มานี้ เหนือ ยโุ รป และเอเชยี มกี ารบรโิ ภคมา ทำ�ลายตนเอง (proapoptosis) ของ เป็นส่วนน้อยเท่านั้นยังมีงานการศึกษา หลายรอ้ ยปีแลว้ ในจนี อินเดีย ญป่ี นุ่ และ CT-26 ที่เป็นเซลล์มะเร็งลำ�ไส้ใหญ่ของ อื่น ๆ อีกมากมายหลายช้ินดว้ ยกัน เกาหลี ในสูตรอาหารปา่ และใชร้ ักษาโรค หนูทดลอง ซงึ่ การฉดี สารสกัดเหด็ เข้าไป ในระบบยอ่ ยอาหาร ในเหด็ แหง้ 100 กรมั ในช่องท้องของหนู (10 มิลลิกรัมต่อ จะมีโปรตีน 26.3 กรัม ไขมัน 4.2 กรัม คาร์โบไฮเดรต 44.9 กรมั ใยอาหาร 6.4 กรมั วิตามินบี 1 0.89 มิลลิกรัม วิตามินบี 2 1.89 มิลลิกรัม และแคโรทีน 0.01 มิลลิกรัม นอกจากนี้ยังมีเกลือแร่ต่าง ๆ ในปริมาณเล็กน้อย ได้แก่ แคลเซียม โครเมียม โคบอลต์ ทองแดง เหล็ก แมกนีเซียม แมงกานีส โมลิบดีนัม ฟอสฟอรัส ซีลีเนียม โซเดียม กำ�มะถัน และสังกะสี มีการศึกษาพบว่านอกเหนือ จากผลในด้านการต้านมะเร็งและเน้ือ- งอกแล้ว เห็ดหัวลิงยังมีคุณสมบัติช่วย ในดา้ นสุขภาพหลายอย่าง เชน่ ต้านการ เกิดแผลในกระเพาะอาหาร (antiulcer) กระตุ้นภูมิคุ้มกัน ต้านอนุมูลอิสระ ลด ความดันโลหิต ต้านเบาหวาน ต้านการ อักเสบ ปกป้องระบบประสาท และต้าน เชือ้ จุลินทรยี [์ 2] เคยมีผู้ศึกษาว่าสารสกัดดอกเห็ด หวั ลิงที่สกัดดว้ ยวิธีใช้นำ�้ รอ้ น (hot water extraction: HWE) หรือใช้เอทานอล มิถุนายน 2566 26

รวอ้ ทิ ยยพานั เม่ือมีการค้นพบสมบัติท่ีดีต่าง ๆ ของเห็ดหัวลิงแล้ว จึงมีความพยายามในการแยก ส่วนประกอบของสารสกัดเห็ดว่ามีสารชนิดใดบ้างที่มีผลยับยั้งมะเร็ง ซึ่งพบว่าสารประกอบ ทีพ่ บในเหด็ หวั ลงิ ดังต่อไปนมี้ ผี ลในการตา้ นมะเรง็ ทั้งส้นิ สารพอลแิ ซก็ คาไรดท์ งั้ หมดทสี่ กดั จากเหด็ หวั ลงิ (Hericium erinaceus polysaccharide, HEPS) [5] HEG-5 ซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนของพอลิแซ็กคาไรด์-โปรตีน (polysaccharide protein complex) จากการหมักเสน้ ใยเห็ดหัวลิง กรดไขมนั (9R,10S,12Z)-9,10-dihydroxy-8-oxo-12-octadecenoic acid สารในกลมุ่ γ-pyrones อนั ไดแ้ ก่ erinapyrones-A และ erinapyrones-B สารกลุ่ม γ-pyridine alkaloids โดยเฉพาะสาร erinacerin-P จากเส้นใยเห็ดหัวลงิ สารในกล่มุ γ-lactams และ γ-lactones สารในกลุ่ม phenolic derivatives ซึ่งได้แก่ isohericenone-J, hericenone-J, 4-[3’,7’-dimethyl-2’,6’-octadienyl]-2-formyl-3-hydroxy-5-methyoxybenzylalcohol, hericenone-I, hericenone-L, hericene-D, 3,4-dihydro-5-methoxy-2-methyl-2-(4’- methyl-2’-oxo-3’-pentenyl)-9(7H)-oxo-2H-furo-[3,4-h]benzopyran สารในกลุม่ เออร์โกสเทอรอล (ergosterols) และ ergosterol peroxide ซง่ึ เปน็ อนพุ นั ธ์ สาร cerebroside E ซึ่งเป็นสารในกลุ่มของไกลโคสฟิงโกลิพิด (glycosphingolipid) ซง่ึ เปน็ กลมุ่ ไขมนั ทม่ี ขี วั้ มหี นา้ ทเ่ี กย่ี วกบั ระบบภมู คิ มุ้ กนั มกี ารศกึ ษาในหญา้ ปกั กงิ่ พบผล ในการยับยัง้ มะเร็งอีกดว้ ย (สนใจอา่ นเพ่มิ เกีย่ วกับไกลโคสฟงิ โกลพิ ดิ ในหญา้ ปักกง่ิ ไดท้ ่ี https://pharmacy.mahidol.ac.th/en/knowledge/article/140/หญา้ ปกั ก่ิง/) มิถนุ ายน 2566 27

รวอ้ ทิ ยยพานั เห็ด็ กระดุมุ บราซิิลหรือื เห็ด็ หััวลิงิ สดและแห้ง้ เห็็ดบราซิลิ (princess matsutake หรืือ Brazilian mushroom) เห็ดกระดุมบราซิลมีถิ่นกำ�เนิดท่ีเขต เมืองพีดาด (Piedade) ในรัฐเซาเปาลู (São Paulo) รวมถึงในแถบตอนใต้ของ ประเทศบราซิล และในประเทศเปรู นอกจากน้ียังพบในรัฐแคลิฟอร์เนียและ รัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกาอีกด้วย ที่ มีช่ือข้ึนต้นด้วยคำ�ว่ากระดุมน้ีเพราะเป็น เห็ดที่อยู่ในสกุล (genus) เดียวกับเห็ด กระดุมหรือเห็ดแชมปิญอง (Agaricus bisporus) ท่คี นไทยรจู้ กั กันดนี น่ั เอง เห็ด ชนิดนี้เป็นที่รู้จักในต่างประเทศมานาน เชน่ ในญ่ปี ่นุ เร่ิมน�ำ มาเพาะตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2503 และมีการเพาะเชิงการค้าในจีน ที่มณฑลฝูเจ้ียนมาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2538 ซ่ึงในเมืองไทยของเรา ศูนย์วิจัยและ พฒั นาโครงการหลวงขนุ วาง อ�ำ เภอแมว่ าง จังหวัดเชียงใหม่ ศึกษาวิจัยจนเพาะและ ขยายพันธุ์ได้ในปี พ.ศ. 2535 และพฒั นา ไปจนถึงข้ันเพาะเลี้ยงขยายในเชิงการค้า ได้ส�ำ เร็จ เห็ดชนิดนี้นำ�มาใช้ท้ังเป็นอาหารที่ ให้คุณค่าทางโภชนาการและในเชิงของ อาหารฟงั กช์ ัน (functional food) ทีน่ อก เหนือจากให้รสชาติและความอ่ิมแล้ว ยังให้ผลในการเสริมสร้างสุขภาพและ ป้องกันโรค เห็ดกระดุมบราซิลเมื่อใช้ ประกอบอาหารจะให้รสชาติกลมกล่อม และมกี ลนิ่ คลา้ ยอลั มอนด์ ปกตจิ ะใชด้ อก แห้งหรือดอกสดใส่ลงในเมนูอาหารหรือ น�้ำ ซปุ น�้ำ สตอ๊ ก หรอื ใสต่ นุ๋ กบั ซี่โครงแบบ มิถุนายน 2566 28

รวอ้ ทิ ยยพานั เดียวกับท่ีใช้เห็ดหอม เพื่อเพิ่มกล่ินรส 1 กิโลกรัม เป็นเวลา 21 วัน จะช่วยเพิ่มการทำ�งานของ NK cell และแมโครฟาจ และคุณค่าทางโภชนาการ ถือเปน็ อาหาร (macrophage) ซง่ึ เพมิ่ การหลง่ั ไซโทไคน์ (cytokine) ทเี่ กยี่ วขอ้ งอยา่ ง IL-6 มากขนึ้ [6] ท�ำ ให้ ท่ีมีราคาแพง โดยมรี าคาในปี พ.ศ. 2565 เพมิ่ ความเปน็ พษิ ตอ่ เซลลต์ อ่ การเรมิ่ เกดิ และการลกุ ลามของเซลลม์ ะเรง็ ได้ สารตา้ นเนอื้ อยทู่ ี่ 450–500 บาท ตอ่ เหด็ แหง้ 100 กรมั งอกและมะเรง็ จากเหด็ กระดมุ บราซลิ คอื พอลแิ ซก็ คาไรดแ์ ละสารประกอบเชงิ ซอ้ นทเ่ี กดิ ตั้งแต่การค้นพบในยุค 60s มีการ จากพอลแิ ซก็ คาไรดท์ มี่ ีโปรตนี จบั อยู่ มีทัง้ กลุ่มสารโมเลกลุ ใหญ่ เช่น polysaccharides ศกึ ษาเกยี่ วกบั เหด็ กระดมุ บราซลิ มากมาย [β-glucans, glucomannan, และ mannogalactoglucan] รวมถึง proteoglucans และ ทั้งในแบบท่ีทำ�ในหลอดทดลอง (in vitro) riboglucans และพวกโมเลกลุ เลก็ อยา่ งพวกอนพุ นั ธข์ องเออร์โกสเทอรอล (ergosterols) ในสัตวท์ ดลอง (in vivo) และการทดลอง และสารแอลคาลอยด์ต่าง ๆ ทางคลินิก ซ่ึงสาธิตให้เห็นว่ามีประโยชน์ โดยสารสำ�คญั ในเห็ดกระดุมบราซิล มดี ังนี้ ในการน�ำ ไปประยกุ ต์ใชง้ านทง้ั ทางยาและ โภชนเภสัช เนื่องจากเป็นอาหารฟังก์ชัน สารในกลมุ่ พอลแิ ซก็ คาไรดจ์ ากเหด็ กระดมุ บราซลิ (A. blazei polysaccharides, ABP) ท่ีมีความสามารถในการเพิ่มภูมิคุ้มกันต่อ ไดแ้ ก่ β-(1-6)-glucan, β-(1-3)-glucan, α-(1-6)- and α-(1-4)-glucan, glucomannan ต้านการเกิดเน้ืองอกและมะเร็ง รักษา และอนื่ ๆ โดยมตี วั หลกั คอื กลมุ่ β-D-glucan โดย β-(1-6)-(1-3)-glucans ทล่ี ะลายน�ำ้ สมดุลการทำ�งานของระบบภูมิคุ้มกัน ได้ใน ABP จะเป็นตวั ทีท่ �ำ หน้าที่ส่วนใหญ่ในการกระตุ้นภมู ิคมุ้ กัน (immunoregulating) ต่อต้านการกลาย สารในกลมุ่ พอลแิ ซก็ คาไรดจ์ ากเหด็ กระดมุ บราซลิ ทม่ี นี �ำ้ หนกั โมเลกลุ ต�่ำ (low molecular พนั ธุ์ (antimutagenic) และการตา้ นอนมุ ลู weight polysaccharide: LMPAB) เชน่ β-(1-3)-glucan อสิ ระ ท�ำ ใหเ้ หด็ กระดมุ บราซลิ ไดร้ บั ความ FA-2-b-β ซึ่งเป็น RNA–protein complex ท่ีพบในเห็ดกระดุมบราซิล ซึ่งจากการ สนใจเพิ่มขึน้ มากในปัจจุบนั ทดลองแบบ in vitro พบว่ามีผลกดการเจริญเติบโตและการมีชีวิตของเซลล์มะเร็ง ในแง่ของการรักษาสมดุลการทำ�งาน เมด็ เลือดขาวของมนษุ ยส์ ายพนั ธ์ุ HL-60 ลงได้ ของระบบภมู คิ มุ้ กนั และภมู คิ มุ้ กนั ตอ่ ตา้ น สารในกลมุ่ อนพุ นั ธข์ องเออร์โกสเทอรอล (ergosterol derivatives) ทง้ั ergosterol และ การเกดิ เนอื้ งอก โดยเฉพาะผลของมนั ใน อนพุ ันธค์ ือ blazein และ agarol ดา้ นเซลลก์ ลนื กนิ (phagocytic) และดา้ น สารกลุ่มแอลคาลอยด์ (alkaloids) พบในสารสกัดเห็ดโดยใช้น้ำ�ร้อน (HWE) โดยมี การต้านพิษในระดับยีน (antigenotoxic) agaritine ซ่ึงเปน็ แอลคาลอยดท์ ่มี ีไฮดราซนี เปน็ องค์ประกอบ พบวา่ สารตวั นีข้ ดั ขวาง ในระบบภมู คิ มุ้ กนั ของคนเรามจี �ำ นวนเมด็ การเพมิ่ จ�ำ นวนของเซลลม์ ะเรง็ เมด็ เลอื ดขาวของมนษุ ยจ์ �ำ นวน 4 สายพนั ธทุ์ ี่ใชท้ ดลอง เลอื ดขาวที่เปน็ NK Cell (natural killer ในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ ได้แก่ U937, Molt4, HL-60, และ K562 ลงได้ cell) ประมาณรอ้ ยละ 15 เซลลเ์ มด็ เลอื ด ขาวพวกนี้เป็นเซลล์ด่านแรกสุดที่จะคอย จากท่ีกล่าวมาจะเห็นได้ว่าเห็ดท่ีรับประทานได้และคุ้นเคยกันกว่า 15 ชนิดข้างต้น กำ�จัดและทำ�ลายเชื้อโรค ไวรัส มะเร็ง เปน็ อาหารทมี่ ปี ระโยชน์ ชว่ ยปอ้ งกนั และบรรเทาความเสยี่ งตอ่ การเปน็ มะเรง็ จากสารพษิ หรือสิ่งแปลกปลอมท้ังหลายท่ีเข้ามาใน นานาชนิดท่ีพวกเรารับเข้าไปทุกวันได้เป็นอย่างดี เราเล่าเนื้อหาวิชาการมามากแล้ว ร่างกาย โดยไม่ต้องรอการกระตุ้นหรือ ก่อนจบบทความในตอนนี้ขอเปล่ียนบรรยากาศมาเร่ืองเบา ๆ กันบ้าง ผู้เขียนมีสูตรซุป สั่งการจากเมด็ เลอื ดขาวชนิดอื่นก่อน ซึ่ง เห็ดกระดุมบราซิล (ใช้เห็ดแชมปิญองทำ�ก็ได้) มาฝากสองสูตร เผื่อใครอยากทดลอง จากการทดลองในสตั วพ์ บวา่ การปอ้ นสาร น�ำ ไปปรุงเพ่อื สุขภาพกนั ครับ สกัดเห็ดกระดุมบราซิลให้หนูทดลองใน ปริมาณ 4–100 มิลลิกรัมต่อนำ้�หนักตัว มถิ ุนายน 2566 29

รวอ้ ทิ ยยพานั สููตรแรก แกงจืดื ฟักั เขียี วไส้ก้ รอกโชริิโซ (Chorizo) ใส่่เห็็ดกระดุุมบราซิิล วิิธีีทำำ�ง่า่ ยมาก เพีียงต้ม้ น้ำำ�� 1.7 ลิติ รให้้เดือื ดในหม้อ้ หั่�นฟัักใส่่ ลงไปพอประมาณ ต้้มให้เ้ ดือื ดต่่อสักั 10 นาทีี ใช้ไ้ ส้ก้ รอกโชริิโซ 1-2 เส้น้ มาหั่่�นเป็น็ แว่น่ ใส่ล่ งไป ใส่่เกลืือ และพริกิ ไทย ตามชอบ ต้ม้ ต่่อด้ว้ ยไฟอ่อ่ นราว 5 นาทีี จากนั้�นใส่่ เห็็ดกระดุุมบราซิลิ สดลงไป 1 แพ็็ก ต้้มต่่ออีกี 5 นาทีี แต่ง่ หน้้าด้ว้ ยผัักตามชอบ แล้ว้ ยกเสิิร์์ฟ สููตรที่่ส� อง ซุุปเห็ด็ กระดุมุ บราซิิล ใส่ส่ าหร่า่ ยคอมบุุ วิิธีที ำำ� ก่่อนจะปรุงุ ให้้แช่่เห็็ดกระดุมุ บราซิิลตากแห้ง้ 45 กรััม และสาหร่่ายคอมบุุ 40 กรััม ในน้ำ�ำ�ให้้ฟูกู ่่อน สััก 30 นาทีี ทำ�แล้วได้รสชาติถูกปากหรือไม่อย่างไร แช่่ถั่�วดำ�ำ 115 กรััมในน้ำำ�� ล่่วงหน้า้ ด้ว้ ย 3 ชั่�วโมง พอครบเวลาแล้ว้ ฝากข้อความผ่านมาทางกองบรรณาธิการได้ เทน้ำ�ำ�ที่�แช่่ทิ้�งไป จากนั้�นใส่่น้ำ��ำ 4 ลิิตรในหม้้อ ใส่ข่ ้า้ วโพดสดลงไป นะครบั พบกนั ฉบับหนา้ 1 ท่่อน เพื่�อให้้น้ำ��ำ ซุุปหวาน ต้้มให้เ้ ดือื ด ใส่่น้ำ�ำ�มันั งา ¼ ช้อ้ นชา ใส่่ถั่�วดำำ�กับั เห็ด็ ที่�แช่่น้ำ��ำ แล้ว้ ลงไป ใส่่ลำำ�ไยอบแห้้ง 20 กรััม มะม่ว่ งหิิมพานต์์คั่�ว 100 กรัมั ต้้มด้้วยไฟแรง 15 นาทีี ใส่ส่ าหร่่ายคอมบุลุ งไปต้้มต่อ่ ด้้วยไฟกลาง เป็น็ เวลา 30–40 นาทีี แล้ว้ อุ่�นด้ว้ ยไฟอ่อ่ นอีกี 45 นาทีี จากนั้�นแต่่งรสด้้วยเกลืือเล็ก็ น้อ้ ย แล้้วเสิิร์์ฟ อ้างองิ 1. Dayani, S., & Sabzalian, M. R. (2018). Genetically modified plants as sustainable and economic sources for RUTFs. In Genetically engineered foods (pp. 49-84). Academic Press. 2. Friedman, M. 2015. Chemistry, nutrition, and health-promoting properties of Hericium erinaceus (Lion’s Mane) mushroom fruiting bodies and mycelia and their bioactive compounds. J. Agricult. Food Chem. 63: 7108–7123. 3. Kim, S.P. et al., 2013. Hericium erinaceus (Lion’s Mane) mushroom extracts inhibit metastasis of cancer cells to the lung in CT-26 colon cancer-trans- planted mice. J. Agri. Food Chem. 61: 4898–4904. 4. Kim, S.P. et al., 2011. Composition and mechanism of antitumor effects of Hericium erinaceus mushroom extracts in tumor-bearing mice. J. Agric. Food Chem. 59: 9861–9869. 5. Yang, Y., Li, J., Hong, Q., Zhang, X., Liu, Z., & Zhang, T. (2022). Polysaccharides from Hericium erinaceus Fruiting Bodies: Structural Characterization, Immunomodulatory Activity and Mechanism. Nutrients, 14(18), 3721. 6. Kang, I.S. et al., 2015. Effects of Agaricus blazei Murill water extract on immune response in BALB/c mice. Han’guk Sikp’um Yongyang Kwahak Hoechi 44(11): 1629–1636. มถิ นุ ายน 2566 30

สภากาแฟ ผศ. ดร.ปว๋ ย อุน่ ใจ ผศ. ดร.ปว๋ ย​อ่นุ ใจ | http://www.ounjailab.com นกั วจิ ยั ชีวฟสิ กิ ส์แ​ ละอาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาชวี วิทยา​ คณะวทิ ยาศาสตร​์ มหาวิทยาลย​ั มหิดล​ นักสื่อสารวิทยาศาสตร์​ นกั เขียน​ ศิลปินภาพสามมิติ​ และผปู้ ระดิษฐ​ฟ์ อนต์ไทย​ มคี วามสนใจทัง้ ในด้านวิทยาศาสตร์​เทคโนโลย​ี งานศิลปะและบทกวี แอดมินและผรู้ ่วมกอ่ ต้ัง​เพจ​ FB: ToxicAnt​ เพราะทุกสง่ิ ลว้ นเป็นพษิ SDGs กัับเรื่่�องราว แห่ง่ การพัั ฒนาที่่ย� ั่่ง� ยืืน ตารางสีีสัันสดใส ไอคอนที่่�ดููซิมิ เปิิล กับั คำ�ำ บรรยายสั้้�น ๆ ที่่บ� ่่งบอกถึึงเป้้าหมายแต่่ละข้้อของ เป้้าหมายเพื่่�อการพััฒนาอย่่างยั่่�งยืืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ถููกเอามาแปะไปทั่่ว� พบได้ต้ ลอดในแทบทุกุ วงการ จนกลายเป็็นอะไรที่่�เริ่่ม� บููรณาการเข้า้ มา เป็็นส่่วนหนึ่่ง� ของชีีวิติ โดยเฉพาะอย่่างยิ่่ง� ในแวดวงนักั วิชิ าการและนักั วิิจััย มถิ นุ ายน 2566 31

สภากาแฟ ในช่่วงไม่่กี่่�ปีีที่่�ผ่่านมา SDGs ไม่ไหวต้องไปคุ้ยค้นความหมายและ แตม่ แี ลว้ ดไี หมหรอื จะไปตอ่ อยา่ งไรนน้ั ก ล า ย ม า เ ป็็ น เ ป็็ น ห นึ่ � ง ใ น รายละเอียดของแต่ละเป้าประสงค์ของ อาจจะเปน็ อกี เรอ่ื ง เทรนด์์โลกที่ �ได้้รัับการกล่่าวถึึงในแทบ SDGs มาอ่าน ซ่ึงก็ได้ไอเดียมาบ้างว่า จับพลัดจับผลู วนั นั้นเปน็ วนั คมุ สอบ ทุุกวงการ โดยมีีคีีย์์เวิิร์์ด “การพััฒนา ควรจะทำ�อะไร และจะนั่งจิ้มยังไงให้จุด ที่ศาลายา ผมคุมสอบเสร็จเร็วและกำ�ลัง อย่่างยั่�งยืืน” มาเป็็นกิิมมิิกที่่�ทำ�ำ ให้้หลาย ของงานวิจัยไปเช่ือมโยงกับจุดไหนสักจุด นั่งคุยเร่ืองจิปาถะ เมาท์มอยกับอาจารย์ องค์์กรหันั มาให้ค้ วามสำ�ำ คัญั จาก 17 จดุ ของ SDGs ท่านอ่ืนท่ีคุมสอบเสร็จแล้ว รอรถมารับ จะทำ�อะไรก็ต้องเชื่อมโยงไปกับ ในมมุ นกั วจิ ยั ในตอนแรก สว่ นตวั ผม กลบั เขา้ กรงุ หรอื บางคนกม็ าเรว็ ยงั ไมถ่ งึ SDGs ซ่ึงบอกตรง ๆ ว่าสำ�หรับนักวิจัย แอบถามตัวเองว่าเร่ืองน้ีสำ�คัญตรงไหน เวลาท่ีตอ้ งจรลีไปห้องสอบ แลว้ buzzword อยา่ ง SDGs เป็นอะไรท่ี การมาน่งั หาทางเชือ่ มจุด มนั เหมือนเป็น สายตาก็มองข้ามห้องไปสบตาปิ๊ง ๆ สรา้ งความปวดเศยี รเวยี นเกลา้ ให้ใชน่ อ้ ย อะไรท่ีไม่น่าจะมสี าระ แถมยงั เกิดคำ�ถาม กบั ผบู้ รหิ ารทา่ นหนง่ึ ของคณะวทิ ยาศาสตร์ เพราะนอกจากจะคดิ ถงึ โครงการวจิ ยั ทจ่ี ะ ดว้ ยวา่ จะมใี ครเอาไปอา่ นแบบจรงิ ๆ จงั ๆ มหาวิทยาลัยมหิดล ที่นั่งอยู่ห้องตรงขา้ ม ให้ตอบโจทยส์ งั คม และแผนที่รัดกมุ เพอื่ หรอื เปลา่ หรอื ท�ำ แคพ่ อเปน็ อะไรทท่ี �ำ ใหม้ ี และไม่ก่นี าทีต่อมาท่านรองคณบดี รอง- จะไม่ให้ โดนชาวบ้านปาดหน้าก่อนที่จะ เวลาทม่ี กี รรมการมาตรวจประเมนิ หรอื จดั ศาสตราจารย์ ดร.วรี ะชยั สริ พิ นั ธว์ ราภรณ์ พัฒนาโครงการจนเสร็จแล้ว ยังจะต้อง อันดับ (ranking) ถาม... “งานวิจัยที่น่ีมี กเ็ ดนิ ออกมา ในใจของผมเตน้ ตก้ึ ตก้ั ฤาทา่ น มาหาทางเช่ือมโยงกับอะไรสักอย่างที่ การเชื่อมโยงกบั เปา้ SDGs เป้าไหนบา้ ง จะอา่ นปากเราผดิ แลว้ ตคี วามไปวา่ เราเมาท์ เก่ยี วกบั ความยัง่ ยืนอะไรนอี่ ีก หรอื เปลา่ ?” จะไดต้ อบไปอยา่ งภาคภมู วิ า่ คำ�ถามที่ว่าทำ�ไมต้องมานั่งคิดต่อ “มีครา้ บบบบ” วนเวียนอยู่ในหัวผมอยู่พักใหญ่ จนทน มิถนุ ายน 2566 32

สภากาแฟ เฮ้ย...ไม่เกี่ยว เราคุยเร่ืองของกิน และทา่ นอธกิ ารบดีศาสตราจารย์นพ.บรรจง และเม่ือสถานการณ์ในโลกนั้นแปร เราไม่ได้พูดถึงท่านเลย ใครจะบ้ากล้าไป มไหสวริยะ ก็ต้องบอกเลยว่าประทับใจ เปลยี่ นไป มนษุ ยชาตติ อ้ งประสบกบั ปญั หา เมาท์ระยะเผาขนเสียขนาดนนั้ เดย๋ี วงาน ในความร้ลู กึ และร้จู รงิ เก่ยี วกับ SDGs ใหม่ ๆ อยา่ งภาวะโลกรวน การอบุ ตั ขิ นึ้ ของ จะเข้า ปรากฏว่าท่านเปิดประตูเข้ามา อาจารย์บรรจงเล่าถึงประวัติของการ โรคอุบัติใหม่ วิกฤตอาหาร มลภาวะทาง ทักทาย พร้อมท้ังชวนว่ามหาวิทยาลัยจะ เกดิ ข้นึ มาของ SDGs อย่างกระชบั และ สง่ิ แวดลอ้ ม MDGs จงึ อาจจะไมใ่ ชก่ ลยทุ ธ์ จัดงานอบรมเก่ียวกับ SDGs สนใจไป น่ันทำ�ให้ผมมองเห็นภาพชัดข้ึนว่าตาราง ทดี่ ที สี่ ดุ ทจ่ี ะตอบโจทยข์ องมวลมนษุ ยชาติ เข้าร่วมไหม คณะให้ความสำ�คัญเร่ืองน้ี สี ๆ 17 ขอ้ นน้ั โผลม่ าไดอ้ ยา่ งไร ได้อกี ต่อไป ในงานประชมุ เพอ่ื การพัฒนา จรงิ จงั และคิดวา่ ผมนา่ จะสนใจ เมอ่ื ตอนเขา้ ยคุ สหสั วรรษ เจเนอเรชนั อย่างย่ังยืนขององค์การสหประชาชาติ ผมหยิบไอแพดข้ึนมาส่องตาราง Y2K ยคุ ค.ศ. 2000 องคก์ ารสหประชาชาติ ในปี ค.ศ. 2012 ที่กรุงริโอเดอจาเนโร ตัวเอง พอเห็นว่าไม่ติดงานอะไรสำ�คัญ ไดต้ งั้ เปา้ หมายในการพฒั นายคุ สหสั วรรษ (Rio de Janeiro) ประเทศบราซิล) ก็เลยตอบตกลงไปในทันที และก็แอบ (Millennium Development Goals: ทางองค์การจึงเริ่มคิดและได้เปิดตัว ตนื่ เตน้ เลก็ นอ้ ยกบั การจะได้ไปอบรมอะไร MDGs) ขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาข้าวยาก โครงการเพอ่ื รเิ รม่ิ ออกแบบเปา้ หมายใหม่ ที่อินเทรนด์ขนาดนี้ หมากแพง โรคระบาด และการศึกษา ส�ำ หรบั ปี ค.ศ. 2030 เพอ่ื สรา้ งการพัฒนา คือท่ีจริงผมก็สนใจอยากรู้อยากเห็น ปฐมวยั กันอยา่ งเท่าเทียม ท่ียั่งยืน เร่อื ง SDGs อยู่ แต่ยังไม่เคยมเี วลาลงไป ขดุ คยุ้ ดขู อ้ มลู อยา่ งจรงิ ๆ จงั ๆ เคยเขา้ ไป ฟังเสวนาของศูนย์วิจัยและสนับสนุน เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนหรือ SDG move อยแู่ วบ ๆ แคน่ น้ั เลยไมไ่ ดร้ ู้ใจความ ส�ำ คญั ทแ่ี ทข้ องเปา้ หมายเพอื่ ความยง่ั ยนื ระดบั โลกทก่ี �ำ ลังเป็นกระเเสอยู่ในขณะน้ี ไมน่ านผมก็ไดจ้ ดหมายแจง้ ตอบรบั ให้ เข้าร่วมอบรม และเมอ่ื แอบเหน็ ชอื่ ผู้ท่ีไป เขา้ รว่ มอบรมดว้ ยก็ยิง่ ตน่ื เต้น เพราะเป็น ระดบั ผบู้ รหิ ารลว้ น ๆ ทง้ั ทา่ นรองและทา่ น ผู้ช่วยคณบดีท่ีทำ�หน้าท่ีในการขับเคลื่อน องคาพยพระดับคณะจรงิ ๆ มาเอง พอถงึ วนั อบรม คณุ ปว๋ ยกเ็ ลยท�ำ ตวั ลบี เตรียมตัว (ไปกินของฟรี) และเตรียมใจ (ไปเรยี นรสู้ ง่ิ ใหม)่ นา่ จะเปน็ อะไรสกั อยา่ ง ทเ่ี กย่ี วกบั ความยง่ั ยนื และพอไดฟ้ งั แนวคดิ และวิสัยทัศน์ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ท้ังท่านนายกสภา ศาสตราจารย์คลนิ กิ - เกียรติคุณ นพ.ปิยะสกล สกลสัตยาทร มิถุนายน 2566 33

สภากาแฟ และในชว่ งตน้ ปี ค.ศ. 2013 ตวั แทน ไมม่ คี วามเหลอื่ มล�ำ้ ความสขุ ในสงั คมกจ็ ะ เข้ามาให้ครบ เพราะโดยส่วนมากระบบ จากประเทศต่าง ๆ 70 ประเทศก็ได้ เกดิ และถ้าเชื่อมโยงกบั ธรรมชาตไิ ดด้ ว้ ย และนโยบายอาจจะไมเ่ ออ้ื อ�ำ นวยเทา่ ใดนกั เข้าร่วมกันระดมสมองเป็นคร้ังแรก และ แลว้ นค่ี อื ความยง่ั ยนื ของสงั คมในอดุ มคติ บางทีก็อาจจะเจอขวากหนาม หรือหนัก น�ำ เสนอเป้าหมายฉบบั รา่ งออกมา 17 ขอ้ และประเด็นสดุ ท้าย planet ซ่ึงก็คอื หนอ่ ยก็อาจจะเจอทางตนั เปน็ ตกุ๊ ตาในชว่ งกลางปี ค.ศ. 2014 แตก่ วา่ “โลกของเรา” สงิ่ ท่คี วรค�ำ นงึ ถึงคือจะทำ� แต่การท่ีมีโอกาสได้เข้าไปนั่งฟัง จะมีการถกกัน ต่อรอง ปรับแก้ ใน อยา่ งไรใหพ้ วกเราใช้โลกนอ้ี ยา่ งรบั ผดิ ชอบ แนวคิดเบ้ืองหลังของ SDGs และได้ รายละเอียด กก็ ลางปี ค.ศ. 2015 ถึงได้ และไม่สร้างภาระให้คนยุคต่อไปมาตาม เห็นตัวอย่างการปรับเปล่ียนแนวทาง มีประกาศออกมาใช้แทน MDGs อย่าง แกป้ ญั หา ซง่ึ ยากมากกกก... ก ไก่ลา้ นตวั การบริหารจัดการเพื่อทำ�ให้มหาวิทยาลัย เป็นทางการ เพราะตอนนี้สถานการณ์มันเลยจุดท่ี ไทยเร่ิมมีการดำ�เนนิ การแบบ (กง่ึ ) ยัง่ ยนื การออกแบบการพัฒนาเพ่ือความ ควบคมุ ได้ไปมากแล้ว ได้บ้าง ก็ถือเป็นเร่ืองที่ทำ�ให้ได้เปิดหู ยั่งยืนนั้นจะมีปัจจัยท่ีต้องพิจารณาเป็น นอกจากนป้ี ญั หาเรอ่ื งโลกรอ้ น โลกรวน เปดิ ตา หลกั ใหญอ่ ยสู่ ามอยา่ ง บางคนเรยี กวา่ 3P มันเป็นเรื่องที่เห็นได้ชัด และน่ันคือ ส่วนตัวผมไม่ค่อยให้ความสำ�คัญกับ ประกอบไปด้วย “คน (people)” “ความ เหตุผลท่ีสังคมส่วนใหญ่ให้ความสำ�คัญ การจดั อันดบั แตใ่ นปี ค.ศ. 2023 ถ้าวา่ มัง่ คง่ั (prosperity)” และ “โลก (planet)” เกี่ยวกับประเด็นเร่ืองโลกนี้เป็นพิเศษ ตามการจัดอันดับของ Times Higher น่าสนใจ เพราะส่วนใหญ่เวลาได้ยิน มากจนกลบความสำ�คัญประเด็นอื่น ๆ Education มีมหาวิทยาลัยไทยดาหน้า ค�ำ วา่ SDGs หรือความยั่งยนื จะไปนึกถงึ แทบไม่เหลือ เม่ือไรท่ีมีคนพูดเรื่องความ กันเข้าไปติดท็อปของโลกด้าน SDGs ส่ิงแวดล้อม แนวลดขยะ ลดโลกร้อนกัน ย่ังยืน ประเด็นสิ่งแวดล้อมและมลพิษ กนั เปน็ แถว จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั อยทู่ ี่ ก่อน กม็ กั จะผุดขึน้ มากอ่ นเสมอ… 17 ส่วนมหดิ ลอยู่ที่ 38 จากการประเมิน แตถ่ า้ มองในมมุ ของการพฒั นาจรงิ ๆ 3P ครอบคลุมเป้า SDGs ได้เกือบ มหาวิทยาลยั กวา่ 1,500 แห่ง ซง่ึ อย่างท่ี แน่นอนวา่ ถ้าอยากให้ยง่ั ยนื ประเด็นแรก ทงั้ หมด ยกเวน้ ขอ้ 16 และขอ้ 17 ทอี่ าจจะ บอกไปแลว้ ตอนตน้ จะไดอ้ บั ดบั ประมาณ ทตี่ อ้ งนกึ ถงึ ก็คอื “คน” หลุดไปนดิ นงึ ซ่งึ กค็ อื peace (สนั ตภิ าพ) น้ีถือว่าไม่ใช่ง่าย เพราะไม่ใช่แค่สร้าง สังคมจะดีได้ คนต้องแฮปปีมี และ partnerships (การร่วมมือกัน) ภาพรักษ์โลก เอาใจใส่ด้านส่ิงแวดล้อม ความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีเสียก่อน ซงึ่ ส�ำ คัญมาก เพราะถา้ มแี ต่สงคราม เน้นกรีนอย่างเดียวแล้วจะได้ แต่ต้องมี อาหารการกินต้องเพียงพอ ไม่มีความ โอกาสที่จะพบหนทางย่ังยืนก็คงจะเป็น เรอ่ื งคน เรอ่ื งธรรมาภบิ าล ผลประกอบการ อดอยากหิวโหย และที่สำ�คัญต้องไม่ ไปไม่ได้ และถ้าอยากจะให้ย่ังยืนอย่าง สันติภาพ และการสร้างพันธมิตรด้วย ทิ้งใครไว้ข้างหลัง เพราะถ้าผู้คนอยู่ได้ แท้จริง ทุกฝ่ายคงต้องปรับตัวเข้าหา จึงจะมสี ิทธเิ ข้าไปลนุ้ อยา่ งยง่ั ยนื เรื่องอน่ื ๆ กจ็ ะตามมา และร่วมมือกันเพ่ือผลประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าต่ืนเต้น เพราะนั่น แต่ถา้ ทุกคนยงั ปากกัดตนี ถีบ เรื่องที่ ถ้าได้ครบตามเป้าทั้ง 17 ข้อสมบูรณ์ หมายความวา่ มหาวทิ ยาลยั ในประเทศไทย วา่ จะชว่ ยโลกไดอ้ ย่างไร ในกลุ่มคนทัว่ ไป ความฝันแห่งการสร้างความยั่งยืนก็น่า มคี วามต่นื ตวั มากในเรอ่ื งของความยง่ั ยนื บางทอี าจจะไม่ใช่สิง่ แรกที่จะคำ�นงึ ถงึ จะเปน็ จรงิ ได้ ท่ีจริงในการอบรมยังมีแนวคิดการ สว่ นประเดน็ ที่ 2 prosperity หรอื ความ ทว่าการจะบรรลุเป้าหมาย SDGs บริหารและโครงการอะไรอีกหลายอย่าง มั่งคงั่ น้นั กค็ อ่ นข้างชัดเจน ถ้าออกแบบ ให้ได้น้ันต้องใช้กลยุทธ์ที่แพรวพราวและ ท่ีน่าสนใจ แต่บอกเลยว่าถ้าจะทำ�ให้ ระบบให้ดี ให้งอกงามสะพรั่ง คุณภาพ ชาญฉลาด รวบรวมทกุ เทคนคิ (technique) ส�ำ เรจ็ และยงั่ ยนื ไดจ้ รงิ แคท่ �ำ ใหต้ ดิ อนั ดบั ชวี ติ ดี ผคู้ นมกี ารศกึ ษา มคี วามรบั ผดิ ชอบ แทกตกิ (tactic) ทปิ (tip) และทรกิ (trick) คงไม่พอ มถิ ุนายน 2566 34

สภากาแฟ การจัดอันดับจะเน้นว่าทำ�ได้ครบจบ หากผู้บริหารที่ทำ�หน้าที่ออกนโยบาย ทงั้ การจดั เวิรก์ ชอป การอบรมตา่ ง ๆ เกณฑ์ไหม และถ้าหวังแค่เอาคะแนน เพอ่ื แกป้ ญั หายนิ ดที จี่ ะลงมารบั ฟงั หรอื ที่ ท่ีมีผู้บริหารระดับสูงลงมาร่วมด้วย รวม บางทีแค่มี ไม่จำ�เป็นต้องดี ก็ได้คะแนน ดกี วา่ คอื มาเปน็ พนั ธมติ รกบั คนหนา้ งานท่ี ไปถงึ การรเิ รมิ่ แนวคดิ ในการกอ่ ตง้ั แซนด-์ กนั แลว้ รลู้ ึกรจู้ รงิ เรอ่ื งปญั หา ผมเชื่อเหลือเกินว่า บอกซ์ (sandbox) และเซฟโซน (safe และถา้ มหาวทิ ยาลยั อยากจะผลกั ดนั ทุกปญั หาย่อมมีทางออก zone) ส�ำ หรับความคิดเห็นและโครงการ ให้เกิดความยั่งยืนอย่างแท้จริงในองค์กร ซง่ึ เปน็ นมิ ติ หมายทด่ี ที ่ีในตอนนเ้ี รมิ่ มี ท่อี าจจะเซนซทิ ฟิ คงต้องมีการปรับไอเดียคนในองค์กรครั้ง กลไกการ outreach ลงมาถึงคนหนา้ งาน เพราะถา้ เปา้ สดุ ทา้ ยส�ำ เรจ็ ได้ ผมเชอ่ื ใหญ่ และยกเครื่องระบบกนั แบบเอาจรงิ กนั มากขึน้ … เหลือเกินว่าภาพองค์กรแห่งความย่ังยืน เอาจัง ซงึ่ ผมเชอื่ ว่าคนตวั เล็ก ๆ หนา้ งาน ที่แท้จริงนัน้ คงอย่ไู มไ่ กล แม้จะมีแนวคิดที่สร้างสรรค์เพียงไรก็คง ไม่มีทางทำ�อะไรได้มาก ถ้าผู้บริหารและ ผู้ ส ร้ า ง น โ ย บ า ย ไ ม่ พ ร้ อ ม ท่ี จ ะ ล ง ม า ชว่ ยเลน่ แนน่ อนวา่ ทกุ P มคี วามส�ำ คญั แตใ่ น มุมของผม สิ่งที่สำ�คัญที่สุดในการสร้าง ความยั่งยืนในองค์กรใหญ่ อาจจะเป็น เรื่องของพันธมิตรหรือ partnership ซึ่งพอพูดถึงเรื่องนี้เรามักให้ความสำ�คัญ กับความร่วมมือระดับใหญ่อย่างระดับ ประเทศหรือระดบั นานาชาติ แต่บางที partnership ทสี่ �ำ คญั ทส่ี ดุ อาจจะอยู่ใกล้แค่ปลายตา เพราะคนที่รู้ ปญั หาตัวจริงก็คอื คนที่อย่หู น้างาน การอบรมที่ผมได้เข้าถือเป็นก้าวที่ดี ในการเริ่มทลายน้ำ�แข็งในหมู่คนทำ�งาน คือให้คนหน้างานได้คุยได้อภิปรายกันใน เรื่องปัญหาที่แต่ละคนได้ประสบพบเจอ และมันประสบความสำ�เร็จอย่างถล่ม ทลาย ทุกคนรู้สึกปลอดภัยและยินดีที่จะ แชรป์ ระเดน็ ของตวั เองออกมา เพอ่ื ระดม สมองหาหนทางแกป้ ญั หา (ดว้ ยความหวงั ทว่ี ่ามันจะย่งั ยืน) มถิ ุนายน 2566 35

เรียบเรียงโดย ธนกฤต ศรวี ิลาศ และวชั รินทร์ อันเวช เลข นกั สอื่ สารวิทยาศาสตร์จากเพจ The Principia เปลย่ี นโลก และเวบ็ ไซต์ theprincipia.co หลายคนคงต้้องเรีียนวิชิ าคณิติ ศาสตร์ผ์ ่่านหููผ่่านตากันั มาแล้ว้ ทั้้ง� นั้้�น ไม่่ว่่ามันั จะง่่ายหรืือยาก สำำ�หรัับคุุณก็ต็ าม ก็ป็ ฏิิเสธไม่่ได้ว้ ่่าวิิชานี้้�จำ�ำ เป็็นกัับชีวี ิติ เราอย่่างยิ่่�ง ไม่่ว่่าจะทำ�ำ อะไรก็ม็ ักั มีีอะไรให้้ คำำ�นวณอย่่างเป็็นระบบอยู่ท�่ ุุกวััน ทั้้�งการซื้้อ� ของแล้้วรอเงินิ ทอน การกะเวลาการเดินิ ทาง หรืือ การตีีเลขเพื่�่อหาซื้้�อสลากกินิ แบ่่งรัฐั บาล เป็็นต้น้ แต่่เอาเข้า้ จริงิ ตััวอย่่างสุุดท้า้ ยที่่ย� กมาอาจจะไม่่ สามารถคำำ�นวณตรง ๆ ได้้อย่่างแม่่นยำ�ำ นััก จึึงไม่่ใช่่ทุุกคนที่่จ� ะได้้รับั รางวัลั กลับั มา แต่่โชคดีีของ นักั ลุ้้�นเลขทุุกคนคืืออะไรรู้�ไหมครับั ? แม้้ไม่่ได้้รางวัลั กลัับมาแต่่คุณุ จะได้้ความรู้้�กลับั ไป เพราะเรา สรรหาความรู้้�สนุุก ๆ ที่่ซ� ่่อนอยู่ใ�่ นตัวั เลขแต่่ละงวดมาให้ค้ ุณุ อ่่านกันั แล้้วที่่�นี่่�... และตอนนี้กถ็ งึ เวลาแล้วท่ีจะประกาศวา่ งวดประจำ�วันท่ี 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 เลขทา้ ยสองตวั ที่ออกไดแ้ ก่... 65 65ปีท่ีครบรอบการจากไปของ โรซาลินด์ แฟรงคลิน (Rosalind Franklin) นกั วทิ ยาศาสตร์สาวชาวองั กฤษ ท่คี ้นพบปรศิ นาแห่งชวี ติ แต่ไม่เคยได้รับเครดติ มากมายเท่าท่ีควรจะเป็น เธอเสียชีวิตในวนั ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2501 ก่อนท่ผี ลงานทีต่ ่อยอด จากงานวิจัยของเธอจะได้รับรางวลั โนเบลในปี พ.ศ. 2505 ดว้ ยชอ่ื ของคนอืน่ มิถนุ ายน 2566 36

เปลเย่ี ลนขโลก โรซาลินิ ด์์ แฟรงคลินิ ในปี พ.ศ. 2490 แฟรงคลินมีโอกาสย้ายไปทำ�งานวิจัยที่ ที่�ม่ าภาพ : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Rosalind- กรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส ภายใต้การดูแลของฌัก แมริง franklin-in-paris.jpg (Jacques Mering) นกั วจิ ยั ชาวฝรง่ั เศสผบู้ กุ เบกิ การศกึ ษาโครงสรา้ ง ของวสั ดดุ ว้ ยเทคนคิ การเลย้ี วเบนของรงั สเี อกซ์ (X-ray diffraction) โรซาลินด์ แฟรงคลิน เกิดวันท่ี 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2463 เพื่อใช้ ในการศึกษาสสารทั้งที่มีโครงสร้างเป็นผลึกและไม่เป็น ทก่ี รงุ ลอนดอน ประเทศองั กฤษ เธอเปน็ คนทเี่ รยี นเกง่ มาก เมอื่ ถงึ ผลึก ทีน่ น่ั แฟรงคลนิ มีความโดดเด่นอย่างมาก จากความช�ำ นาญ ระดับมัธยมได้เข้าเรียนในโรงเรียนสตรีเซนต์ปอล (St Paul’s ในการใชว้ ทิ ยาการผลกิ ศาสตรร์ งั สเี อกซ์ (X-ray crystallography) Girls’ School) ซง่ึ เปน็ โรงเรยี นสตรไี มก่ แี่ หง่ ทมี่ กี ารสอนวชิ าฟสิ กิ ส์ ซึ่งเป็นการใช้รังสีเอกซ์ ในการถ่ายภาพตำ�แหน่งของอะตอม กบั เคมี เมอื่ ถงึ ระดบั อดุ มศกึ ษา เธอไดเ้ ขา้ เรยี นตอ่ ทม่ี หาวทิ ยาลยั ต่าง ๆ ที่อยู่ในผลึกหรือโมเลกุลของสสารเพ่ือทำ�การศึกษา เคมบริดจ์ในสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ และหลังจบก็ได้เลือก คุณสมบัตติ า่ ง ๆ รวมถงึ โครงสร้างของโมเลกุล ทำ�งานในอาชพี นกั วิจัยทางดา้ นเคมแี ละผลกึ วทิ ยา แฟรงคลินที่เป็นผู้บุกเบิกการใช้ผลิกศาสตร์วิเคราะห์ โครงสรา้ งของไวรสั สตั วก์ เ็ คยพบหลกั ฐานส�ำ คญั ผา่ นการเกบ็ ภาพ ดีเอ็นเอด้วยรังสีเอกซ์ ทำ�ให้เธอพบว่าดีเอ็นเอสามารถเปล่ียน รูปร่างไปตามลักษณะแวดล้อมที่มีความชื้นต่างกัน และยังทำ�ให้ เธอมภี าพหลกั ฐานสำ�คญั ทช่ี ่ือวา่ โฟโต 51 (Photo 51) ซ่ึงเป็น ภาพถ่ายจากการเลย้ี วเบนรงั สเี อกซ์ของดีเอน็ เอ และเปน็ ภาพที่ ชดั เจนทสี่ ุดว่าดีเอ็นเอมลี ักษณะเป็นเกลียวคู่ ดเี อ็นเอเป็นโมเลกลุ แห่งชวี ติ ที่มคี วามสำ�คญั มาก เพราะมัน คือสารชีวโมเลกุลท่ีเก็บรวบรวมลักษณะพันธุกรรมทั้งหมดของ ส่ิงมีชีวิต ไม่ว่าจะหน้าตาของเราที่แตกต่างจากเพ่ือน รูปร่างที่ แตกต่างจากสัตว์เล้ียง หรือกระบวนการทางชีวภาพในร่างกาย โฟโต 51 (Photo 51) ภาพถ่่ายสำคัญั ที่่ท� ำให้โ้ ลกรู้�จักโครงสร้้างของดีีเอ็็นเอ ที่ม่� าภาพ : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Experimental_setup_of_Photo_51.svg มิถนุ ายน 2566 37

เปลเย่ี ลนขโลก คนทตี่ ่างจากต้นไม้ สามารถอธิบายไดท้ ั้งหมดด้วยดเี อ็นเอ แตใ่ น ลงด้วยโรคปอดบวมและมะเรง็ รงั ไขร่ ะยะท่ีสอง ดว้ ยอายุ 37 ปี ขณะนนั้ ยงั ไมม่ ใี ครรวู้ า่ แทจ้ รงิ แลว้ หนา้ ตาของดเี อน็ เอเปน็ อยา่ งไร 9 เดอื น ในวนั ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2501 กอ่ นการมอบรางวลั โนเบล และมนั ท�ำ งานอยา่ งไร การแขง่ ขนั กนั ศกึ ษาโครงสรา้ งของดเี อน็ เอ ให้แก่การคน้ พบโครงสร้างดีเอ็นเอแค่เพียง 4 ปีเทา่ น้นั ระหวา่ งนกั วทิ ยาศาสตรห์ ลายคนจงึ ดเุ ดอื ดมาก ทกุ คนท�ำ งานอยา่ ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2511 หนังสือที่เขยี นโดย เจมส์ วัตสนั ช่อื ขยันขันแข็งเพ่ือจะเป็นคนแรกท่ีพบโครงสร้างที่ถูกต้องของ ว่า The Double Helix ก็ถกู ตีพมิ พ์ออกมา โดยมเี น้ือหาบางส่วนท่ี ดีเอน็ เอ เขายกยอ่ งแฟรงคลินไว้วา่ เขาไม่มีทางชนะรางวัลโนเบลได้ หรือ ทางฝง่ั สหรฐั อเมรกิ ากม็ ไี ลนสั พอลงิ (Linus Pauling) นกั วจิ ยั ไมแ่ มแ้ ตไ่ ดต้ พี มิ พผ์ ลงานวจิ ยั ชอื่ ดงั ชนิ้ นน้ั หากวา่ เขาไมไ่ ดพ้ บเจอ ดา้ นชวี วทิ ยาโมเลกลุ ชอ่ื ดงั ในยคุ นน้ั เสนอแบบจ�ำ ลองของโครงสรา้ ง กับโรซาลินด์ แฟรงคลิน ดเี อน็ เอทเ่ี ขาคดิ ขนึ้ มาเอง แตม่ นั เปน็ แบบจ�ำ ลองทผ่ี ดิ เพราะเขา คิดว่าดีเอ็นเอมีสามสาย ถ้าหากว่าเขาได้เห็น Photo 51 ของ มอริิส วิลิ คินิ ส์์ เจมส์์ วัตั สันั แฟรงคลนิ เขาจะต้องรู้โครงสร้างทแี่ ทจ้ รงิ ของดีเอน็ เอแนน่ อน ที่่ม� าภาพ : Public Domain ที่�่มาภาพ : Nobel Foundation มอริส วิลคินส์ (Maurice Wilkins) ซึ่งเป็นเพ่ือนร่วมงาน via Website der National archive ของแฟรงคลิน นำ� Photo 51 ไปให้นักวิทยาศาสตร์อีกสองคน Institutes of Health: http:// คอื เจมส์ วตั สัน (James Watson) และฟรานซสิ คริก (Francis www.ihm.nlm.nih.gov Crick) ซง่ึ ศกึ ษาเรอื่ งโครงสรา้ งดเี อน็ เออยแู่ ลว้ และภาพนนั้ ท�ำ ให้ พวกเขาเดาภาพสามมิติของโครงสร้างดีเอ็นเอถูกต้อง จึงทำ� ฟรานซิสิ คริกิ การศึกษาต่อจนได้ตีพิมพ์ผลงานการค้นพบโครงสร้างดีเอ็นเอที่ ที่่�มาภาพ : https://simple. ถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ โดยต้งั ต้นเรอื่ งราวมาจากภาพท่ีเป็นผลงานของ แฟรงคลนิ ทา้ ยทส่ี ดุ ทง้ั มอรสิ วลิ คนิ ส,์ เจมส์ วตั สนั , และฟรานซสิ ครกิ wikipedia.org/wiki/Francis_Crick#/ ไดร้ บั รางวลั โนเบลสาขาสรรี วทิ ยาหรอื การแพทย์ ในปี พ.ศ. 2505 media/File:Francis_Crick_1995.jpg ในขณะที่โรซาลินด์ แฟรงคลิน กลับไม่มีช่ืออยู่ในนัน้ เหตุผลที่ไม่มีชื่อของเธอในการรับรางวัลโนเบลคร้ังนั้นเป็น เพราะว่ารางวัลโนเบลไม่เสนอช่ือให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ซ่ึง โรซาลนิ ด์ แฟรงคลนิ เสยี ชวี ติ ไปกอ่ นหนา้ งานประกาศรางวลั จาก โรคภยั มากมายทร่ี มุ เรา้ ในปี พ.ศ. 2501 ดว้ ยวยั 37 ปี ซงึ่ เปน็ เรอ่ื ง ท่นี ่าเสียดายอยา่ งมาก เพราะผลงานของเธอคือตัวแปรส�ำ คัญท่ี ท�ำ ให้การศึกษาโครงสร้างดีเอ็นเอประสบความสำ�เร็จ ชว่ งบน้ั ปลายชวี ติ แฟรงคลนิ พบวา่ ตวั เองมเี นอื้ งอกสองกอ้ น ในชอ่ งทอ้ ง และไดร้ บั การผา่ ตดั ตงั้ แตเ่ ดอื นกนั ยายนปี พ.ศ. 2496 เธอตอ้ งเขา้ ๆ ออก ๆ โรงพยาบาลอยู่หลายคร้ัง แตก่ ย็ ังมุ่งม่นั ใน การท�ำ งานวจิ ยั และผลติ บทความทางวชิ าการออกมาเรอ่ื ย ๆ โดย กลุม่ วจิ ยั ของเธอตพี มิ พ์บทความวจิ ยั หลายสบิ ฉบบั จนกระท่ังใน ชว่ งต้นปี พ.ศ. 2501 ร่างกายของเธอกลบั ทรดุ ลง แฟรงคลินเขา้ ท�ำ งานในฐานะนกั วจิ ยั สมทบไดแ้ คช่ ว่ งเวลาสนั้ ๆ กอ่ นจะเสยี ชวี ติ มถิ นุ ายน 2566 38

เปลเย่ี ลนขโลก เลา่ ถงึ เรอ่ื งราวของนกั เคมคี นส�ำ คญั ยงั หลากอารมณแ์ ละนา่ สนใจขนาดน้ี เรอ่ื งตอ่ ไปทเี่ ราอยากจะเลา่ ถงึ กเ็ ปน็ ธาตเุ คมที มี่ คี ณุ สมบตั ิ พิเศษและมปี ระวัตกิ ารคน้ พบทีน่ ่าสนใจไม่แพก้ ัน แถมยงั ใช้ช่ือนักวทิ ยาศาสตรม์ าต้ังเปน็ ช่ือธาตเุ คมนี ีอ้ กี ด้วย ถ้าอยากรู้ว่าเร่ืองราวของ ธาตเุ คมีทวี่ ่านมี้ าพร้อมกับตวั เลขอะไร ไปฟังประกาศผลสลากกินแบง่ รฐั บาลงวดที่สองของเดือนทแี่ ล้วพร้อมกนั เลย งวดประจ�ำ วนั ท่ี 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2566 เลขทา้ ยสองตวั ทีอ่ อกไดแ้ ก่... 99 ส�ำ หรบั เลข 99 นี้ น่าจะเปน็ เลขที่ถูกตาต้องใจใครหลายคน ธาตุไอน์สไตเนียมมีสัญลักษณ์ธาตุในตารางธาตุคือ Es เนอื่ งจากเลข 9 นน้ั ถอื เปน็ เลขมงคลตามความเชอื่ ของทงั้ คนไทย และมีเลขอะตอม 99 เป็นธาตุที่มีตำ�แหน่งอยู่ในแถวล่างสุด และคนจีนเลยทีเดียว แต่ในแง่ของวิทยาศาสตร์ เลข 99 น้ีก็มี ของตารางธาตุ ไม่สามารถพบได้ในธรรมชาติ และมีความ ความหมายไมน่ อ้ ยเชน่ เดยี วกนั หนงึ่ ในเรอื่ งราวทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นกัมมันตภาพรังสีสูง โดยมีค่าคร่ึงชีวิตซ่ึงเป็นเวลาที่สาร ท่ีอยากจะเอามาพูดคุยกันในคร้ังน้ีเป็นเร่ืองของธาตุชนิดหนึ่งที่ กัมมันตรังสีใช้ในการสลายตัวจนเหลือครึ่งหน่ึงอยู่ท่ี 20.47 วัน อาจจะไม่ค้นุ เคยในวชิ าเคมี แต่ต้องคุน้ ช่อื ของมนั แน่ ๆ น่ันก็คอื ที่สำ�คัญยังเป็นธาตุที่หนักมากท่ีสุดในขณะน้ีท่ีนำ�มาศึกษาได้ใน ธาตไุ อนส์ ไตเนยี ม (Einsteinium) ซง่ึ เปน็ ธาตลุ �ำ ดบั ที่ 99 ในตาราง หอ้ งปฏิบตั ิการทางเคมีอีกด้วย ธาตุนนั่ เอง มถิ นุ ายน 2566 39

เปลเย่ี ลนขโลก การทดสอบระเบิดิ ไฮโดรเจน ถึงแม้จะมีชื่อของนักวิทยาศาสตร์ชื่อก้องโลก ที่ม่� าภาพ : Public Domain via National Nuclear Security อย่างแอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ อยู่ในชื่อธาตุนั้นด้วย Administration แต่เขาก็ไม่ได้เป็นผู้ค้นพบธาตุที่ว่าน้ีแต่อย่างใด ประวัติศาสตร์การค้นพบธาตุไอน์สไตเนียมต้อง ย้อนกลับไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2495 ซ่ึงในปีนั้นได้มี การทดสอบอาวธุ เทอร์โมนวิ เคลยี ร์ (thermonuclear weapon) หรอื ระเบดิ ไฮโดรเจน (hydrogen bomb) เป็นคร้ังแรกในประวัติศาสตร์ โดยระเบิดรุ่นแรก มีชื่อว่า ไอวี ไมก์ (Ivy Mike) ท่ีบริเวณหมู่เกาะ มาร์แชลล์ (Marshall Islands) แถบมหาสมุทร แปซิฟกิ จากการทดสอบระเบิดไฮโดรเจนในครั้งน้ัน มีการค้นพบธาตุไอน์สไตเนียมเป็นคร้ังแรกหลัง จากการระเบิดของไอวี ไมก์ โดยพบเพยี งแค่ 200 อะตอมเท่านั้น จนกระท่ังในปี พ.ศ. 2504 ก็มี ทมี วจิ ยั ทส่ี งั เคราะหธ์ าตนุ ้ีในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารไดส้ �ำ เรจ็ โดยในตอนแรกทีมวิจัยท่ีค้นพบต้ังใจจะตั้งช่ือธาตุ นว้ี า่ แพนดะโมเนียม (Pandamonium) ซ่งึ มาจาก ชื่อโครงการเจ้าของผลงานระเบิดดังกล่าว ท่ีมี รหสั ย่อว่า แพนดา (Panda) แตใ่ นเวลาตอ่ มาก็ได้ เปลี่ยนมาตง้ั ช่ือเป็นไอนส์ ไตเนียม เพอื่ เปน็ เกยี รติ แกไ่ อน์สไตน์ ด้วยความท่ีธาตุไอน์สไตน์เนียมเป็นธาตุท่ีมี กัมมันตรังสีสูงมาก เพราะเกิดข้ึนมาหลังจากการ ระเบิดของอาวุธเทอร์โมนิวเคลียร์ สามารถปล่อย พลงั งานความรอ้ นและรงั สอี อกมาปรมิ าณมหาศาล ธาตุไอน์สไตเนียมจึงเป็นธาตุท่ียากต่อการนำ�มา ศึกษา เราจึงไม่รู้ข้อมูลเก่ียวกับเจ้าธาตุปริศนาน้ี มากนัก จนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2564 ทีผ่ า่ นมา มที ีมวิจัย จากหอ้ งปฏิบัติการลอว์เรนซ์ เบิร์กลีย์ (Lawrence Berkeley National Laboratory) สังเคราะห์ สารประกอบของธาตุไอน์สไตน์เนียมได้สำ�เร็จ เปน็ ครง้ั แรก โดยใช้ไอโซโทปของธาตไุ อนส์ ไตนเ์ นยี ม มิถนุ ายน 2566 40

เปลเย่ี ลนขโลก E-254 เพียง 200 นาโนกรัม เข้ามาต่อเป็นส่วนหนึ่งในโมเลกุล ของสารประกอบคาร์บอนเชิงซ้อนที่มีช่ือว่า ไฮดรอกซิไพริดิโนน (hydroxypyridinone) ซ่ึงงานวิจัยดังกล่าวได้ตีพิมพ์ลงในวารสาร เนเจอร์ (Nature) เมือ่ วนั ที่ 3 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ในครั้งน้ีเป็นอีกหน่ึงก้าวสำ�คัญ ที่เราจะท�ำ ความเข้าใจเกีย่ วกับธรรมชาตขิ องสารมากขึ้น โดยยิ่งเรา ทำ�ความเข้าใจธรรมชาติและพฤติกรรมของมันได้มากเท่าไร เราก็ ยง่ิ น�ำ มาประยกุ ต์ใชก้ บั การพฒั นาวสั ดแุ ละเทคโนโลยใี หม่ ๆ ไดม้ าก เทา่ น้ัน เร่ืองราวท่ีซ่อนอยู่ในตัวเลขท้ังสองงวดน้ี เต็มเป่ียมไปด้วย เรอื่ งราวนา่ รมู้ ากมาย และในเดอื นหนา้ กค็ งไมต่ า่ งกนั รอตดิ ตามอา่ น ได้ในฉบบั ตอ่ ไปวา่ เลขทา้ ยสองตวั ของผลรางวลั สลากกนิ แบง่ รฐั บาล ทง้ั สองงวดจะมีเรอื่ งราวความรู้อะไรที่เอามาเล่าใหฟ้ ังกันอีก ������ ไมว่ า่ การเสยี่ งโชคงวดนจี้ ะเปน็ อยา่ งไร โปรดจ�ำ ไว้ เราพรอ้ ม มอบความรู้ใหม่ ๆ ใหค้ ณุ เสมอ แบบไมต่ ้องรอโชคช่วย... #แมค้ ณุ จะไมถ่ กู หวยแตค่ ุณจะรวยความรู้ #พบกนั ใหม่งวดหนา้ การเรืืองแสงจากการปล่อ่ ยรังั สีขี องธาตุุไอน์์สไตน์์เนีียม ที่่�มาภาพ : https://commons.wikimedia.org/wiki/ File:Einsteinium.jpg อ้างองิ 1. https://th.wikipedia.org/wiki/โรซาลนิ ด_์ แฟรงคลิน 2. https://www.takieng.com/stories/24266 3. https://www.matichonweekly.com/column/article_664497 4. https://mgronline.com/science/detail/9630000124635 5. https://www.sciencefocus.com/the-human-body/how-we-unravelled-the-structure-of-dna/ 6. https://www.sciencefocus.com/science/10-amazing-women-in-science-history-you-really-should-know-about/ 7. https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/element/Einsteinium#section=Description 8. https://www.nature.com/articles/s41586-020-03179-3 9. https://theconversation.com/einsteinium-100-years-after-einsteins-nobel-prize-researchers-reveal-chemical-secrets-of-element-that-bears-his- name-154447 10. https://www.nytimes.com/2021/02/07/science/einsteinium-chemistry-elements.html https://www.sciencealert.com/chemists-have-carried-out-the-first-ever-measurements-on-the-element-einstei มถิ ุนายน 2566 41

หอ้ งภาพสตั วป์ า่ ไทย ประทปี ดว้ งแค คณะวนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นกตนี เทียน Himantopus himantopus เปน็ นกขนาดกลาง ประมาณ 37-38 เซนติเมตร ปากยาว เรีียวแหลม และมีสี ีีดำำ� คอยาว ปีีกยาวแหลม หางยาวปานกลาง ขายาวมาก พบตามแหล่ง่ น้ำำ��ขนาดใหญ่่ ทั้�ง้ น้ำำ��จืดื และน้ำำ�� ทะเล ตามบึึง บาง หนอง ทะเลสาบ อ่า่ งเก็บ็ น้ำ��ำ นากุ้�ง้ นาเกลือื ชายเลน ผสมพัันธุ์์ช� ่่วง เดืือนเมษายนถึึงมิิถุุนายน ทำำ�รัังอยู่�ร่ วมกัันเป็็นกลุ่่�ม บนหญ้้าหรือื เนินิ ดิินใกล้้ ๆ แหล่่งน้ำำ�� โดยขุุดดินิ เป็น็ แอ่่งตื้้น� ๆ เพื่่�อรองรัับไข่่ มถิ ุนายน 2566 42

ดาเรปาดิ ศโาลสกตร์ พงศธร กิจเวช (อัฐ) Facebook: คนดูดาว stargazer ปริิศนาดาว ในโบสถ์ว์ ัดั บรมนิิวาส วัดั บรมนิวิ าสเป็็นวัดั สำ�ำ คััญวััดหนึ่่�งของไทยทั้ง�้ ในด้า้ น ดาราศาสตร์์และด้า้ นศิลิ ปะ แต่่กลับั เป็็นเรื่่�องแปลก ที่่�น้อ้ ยคนจะรู้้�จักั วััดนี้้� ภาพด้า้ นนอกของโบสถ์ว์ ััดบรมนิวิ าส ถ่า่ ยโดยผู้�เ้ ขียี น มถิ นุ ายน 2566 43

ดาเรปาดิ ศโาลสกตร์ วัดั บรมนิิวาสตั้�งอยู่�ใกล้้ตลาดโบ๊๊เบ๊๊ แขวงรองเมืือง ขรัวอินโข่งเป็นศิลปินหัวก้าวหน้า เป็นจิตรกรไทยคนแรกที่ เขตปทุมุ วันั กรุงุ เทพมหานคร เดิมิ ชื่�อ “วัดั บรมสุขุ ” ประยุกต์ผสมผสานศิลปะการวาดภาพแบบไทยและตะวันตกเข้า สร้า้ งโดยชาวบ้า้ น แล้ว้ ถวาย พระบาทสมเด็จ็ พระนั่�งเกล้า้ เจ้า้ อยู่่�หัวั ดว้ ยกนั ใชล้ กั ษณะจติ รกรรมประเพณขี องไทย รว่ มกบั ฉากหลงั ทม่ี ี รััชกาลที่� 3 ทรงรับั เป็น็ พระอารามหลวง ระยะใกล้ไกลสมจรงิ แบบตะวนั ตกทเี่ รยี กวา่ ทศั นมติ ิ (perspective) รัชกาลท่ี 3 ทรงถวายต่อให้พระวชิรญาณภิกขุซ่ึงต่อมาได้ ผลงานโดดเด่นของขรัวอินโข่งอยู่ในโบสถ์วัดบวรนิเวศและ ทรงลาผนวชแลว้ ขนึ้ ครองราชยเ์ ปน็ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ วดั บรมนวิ าส เจา้ อยู่หวั รชั กาลที่ 4 ในปี พ.ศ. 2494 ภาพวาดจติ รกรรมฝาผนงั ในโบสถว์ ดั บรมนวิ าสมอี ยทู่ ง้ั 4 ดา้ น พระวชิรญาณทรงสั่งให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดให้สมกับเป็น เรมิ่ จากล่างสดุ เปน็ ลายดอกกหุ ลาบ เหนอื ข้นึ ไปตรงชอ่ งระหว่าง พระอารามหลวง ตั้งแตว่ ันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2377 ในสมัย หนา้ ตา่ งเปน็ กจิ วตั รประจ�ำ วนั ของพระสงฆ์ และภาพอสภุ กรรมฐาน รัชกาลท่ี 3 จนแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลท่ี 4 ทรงพระราชทาน พิจารณาซากศพแบบต่าง ๆ เพื่อใหป้ ลง เหนือหน้าต่างเปน็ ภาพ นามใหม่วา่ “วดั บรมนวิ าสราชวรวิหาร” ปริศนาธรรม 12 ภาพ และบนสุดเกือบติดเพดานเป็นภาพดาว สิ่งสำ�คัญส่ิงหนึ่งที่ทรงสั่งคือโปรดให้ขรัวอินโข่งยอดจิตรกร ต่าง ๆ แห่งรัตนโกสินทร์สมัยรัชกาลท่ี 3-4 วาดภาพจิตรกรรมฝาผนัง ในโบสถ์วดั บรมนิวาส ภาพภายในโบสถ์์วััดบรมนิวิ าส ถ่า่ ยโดยผู้้เ� ขีียน มิถุนายน 2566 44

ดาเรปาดิ ศโาลสกตร์ ดาวภายในโบสถว์ ดั บรมนวิ าสมที ง้ั หมด 9 ดวง แตล่ ะดวงไมม่ ี ภาพดาวพฤหัสั บดีีในโบสถ์์ ภาพดาวเสาร์ใ์ นโบสถ์์วัดั บรมนิิวาส ชื่อกำ�กับไว้ แต่มี 4 ดวง ที่เราสามารถบอกไดว้ ่าเป็นดาวอะไร คอื วััดบรมนิิวาส ถ่่ายโดยผู้้�เขีียน ถ่า่ ยโดยผู้เ�้ ขีียน 1. ดวงอาทิตย์ เป็นกระจกวงกลมสีขาว มีรัศมีสีส้มเหลืองแผ่ ลกั ษณะภาพจติ รกรรมฝาผนงั รปู ดาวพฤหสั บดแี ละดาวเสาร์ ออกมาโดยรอบ อยทู่ างดา้ นหลังพระประธาน มจี ารึกใตภ้ าพ ที่วาดเหมือนจริงเหมือนเห็นจากกล้องดูดาว (กล้องโทรทรรศน์) วา่ “พระอาทิตยเ์ ปรยี บเหมอื นพระพุทธเจ้า” นนั้ นบั เปน็ ครง้ั แรกในประวตั ศิ าสตร์ไทย เพราะกอ่ นหนา้ นจ้ี ะวาด 2. ดวงจนั ทร์ เปน็ วงกลมสเี หลือง อย่เู หนอื ประตทู างเข้าโบสถ์ ดาวตา่ ง ๆ เป็นจุด 3. ดาวพฤหัสบดี เป็นวงกลมสีเหลือง มีเส้นแถบแนวนอน ส่วนดาวท่ีเหลืออกี 5 ดวง เปน็ ปรศิ นาว่าคือดาวอะไรบา้ ง? 2 แถบใหญ่ ที่เรียกว่า เข็มขัด เป็นเอกลักษณ์ของดาว ผมสันนษิ ฐานว่า ตำ�แหน่งดาวทปี่ รากฏอาจไมไ่ ดเ้ รียงสะเปะ พฤหัสบดี และมีจุด 4 จุด ล้อมรอบ นั่นคือดวงจันทรบ์ รวิ าร สะปะตามความชอบใจ แต่เป็นตำ�แหน่งดาวในวันสำ�คัญท่ีมี ทัง้ 4 ดวง ของดาวพฤหัสบดี ท่ีค้นพบในสมยั นน้ั ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ ถา้ เราทราบวา่ เป็นวนั ไหน อาจช่วยพอ 4. ดาวเสาร์ เป็นวงกลมสีนำ้�ตาล มีวงแหวนขนาดใหญ่ล้อม ให้ทราบวา่ ดาวอีก 5 ดวง คอื ดาวอะไรบ้าง รอบดาว เป็นเอกลกั ษณ์ของดาวเสาร์ ที่สันนิษฐานเช่นน้ีเนื่องจากรัชกาลที่ 4 ทรงสนพระทัยใน ดาราศาสตร์อย่างมาก โชคดที มี่ ภี าพหนงึ่ อาจเปน็ กญุ แจไขปรศิ นานี้ได้ นนั่ คอื ภาพคน ก�ำ ลงั สอ่ งกลอ้ งดดู าว เปน็ ภาพทอ่ี ยทู่ างซา้ ยหลงั องคพ์ ระประธาน ภาพวาดดวงอาทิติ ย์์ในโบสถ์์วัดั บรมนิวิ าส ที่ม�่ าภาพ : หนังั สือื ถอดรหัสั ภาพผนังั พระจอมเกล้า้ -ขรัวั อินิ โข่ง่ หน้า้ 188 ภาพวาดดวงจันั ทร์์ในโบสถ์์วััดบรมนิิวาส ถ่า่ ยโดยผู้�้เขีียน ภาพวาดคนส่อ่ งกล้อ้ งในโบสถ์ว์ ััดบรมนิิวาส ที่ม่� าภาพ : หนังั สือื ถอดรหััส ภาพผนััง พระจอมเกล้้า-ขรััวอิินโข่่ง โดย วิิไลรััตน์์ ยัังรอต และ ธวััชชััย องค์์วุุฒิิเวทย์์ สำนัักพิมิ พ์์มิิวเซีียมเพรส 2559 หน้้า 197 มถิ ุนายน 2566 45

ดาเรปาดิ ศโาลสกตร์ ส่ิงที่น่าสนใจมากคือ คนกำ�ลังเล็งกล้องดูดาวไปที่ภาพ ภาพวาดในโบสถ์์วัดั บรมนิิวาสที่่�สันั นิษิ ฐานว่า่ อาจเป็น็ ภาพดวงอาทิิตย์์ ดวงอาทติ ย์ ปกตเิ ราจะไมเ่ อากลอ้ งดดู าวสอ่ งดวงอาทติ ย์โดยไมม่ ี ขณะเกิดิ สุรุ ิิยุุปราคา อุปกรณ์ป้องกันคือแผ่นกรองแสงอาทิตย์ (solar filter) ถ้าไม่มี ที่ม�่ าภาพ : หนังั สือื ถอดรหัสั ภาพผนังั พระจอมเกล้า้ -ขรัวั อินิ โข่ง่ หน้า้ 187 แผ่นนี้แล้วใช้กล้องดูดาวส่องดวงอาทิตย์อาจทำ�ให้ตาบอดได้ เนื่องจากกล้องดูดาวจะรวมแสงอาทิตย์ให้แรงข้ึน อาจนึกถึง แว่นขยายท่ีรวมแสงอาทิตย์แลว้ ท�ำ ให้กระดาษลุกไหม้ นักดาราศาสตร์มักใช้กล้องดูดาวส่องดวงอาทิตย์เม่ือมี ปรากฏการณส์ รุ ยิ ปุ ราคา ซง่ึ เปน็ เหตกุ ารณส์ �ำ คญั ทนี่ าน ๆ จะเกดิ สกั คร้งั นอกจากภาพคนสอ่ งกลอ้ งดูดาวแล้ว เหนือภาพดวงอาทติ ย์ ยังมีภาพดาวเป็นวงกลมสีดำ� ลักษณะเหมือนดวงอาทิตย์ขณะ เกดิ สรุ ิยุปราคา ภาพถ่่ายในโบสถ์ว์ ัดั บรมนิวิ าส ทางซ้า้ ยพระประธานเป็็นภาพวาดคนส่อ่ ง ภาพถ่่ายสุุริยิ ุปุ ราคาวันั ที่่� 21 สิิงหาคม 2560 ที่่ส� หรัฐั อเมริิกา กล้้องดููดาว เหนืือเศีียรพระประธานเป็น็ ภาพวาดดวงอาทิติ ย์์ และเหนือื โดย สถาบัันวิิจัยั ดาราศาสตร์แ์ ห่่งชาติิ ดวงอาทิิตย์เ์ กือื บติิดขอบบนเป็็นภาพวาดดวงอาทิติ ย์ข์ ณะเกิิดสุุริิยุปุ ราคา ที่ม�่ าภาพ : หนังั สือื ถอดรหัสั ภาพผนังั พระจอมเกล้า้ -ขรัวั อินิ โข่ง่ หน้า้ 181 15 คำ�่ เดือน 10 ต�ำ แหนง่ ดาวในแอปดูดาวและตำ�แหน่งดาวใน โบสถ์วัดบรมนวิ าสมีความใกล้เคยี งกัน ดังนัน้ ภาพดาวต่าง ๆ ในโบสถ์วดั บรมนิวาสอาจเปน็ ต�ำ แหนง่ ยิ่งกว่านั้นยังมีเอกสารประวัติศาสตร์ชิ้นสำ�คัญคือ ประกาศ ดาวขณะเกดิ สรุ ิยปุ ราคาคร้ังใดครั้งหนง่ึ มหาสงกรานต์ พ.ศ. 2399 วา่ จะเกิดสุรยิ ุปราคาตอนส้ินเดอื น 10 เมื่อพิจารณาจากสุริยุปราคาท้ังหมดท่ีเห็นในประเทศไทยใน (ตามปฏิทนิ จันทรคตไิ ทย) ในปี พ.ศ. 2400 นับเปน็ ประกาศทาง ช่วงต้ังแต่เร่ิมบูรณะวัดบรมนิวาสจนถึงส้ินสมัยรัชกาลท่ี 4 คือ ราชการฉบับแรกของไทยที่แจ้งให้ประชาชนทราบล่วงหน้าเรื่อง ปี พ.ศ. 2377-2411 ใช้แอปดูดาวจ�ำ ลองภาพต�ำ แหนง่ ดาวขณะ การเกิดสุริยุปราคา เอกสารน้ีช่วยย้ำ�ว่าสุริยุปราคาคร้ังน้ีมีความ เกิดสุริยุปราคาเวลาท่ีดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์มากที่สุด แล้ว สำ�คญั เปรยี บเทียบกบั ตำ�แหน่งดาวต่าง ๆ ในโบสถว์ ดั บรมนวิ าส พบวา่ สรุ ิยุปราคาเมอ่ื วนั ที่ 18 กนั ยายน พ.ศ. 2400 ซง่ึ ตรงกบั วันแรม มิถุนายน 2566 46

ดาเรปาดิ ศโาลสกตร์ ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงสันนิษฐานว่าตำ�แหน่งดาวในโบสถ์ ดาวทงั้ หมดนีเ้ ป็นดาวในระบบสุรยิ ะ (solar system) ดงั นน้ั วัดบรมนิวาสอาจเป็นตำ�แหน่งดาวขณะเกิดสุริยุปราคาเมื่อวันท่ี จงึ ท�ำ ใหภ้ าพจติ รกรรมฝาผนงั ในโบสถว์ ดั บรมนวิ าสมคี วามส�ำ คญั 18 กนั ยายน พ.ศ. 2400 อย่างมากคือ เป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังรูปดาวในระบบสุริยะ ท�ำ ให้ไดช้ อ่ื ดาวตา่ ง ๆ ตามล�ำ ดบั จากดา้ นหลงั องคพ์ ระประธาน ครั้งแรกของไทย เวยี นย้อนเขม็ นาฬกิ าไปรอบโบสถ์ (มาทางซา้ ยของพระประธาน) ดงั นคี้ อื 1. ดวงอาทติ ย์ 2. ดวงอาทติ ยข์ ณะเกดิ สรุ ยิ ปุ ราคา 3. ดาวพธุ 4. ดาวองั คาร 5. ดาวเสาร์ 6. ดาวยเู รนสั 7. ดวงจนั ทร์ 8. ดาวเนปจนู 9. ดาวพฤหัสบดี ภาพวาดดาวในระบบสุรุ ิยิ ะ ที่ม่� าภาพ : NASA อย่างไรก็ตามท้ังหมดนี้เป็นเพียงข้อสันนิษฐาน และยังมี ปญั หาบางอยา่ งเชน่ ไมม่ ดี าวศกุ ร์ ซง่ึ เปน็ ดาวทสี่ วา่ งมากอนั ดบั 3 รองจากดวงอาทิตยแ์ ละดวงจนั ทร์ รายละเอยี ดขอ้ มลู และภาพประกอบเพม่ิ เตมิ สามารถอา่ นได้ จากบทความเร่ือง “จุดเปล่ียนจักรวาล ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ระบบสุริยะแห่งแรกของไทยในโบสถ์วัดบรมนิวาส” โดย พงศธร กิจเวช ตามลิงก์แรกท่ีปักหมุดไว้ใน Facebook Page คนดูดาว stargazer ภาพแผนผังั ตำแหน่ง่ ดาวในโบสถ์ว์ ัดั บรมนิวิ าส จากการสันั นิษิ ฐานคือื ๑. ดวงอาทิิตย์์ ๒. ดาวพฤหััสบดีี ๓. ดาวเนปจูนู ๔. ดวงจันั ทร์์ ๕. ดาวยููเรนัสั ๖. ดาวเสาร์์ ๗. ดาวอังั คาร ๘. ดาวพุธุ ๙. ดวงอาทิิตย์์ ขณะเกิดิ สุุริิยุปุ ราคา ที่ม�่ าภาพ : หนังั สือื ถอดรหัสั ภาพผนังั พระจอมเกล้า้ -ขรัวั อินิ โข่ง่ หน้า้ 182 มิถุนายน 2566 47

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ วรศิ า ใจดี (ไอซ)ี เด็กสาย(พนั ธ)์ุ วทิ ยส์ านศลิ ป์ ชอบเรียนคณิตศาสตรแ์ ละฟิสิกส์ สนใจเรอื่ งเก่ียวกับอวกาศ และสตั วเ์ ล้ียงตวั จิว๋ เวลาว่างชอบท�ำ งานศลิ ปะ กำ�ลังค้นหาสูตรผสมทีล่ งตวั ระหวา่ งวทิ ย์กบั ศลิ ป์ Facebook : I-see Warisa Jaidee Detecting Earth 2.0 Part I: Radial Velocity ขอต้อ้ นรับั เข้า้ สู่่�ปิิดเทอมฤดููร้้อน (ที่่�อเมริกิ า) หลัังจากที่่ห� ยุดุ พัักสอบ ปลายภาคไปหนึ่่�งฉบับั ฉบับั นี้้ฉ� ัันกลับั มาพร้้อมกับั บทความที่่�ขอออก นอกอวกาศสัักหน่่อย ฉันั กำ�ำ ลังั จะพาทุกุ คนมาค้้นหาดาวดวงใหม่่ มถิ นุ ายน 2566 48

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ สืบื เนื่�องจากวิิชาดาวเคราะห์์นอกระบบที่่�ฉัันเพิ่�ง ดว้ ยเชน่ กนั จดุ ศนู ยก์ ลางทแ่ี ทจ้ รงิ ของระบบคอื จดุ ศนู ยก์ ลางมวล เรีียนจบไปเมื่�อเทอมที่่�ผ่่านมา กัับบทสนทนาใน (center of mass) แต่เนื่องจากดวงอาทิตย์มีมวลเยอะมาก ห้้องเรีียน นำำ�ฉัันไปสู่�การค้้นหาคำำ�ตอบของคำำ�ถามที่�เฝ้้าสงสััยมา จุดศนู ยก์ ลางมวลนี้เลยตอ้ งอยู่ใกลด้ วงอาทติ ย์เอามาก ๆ เหมอื น นาน “เราพบเจอดาวดวงอื่�นมากมาย แล้้วเมื่�อไหร่่จะเจอมนุุษย์์ ถ้าเราจับโลกกับดวงอาทิตย์มาเล่นเกมกระดานหกกัน จุดหมุน ต่า่ งดาวบ้า้ งล่ะ่ ” ของกระดานหกอยู่ตรงกลางเป๊ะ แน่นอนว่าดวงอาทิตย์จะจมดิ่ง เพื่อวิเคราะห์ว่าเราจะมีโอกาสค้นหาระบบท่ีมีดาวฤกษ์คล้าย ส่วนโลกจะลอยเคว้ง แต่ถ้าเราค่อย ๆ ขยับจุดหมุนหรือแท่ง ดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์ที่น่าอยู่แบบโลกเจอในเร็ว ๆ น้ีไหม สามเหลี่ยมน้ีเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากข้ึนเร่ือย ๆ เพ่ือรองรับ มาลองสมมติกันว่าเราเป็นเอเลี่ยนท่ีกำ�ลังค้นหาโลกโดยใช้ น�ำ้ หนกั อนั มหาศาลนนั้ มวลของระบบจะสมดลุ พอดี โดยดาวทง้ั คู่ เทคโนโลยีท่ีมีอยู่ในปัจจุบันกันดีกว่า เร่ิมจากวิธีการตรวจจับ อยู่ในระนาบเดียวกันดังภาพ ดาวเคราะห์นอกระบบ (exoplanet) ซ่ึงหากนับดาวเคราะห์นอก ระบบ รวมดาวเคราะห์ทุกดวงท่ีโคจรรอบดาวแม่ (host star) ดวงอาทิติ ย์ก์ ับั โลกบนกระดานหกแบบมีีจุดุ หมุนุ ตรงกลาง (บน) ของมันท่ีอย่นู อกระบบสุริยะ แลว้ อา้ งอิงตามทฤษฎเี นบวิ ลาทฉี่ ัน กัับจุดุ หมุุนเยื้อ� งมาทางใกล้้ดวงอาทิติ ย์์มากกว่า่ (ล่า่ ง) เคยเล่าไว้ในสาระวิทย์ฉบับที่ 120 เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2566 ท่ีว่า ทกุ การก�ำ เนดิ ของดาวฤกษย์ อ่ มมโี อกาสเกดิ ดาวเคราะห์ นน่ั แปลวา่ ในการหาต�ำ แหนง่ ของจดุ ศนู ยก์ ลางมวลของระบบ เราใชส้ ตู ร ภายในจักรวาลเต็มไปด้วยดาวเคราะห์อีกมากมายหลายรูปแบบ การหาต�ำ แหนง่ จดุ ศนู ยก์ ลางมวลของระบบซง่ึ เปน็ สดั สว่ นกบั มวล ท่ีเราอาจคาดไม่ถึง และก็มีโอกาสเป็นไปได้ว่ามนุษย์โลกไม่ได้ ของวตั ถใุ นระบบดังน้ี โดดเด่ยี ว เม่อื M แทนมวลของวัตถุในระบบ และ r แทนระยะห่างของ อย่างไรก็ตามการตรวจจับดาวเคราะห์นอกระบบ ไม่ใช่ วัตถุนน้ั ๆ จากจุดศูนย์กลางมวลของระบบ, ตัวยอ่ S แทนดวง ว่าคว้ากล้องมาส่องแล้วก็สามารถโบกมือทักทายกับเพื่อน อาทิตย์ และ E แทนโลก ต่างดาวได้เลยนะ เพราะการส่องดูดาวฤกษ์ที่เปล่งแสงจ้า แถม มขี นาดใหญเ่ บอ้ เรอ่ เรายงั เหน็ มนั เปน็ แคจ่ ดุ เลก็ ๆ ขาว ๆ เทา่ นนั้ นับประสาอะไรกับดาวเคราะห์ดวงเล็กอย่างโลกที่อาศัย แสงสะท้อนจากดาวฤกษ์เพ่ือให้เรามองเห็น คงเล็กจ๋ิวย่ิงกว่าจุด เปน็ แน่แท้ แต.่ ..แต.่ ..แต.่ ..มนั มวี ธิ ที ม่ี ากมายกวา่ นน้ั ในการบง่ บอกถงึ ความ เปน็ อยขู่ องระบบดาวอนั ไกลโพ้น ตอ่ ไปนี้ฉนั จะตแี ผแ่ ตล่ ะวธิ กี าร พรอ้ มลองวเิ คราะห์ใหด้ วู า่ หากเราคอื เอเลยี่ นแลว้ พยายามตรวจ จบั หาโลก เราจะต้องใชเ้ ครอ่ื งมือท่มี ีความละเอยี ดขนาดไหนกนั วิธหี ลัก ๆ ทางดาราศาสตรท์ ่ีใช้ตรวจหาดวงดาวไดแ้ ก่ radial velocity, transit และ direct imaging เริ่มต้ังแต่สมัยก่อนกันเลย วิธีแรก ๆ ที่นักดาราศาสตร์ใช้ คน้ หาดาวเคราะหน์ อกระบบ คือ การวัด “radial velocity” หรอื ความเร็วแนวรัศมี ซง่ึ เป็นความเรว็ ในทิศทางเขา้ หาหรือออกจาก ผู้สังเกต เราอาจเคยเห็นภาพเคล่ือนไหวจำ�ลองของโลกและ ดาวเคราะหอ์ นื่ ๆ ในระบบสรุ ยิ ะโคจรเปน็ วงโดยมดี วงอาทติ ยต์ ง้ั อยู่ เป็นจุดศูนย์กลางระบบ รู้หรือไม่ว่าดวงอาทิตย์เองก็มีการโคจร มถิ นุ ายน 2566 49

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ เม่ือจัดเรียงเสียใหม่และแทนค่าตัวเลขเข้าไป เราจะพบว่า เอาละ เมื่อเรารู้แลว้ วา่ ใน 1 ปี ดวงอาทติ ย์ของเราตอ้ งโคจร ระยะทางจากดวงอาทิตย์ถงึ จดุ ศนู ยก์ ลางมวลมคี ่าเท่ากบั วงจว๋ิ รอบจุดศูนย์กลางมวลเป็นวงกลมรัศมี 500 กโิ ลเมตร เราก็ (ในทน่ี ีเ้ ราประมาณวา่ ระยะจากโลกถึงจดุ ศูนยก์ ลางมวลของ สามารถหาความเรว็ ในการโคจรน้ีโดย ระบบมคี า่ ประมาณ 1 หนว่ ยดาราศาสตร์ เทา่ กบั ระยะหา่ งระหวา่ ง ความเร็ว = ระยะทางหรือเส้นรอบวงของวงโคจรกลมหาร โลกกบั ดวงอาทติ ย์ และดวงอาทติ ยม์ มี วลเทา่ กบั สามแสนเทา่ ของ ด้วยเวลา มวลโลก) หลงั แปลงหนว่ ยออกมาเราจะพบวา่ ดวงอาทติ ยเ์ คลอื่ นทดี่ ว้ ย ความเรว็ เทา่ กบั 9 เซนตเิ มตรตอ่ วนิ าที ซงึ่ ชา้ พอ ๆ กบั เจา้ ตวั สลอท เดินเลยละ พอจะเห็นภาพกันแล้วใช่ไหมว่า การตรวจจับการ เคล่ือนที่ท่ีมีความเร็วระดับเจ้าตัวสลอทเดินจากระยะที่อยู่ ไกลโพ้น มันยากเพียงไหน แสดงวงโคจรของโลกและดวงอาทิติ ย์ท์ ี่ต�่ ่่างโคจรรอบจุดุ ศููนย์์กลางมวล hhhhhhhhhhhttttttttttttttttttttttpppppppppppsssssssssss::::::::::://////////////////////wwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwwww...........nnnnnnnnnnnssssssssssstttttttttttdddddddddddaaaaaaaaaaa...........ooooooooooorrrrrrrrrrr...........ttttttttttthhhhhhhhhhh///////////rrrrrrrrrrr///////////lllllllllllIIIIIIIIIIIcccccccccccXXXXXXXXXXXKKKKKKKKKKK ของระบบ คลิิกที่�่ภาพเพื่่�อดููภาพเคลื่�อ่ นไหวการโคจรของดาวฤกษ์แ์ ละดาวเคราะห์์ เราจะพบวา่ จดุ ศนู ยก์ ลางมวลทบี่ อกวา่ ตอ้ งอยใู่ กลด้ วงอาทติ ย์ เราจะสัังเกตได้้ว่า่ ดาวฤกษ์์ตรงกลางมีีการเคลื่่อ� นที่่เ� ล็็กน้้อยไปด้้วย มาก ๆ เนี่ย จริง ๆ แล้วมันอยู่ ณ ตำ�แหนง่ 500 กิโลเมตร ซ่งึ สน้ั เนื่่�องจากแรงดึึงดูดู ของดาวเคราะห์์ กว่ารัศมีของดวงอาทิตย์ที่ใหญ่ราว 7 แสนกิโลเมตรเสียอีก น่ัน ที่ม่� าแอนิิเมชัันแบบจำลอง : https://astro.unl.edu/naap/esp/animations/ แปลว่า จุดศูนย์กลางมวลของระบบโลกถึงดวงอาทิตย์น้ีอยู่ข้าง ในดวงอาทติ ยเ์ ลย การโคจรรอบจดุ ศนู ยก์ ลางมวลของดวงอาทติ ย์ radialVelocitySimulator.html เมอ่ื เทยี บกบั โลกแลว้ เปน็ วงโคจรทเ่ี ลก็ จวิ๋ จนแทบจะไมเ่ หน็ ถงึ การ เคลอ่ื นไหว พอจะเรมิ่ เหน็ ภาพแลว้ ใชไ่ หมวา่ เอเลยี่ นทพ่ี ยายามวดั ความเรว็ ทเี่ ลก็ จว๋ิ นเี้ พอื่ สบื หาความมอี ยขู่ องดาวเคราะห์โลก เปน็ งานยากมาก ! มถิ นุ ายน 2566 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook