Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิตยสารสาระวิทย์ ฉบับที่ 111 เดือนมิถุนายน 2565

นิตยสารสาระวิทย์ ฉบับที่ 111 เดือนมิถุนายน 2565

Published by Thalanglibrary, 2022-06-16 02:46:23

Description: นิตยสารสาระวิทย์ ฉบับที่ 111 เดือนมิถุนายน 2565

Search

Read the Text Version

A Team Bulletin สารบญั Cover Story 3 ห้องภาพสัตว์ป่าไทย 44 สาระวิทยใ์ นศลิ ป์ 45 ท่ปี รึกษา Sci Delight 8 12 เปิดโลกนทิ านดาว 51 ณรงค์ ศริ เิ ลศิ วรกลุ Sci Variety 16 จุฬารัตน์ ตนั ประเสริฐ อ๋อ ! มันเป็นอยา่ งนีน้ เ่ี อง 55 จุมพล เหมะคีรินทร์ นกตัวั ต้อ้ ยร้อ้ ยความเชื่อ�่ บรรณาธิการผูพ้ ิมพผ์ ู้โฆษณา Sci Variety กุลประภา นาวานเุ คราะห์ บันั ทึกึ หลักั สูตู รปลูกู ป่า่ ประณีตี บรรณาธกิ ารอ�ำ นวยการ ร ะเบยี งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย 26 ปั�้้นน้ำำ��เป็็นปลา 56 นำ�ชยั ชวี วิวรรธน์ หนา้ ตา่ งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ โลก 29 Sci Quiz 58 บรรณาธกิ ารบริหาร Sci Infographic 30 Lecturist x Sarawit 59 ร้อยพันวิทยา 33 ปริทัศน์ เทยี นทอง สภากาแฟ 39 Sci เข้าหู โน้ตความร้ฉู บบั ย่อ 60 บรรณาธิการจดั การ ENdiototer’s ค�ำ คมนกั วิทย์ 61 รกั ฉัตร เวทวี ุฒาจารย์ ปััญหาสิ่่�งแวดล้้อม เรื่อ�่ งใกล้ต้ ััวที่�่ไม่่อาจมองข้้าม กองบรรณาธกิ าร ปััญหาด้้านสิ่่�งแวดล้้อมที่�คนไทยต้้องเผชิิญมาบ่่อย ๆ และคาดว่่าเรายัังคงต้้องวนเวีียนอยู่่�กัับปััญหาเหล่่านี้้� อย่่างวิิกฤต ศศธิ ร เทศนอ์ รรถภาคย์ วัชราภรณ์ สนทนา ฝกุ็่เ็่น� ผชPิญิ Mก2ั.5บั กในาพรื้เน�้ ผที่า�กทั้ร้งุ� ุงในเทพืพ้น�้ ฯที่ ที่�เกิิดจากควัันท่อ่ ไอเสียี รถยนต์แ์ ละการก่อ่ สร้้าง ในขณะที่่�พื้น�้ ที่�อื่น� ของประเทศ เช่่น ภาคเหนืือ วีณา ยศวงั ใจ �เกษตรกรรมและจากไฟป่่า ภาคกลางจากการเผาเพื่่อ� ทำำ�การเกษตร ภาคใต้ไ้ ด้ร้ ับั ผลกระทบจาก ภัทรา สัปปนิ นั ทน์ อาทิตย์ ลมูลปลง่ั ไฟป่่าที่�ไหม้ใ้ นป่่าพรุุประเทศอินิ โดนีเี ซีีย ซึ่�งปัญั หาฝุ่่�น PM2.5 จะส่ง่ ผลต่อ่ สุุขภาพของประชาชนในระยะยาว นกั เขยี นประจำ� ในส่่วนของปััญหาขยะพลาสติิก สำำ�หรัับช่่วงสถานการณ์์การระบาดของโควิิด 19 ที่่�ผ่่านมา พบว่่าปริิมาณขยะพลาสติิก ชวลิต วิทยานนท์ เพิ่�มขึ้�นจากมาตรการ Work From Home พร้้อมกัับการเติิบโตของธุุรกิิจประเภท Delivery ซึ่�งนอกจากนี้้�ยัังมีีขยะจาก รวศิ ทัศคร พงศธร กิจเวช หน้า้ กากอนามัยั ที่่�ต้อ้ งใช้้เวลาย่อ่ ยสลายนานถึงึ 450 ปีี เพิ่�มขึ้น� อีีกด้ว้ ย ปว๋ ย​ อนุ่ ​ใจ วรศิ า ใจดี และที่่�ต้้องลุ้�นกัันอีีกในปีีนี้้�คืือปััญหาน้ำ�ำ� ท่่วม ซึ่�ง รศ. ดร.เสรีี ศุุภราทิิตย์์ ผู้้�อำ�ำ นวยการศููนย์์การเปลี่�ยนแปลงภููมิิอากาศและ ภัยั พิบิ ัตั ิิ มหาวิทิ ยาลัยั รังั สิติ ได้ใ้ ห้ข้ ้อ้ มูลู ไว้ว้ ่า่ ในช่ว่ งปลายเดืือนสิงิ หาคมของทุุกปีจี ะเป็น็ ช่ว่ งที่่�ร่อ่ งมรสุุมพาดผ่า่ นประเทศไทย บรรณาธกิ ารศิลปกรรม บริเิ วณภาคเหนืือตอนล่่าง ภาคกลาง และภาคตะวัันออก ทำ�ำ ให้้ฝนตกตั้้�งแต่่ปลายเดืือนสิิงหาคม อาจจะเป็น็ สััญญาณเตืือน ว่่าจะมีีบางจัังหวััดต้อ้ งประสบกับั ภาวะน้ำ�ำ�ท่ว่ มใหญ่อ่ ย่า่ งเลี่�ยงไม่่ได้้ จุฬารัตน์ น่มิ นวล สำ�ำ หรับั นิติ ยสารสาระวิทิ ย์์ ฉบับั ที่� 111 นี้้� มีบี ทความด้า้ นสิ่ง�่ แวดล้อ้ มที่่�น่า่ สนใจในหลายคอลัมั น์์ โดยเฉพาะ Cover Story เรื่อ� ง ศลิ ปกรรม ‘City Nature Challenge 2022’ กิจิ กรรมตะลุุยสำ�ำ รวจธรรมชาติใิ นเมืืองใหญ่ท่ั่�วโลก สำ�ำ หรับั ประเทศไทย สวทช. และพันั ธมิติ ร เกดิ ศริ ิ ขนั ติกติ ตกิ ลุ ☺ร่ว่ มสำ�ำ รวจสิ่ง�่ มีชี ีวี ิติ ในเมืืองของกรุุงเทพมหานครและปริมิ ณฑล เมืืองระยอง เมืืองขอนแก่น่ เมืืองเชียี งใหม่่ และเมืืองหาดใหญ่่ ผผู้ ลิต เรื่อ� งราวจะน่า่ สนุุกอย่่างไร ติิดตามอ่า่ นกันั ได้้ในเล่ม่ เลยครับั ฝ่ายสรา้ งสรรค์สอ่ื และผลิตภัณฑ์ ปริิทััศน์์ เทีียนทอง ส�ำ นักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ บรรณาธิกิ าร เทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 111 อทุ ยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต.คลองหนึง่ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ต่อ 1177 โทรสาร 0 2564 7016 เวบ็ ไซต์ http://www.nstda.or.th/sci2pub/ facebook นติ ยสารสาระวทิ ย์ ตดิ ต่อกองบรรณาธิการ โทรศัพท์ 0 2564 7000 ตอ่ 1177 อเี มล [email protected]

Cover Story ภัทรา สปั ปินันทน์ City Nature Challenge 2022 : ตะลุยุ สำำ�รวจธรรมชาติิในเมือื งใหญ่่ ธรรมชาติกิ ับั เมืืองใหญ่่ในความรู้ส�้ ึกึ ของใครหลายคนอาจจะสวนทางกันั แต่่ในความเป็็นจริิงแล้้ว ท่า่ มกลาง ความศิวิ ิิไลซ์์ในเมืืองใหญ่่นั้้�น ธรรมชาติิ ก็็ยังั คงมีีอยู่่� แต่่มีีอยู่่�มากหรือื น้้อยแค่ไ่ หน จะรู้�ไ้ ด้้ก็็ต้้องทำำ�การสำำ�รวจ มิถุนายน 2565 3

Cover Story California Academy of Sciences, จะได้ใช้แอปพลิเคชัน iNaturalist ท่ีผู้จัด Alliance, องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ National Geographic Society และ งานหลกั เปน็ ผพู้ ฒั นาขนึ้ เปน็ เครอ่ื งมอื บนั ทกึ แห่งชาติ (อพวช.), Nature Plearn Club, หน่วยงานพันธมิตร ได้จัดกิจกรรม City การค้นพบความหลากหลายทางชีวภาพ มลู นธิ โิ ลกสเี ขยี ว, ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ Nature Challenge หรือกิจกรรมตะลุย รว่ มกนั โดยไมม่ คี า่ ใชจ้ า่ ย และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ(สวทช.),SOSEARTH, สำ�รวจธรรมชาติในเมืองใหญ่ท่ัวโลกข้ึนเป็น สำ�หรับในประเทศไทย มีหน่วยงานทั้ง กลมุ่ นก หนู งเู หา่ , GYBN Thailand, โครงการ ประจ�ำ ทุกปี โดยปีนีจ้ ดั เมอื่ วันท่ี 29 เมษายน ภาครัฐและเอกชนหลายหน่วยงาน ได้แก่ ป่าชายเลนเพือ่ อนาคต และเถือ่ น Channel ถึง 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ในเมืองใหญ่ ดีแคทลอน ประเทศไทย, กลุ่มบริษัทดาว ฯลฯ ร่วมมือกันจัดกิจกรรม City Nature 445 แหง่ ของ 47 ประเทศ ผ้รู ่วมกิจกรรม และโครงการ Dow Thailand Mangrove Challenge 2022 : CNC2022 ขน้ึ ดว้ ยเชน่ กนั กุลประภา นาวานุเคราะห์ ผู้ช่วย ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า สวทช.ตระหนักถึงความสำ�คัญของความ หลากหลายทางชวี ภาพ และตอ้ งการสนบั สนนุ การเรยี นรทู้ างดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ให้แก่ประชาชน จึงได้ร่วมกับหน่วยงาน พนั ธมติ รจดั งาน “ปฏบิ ตั กิ ารส�ำ รวจธรรมชาติ ในเมือง (City Nature Challenge 2022 : CNC2022)” ข้ึนในประเทศไทย ซึ่งในปีนี้ ได้มีการจัดงานในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล เมอื งระยอง เมืองขอนแก่น เมืองเชียงใหม่ และเมืองหาดใหญ่ โดย ในงานน้ี สวทช. ได้ส่งผู้เชี่ยวชาญด้านพืช และจุลินทรีย์จากธนาคารทรัพยากรชีวภาพ แหง่ ชาติ (NBT) ไปรว่ มเปน็ วทิ ยากรน�ำ ส�ำ รวจ ธรรมชาติในพื้นท่ีสวนเบญจกิติ กรุงเทพฯ เมื่อวันท่ี 30 เมษายน ที่ผ่านมา “นอกจากนี้ สวทช. ยังได้สนับสนุนให้ ประชาชนไทยเขา้ ถงึ การใชง้ านแอปพลเิ คชนั iNaturalist ได้ง่ายยิ่งขึ้น โดยร่วมมือกับ พนั ธมติ รพฒั นาคมู่ อื การใชง้ านแอปพลเิ คชนั ฉบับภาษาไทยขึ้นในช่วงปลายปีที่ผ่านมา และไดน้ �ำ มาใชเ้ ปน็ คมู่ อื อ�ำ นวยความสะดวก ในการทำ�กิจกรรมครั้งนี้ ซึ่งในอนาคตจะใช้ สนับสนุนการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ตู ่อไป” มิถุนายน 2565 4

Cover Story CNC 2022 อเุ ทน ภมุ รนิ ทร์ หรอื “ทอม” นกั สอ่ื สาร เปิิดประตููสำำ�รวจเมือื ง ธรรมชาติและนักชีววิทยาเชิงอนุรักษ์ กลุ่ม เนเจอร์ เพลิน อีกหนึ่งในผู้จัดงานหลัก ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiver- เลา่ วา่ การจดั งานในวนั นที้ มี ผจู้ ดั ไดอ้ อกแบบ sity) มกั ใชก้ ลา่ วถึงป่าเขาทม่ี ีพรรณไม้ให้พบ กิจกรรมให้คนเมืองได้มารวมตัวทำ�กิจกรรม ได้หลากหลาย หรือแหล่งนำ้�ตามธรรมชาติ สำ�รวจความหลากหลายทางชีวภาพ โดย ที่ยังคงมีสัตว์อุดมสมบูรณ์ แล้วเมืองใหญ่ มีวิทยากรผู้เชี่ยวชาญท้ังด้านสัตว์เล้ียงลูก อยา่ งบางกอกความหลายทางชวี ภาพยงั ส�ำ คญั ด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์หน้าดิน นก อยู่หรือไม่ ปลา แมลง พชื จลุ นิ ทรยี ์ ไลเคน ฯลฯ มารว่ ม สมนึก ซันประสิทธิ์ หรือ “ไม้เอก” เปิดประสบการณ์การสำ�รวจให้แก่ผู้เข้าร่วม ผู้อำ�นวยการมูลนิธิโลกสีเขียว เล่าว่า คำ�ว่า โดยวิทยากรหลายท่านนอกจากจะพกพา ความหลากหลายทางชวี ภาพอาจเปน็ ค�ำ ไกล ความรู้และประสบการณ์มาอย่างเต็มท่ีแล้ว ตัวคนเมือง แต่ความจริงแล้วความหมาย ยังพกเอาอุปกรณ์การเรียนรู้ และหนังสือ ของคำ�น้ีสะท้อนผ่านความอุดมสมบูรณ์ คู่มือต่าง ๆ มาให้ผู้เข้าร่วมได้ค้นหาข้อมูล ในจานอาหาร คุณภาพอากาศ และความ อีกด้วย ท้ังน้ีในการบันทึกข้อมูลสิ่งมีชีวิต หลากหลายของส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกัน ลงใน iNaturalist แอปพลิเคชันจะช่วยระบุ พ่ึงพากันเป็นระบบนิเวศ การสำ�รวจความ พิกัด วันท่ี และเวลาท่ีถ่ายภาพส่ิงท่ีพบ เปลย่ี นแปลงของความหลากหลายทางชวี ภาพ รวมถึงช่วยแนะนำ�ชนิดพันธ์ุของสิ่งมีชีวิต จึงสำ�คัญมาก เพราะหากเราไม่ตระหนัก ท่ีใกลเ้ คียงกบั ภาพทผ่ี เู้ ขา้ รว่ มบนั ทึกให้ โดย รู้ถึงความเปลี่ยนแปลงก็อาจอยู่ในสภาวะ “กบตม้ (Boiled Frog Theory)” หนาวกใ็ สเ่ สอื้ รอ้ นกเ็ ปดิ แอร์ เหมอื นกบทค่ี อ่ ย ๆ ปรบั เปลย่ี น ผิวหนังให้เหมาะกับอุณหภูมินำ้� แต่ไม่ได้ แกป้ ญั หาทจ่ี ดุ เกดิ เหต…ุ รตู้ วั อกี ทกี ส็ กุ ตายแลว้ อยากใหล้ องเปดิ ประตบู านใหมใ่ นใจ มองสง่ิ ต่าง ๆ รอบตัวใหล้ ะเอยี ดมากข้ึน และหยุด เพื่อจะคิดถึงเหตุผลของการมีอยู่ของ สง่ิ เหล่านั้น ว่ามคี วามสมั พนั ธแ์ ละส�ำ คญั ต่อ ระบบนิเวศอย่างไร ก่อนจะทำ�ลายให้หาย ไปจากระบบ ถอื เปน็ ความทา้ ทายในการคน้ หา วิธีอยอู่ าศยั รว่ มกนั การเร่ิมต้นสำ�รวจความหลากหลาย ทางชวี ภาพในวนั นงี้ า่ ยกวา่ ทเ่ี คย ใคร ๆ กท็ �ำ ได้ ด้วยความสะดวกสบายของเทคโนโลยี มถิ นุ ายน 2565 5

Cover Story ผู้สำ�รวจไม่จำ�เป็นต้องระบุชนิดพันธุ์ของ ของสง่ิ มชี วี ติ ชนดิ ตา่ ง ๆ การมอี ยขู่ องสงิ่ มชี วี ติ แห่งชาติเองก็กำ�ลังวิจัยและพัฒนาองค์ ส่ิงมีชีวิตหากไม่ทราบข้อมูลหรือไม่แน่ใจ ทอ้ งถน่ิ และตา่ งถนิ่ แนวโนม้ การเพม่ิ ขน้ึ หรอื ความรู้และแพลตฟอร์มเพ่ือสนับสนุนให้ เพราะระบบ iNaturalist จะมีผู้เชี่ยวชาญ ลดลง ซึ่งอาจนำ�ไปสู่การกำ�หนดนโยบาย ประชาชนไดน้ �ำ ขอ้ มลู ทรพั ยากรชวี ภาพภายใน จากทั่วโลกมาร่วมกรอกข้อมูลของสิ่งมีชีวิต ดา้ นการอนรุ กั ษ์ได้ ธนาคารทรพั ยากรชวี ภาพ ประเทศไปใชป้ ระโยชน์เชน่ กัน และตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู “บรรยากาศในการส�ำ รวจ CNC 2022 ที่ กรงุ เทพฯ เปน็ ไปดว้ ยความสนกุ และเกดิ การ แลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั ดงั ค�ำ วา่ เลน่ เปน็ เรยี น ซ่ึงเป็นหน่ึงในโจทย์ที่ทีมผู้จัดอยากให้เป็น ในปีนผ้ี เู้ ข้ารว่ มพบสง่ิ มชี ีวติ มากมาย หนึ่งใน ตัวอย่างทส่ี �ำ คัญคอื ไลเคน (lichen) ในปีนี้ ผเู้ ขา้ รว่ มพบ12ชนดิ หากในปหี นา้ มาส�ำ รวจซ�ำ้ ขอ้ มลู ใหมท่ พ่ี บกจ็ ะสะทอ้ นถงึ คณุ ภาพอากาศ ท่ีเปลี่ยนแปลงไป…ปฏิเสธไม่ได้ว่า ต่อให้ เมืองพฒั นาก้าวล�้ำ เพียงใด เรากย็ งั ตอ้ งการ อากาศบริสุทธใิ์ นการหายใจ” ทกุ ขอ้ มลู การรว่ มส�ำ รวจความหลากหลาย ทางชวี ภาพและการรว่ มสรา้ งฐานขอ้ มลู จะเปน็ ประโยชน์ต่อการเรียนรู้ วิจัย และพัฒนา รวมถงึ การอนรุ กั ษท์ รัพยากรชีวภาพ ดร.คมสทิ ธ์ิ วิศิษฐ์รัศมวี งศ์ หรอื “ตมั้ ” นักวิจัย ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (NBT) สวทช. หนงึ่ ในวทิ ยากรสะทอ้ นวา่ การท่ี ภาคประชาชนช่วยสำ�รวจความหลากหลาย ทางชีวภาพจะเป็นประโยชน์ต่อนักวิจัย อยา่ งมาก เพราะการมฐี านขอ้ มลู ทม่ี ากพอจะ ชว่ ยใหน้ กั วจิ ยั สามารถอนมุ านการกระจายตวั มถิ นุ ายน 2565 6

Cover Story พลัังประชาชน มักเล่าด้วยภาพของป่าเขาหรือแหล่งน้ำ� สาธิตา ธาราทศิ หรือ ”มาย” ชา่ งภาพ ร่่วมขับั เคลื่่�อน ตามธรรมชาติซึ่งไกลตัวจากคนเมือง การมี อิสระ หน่ึงในผู้เข้าร่วมงานเล่าว่า สาเหตุท่ี กิจกรรมให้คนเมืองได้สังเกตสิ่งแวดล้อม มาเข้าร่วมงานน้ีเพราะแม้จะมีความสนใจ หน่ึงในเป้าหมายของการจัดกิจกรรมนี้ รอบตัวจะช่วยให้เกิดการตระหนักรู้ถึงความ เรื่องประเด็นสิ่งแวดล้อมเป็นทุนเดิม แต่ก็ คือการกระตุ้นให้เกิดพลังประชาชนที่จะ สัมพันธ์ต่าง ๆ ภายในระบบนิเวศมากขึ้น ยังไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ด้านน้ี ร่วมสำ�รวจความหลากหลายทางชีวภาพ แม้ในสวนเล็ก ๆ แหง่ น้ีเราก็สามารถเหน็ ถงึ อย่างจริงจังมาก่อน จึงอยากลองเข้าร่วม ในพื้นท่ีรอบตัว เพื่อขับเคล่ือนการดูแล ความสมั พนั ธข์ องสงิ่ มชี วี ติ ไดเ้ ชน่ กนั ทางดา้ น กิจกรรมนี้ ส่วนตัวรู้สึกว่าหากคุณภาพของ ความหลากหลายทางชวี ภาพบนโลกใบน ้ี ภรษิ ฐช์ า เดน่ ดวงบรพิ นั ธ์ หรอื “พรสี ” ลกู สาว สง่ิ แวดลอ้ มดี คณุ ภาพชวี ติ กจ็ ะดตี ามไปดว้ ย รศ. ดร.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ หรอื อาจารยเ์ จษฎา เลา่ ถงึ กจิ กรรมวา่ วนั น้ีไดพ้ บ จึงอยากร่วมเป็นอีกแรงหนึ่งในการพัฒนา “อาจารยเ์ จษฎ”์ อาจารยป์ ระจ�ำ ภาควชิ าชวี วทิ ยา สิ่งมีชีวิตหลายชนิด ทั้งลูกอ๊อดที่อยู่ใน กรุงเทพฯ เมืองที่เราเข้ามาอยู่อาศัยให้เป็น คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ร่างที่กำ�ลังจะกลายเป็นกบ ผีเส้ือกลางวัน เมืองท่ีน่าอยู่ “คนและส่ิงมีชีวิตอ่ืน ๆ อยู่ เจ้าของเพจ “อ๋อ มันเป็นอย่างน้นี ่เี อง by หนอนผีเส้ือกลางคืน คราบของจักจ่ันและ ร่วมกันได้ด้วยดี” หลังจากการเข้าร่วม อาจารย์เจษฎ์” หนึ่งในผู้เข้าร่วมกิจกรรม แมลงปอ สนุกมาก หลังจากวันน้ีก็จะยัง กิจกรรมคร้ังน้ีก็จะสำ�รวจธรรมชาติรอบตัว สะท้อนว่า ท่ีผ่านมาการส่งเสริมให้คนใน ใช้แอป iNaturalist สำ�รวจสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ต่อไป เพื่อสนับสนุนการสำ�รวจและอนุรักษ์ สังคมเห็นถึงความสำ�คัญของระบบนิเวศ ต่อไปถ้าเจอปูที่ทะเลก็จะไปส่องดูว่าเป็นปู ความหลากหลายทางชีวภาพ และไม่แน่ สายพันธุ์อะไรดว้ ย วันหน่ึงสิ่งมีชีวิตท่ีเราพบอาจเป็นสิ่งมีชีวิต สิ่งหน่ึงที่ทุกคนต่างต้องการคือการมี ที่ไม่เคยมกี ารคน้ พบมาก่อนก็เปน็ ได้ คุณภาพชีวิตที่ดี สามารถสูดอากาศหายใจ แมก้ จิ กรรม “ปฏบิ ตั กิ ารส�ำ รวจธรรมชาติ ได้เต็มปอดในทุกวัน กับข้าวในจานอาหารมี ในเมอื ง (City Nature Challenge 2022)” ใน ความอุดมสมบูรณ์ หญิงสาวคนนี้ท่ีเดินทาง ปีน้ีจะจบลงไปแล้ว แต่ทุกคนยังมีสามารถ จากต่างจังหวัดมาใช้ชีวิตในเมืองหลวงแห่ง ส่วนร่วมในการสำ�รวจความหลากหลายทาง น้ีก็มคี วามตอ้ งการน้ันเช่นกนั ชีวภาพของไทยและของโลกได้ผ่านการ บันทึกข้อมูลลงแอปพลิเคชัน iNaturalist ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งานฉบับภาษาไทย ได้ท่ี https://bit.ly/3ky1Qrx ผลการสำ�รวจธรรมชาติในเมืองปี พ.ศ. 2565 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจาก ทั่วโลกรวม 67,220 คน มกี ารบนั ทกึ การส�ำ รวจไว้ 1,694,877 ครง้ั จ�ำ นวน ส่ิงมีชีวิตที่บันทึกได้ 50,176 ชนิด ในจ�ำ นวนน้ีมี 2,244 ชนิดทเี่ ปน็ ชนดิ หายาก ใกลส้ ูญพันธ์ุ หรอื ถูกคุกคาม (ตามการจัดสถานภาพของ IUCN Red List) มถิ ุนายน 2565 7

Sci Delight วชั ราภรณ์ สนทนา เทคโนโลยีีโอมิกิ ส์์ เฝ้า้ ระวัังปะการัังสููญพัั นธุ์์� “แนวปะการังั ” คืือหนึ่ง�่ ในสิ่่ง� มีีชีวี ิิตที่ไ�่ ด้้รัับผลกระทบและมีภี าวะเสี่่ย� ง ต่่อการสููญพัันธุ์์อ� ย่่างมาก ซึ่่ง� การเปลี่่ย� นแปลงของสภาวะภูมู ิิอากาศ โลก จากภาวะโลกร้อ้ นที่ก�่ ำ�ำ ลังั เกิิดขึ้้น� ในปััจจุุบันั คืือปัจั จััยคุุกคามที่่น� ำ�ำ มาสู่่�การเกิิด “ปรากฏการณ์ป์ ะการัังฟอกขาว” (coral bleaching) ซึ่่�งได้ท้ ำำ�ลายพื้้�นที่�่แนวปะการังั ไปแล้้วในหลายพื้้�นที่�ท่ ั่่ว� โลก มถิ นุ ายน 2565 8

Sci Delight น้ำ�ำ� ทะเลร้้อน ปะการังั ฟอกขาว Symbiodinium สาหรา่ ยขนาดเลก็ ทอี่ าศยั ปริมาณมาก ซ่ึงเป็นพิษต่อเน้ือเยื่อของ อยใู่ นเนอ้ื เยอ่ื ของปะการงั โดยปกตสิ าหรา่ ย ปะการัง ปะการังจึงขับสาหร่ายออกจาก อุณหภูมิท่ีพุ่งสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส ซึ่งมีสีนำ้�ตาลจะอยู่ร่วมกับปะการังแบบ เน้ือเยื่อเพ่ือลดปริมาณอนุมูลอิสระใน ทำ�เอาหลายคนบ่นอุบว่าอากาศช่างร้อน พง่ึ พากนั ปะการงั ใหท้ อ่ี ยอู่ าศยั ทปี่ ลอดภยั เซลล์ ปะการังจึงเหลือเพียงเน้ือเยื่อใสๆ เสียเหลือเกิน แม้แต่น้ำ�ประปาก็ยังได้ใช้ ขณะทส่ี าหรา่ ยสงั เคราะหแ์ สงแบง่ อาหาร เผยให้เห็นสีขาวของโครงสร้างหินปูน น้ำ�อุ่นกันถ้วนหน้าโดยที่ไม่ต้องเสียเงิน และคาร์บอนให้แก่ปะการังเพื่อใช้ในการ ท่ีอยู่ภายใน จนเป็นที่มาของ “ปะการัง ตดิ ตง้ั เครอ่ื งท�ำ น�ำ้ อนุ่ เสยี ดว้ ยซ�้ำ แตม่ นษุ ย์ เจริญเติบโตและสร้างโครงสร้างหินปูน ฟอกขาว” การสญู เสยี สาหรา่ ยไมไ่ ดเ้ พยี ง เองยังสามารถหลบแดด เปิดเครื่องทำ� ซ่ึงปะการังได้อาหารจากสาหร่ายมากถึง พรากสีสันไปจากปะการังเท่านั้น แต่การ ความเย็นช่วยคลายร้อนได้ แต่สำ�หรับ ร้อยละ 70 ของพลังงานทั้งหมด ขณะ ฟอกขาวเปน็ ระยะเวลานาน ท�ำ ใหป้ ะการงั ปะการังและส่ิงมีชีวิตใต้ทะเลที่ต้อง เดียวกันสาหร่ายยังมีส่วนสร้างสีสันที่ ขาดอาหารและมีโอกาสตายสูง นำ�มาซึ่ง แช่อยู่ในน้ำ�ทะเลที่แสนอุ่นทั้งวันคงไม่ สวยงามใหแ้ กป่ ะการงั เพราะปกตเิ นอ้ื เยอ่ื ผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อระบบนิเวศ อาจทานทนได้ ของปะการงั เปน็ เพยี งเนอ้ื เยอื่ ใส ๆ เทา่ นนั้ ทางทะเล ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว คือ แต่เม่ืออุณหภูมินำ้�ทะเลสูงข้ึน สาหร่าย ภาวะทปี่ ะการงั มสี ซี ดี จางจนมองเหน็ เปน็ จะผลิตอนุมูลอิสระ (free radical) ใน สขี าว ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการสญู เสยี สาหรา่ ย มถิ นุ ายน 2565 9

Sci Delight เดืือดร้้อนทำ�ำ ไม และชายฝ่งั ศึกษาวิจัย “กระบวนการ รนุ แรงทมี่ ผี ลจ�ำ เพาะตอ่ ปะการงั เขากวาง ตอบสนองของปะการังต่ออุณหภูมิของ หรือคนเอเชีย ส่ิงมีชีวิตสายพันธ์ุน้ีจะมี แค่่ปะการัังตาย ? น้ำ�ทะเลที่เพ่ิมขึ้น และการประเมินความ โอกาสตายท้ังหมดหรอื สญู พนั ธุ์ หลากหลายทางพันธุกรรมของปะการัง ในงานวจิ ยั เรมิ่ ศกึ ษาจากปะการงั โขด แนวปะการังไม่เป็นเพียงแค่แหล่ง ในน่านนำ้�ไทยเพ่ือการอนุรักษ์และฟ้ืนฟู (Porites lutea) เน่ืองจากเป็นปะการัง ทอ่ งเทย่ี วทส่ี วยงาม สรา้ งความเพลดิ เพลนิ ระบบนิเวศใต้ท้องทะเลอย่างยงั่ ยืน” ชนิดเด่นและเป็นโครงสร้างหลักของ หรือไว้เซลฟีสวย ๆ ใต้ทะเลเท่าน้ัน แต่ ดร.วิรัลดา ภูตะคาม นักวิจัยศูนย์ แนวปะการังในทะเลไทย ท่ีสำ�คัญมี แนวปะการงั เปน็ ทงั้ แหลง่ ผลติ อาหารและ โอมิกส์แห่งชาติ สวทช. เร่ิมต้นศึกษา แนวโน้มอยู่รอดได้เม่ือเกิดปรากฏการณ์ สร้างอาชีพที่สำ�คัญของมวลมนุษยชาติ ความหลากหลายทางพันธุกรรมของ ปะการังฟอกขาว โดยศึกษาตัวอย่าง แม้ว่าแนวปะการังจะครอบคลุมพื้นท่ีแค่ ปะการัง เนื่องจากประเทศไทยไม่เคยมี ปะการังโขดจาก 16 เกาะ ท่ีกระจายอยู่ รอ้ ยละ 1 ของพนื้ ท่ีใตท้ ะเลทงั้ หมด แตว่ า่ การศึกษามาก่อน และความหลากหลาย ในอ่าวไทยและอันดามัน ผลวจิ ยั เบอ้ื งต้น สง่ิ มชี ีวติ ในทะเลประมาณร้อยละ 25 ใช้ ทางพันธุกรรมถือเป็นปัจจัยสำ�คัญอย่าง พบว่า ความหลากหลายทางพันธุกรรม ประโยชน์จากปะการัง ท้ังเป็นที่อยู่อาศัย ยิ่งต่อการอยู่รอดของส่ิงมีชีวิตแต่ละ ของปะการังโขดในทะเลฝั่งอันดามัน แหล่งอาหาร แหล่งอนุบาลสัตว์นำ้� และ สายพนั ธ์ุ เชน่ หากปะการงั เขากวางทเ่ี หลอื มีน้อยกว่าทางฝั่งอ่าวไทย นั่นคือหาก ทหี่ ลบภยั ของสตั วท์ ะเลจ�ำ นวนมาก อกี ทงั้ อยู่ในทะเลไทยมีความหลากหลายทาง เกิดการฟอกขาวหรือโรคระบาดที่มีผล ยังมีประชากรกว่า 500 ล้านคนบนโลก พนั ธกุ รรมน้อยมาก หรืออาจเปรียบเทียบ ต่อปะการังโขดในฝ่ังอันดามนั จะมโี อกาส ท่ีต้องอาศัยพึ่งพาประโยชน์จากแนว ได้ว่าโลกของเราเหลือแค่กลุ่มคนเอเชีย เสี่ยงสูญพันธ์ุได้ ทั้งนี้ยังได้เตรียมศึกษา ปะการัง มีการประมาณการว่ามูลค่าท่ี เท่าน้ัน เมื่อเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ปะการงั สกลุ อื่น ๆ เชน่ ปะการังเขากวาง ได้จากแนวปะการังทั่วโลกนั้นสูงกว่า 1 ล้านล้านบาทต่อปี การสูญเสียแนว ปะการังท่ีใช้เวลาเติบโตนานนับ 100 ปี ในชั่วพริบตา ย่อมหมายถึงการสูญหาย ของสตั วท์ ะเลจ�ำ นวนมาก ปลาในมหาสมทุ ร เกือบครึ่งหากินในแนวปะการังแทบ ทง้ั สน้ิ และแนน่ อนเราจะขาดแคลนแหลง่ อาหาร มีคนอีกจำ�นวนมากท่ีต้องตกงาน และขาดรายได้จากการทำ�ประมงและ การท่องเท่ียว ท้ายที่สุดจะส่งผลกระทบ ต่อเศรษฐกจิ ทวั่ โลก ศึึกษาพัั นธุุกรรม ดร.วิิรััลดา ภููตะคาม นักั วิจิ ััยศููนย์โ์ อมิิกส์์แห่่งชาติิ สวทช. เฝ้้าระวัังปะการังั สููญพัันธุ์์� ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี ชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำ�นักงาน พฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) รว่ มมอื กบั กรมทรพั ยากรทางทะเล มถิ นุ ายน 2565 10

Sci Delight ปะการงั ดอกกะหล�ำ่ ปะการงั ผวิ เกลด็ น�ำ้ แขง็ ปะการังลายดอกไม้ เพ่ือสร้างฐานข้อมูล ความหลากหลายทางพันธุกรรมปะการัง ของประเทศ สำ�หรับเฝ้าระวังปะการัง สายพนั ธตุ์ า่ ง ๆ ทอ่ี าจเสย่ี งตอ่ การสญู พนั ธ์ุ และอาจเป็นหนทางสู่การอนุรักษ์ฟ้ืนฟู เชน่ น�ำ ปะการงั มาผสมเทยี มแบบอาศยั เพศ เพื่อเพิ่มความหลากหลายทางพันธุกรรม สรา้ งโอกาสในการอย่รู อดมากขน้ึ ปะการังั ทนร้้อน เพ่ือขยายพันธุ์ ก่อนทำ�การย้ายปลูก ป ะ ก า รั ง บ า ง ส า ย พั น ธุ์ ท่ี ไ ม่ อ า จ ป รั บ ตั ว กลบั สทู่ ะเล ชว่ ยใหก้ ารฟน้ื ฟมู ปี ระสทิ ธภิ าพ ใหเ้ ขา้ กบั การเปลย่ี นแปลงของภมู อิ ากาศ หนทางรอดภาวะฟอกขาว ได้ปะการังที่ทนต่อสภาวะภูมิอากาศที่มี ได้ ทว่าส่ิงท่ีจะนำ�ไปสู่การอนุรักษ์ความ แนวโน้มรนุ แรงมากข้นึ ในอนาคต หลากหลายของปะการังและสิ่งมีชีวิต ทีมวิจัยยังได้ศึกษาลงลึกถึงระดับยีน การใช้เทคโนโลยีโอมิกส์มาช่วยใน บนโลกใบนี้ได้ดีที่สุด คือความร่วมมือ เพื่อหา “ปะการังทนร้อน” ด้วยการสกัด การอนุรักษ์ฟื้นฟูปะการังมีบทบาทส�ำ คัญ และพยายามอย่างจริงจังในการหันกลับ สารพนั ธกุ รรมอารเ์ อน็ เอ (RNA) เพอ่ื ศกึ ษา อย่างยิ่งต่อป้องกันการสูญพันธุ์ของ มาดูแลรกั ษาสง่ิ แวดล้อม การแสดงออกของยีนต่าง ๆ เม่อื เกดิ การ ฟอกขาว และเปรยี บเทยี บระหวา่ งปะการงั โคโลนีท่ีทนร้อนกับฟอกขาวว่ามีปฏิกิริยา ตอบสนองต่ออุณหภูมินำ้�ทะเลที่เพ่ิม สูงขนึ้ ตา่ งกนั หรือไม่ ผลการวิจัยเบื้องต้นพบยีนที่แสดง ออกแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ�คัญ ยีน ส่วนใหญ่มีการแสดงออกสูงข้ึน เช่น กลุ่มยีนท่ีมีบทบาทในการกำ�จัดปริมาณ อนุมูลอิสระที่สาหร่าย Symbiodinium ผลิตมากผิดปกติไปในช่วงที่อุณหภูมิ นำ้�ทะเลสูงขึ้น นอกจากน้ียังพบยีนอีก หลายตำ�แหน่งท่ีแสดงออกแตกต่างกัน ซ่ึงทีมวิจัยอยู่ระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูล และค้นหาเคร่ืองหมายโมเลกุล (DNA marker) ท่ีสัมพันธ์กับลักษณะการทน ต่อการเพ่ิมอุณหภูมิของนำ้�ทะเล หรือ ความทนร้อนของปะการัง สำ�หรับใช้ คัดเลือกปะการังพ่อแม่พันธ์ุที่ทนร้อน มิถุนายน 2565 11

Sci Variety รักษศ์ ักด์ิ สทิ ธวิ ไิ ล นกตััวต้้อยร้อ้ ยความเชื่่อ� เกลอเอย นายรู้ไ้� หม...ตัวั อะไร ที่ช่� อบร้อ้ งเพลงเป็น็ จังั หวะ แต-แตแต-แต้แ้ วด ? คำ�ำ ตอบก็ค็ ือื นกกระแตแต้แ้ ว้ด้ (red-wattled lapwing) หรือื นกแต้แ้ ว้ด้ หรือื นกต้อ้ ยตีวี ิิด หรือื นกกระต้อ้ ยตีวี ิิด ไงเกลอ ชื่่อ� เรียี กของมันั มีหี ลากหลาย เป็น็ ไปตามลักั ษณะของเสียี งร้อ้ ง ที่แ่� ต่ล่ ะชาติิได้ย้ ิินนั่่น� เอง (ฟงั เสียงร้องของนกกระแตแต้แว้ดได้ท่ี https://www.youtube.com/watch?v=ICX1rKnhpsc) มิถุนายน 2565 12

Sci Variety นกกระแตแต้แว้ด เป็นนกที่สีสวยน่าดู อยู่ในวงศ์นกหัวโต “หมู่นกตอ้ ยตีวิด รอ้ งหวิดหวดิ แลว้ บินบน (Charadriidae) พบตง้ั แตใ่ นเอเชยี ตะวนั ตก (ประเทศอริ กั ประเทศ เหยีย่ วใหญ่ไลเ่ วยี นวน จวนตวั จนดน้ หนามหนี อหิ ร่านทางตะวนั ตกเฉียงใต้ อา่ วเปอร์เซยี ) ตลอดจนถงึ เอเชยี ใต้ มุดดน้ พ้นเหย่ียวใหญ่ เหย่ยี วตะไกรไลจ่ ิกตี (แคว้นบาลูจิสถาน ประเทศปากีสถาน ประเทศอัฟกานิสถาน หนีเสือปะกุมภีร์ แทบชีวีจะวางวาย” ประเทศอินเดียทั้งหมดจนถึงเขต Kanyakumari ในรัฐชัมมูและ กศั มรี ์และประเทศเนปาล)โดยมพี นั ธย์ุ อ่ ยอน่ื ๆอกี ในเอเชยี อาคเนย์ กระแตแตแ้ วด้ เปน็ นกนกั ระวงั ภยั ถา้ พบเหน็ สงิ่ ใดเขา้ มาใกล้ พบไดต้ ามพนื้ ที่โลง่ เกอื บทกุ สภาพทว่ั ประเทศ พบบอ่ ยตามทอ้ งนา ก็จะเรง่ ส่งเสยี งร้องหวีดแหลม ดังเปน็ จังหวะซ�้ำ ๆ แต้แว้ด ๆ ๆ ทงุ่ หญา้ รมิ ห้วย หนอง คลอง ทะเล และตามป่าละเมาะ บางครั้งกบ็ ินวนขึ้นไปในอากาศ บนิ วอ่ นไปมา คอยรอ้ งเตือนภัย ใหแ้ กฝ่ งู และสตั วช์ นดิ อน่ื ๆ ทอ่ี ยบู่ รเิ วณใกลเ้ คยี ง อาศยั จงั หวะนี้ นัักเฝ้้ายามประจำ�ำ ทุ่่�ง ชิงหนีไปไดท้ ัน พฤติกรรมการหวงถ่ินจะมีมากขึ้นในช่วงเดือนมกราคมถึง นกกระแตแต้แว้ด เป็นนกหัวโต มีความยาวจากปลายปาก มิถุนายน ซง่ึ เป็นช่วงท่นี กกระแตแต้แว้ดท�ำ รงั วางไข่ อยู่กนั เปน็ จรดปลายหางประมาณ 32-35 เซนติเมตร ขายาวสีเหลือง ครอบครัว พอ่ แม่ และลกู นก 3-4 ตวั น่ารักมาก นกชนดิ น้ีไม่ มแี ผ่นพงั ผืดที่โคนนิว้ เล็กนอ้ ย กนิ พวกแมลง ไสเ้ ดือน หอยทาก ทำ�รังด้วยวัสดุธรรมชาติแบบนกทั่วไป แต่จะวางไข่บนพ้ืนดิน สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก และกินเมล็ดธัญพืชบางชนิด โล่ง ๆ หรือบนแอ่งหลุมตื้น พอให้ไข่ไม่กลิ้งออกไปนอกรังได้ ท่ีหาได้บนพ้ืนดิน เป็นนกท่ีเม่ือโตเต็มวัยแล้วมีความระแวดระวัง บางครั้งก็จะคาบเศษหิน เศษไม้ที่มีน้ำ�หนักเบามาเรียงรอบเป็น สูงมาก ปากเปราะ ตน่ื ตวั ตลอดทงั้ ในเวลากลางวันกลางคืน ขอบเขตรัง ผู้พบเห็นนกกำ�ลังสร้างรังในช่วงนี้ก็คิดแทนนก ดงั ในบทชมนก ปฐม ก กา จากหนังสอื ปถม ก กา หดั อ่าน หนังสอื เรยี นสมัยรตั นโกสินทรต์ อนตน้ ท่วี ่า ไปเองว่า นกมันคงหวงหินที่ใช้นอนน้ี จึงพกติดตัวไปด้วยเสมอ น่าจะเป็น ของสำ�คัญ เป็นท่ีมาความเช่ือของ คนโบราณทเี่ ลา่ กนั วา่ นกกระแตแตแ้ วด้ กลัวฟ้าถล่ม จึงต้องมีหมอน (หิน) ประจ�ำ ตวั ไวห้ นนุ ตอนนอนหงายเอาตนี ชี้ฟ้าคอยยันฟ้าไว้จึงจะสบายใจหลับตา ลงได้ แผนที่่�การกระจายตััวของนกกระแตแต้แ้ ว้้ด ที่่ม� าภาพ : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Vanellus_indicus_map.svg มิถุนายน 2565 13

Sci Variety หมอนกระแตแต้้แว้้ด หน้้าที่ห่� ลักั คืือปกปัักรักั ษาไข่่ ลูกู นกกระแตแต้้แว้้ด ไม่่ใช่ส่ ายมูู เกลอเช่ือไหมก้อนหินเล็ก ๆ ท่ีนกนำ�มาวางกันไข่กล้ิงไปมา น่ีแหละ เป็นที่มาของเคร่ืองรางของขลังหายากท่ีช่ือว่า “หมอน กระแตแตแ้ ว้ด” เคร่อื งรางของขลังท่ีชาวบ้านเชื่อวา่ พกตดิ ตวั ไว้ใช้ป้องกันฟ้าผ่าได้ แถมถ้านำ�ไปให้ผู้มีอาคมปลุกเสกเพ่ิมเติม สามารถอัปเกรดเป็น rare item เครื่องรางมหาอุด นะเมตตา มหานิยม ผคู้ รอบครองไวจ้ ะแคล้วคลาดปลอดภัย นกกระแตแต้แว้ด มีวิธีปกป้องไข่และลูกของมันที่แปลกไม่ เหมอื นใครโดยทวั่ ไปแมน่ กจะวางไขร่ อบละ 3-4 ฟอง ไขม่ สี เี หลอื ง ด่างดำ� มีรูปร่างคล้ายกับไข่นกกระทา รังและไข่นกน้ันพบเห็น ได้ยาก เพราะลวดลายของไข่พรางตา กลืนเข้ากับสีพื้นดินได้ เป็นอย่างดี หลังพ่อแม่นกผลัดกันกกไข่ได้ประมาณ 28 วัน ลกู นกก็จะฟกั ออกมา เมื่อมีศัตรูเข้าใกล้รัง มันจะเสแสร้งว่าตัวมันได้รับบาดเจ็บ หรือชิงบุกเข้าโจมตี เพ่ือล่อให้ศัตรูไล่ตามมันไปอีกทาง ก่อนจะ บินหนีไป ล่อผู้ลา่ ให้ออกหา่ งจากรงั และลกู น้อยที่อยูบ่ นพนื้ โล่ง รังั และไข่ข่ องนกกระแตแต้แ้ ว้้ด และหมอนกระแตแต้้แว้้ด หิินก้อ้ นเล็็ก ๆ วิิธีีที่�พ่ ่อ่ แม่น่ กปกป้้องรัังด้ว้ ยการล่่อศััตรูไู ปอีีกทาง ที่่�นกวางกัันไข่่กลิ้�ง ส่ว่ นคนนำมาเป็น็ เครื่�่องรางของขลังั (ชมคลิปตัวอย่างพฤติกรรมการปกป้องรังของนกได้ที่ (ชมคลิปหมอนกระแตแต้แว้ดเพ่ิมเติมได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=WMTIJ6mPR9c) https://www.youtube.com/watch?v=3SE2l-fkmFQ) มถิ นุ ายน 2565 14

Sci Variety สว่ นลกู นกทยี่ งั เลก็ อยู่ ตอนยงั บนิ ไมไ่ ดก้ จ็ ะนอนเงยี บ ๆ นง่ิ ๆ บางคนนะเกลอกถ็ ือเคลด็ วา่ ถา้ หากนกกระแตแตแ้ ว้ดเกาะ เอาไว้ รอให้ศัตรูตามพ่อแม่ไป ถ้าจวนตัวก็จะแกล้งนอนตาย กิ่งไม้ที่ไหน ให้ตัดเอากิ่งไม้นั้นมาเก็บรักษาไว้ในบ้าน จะทำ�ให้มี ตัวแข็งทื่อชนิดที่ว่าเอาไม้เขี่ยก็ไม่ยอมไหวติงเลยเกลอ บางตัว โชคลาภไหลมาเทมา แต่อนิจจาดว้ ยวถิ ชี วี ิตนกท่หี ากนิ บนพ้ืนดิน ก็พิเรนทร์นอนตีนชีฟ้าเพ่ือหลอกศัตรูไม่ให้สนใจ (ดูคลิป นกกระแตแตแ้ วด้ ทมี่ นี วิ้ ขา้ งละ 4 นวิ้ โดยยน่ื ไปขา้ งหนา้ 3 นวิ้ ยนื่ มา ตัวอย่างการนอนเอาขาชี้ฟ้าของลูกนกได้ที่ https://www. ขา้ งหลงั 1 นว้ิ แตน่ ว้ิ หลงั ลดรปู จนสนั้ หายไปเกอื บหมด นวิ้ เทา้ หลงั youtube.com/watch?v=HDpUNba230U) น่ีเองจึงเป็นที่มา ท่ีส้ันมากและอยู่สูงกว่านิ้วด้านหน้านี้จึงใช้เกาะก่ิงไม้ไม่ได้เลย ของตำ�นานความเช่ือที่ว่า นกหวาดกลัวฟ้าจะถล่มอันลือเล่ือง เทา้ มนั ท�ำ ไดแ้ คย่ นื เดนิ และวง่ิ ไปบนพน้ื เทา่ นนั้ การจะหากง่ิ ไมท้ ี่ ดังบันทึกถึงบางส่วนในอรรถกถา พระไตรปิฎกฉบับมหามกุฎฯ นกกระแตแตแ้ วด้ เกาะแบบนกเกาะคอนทวั่ ไปนนั้ ...จงึ เปน็ ไปไมไ่ ด้ (ภาษาไทย) เล่มท่ี 22 ทว่ี า่ นอกจากน้ียังมีความเช่ือกันอีกว่า นกกระแตแต้แว้ดเป็นนก “เหมือนสตั ว์ 4 จำ�พวกเหล่านี้ ยอ่ มกลัวต่อสงิ่ ที่ไม่ควรกลัว ท่ีให้โชคลาภ ถ้าใครเลี้ยงไว้ดี ๆ จะมีทรัพย์สินเงินทองเพ่ิมพูน (ดังมีท่ีมา) ว่า ข้าแต่มหาราช สัตว์ 4 จำ�พวกแล ย่อมกลัวต่อ เม่ือยามนกหมดลมส้ินอายุขัยก็ให้เอากระดูกนกห่อด้วยผ้าขาว ส่ิงท่ีไม่ควรกลัวแล 4 จำ�พวกไฉนบ้าง ข้าแต่มหาราช ไส้เดือน เนอื้ ดี เกบ็ ไวท้ ฐี่ านพระ จะท�ำ ใหเ้ จา้ ของมกี นิ มใี ชอ้ ยรู่ �ำ่ ไปไมร่ หู้ มด แลย่อมไม่กินดิน เพราะกลัวว่า แผ่นดินจะหมด ข้าแต่มหาราช แต่เกลอรู้หรือไม่...นกกระแตแต้แว้ดในประเทศไทยเป็น นกกะเรยี นยอ่ มยนื เทา้ เดยี ว (บนแผน่ ดนิ ) เพราะกลวั วา่ แผน่ ดนิ จะทรดุ สัตว์ป่าคุ้มครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า ข้าแต่มหาราช นกต้อยตีวิดนอนหงาย เพราะกลัวว่าฟ้าจะถล่ม พุทธศักราช 2535 ดงั นน้ั จึงห้ามล่า พยายามลา่ ห้ามครอบครอง ข้าแต่มหาราช พราหมณ์ผู้ประพฤติธรรมแล ย่อมไม่ประพฤติ ตัวนก แม้กระท่ังห้ามเก็บหรือทำ�อันตรายต่อรัง ไข่ของนก รวม พรหมจรรย์ (คอื จะมภี รรยา) เพราะกลวั วา่ โลกจะขาดสญู ฉะนนั้ ” ถงึ ซากนกโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตดว้ ย หากฝา่ ฝนื มโี ทษทงั้ จ�ำ ทง้ั ปรบั หนักด้วยนะเออ เรือ่ งความเชือ่ เปน็ เรื่องสว่ นบุคคล ไม่มีถกู ไม่มีผดิ เชือ่ ได้ ศรทั ธาได้ ถา้ ไม่ไปเบียดเบยี น ท�ำ รา้ ย ท�ำ ลายชวี ติ ใด ๆ การท�ำ ลายหนงึ่ ชวี ติ อาจ สง่ ผลเสยี ตอ่ เนอื่ งเปน็ ลกู โซ่ จากหนงึ่ หนว่ ยชวี ติ อาจจะกระทบไปทั้งระบบนิเวศ แบบวลีติดหู ที่ว่า เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว คำ�กล่าว อ้างท่ีว่าทำ�โดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์อาจใช้ไม่ได้ กับทุกกรณี อย่างกรณีนกกระแตแต้แว้ดที่ มีกฎหมายค้มุ ครองอยู่ ดังน้นั ก่อนจะเดินทาง สายมู กต็ อ้ งมคี วามรดู้ ว้ ยนะเกลอเอ๋ย นิ้้�วของนกกระแตแต้แ้ ว้ด้ มิถุนายน 2565 15

Sci Variety มิถนุ ายน 2565 16

Sci Variety มิถนุ ายน 2565 17

Sci Variety มิถนุ ายน 2565 18

Sci Variety มิถนุ ายน 2565 19

Sci Variety มิถนุ ายน 2565 20

Sci Variety มิถนุ ายน 2565 21

Sci Variety มิถนุ ายน 2565 22

Sci Variety มิถนุ ายน 2565 23

Sci Variety มิถนุ ายน 2565 24

Sci Variety มิถนุ ายน 2565 25

เด็็กไทยคว้า้ รางวััลโครงงานระดัับโลก เม็ด็ ดิินเผา \"วัสั ดุปุ ลูกู ต้น้ ไม้\"้ จากเวทีี Regeneron ISEF 2022 ร่วมยินดีทีมเยาวชนไทยจากการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน รุ่นเยาว์ คร้งั ท่ี 24 (Young Scientist Competition: YSC 2022) เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั พฒั นา “เมด็ ดนิ เผา ทน่ี �ำ ผลงานวจิ ยั ไปควา้ รางวลั จากเวทกี ารประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ Popperlite” เม็ดดินเผาที่มีความพรุนสูง น้ำ�หนักเบา ปลอดการ และวิศวกรรมศาสตร์ระดับนานาชาติ Regeneron International ปนเปื้อนแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์ซ่ึงเป็นอันตรายต่อพืช เหมาะแก่ Science and Engineering Fair (Regeneron ISEF) 2022 ซึ่งจัด การใช้เป็นวัสดุปลูกพืชและใช้เป็นวัสดุปิดหน้ากระถางไม้ประดับ ขน้ึ ระหว่างวนั ที่ 7–13 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ณ เมืองแอตแลนตา เพอื่ ความสวยงาม รัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา ซ่ึงในปีนี้มีผู้ส่งโครงงานจาก 63 ประเทศ เข้ารว่ มประกวด จ�ำ นวนรวม 1,410 ผลงาน เมด็ ดนิ เผา Popperlite ผลติ ขน้ึ จากวสั ดทุ ห่ี าไดง้ า่ ยภายในประเทศ โดยวตั ถดุ ิบหลักคอื ดนิ ส�ำ หรับทำ�เครื่องปน้ั ดินเผา และแร่ Perlite ทีม่ ี โดยเยาวชนตัวแทนประเทศไทยคว้ารางวัล Grand Awards รูพรุนสูง ทำ�ให้ได้เป็นผลิตภัณฑ์ราคาถูก ท่ีช่วยลดการนำ�เข้าจาก จ�ำ นวน 5 รางวลั และรางวลั พเิ ศษ (Special Award) อกี 2 รางวลั ต่างประเทศได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันผลงานอยู่ระหว่างการยื่นจด อนุสิทธิบัตรและอยู่ระหว่างการพัฒนาต่อยอดในเชิงอุตสาหกรรม ทม่ี าและรายละเอียดเพมิ่ เตมิ : สวทช. ผ้ทู ี่สนใจรบั การถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ทส่ี ถาบนั ฯ (https://bit.ly/3MajbSM) ที่มาและรายละเอียดเพ่ิมเติม : กรุงเทพธรุ กิจ (https://bit.ly/3x8dwbv) เฟซบ๊กุ Popperlite เม็ดดินปลูกพืช สวทช.-เครืือข่า่ ยรถโดยสารไฟฟ้า้ ไทย เปิดิ ตัวั และส่่งมอบ “4 ต้น้ แบบ EV Bus” ทีมวิจัย สวทช.และภาคีเครือข่ายพัฒนาอุตสาหกรรมรถโดยสารไฟฟ้าไทย สง่ มอบตน้ แบบรถโดยสารไฟฟา้ (EV Bus) ทดี่ ดั แปลงจากรถเมล์ ขสมก. อายกุ วา่ 20 ปี แก่ 4 หน่วยงาน ขสมก., กฟผ., กฟน. และ กฟภ. เพื่อนำ�ไปทดลองใช้งานอย่าง เต็มประสิทธิภาพ มุ่งสู่การออกแบบและพัฒนารถโดยสารไฟฟ้าสาธารณะสำ�หรับ การใช้งานระยะยาวตอ่ ไป EV Bus ท้ัง 4 ร่นุ ท่ีพฒั นาขน้ึ น้ีใชว้ สั ดุภายในประเทศในการผลิตมากกวา่ ร้อยละ 40 ทำ�ให้มีต้นทุนในการผลิตถูกกว่าการนำ�เข้ารถโดยสารคันใหม่ถึงร้อยละ 30 หรือ ลดต้นทนุ มากถึง 7 ลา้ นบาทตอ่ คัน ทมี่ าและรายละเอยี ดเพิ่มเตมิ : สวทช. (https://bit.ly/3MhV2tO) มิถนุ ายน 2565 26

ระเบยี งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย สวทช.ชวนสมัคั รรับั วว.ร่ว่ มโชว์์ผลงาน “BCG” “ต้น้ กล้า้ ราชพฤกษ์์อวกาศ” ในงาน ProPak Asia 2022 ร่ว่ มท้า้ พิิสููจน์์สังั เกตการเจริิญเติิบโต สวทช.เชญิ ชวนหนว่ ยงานภาครฐั และสถาบนั การศกึ ษาทวั่ ประเทศ วว.เข้าร่วมงานแสดงเทคโนโลยีด้านการผลิต การแปรรูป และ ส่งใบสมัครรับต้นกล้าราชพฤกษ์อวกาศ เพ่ือศึกษาการเจริญเติบโต บรรจภุ ณั ฑจ์ ากทวั่ โลก โดยไดน้ �ำ ผลงานวจิ ยั BCG หนนุ การยกระดบั ของตน้ ราชพฤกษท์ ป่ี ลกู ดว้ ยเมลด็ ทเ่ี คยเกบ็ รกั ษาไว้ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร กระบวนการผลิตต้ังแต่ต้นนำ้�-ปลายน้ำ�เข้าร่วมจัดแสดง พร้อมท้ัง คิโบะโมดูล (Kibo Module) ขององค์การสำ�รวจอวกาศญี่ปุ่นหรือ ได้รว่ มจัดสมั มนา 2 หวั ขอ้ คือ \"ครบเคร่อื ง...เรือ่ งกญั ชา\" ในวนั ท่ี แจ็กซา (JAXA) บนสถานีอวกาศนานาชาติ เปรียบเทียบกับ 15 มถิ ุนายน พ.ศ. 2565 เวลา 13.00–16.00 น. และ “Improving ต้นราชพฤกษ์ที่ปลูกด้วยเมล็ดปกติบนโลก โดยเปิดรับใบสมัครถึง Production Safety and Standard by S&T” ในวนั ท่ี 17 มถิ ุนายน วนั ที่ 30 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2565 เวลา 09.00–12.00 น. ข้อกำ�หนดสำ�คัญในการสมัคร คือ หน่วยงานที่ได้รับการ ผู้ท่ีสนใจเข้าร่วมงาน ProPak Asia 2022 ได้ในวันท่ี 15-18 คัดเลือกจะต้องรายงานความเปล่ียนแปลงของการเจริญเติบโตและ มถิ นุ ายน พ.ศ. 2565 จัดกิจกรรมเกี่ยวกับต้นราชพฤกษ์อวกาศส่งมาถึงโครงการอย่าง ที่มาและรายละเอยี ดเพม่ิ เติม : สมำ่�เสมอ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อเยาวชนและ กรุงเทพธรุ กจิ (https://bit.ly/3x9yFCs) ประชาชน ProPak Asia 2022 (https://bit.ly/3m8zRjc) ที่มาและรายละเอียดเพ่มิ เติม : สวทช. (https://bit.ly/3MbvWwg) มิถนุ ายน 2565 27

ระเบยี งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย สวทช.ชวนเยาวชนร่ว่ มประกวดคลิิป ที่สนใจ สมัครเข้าร่วมโครงการพร้อมส่งแนวคิดเน้ือหาและรูปแบบ “BCG Happy Story: เรื่อ่� งนี้้ด� ีีต่อ่ ใจ” ของสอื่ ท่จี ะน�ำ เสนอได้ต้งั แตว่ นั นีถ้ ึงวนั ท่ี 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ชิิงเงิินรางวัลั และเงิินสนับั สนุนุ การผลิิตสื่่�อ รวมกว่า่ 300,000 บาท ติดตามรายละเอียดข้อมูลและวิธีการสมัครเข้าร่วมโครงการ “BCG Happy Story: เรื่องนี้ดีต่อใจ” ได้ที่เว็บไซต์ https://www. ปจั จบุ นั รฐั บาลเหน็ ชอบให้โมเดลเศรษฐกจิ บซี จี ี (BCG Economy nstda.or.th/home/news_post/bcg-happy-story/ หรือสอบถาม Model) เป็นวาระแหง่ ชาติ โมเดลเศรษฐกจิ ใหมท่ ่จี ะเป็นกลไกสำ�คัญ รายละเอยี ดเพ่มิ เติมไดท้ ี่ [email protected] ในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจไทยให้ก้าวพ้นกับดักรายได้ปานกลาง ด้วยการนำ�วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาต่อยอดความ หลากหลายทางชีวภาพและวัฒนธรรมที่เป็นจุดแข็งของประเทศ ให้มีมูลค่าเพ่ิมข้ึน โดยคำ�นึงถึงการรักษาสมดุลของทรัพยากรและ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งยง่ั ยนื ท้ังนี้เพื่อสร้างการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับโมเดลเศรษฐกิจ BCG แก่ประชาชน สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงได้จัดการแข่งขัน “โครงการประกวดคลิปวิดีโอ BCG Happy Story: เรื่องนี้ดีต่อใจ” โดยเปิดรับสมัครนักเรียน นิสิต นกั ศึกษา ในระดับมัธยมศกึ ษาถึงปริญญาตรหี รือเทียบเท่า ทีม่ ีความ รู้ความสามารถในการผลิตสื่อมาร่วมสร้างสรรค์คลิปวิดีโอสำ�หรับ สอื่ สารประเดน็ เกย่ี วกบั โมเดลเศรษฐกจิ BCG ในรปู แบบทส่ี รา้ งสรรค์ เขา้ ใจงา่ ย และนา่ สนใจ โดยไมจ่ �ำ กดั เนอ้ื หาและเทคนคิ ในการผลติ สอื่ เพอ่ื ใชเ้ ผยแพรส่ รา้ งการรบั รเู้ กยี่ วกบั โมเดลเศรษฐกจิ BCG แกเ่ ยาวชน คนรุ่นใหม่ และประชาชนท่ัวไป โดยนักเรียน นิสิต และนักศึกษา ทมี่ าและรายละเอยี ดเพม่ิ เติม : [email protected] มีเร่อื งวิทย์ดี ๆ ทอี่ ยากเล่า อยากแบ่งปัน เขียนแล้วส่งมาลงสาระวทิ ยไ์ ดน้ ะ นิตยสารสาระวทิ ยเ์ ปิดรับบทความวทิ ยาศาสตร์ ไมจ่ ํากัดสาขา ไมจ่ าํ กดั แนว ความยาว 1-4 หน้า A4 (ไมร่ วมรูป) ใชฟ้ อนตม์ าตรฐาน (เชน่ TH Sarabun, Angsana) ขนาด 14-16 pt ย่อยโลกข้อมูลขา่ วสารวทิ ยาศาสตร์เพือ่ คณุ ผลงานทผ่ี า่ นการพิจารณาลงสาระวทิ ย์ เรามี Gift Voucher มลู คา่ 500 บาท จาก NSTDA Shop มอบให้ แทนคาํ ขอบคณุ จากใจ สง่ ผลงานมาไดท้ ีก่ องบรรณาธิการสาระวิทย์ : อเี มล [email protected] มถิ นุ ายน 2565 28

จัับตาการระบาด “โรคฝีีดาษลิิง” “Sleelio” แอปปััญญาประดิิษฐ์์ ในชว่ งเดอื นทผ่ี า่ นมาพบการระบาดของ เพื่่�อผู้้�มีีปััญหา “นอนไม่ห่ ลัับ” โรค ‘ฝดี าษลงิ ’ หรอื ‘ฝดี าษวานร’ (monkeypox) Sleelio เปน็ แอปพลเิ คชนั ที่ใช้ AI ชว่ ยปรบั พฤตกิ รรมการนอนให้ ในหลายประเทศ ณ วนั ที่ 1 มิถุนายน มกี าร แกผ่ ทู้ ม่ี ปี ญั หานอนไมห่ ลบั โดยแอปฯ จะบนั ทกึ รปู แบบการนอนและ รายงานผู้ปว่ ยท่ัวโลกแล้ว 696 ราย โดยยงั ตรวจสอบหาปจั จยั ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ การนอนของผู้ใชง้ าน โดยมงุ่ เนน้ ไม่มกี ารรายงานผูป้ ่วยยืนยันในไทย ไปทพ่ี ฤตกิ รรมและความรสู้ กึ เพอ่ื ชว่ ยแนะน�ำ การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ให้หลับได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากขนึ้ และช่วยลดการบ�ำ บัดด้วยยา โรคฝดี าษลงิ เปน็ โรคทเ่ี กดิ จากไวรสั กอ่ โรค ภายใน 6 สปั ดาห์ ในกลุ่ม Orthopoxvirus ญาติของฝีดาษคน แต่ไม่ร้ายแรงเท่า โรคนี้ติดต่อได้ผ่านการ จากผลการทดสอบการใชง้ าน The National Institute for Health สัมผัสโรคโดยตรงท้ังจากสารคัดหลั่งของ and Care Excellence (Nice) รายงานว่าแอปฯ น้สี ามารถช่วยลด สัตว์ป่วยและผู้ป่วย จุดท่ีเสี่ยงท่ีสุดในการ จ�ำ นวนคนไข้และจ�ำ นวนการจ่ายยาใหแ้ กค่ นไข้ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี สมั ผัสคอื ตมุ่ หนอง จดุ อน่ื ๆ ที่ควรระวงั คอื ทม่ี าและรายละเอียดเพิม่ เติม : นำ้�มูก น�้ำ ลาย เลอื ด และปสั สาวะ Sky News (https://bit.ly/3xbGtng) Sleepio (https://bit.ly/3NciTfA) อาการท่ัวไปของโรคคล้ายอีสุกอีใสคือ มีไข้และหนาวส่ัน (บางรายไม่มีอาการ) มีผ่ืนข้ึนบนศีรษะและร่างกายแล้วกลายเป็น ตมุ่ หนอง ทมี่ าและรายละเอยี ดเพิม่ เตมิ : สวทช. - เปดิ ขอ้ เทจ็ จรงิ \"โรคฝดี าษลงิ \" (https://bit.ly/3tdQGNA) สวทช. - ขอ้ ควรระวัง! โรคฝดี าษลิง (https://bit.ly/3aiDSP3) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ (https://bit.ly/3x2XI91) Immersive View โหมดจำ�ำ ลองสถานที่จ่� ริิงใน Google Map Google Map เปิดตัวมมุ มองใหม่ “Immersive View” เปน็ มมุ มองทจ่ี ะท�ำ ใหผ้ ู้ใชง้ านดภู าพเสมอื นจรงิ หรือภาพ 3D ของสถานที่ต่าง ๆ จากมุมสูง โดย สามารถซูมเจาะไปถึงระดับการดูภาพเส้นทาง การสัญจร หรือกระท่ังการมองทะลุเข้าไปภายใน อาคารของสถานท่ีทอ่ งเทยี่ วตา่ ง ๆ Google เผยว่าจะเปิดโหมด Immersive View ให้ผู้ใชงานชมพื้นที่ซานฟรานซิสโก ลอสแองเจลิส นิวยอร์ก ลอนดอน และโตเกียวภายในปนี ี้ และจะ ขยายไปยงั พ้นื ทีอ่ ื่น ๆ ตอ่ ไปในอนาคต ท่ีมาและรายละเอียดเพ่มิ เติม : The Verge (https://bit.ly/38FVJPE) Extreme Tech (https://bit.ly/3McOCfp) CNET Highlights (https://bit.ly/3x2mF4m) มิถนุ ายน 2565 29

Sci Infographic มิถุนายน 2565 30

Sci Infographic มิถุนายน 2565 31

Sci Infographic มิถุนายน 2565 32

รวอ้ ทิ ยยพานั รวิศ ทัศคร รวศิ ทศั คร เคยเป็นกรรมการบรหิ ารและสมาชิกทีมบรรณาธิการวารสารทางชา้ งเผือก สมาคมดาราศาสตร์ไทย เคยทำ�งานเปน็ นกั เขียน ประจ�ำ นติ ยสาร UpDATE นิตยสารวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของบริษัทซเี อ็ดยเู คชั่น (มหาชน) จำ�กัด ปัจจบุ นั รบั ราชการ เปน็ อาจารยป์ ระจำ�สาขาวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร คณะอตุ สาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ เรื่อ�่ งล้ำ��ำ ๆ ของข้า้ วโพด เมื่อ่� ฉบัับที่่แ� ล้ว้ เล่า่ เรื่�อ่ งเกี่่ย� วกับั ประวัตั ิิของข้้าวโพดกับั ป๊อ๊ ปคอร์์น กัันไปแล้้ว แต่่ข้า้ วโพดและวัสั ดุเุ หลืือทิ้้ง� จากการปลููกข้้าวโพด ยังั สามารถนำ�ำ มาใช้ป้ ระโยชน์์กัันได้อ้ ีีกมากมายครัับ มิถนุ ายน 2565 33

รวอ้ ทิ ยยพานั วสั ดุพวกฟางขา้ วโพด (corn stover) ซึ่งเปน็ ค�ำ ซง่ึ มกี ารประเมนิ กนั วา่ ในแตล่ ะปพี ชื ทว่ั โลกสามารถผลติ เซลลโู ลส เรยี กรวมของทงั้ ใบ กา้ น และฝกั ของขา้ วโพด ได้มากถงึ หนึง่ แสนลา้ นตนั ท่ีเหลือหลังจากเก็บเก่ียว จัดเป็นวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ลกิ นิน (lignin) เป็นคาร์โบไฮเดรตประเภทใยอาหารเชน่ กนั เป็นทรัพยากรท่ีนำ�มาใช้ได้ดีเสียด้วย เพราะเป็นวัสดุชีวมวล มีโครงสร้างเป็นพอลิแซ็กคาไรด์ที่เป็นสายโซ่โมเลกุลของ เหลือท้ิงท่ีมีลิกโนเซลลูโลสสูง (lignocellulosic bio-wastes) ออกซิจิเนตติดฟีนิลโพรเพน (oxygenated phenyl propane) ซง่ึ ลกิ โนเซลลโู ลสคอื สารอนิ ทรยี ช์ วี มวลทม่ี เี ฮมเิ ซลลโู ลส เซลลโู ลส มักพบในผนังเซลล์ของพืช เพราะเป็นสารประกอบที่ช่วยเสริม และลิกนินเปน็ องค์ประกอบ พบได้ในผนังเซลล์ของพชื ความแขง็ แรงของเซลล์ และจะมปี รมิ าณมากขนึ้ หากเซลลม์ อี ายุ เฮมิเซลลูโลสเป็นพอลิเมอร์ของ D-xylose ที่เชื่อมกัน มากข้ึน แต่ต่างจากเซลลูโลสและเฮมิเซลลูโลสคือ นอกจาก ด้วยพนั ธะไกลโคไซด์ (glycosidic bond) จัดเป็นพอลแิ ซ็กคาไรด์ มนุษย์ไม่สามารถย่อยได้แล้ว สัตว์ชนิดใดก็ย่อยมันไม่ได้ ซำ้�ยัง ชนดิ heteropolysaccharide ซง่ึ ตวั มนั ถอื เปน็ ใยอาหาร (dietary fiber) ทำ�ให้ความสามารถในการย่อยของของพวกสัตว์เคี้ยวเอ้ือง สามารถอุม้ น้�ำ ได้ แต่ไม่ละลายน�้ำ ลดลงดว้ ย สว่ นเซลลโู ลสเปน็ สารพอลแิ ซก็ คาไรดท์ เ่ี กดิ ขน้ึ จาก D-glucose วัสดุชีวมวลจำ�พวกลิกโนเซลลูโลสอย่างฟางข้าวโพดนั้น ต่อกันเป็นสาย คล้ายกับแป้ง เพียงแต่จะเช่ือมกันด้วยพันธะ เราสามารถนำ�มาแปลงให้เป็นวัสดุและพลังงานได้หลายชนิด ไกลโคไซด์ท่ตี ำ�แหน่งบีตา-1,4 ทำ�ให้เอนไซม์อะไมเลสย่อยไม่ได้ ดังรูป แผนภาพแสดงการเปลี่ย�่ นวัสั ดุลุ ิกิ โนเซลลููโลสให้้เป็น็ พลังั งานและผลิิตภััณฑ์์เพิ่่ม� มูลู ค่่า ที่ม่� า : [1] มถิ ุนายน 2565 34

รวอ้ ทิ ยยพานั จะเห็นได้ว่าการนำ�ไปใช้ประโยชน์นั้นมีวิธีการปรับสภาพ ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์พวกน้ีจัดว่าเป็นวิธีทางเคมีกายภาพ (pretreatment) ได้หลากหลาย ท้ังด้วยวิธีเชิงกลด้วยการสับ ซึ่งอาจจำ�เพาะเจาะจงลงไปอีกว่าเป็นวิธีการแปลงสภาพโดยใช้ บด ทุบ ลดขนาด วิธีกายภาพด้วยการใช้อุณหภูมิและการใช้ ความร้อนร่วมกับวิธีทางเคมี (thermo-chemical conversion) ไมโครเวฟ วธิ ที างเคมกี ายภาพ วธิ ที างเคมี และวธิ ที างชวี ภาพดว้ ย อาจแบง่ เปน็ วธิ กี ารเผาในสภาพทมี่ อี อกซเิ จนจ�ำ กดั (gasification) การหมกั โดยแบคทเี รยี และเชอ้ื ราตา่ ง ๆ ซงึ่ ผอู้ า่ นทสี่ นใจสามารถ การย่อยสลายด้วยความร้อน หรือไพโรไลซิส (pyrolysis) หาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีเหล่าน้ีได้จากแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม [1] ในชว่ ง 400–1200 องศาเซลเซยี ส โดยปราศจากออกซเิ จน การท�ำ ท้ายบทความในตอนนี้ ทอร์รีแฟกชัน (torrefaction) ซ่ึงคือการทำ�ไพโรไลซิสท่ีสภาวะ ในบรรดาผลิตภัณฑ์ท้ังหลายที่นำ�เอาฟางข้าวโพดและ ไม่รุนแรง ให้ความร้อนที่ 200–300 องศาเซลเซียส ในสภาพ ลิกโนเซลลูโลสจากชีวมวลอ่ืน ๆ ไปใช้ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์ ไม่มีออกซิเจน ไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชัน (hydrothermal พวกถ่านชีวภาพและถ่านกัมมันต์มีความน่าสนใจในด้านการนำ� liquefaction) ซ่ึงให้ความร้อนกับชีวมวลเปียกภายใต้ความดัน เอามาใช้ประโยชน์ในการรักษาสิง่ แวดล้อม โดยวธิ กี ารเปลย่ี นรปู 4–25 เมกะพาสคลั (MPa) ทีอ่ ณุ หภูมิ 250–400 องศาเซลเซยี ส โดยอาจใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาหรือตัวทำ�ละลายร่วมด้วยเพื่อให้เกิด การดีพอลิเมอไรซ์จนได้นำ้�มันดิบชีวภาพ (bio-oil/bio-crude) ออกมา และสุดท้ายคือ ไฮโดรเทอร์มัลคาร์บอไนเซชัน (hydrothermal carbonization) ซ่ึงเป็นการแปลงสภาพชีวมวล ด้วยความร้อน โดยใช้น้ำ�เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ภายใต้อุณหภูมิสูง 180-300 องศาเซลเซียส และความดนั สงู ประมาณ 20–25 bar เปน็ เวลา 1-7 ชวั่ โมง กระบวนการนจ้ี ะท�ำ ในชว่ งทนี่ �ำ้ อยใู่ นสภาวะ ใตว้ กิ ฤต (subcritical region) ไปจนถงึ ชว่ งเหนอื วกิ ฤต (supercritical region) ซ่ึงจะไดถ้ า่ นไฮโดร (hydrochar) ออกมาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ปะปนกับของเหลว อยูใ่ นสภาพคล้ายโคลน เปน็ slurry ซึ่งเมอื่ กรองออกและทำ�แห้งแล้ว ก็ใช้ผลิตเช้ือเพลิงชีวภาพหรือนำ�ไป ปรบั ปรงุ ดนิ ใชแ้ ก้ปญั หามลพิษในอากาศและน�้ำ ไดต้ ่อไป[2] เทคนิิคต่่าง ๆ ในการแปลงสภาพวััสดุุชีีวมวลด้้วยวิธิ ีกี ารใช้ค้ วามร้อ้ น ร่่วมกับั ปฏิิกิริ ิยิ าเคมีี มถิ ุนายน 2565 35

รวอ้ ทิ ยยพานั ความแตกต่า่ งของถ่า่ นไม้ธ้ รรมดา (charcoal) รอยเทา้ คารบ์ อนเปน็ ลบและดตี อ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ส�ำ หรบั ถา่ นชวี ภาพ ท่ีได้จากลำ�ต้นข้าวโพด (corn straw) น้ันเคยมีผู้ศึกษา[4] และ ถ่า่ นไฮโดร (hydrochar) ถ่า่ นชีีวภาพ (biochar) รายงานเอาไวว้ า่ ใช้ดดู ซับไอออนของแคดเมียม (Cd2+) ท่ปี ะปน อยู่ในน้ำ�เสียได้โดยมีประสิทธิภาพสูงถึงร้อยละ 99.24 เม่ือใช้ และถ่า่ นกัมั มันั ต์์ (activated carbon) ปรมิ าณถา่ นท่ีเป็นตัวดดู ซบั 20 กรมั ต่อน�้ำ เสยี 1 ลิตร นบั ได้ว่า เป็นวัสดุที่มีความน่าสนใจท่ีจะนำ�มาพัฒนาเพื่อใช้งานต่าง ๆ ถ่านท้ังหมดนี้ได้มาจากการนำ�เอาวัสดุชีวมวลมาเผา โดยมี ไดอ้ ีกมาก อุณหภูมิและปริมาณออกซิเจนในการเผาแตกต่างกันไป และ สำ�หรับถ่านไฮโดร (hydrochar) ถึงแม้จะมีท่ีใช้งานคล้าย บางคร้ังการ “เผา” ก็เกิดขึ้นในสภาวะควบคุมที่มีความช้ืนสูง กันกับถ่านชีวภาพ แต่ก็แยกประเภทต่างจากกันเนื่องจาก ดังได้กล่าวไปข้างต้น ทำ�ให้ได้ผลิตภัณฑ์ออกมาหลากหลาย กระบวนการผลิตที่ต้องใช้วิธีไฮโดรเทอร์มัลคาร์บอไนเซชัน จากการเผาถ่านแบบธรรมดา เม่ือเผาโดยใช้อุณหภูมิสูงไม่เกิน ซึง่ แตกตา่ งออกไปนัน่ เอง 500 องศาเซลเซียส ในสภาพออกซิเจนน้อยหรือสภาพปลอด ส่วนถา่ นกมั มนั ต์ (activated carbon) จะได้จากกระบวนการ ออกซิเจนด้วยกระบวนการไพโรไลซสิ แบบช้า ก็จะได้ถา่ นชวี ภาพ ผลิตโดยใช้ไพโรไลซิสแบบเร็ว ใช้อุณหภูมิ 900–1100 องศา- (biochar) ออกมา เจ้าถา่ นชวี ภาพนเี้ ป็นวสั ดอุ กี ชนิดท่มี ีคนพดู ถึง เซลเซียส จากนั้นจึงทำ�การกระตุ้นพ้ืนผิวด้วยวิธีทางเคมีและ กนั มาก เน่ืองจากมีรพู รนุ จลุ ินทรีย์ต่าง ๆ เขา้ ไปอยอู่ าศัย เติบโต กายภาพเพื่อให้นำ้�มันดินท่ีอุดช่องว่างเอาไว้หลุดออก ทำ�ให้มี และช่วยปรับธาตุอาหารของพืชให้มีมากข้ึน ช่วยฟื้นสภาพดิน รพู รนุ และมคี วามจใุ นการดดู ซับมากกวา่ ถ่านชวี ภาพ ท่ีเส่ือมโทรมและขาดส่ิงมีชีวิตให้กลับมีมีคุณภาพดีได้ สามารถ ดูดซับปุ๋ยและยังดูดซับก๊าซท่ีเป็นไฮโดรคาร์บอน เช่น มีเทน ซ่ึงเป็นหนึง่ ในกา๊ ซทกี่ อ่ ภาวะเรอื นกระจก เกบ็ เอาไว้ในดนิ แทนท่ี จะปล่อยหลุดออกสู่ช้ันบรรยากาศได้อีกด้วย ถ่านชีวภาพจึงมี มถิ นุ ายน 2565 36

รวอ้ ทิ ยยพานั แต่ในหมู่ของถ่านกัมมันต์ก็ยังแบ่งแยกย่อยออกไปอีกตาม (mesoporous materials) เพื่อใช้ในงานอ่ืนนอกเหนือจากที่ ขนาดของรูพรุนในเน้ือของมัน หากจะใช้เพ่ือบำ�บัดน้ำ�เสียจาก กลา่ วมา เพราะเปน็ วสั ดทุ ม่ี สี มบตั คิ วามไมช่ อบน�ำ้ (hydrophobicity) อตุ สาหกรรมบางชนดิ ซง่ึ มพี วกโลหะหนกั โดยเฉพาะพวกทมี่ พี ษิ สูง มีความนำ�ไฟฟ้าที่ดี มีความจุมากในการใช้ดูดซับโปรตีน จะตอ้ งหาทางแยกโลหะหนกั นอ้ี อกจากน�้ำ ดว้ ยวธิ ตี า่ ง ๆ เพอ่ื ไมใ่ ห้ หรือพวกสารกอ่ มลพิษบางชนดิ และบางครั้งกเ็ หมาะในการเป็น ปนเปอื้ นและสง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม อาทิ กระบวนการแยก ตวั ชว่ ยรองรับสารเรง่ ปฏิกิรยิ า โดยใชเ้ ยอ่ื เมมเบรน การดดู ซบั การตกตะกอน การใชก้ ารแลกเปลย่ี น การผลิตถ่านกัมมันต์จากลำ�ต้นข้าวโพดทำ�ได้โดยการผ่าน ไอออน การสกัด โดยกระบวนการดูดซับถือเป็นวิธีหนึ่งที่มี กระบวนการ carbonization ตามด้วยกระบวนการ activation ประสิทธิภาพสูง ค่าใชจ้ ่ายต�่ำ และควบคุมได้ง่าย ดว้ ยรีเอเจนตช์ นดิ ตา่ ง ๆ เชน่ กรด ดา่ ง และเกลือชนิดต่าง ๆ ซ่งึ พวกถ่านกัมมันต์ทั่วไปจะมีข้อจำ�กัดในการดูดไอออนโลหะ การใช้โซเดยี มไฮดรอกไซด์ (NaOH) หรอื โพแทสเซยี มไฮดรอกไซด์ หนักและพวกสีย้อม เน่ืองจากเป็นวัสดุจำ�พวกไมโครพอรัส (KOH) ในการปรับสภาพวัสดุชีวมวลลำ�ต้นข้าวโพดเสียก่อน (microporousmaterials)ซงึ่ มขี นาดของรพู รนุ นอ้ ยกวา่ 2นาโนเมตร จะสามารถละลายลิกนินและเฮมิเซลลูโลสออกมาได้ ทำ�ให้เกิด ทำ�ให้มีข้อจำ�กัดในการแพร่ของสารที่ถูกดูดซับ อาจจะเหมาะ รูพรุนเพิ่มขึ้น ก่อนนำ�ไปผ่านกระบวนการ carbonization ซึ่ง กับงานพวกแยกก๊าซ การดูดซับ หรือเป็นสารท่ีใช้แลกเปลี่ยน ในงานวิจัย[3] ถ่านกัมมันต์ชนิดมีโซพอรัสที่ผลิตด้วยวิธีนี้ดูดซับ ไอออนมากกว่า จึงได้มีการพัฒนาคิดค้นวิธีการสังเคราะห์ถ่าน โครเมยี ม (Cr(VI)) ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี กมั มนั ตท์ ม่ี ขี นาดรพู รนุ ใหญข่ น้ึ ในระดบั ทเ่ี รยี กวา่ เปน็ วสั ดมุ โี ซพอรสั เนื้้อ� ที่�เ่ พาะปลููกข้้าวโพดเลี้ย� งสััตว์ข์ องไทยในช่่วงปีตี ่า่ ง ๆ ที่ม�่ าของข้อ้ มูลู : เว็บ็ ไซต์์ของสถาบันั วิจิ ัยั และพััฒนาแห่่งมหาวิทิ ยาลัยั เกษตรศาสตร์์ (https://www3.rdi.ku.ac.th/?p=15990) และสำนักั งานเศรษฐกิจิ การเกษตร (https://www.oae.go.th/view/1/ตารางแสดงรายละเอีียดข้้าวโพดเลี้ย� งสัตั ว์์/TH-TH) มิถนุ ายน 2565 37

รวอ้ ทิ ยยพานั สุดท้ายของบทความตอนน้ีที่อยากฝากไว้ก็คือ เม่ือดูจาก ศัพท์น่าร้เู กี่ยวกับข้าวโพด : พ้ืนท่ีเพาะปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์ในประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2550–2562 จะพบว่า พ้ืนที่เพาะปลูกข้าวโพดของ corn straw/corn stalk ล�ำ ตน้ ข้าวโพด ประเทศเรามกี ารเปลยี่ นแปลงอยู่ในช่วง 6 ถึงเจ็ดล้านไร่ (เฉล่ีย corn husk เปลอื กฝักข้าวโพด 6.98 ล้านไร่) เพ่ิมขึ้นจากอดีตมาก เนื่องจากมีความต้องการ corn silks หมอยขา้ วโพด ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ในประเทศที่สูงมาก เมื่อนับรวมถึง corn pellets ขา้ วโพดหมกั เมด็ เม็ดขา้ วโพด พชื ไรแ่ ละการเกษตรอืน่ ๆ ดว้ ยก็จะมีวสั ดุเหลอื ใช้ทางการเกษตร corn cobs ซงั ข้าวโพด ในปริมาณมหาศาลถึง 195,303,000 ตันต่อปี และในแต่ละปี จะมีการเผาพืชไร่ ทั้งข้าวโพดและอ้อยเป็นจำ�นวนมาก ก่อให้ เกิดปัญหาหมอกควันพิษอย่างที่ทราบกัน ซ่ึงนอกเหนือจากการ รณรงคห์ า้ มเผาแลว้ หากมวี ธิ จี ดั การกบั เศษวสั ดเุ หลา่ น้ีใหถ้ กู ตอ้ ง อยา่ งนอ้ ยกน็ า่ จะชว่ ยลดการกอ่ มลพษิ ใหแ้ กส่ ง่ิ แวดลอ้ ม พรอ้ มกบั สร้างผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าเพ่ิมไปด้วยในตัว เทคโนโลยีเหล่าน้ี จึงน่าจะมีบทบาทความสำ�คัญในการบริการจัดการทรัพยากร ท้งั ดา้ นอาหาร พลังงาน และสง่ิ แวดลอ้ มไดต้ ่อไปในอนาคต แหลง่ ขอ้ มูล 1. อรุณี ศภุ สนิ สาธติ . “พลงั งานจากชีวมวลทม่ี ลี กิ โนเซลลูโลสสูง”. วารสารสง่ิ แวดล้อม. ปที ่ี 16 ฉบบั ที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2555) :36-43. 2. Low, Y.W., Yee, K.F. (2021). A review on lignocellulosic biomass waste into biochar-derived catalyst: Current conversion techniques, sus- tainable applications and challenges. Biomass and Bioenergy. 154, 106245. doi: 10.1016/j.biombioe.2021.106245 3. Zhao, J., Yu, L., Ma, H., Zhou, F., Yang, K., & Wu, G. (2020). Corn stalk-based activated carbon synthesized by a novel activation method for high-performance adsorption of hexavalent chromium in aqueous solutions. Journal of Colloid and Interface Science. doi:10.1016/j. jcis.2020.06.031 4. Mbarki, F., Selmi, T., Kesraoui, A., Se, M., Gadonneix, P., Celzard, A., & Fierro, V. (2019). Industrial Crops & Products Hydrothermal pre- treatment, an efficient tool to improve activated carbon performances. Industrial Crops and Products, 140(August), 111717. https://doi. org/10.1016/j.indcrop.2019.111717. 5. Amalina, F., Razak, A.S.A., Krishnan, S., Zularisam, A.W., Nasrullah, M. (2022). comprehensive assessment of the method for producing biochar, its characterization, stability, and potential applications in regenerative economic sustainability – A review. Cleaner Materials, 3 (2022), 100045. https://doi.org/10.1016/j.clema.2022.100045 เรื่องนา่ รู้สำ�หรบั อ่านเพม่ิ เตมิ https://www.scientificamerican.com/article/environmental-impact-of-corn-based-plastics/ https://www.smithsonianmag.com/science-nature/corn-plastic-to-the-rescue-126404720/ https://www.treehugger.com/pros-cons-corn-based-plastic-pla-1203953 https://pirun.ku.ac.th/~fsocoss/whatchar.html https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1072 http://www.ej.eric.chula.ac.th/content/6134/275 มิถุนายน 2565 38

สภากาแฟ ผศ. ดร.ป๋วย อุ่นใจ ผศ. ดร.ปว๋ ย​อนุ่ ใจ | http://www.ounjailab.com นกั วิจัยชีวฟิสกิ สแ์​ ละอาจารย์ประจำ�ภาควชิ าชวี วิทยา​ คณะวทิ ยาศาสตร​์ มหาวทิ ยาลย​ั มหิดล​ นกั สอื่ สารวิทยาศาสตร​์ นกั เขียน​ ศลิ ปนิ ภาพสามมิต​ิ และผปู้ ระดษิ ฐฟ​์ อนต์ไทย​ มคี วามสนใจทัง้ ในดา้ นวทิ ยาศาสตรเ​์ ทคโนโลย​ี งานศิลปะและบทกวี แอดมินและผูร้ ว่ มกอ่ ตงั้ เ​ พจ​ FB: ToxicAnt​ เพราะทุกสิ่งลว้ นเปน็ พิษ มหากาพย์์สงคราม ฆ่่าล้้างเผ่า่ พัั นธุ์�์ ยุุง ภาค 2 “หกแสนสามหมื่่น� คน“ คือื ตััวเลขโดยประมาณของจำ�ำ นวนชีีวิิตที่ถ�่ ููกพรากไป ในปีี พ.ศ. 2563 ด้้วยมาลาเรีีย มถิ นุ ายน 2565 39

สภากาแฟ แมจ้ ะไมม่ าแบบโฉง่ ฉา่ งอยา่ งโควดิ 19 มาลาเรียเหมือนกับเชื้อก่อโรคอื่น ๆ ได้ประกาศความสำ�เร็จในปรับแต่งเช้ือ หรอื ฝดี าษวานร แตม่ าลาเรยี ยนื หนง่ึ คอื มคี วามสามารถในการดอื้ ยา แมอ้ าจจะ แบคทีเรีย E. coli ให้สังเคราะห์สารต้ัง เสมอในเร่ืองความร้ายกาจมาตั้งแต่ยุค ไม่เร็วเหมือนกับไวรัสหรือแบคทีเรียแต่ก็ ต้นของยาอาร์ทีมิซินิน ซึ่งถือเป็นหนึ่งใน โบรำ่�โบราณ ดอ้ื ไดเ้ หมอื นกนั ในอดตี มกี ารเอาสารสกดั ความกา้ วหนา้ แบบกา้ วกระโดดของวงการ การระบาดสว่ นใหญ่ เกนิ 90 เปอรเ์ ซน็ ต์ จากสมนุ ไพรหลายชนดิ เช่น อัลคาลอยด์ การผลิตยา จะจำ�กัดวงอยู่ที่ในแถบประเทศแอฟริกา จากเปลอื กของตน้ ซงิ โคนา ควนิ นิ และสาร ต่อมาทีมของเจย์เดินหน้าต่อเเละ ไมไ่ ดก้ ระจายไปจนถอื เป็นแพนเดมกิ แต่ อนพุ นั ธอ์ น่ื ๆ มาใชอ้ ยา่ งแพรห่ ลายในการ ลองยกวิถีในการสังเคราะห์สารต้ังต้น ถ้าดูจำ�นวนคนติดเชื้อแล้วต้องบอกเลย ป้องกันและต่อต้านการติดเช้ือมาลาเรีย ของอาร์ทีมซิ นิ นิ ลงไปใสใ่ นยสี ต์ ซ่ึงแมจ้ ะ ว่าสาหัสสากรรจ์ไม่แพ้โควิด เพราะแค่ปี แตม่ าลาเรยี กท็ ยอยดอ้ื ตอ่ ยาตา่ ง ๆ ทม่ี นษุ ย์ ทำ�ได้สำ�เร็จตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ภายใต้ พ.ศ. 2563 ปเี ดยี ว รายงานตวั เลขผตู้ ดิ เชอื้ เอามาใชต้ ่อกรกบั มนั การสนับสนุนจากมูลนิธิบิลและเมลินดา มาลาเรียทั่วโลกก็พุ่งทะยานแตะเลข และหนึ่งในอาวุธทรงอานุภาพที่ เกตส์ (Bill and Melinda Gates Foundation) สองรอ้ ยส่สี บิ ล้านคนไปแล้ว มนุษย์ยังสามารถใช้ต่อกรกับมาลาเรียได้ แต่ผลผลิตกลับยังไม่สูงพอท่ีจะทำ�ให้ แน่นอนที่สุด การพัฒนานวัตกรรม คอื สารออกฤทธอิ์ ารท์ มี ซิ นิ นิ (artemisinin) การผลิตในอุตสาหกรรมน้ันคุ้มค่าต่อการ เพอ่ื ควบคมุ โรคทด่ี ี นโยบายทางการเมอื ง จากสมุนไพรโกฐจุฬาลัมพา แม้จะรักษา ลงทุน ทีมของเจย์สปินออฟออกมาตั้ง แบบเกาะตดิ และมาตรการทางสาธารณสขุ ได้ผลดี แต่การผลิตโกฐจุฬาลัมพาเพื่อ ท่ีมีประสิทธิภาพน้ันช่วยลดความรุนแรง ให้เพียงพอกับการผลิตยาอาร์ทีมิซินิน ของการระบาดได้ ในเว็บไซต์ของมูลนิธิ ใ ห้ เ พี ย ง พ อ กั บ จำ � น ว น ผู้ ติ ด เ ชื้ อ ท่ี มี บลิ และเมลนิ ดา เกตส์ (Bill and Melinda หลายร้อยล้านคนต่อปีน้ันเป็นเรื่องท่ี Gates Foundation) ไดร้ ะบวุ า่ ในสองทศวรรษ ท้าทายมาก ที่จริงแล้ว จากการสกัดสาร ที่ผ่านมา การบริหารจัดการโรคท่ีดีและ จากพชื เราไมเ่ คยผลติ ยาพวกน้ีไดเ้ พยี งพอ เทคโนโลยีการป้องกันการระบาดท่ี กับความต้องการเลย ซ่ึงน่ันคือหน่ึงใน เหมาะสมได้ช่วยลดจำ�นวนผู้ติดเช้ือ ปญั หาทส่ี �ำ คญั ในปี พ.ศ. 2546 เจย์ คสี ลงิ ไปแล้วกว่าหน่ึงพันเจ็ดร้อยล้านคน อีก (Jay Keasling) นกั วจิ ยั ชวี วทิ ยาสงั เคราะห์ ทั้งยังปกป้องชีวิตผู้คนจากมัจจุราชตัวจิ๋ว จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ พวกน้ีไปแล้วกวา่ 10 ล้านชวี ติ มิถุนายน 2565 40

สภากาแฟ บริษัทอไมริส และอไมริสน้ีเองท่ีสานต่อ เวลานี้ เช้ือมาลาเรียด้ือยาก็อุบัติขึ้นแล้ว ไปเกอื บหมด งานวจิ ยั หลายงานกถ็ ดถอย โครงการผลิตยาอาร์ทีมิซินินของเจย์จน เชน่ กันในแถบแอฟรกิ าตะวันออก ไปเยอะ ประสบผลส�ำ เรจ็ ในปี พ.ศ. 2556 ทมี อไมรสิ ปัญหาเชื้อด้ือยาเป็นหน่ึงในประเด็น ซ่งึ ส�ำ หรบั บลิ เกตส์ ผ้ปู ระกอบการ ไดต้ พี มิ พเ์ ผยแพรว่ ธิ กี ารปรบั ปรงุ สายพนั ธุ์ สำ�คัญที่ดับฝันที่แสนทะเยอทะยานของ ชื่อดังผู้อยู่เบื้องหลังความสำ�เร็จของ ยสี ตส์ รา้ งยาทสี่ ามารถผลติ อารท์ มี ซิ นิ นิ ได้ นักวิทยาศาสตร์ที่มาดหมายจะพิฆาต ไมโครซอฟท์ (Microsoft) น่ีคือสิ่งท่ี สงู ถึง 25 กรมั ตอ่ ลิตร ซึ่งน�ำ ไปสเกลอัป ล้างบางมาลาเรียให้ส้ินสูญไปจากโลก น่ากังวลใจ สำ�หรับเกตส์ทางเดียวที่จะ เพ่ือการผลิตในระดับอุตสาหกรรมได้ ใน แบบเดียวกันกับท่ีเราเคยทำ�สำ�เร็จกับ สามารถกำ�ราบโรคร้ายนี้ให้อยู่หมัดได้ เวลาน้ี ดว้ ยเทคโนโลยชี วี วทิ ยาสงั เคราะห์ เช้อื ไข้ทรพษิ ก็คือต้องหาทางล้างบางมาลาเรียให้ เราผลติ ยาอารท์ มี ซิ นิ นิ ไดถ้ งึ 150 ลา้ นโดส และในปี พ.ศ. 2563 วิกฤตเศรษฐกจิ หมดสิ้นไปจากโลก ต่อปี ซ่ึงแม้จะยังไม่เพียงพอต่อความ อันเน่ืองมาจากการระบาดใหญ่ของเช้ือ เปน็ ทน่ี า่ ประทบั ใจ เกตส์ใหค้ วามสนใจ ตอ้ งการเปะ๊ ๆ แตก่ ล็ ดปญั หาขาดแคลนยา ไวรัสกอ่ โรคโควิด 19 ทำ�ให้การสนบั สนนุ ในรายละเอียดแทบทุกแงม่ ุม ไมเ่ พยี งแค่ ไปไดอ้ ย่างมหาศาล ทวา่ ไมช่ ้าไม่นาน ก็มี ทุนวิจัยในแทบทุกด้าน รวมถึงเพื่อการ พัฒนาวิธตี รวจโรค ออกแบบและเฟน้ หา รายงานการอบุ ตั ขิ น้ึ ของเชอ้ื มาลาเรยี ดอ้ื ยา เฟ้นหาและออกแบบยาต้านโรคต่าง ๆ ยาใหม่ แตเ่ ขายงั ใหค้ วามส�ำ คญั กบั การตดั อาร์ทีมิซินินในแถบลุ่มแม่นำ้�โขง และใน ท่ีไม่ใช่โควิด 19 ชะงักงันเป็นอัมพาต วงจรการระบาดดว้ ย ซง่ึ ในกรณขี องมาลาเรยี พาหะที่ว่าก็คอื “ยุง” ยุงเป็นพาหะโรคร้ายมากมาย ท้ัง ยงุ ลาย(Aedesmosquito)ทน่ี �ำ โรคไขเ้ หลอื ง และไข้เลือดออก และสำ�หรับมาลาเรีย ยงุ ท่ีเปน็ พาหะแพรเ่ ชือ้ ก็คือ ยุงก้นปลอ่ ง (Anopheles mosquito) และไอเดยี gene drive ท่ีเปน็ ท่สี นใจ ของบลิ เกตส์ กค็ ือไอเดียในการท�ำ หมนั ล้างเผ่าพันธ์ุยุง ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยี มิถนุ ายน 2565 41

สภากาแฟ การทำ�หมันแมลง (sterile insect tech- ผลงานออกมาใหม่ คราวน้ีเขาใช้ CRIS- จะทำ�ให้จำ�นวนประชากรยุงลดลงตามไป nology) โดยใช้แบคทีเรียโวลบาเคีย PR/Cas9 ไปเปล่ียนยีน double sex ดว้ ยจนหมดสน้ิ เผา่ พนั ธ์ุไปเองใน 7-11 รนุ่ (Wolbachia) ไปจนถงึ เทคโนโลยกี ารปรบั หรือยีน dsx ที่เป็นเหมือนสวิตช์ควบคุม ดีกว่าทที่ ำ�นายจากแบบจำ�ลองเสียอีก แตง่ พนั ธกุ รรมเพอ่ื การท�ำ gene drive ลักษณะทางเพศของยุง ซ่ึงส่งผลให้เกิด แอนเดรียยังคงเดินหน้าต่อและ และงานท่ีเข้าตาเกตส์ ก็คืองานของ การแปลรหัสเป็น mRNA ที่ผิดเพ้ียนไป เร่ิมทำ�การทดลองก้บกลุ่มประชากรยุงที่ นักทฤษฎีวิวัฒนาการ ออสติน เบิร์ต ในยุงตัวเมีย ยงุ ตัวเมยี ที่กลายพนั ธใุ์ นยีน ใหญ่ขึ้น ในสถาพแวดล้อมปิดแต่สมจริง (Austin Burt) จากมหาวทิ ยาลยั อมิ พเี รยี ล นี้มีเคร่ืองเพศที่กำ้�ก่ึงระหว่างตัวผู้และ ใกลเ้ คยี งธรรมชาตมิ ากขน้ึ ในปี พ.ศ. 2564 (Imperial College London) ท่ีนำ�เสนอ ตวั เมยี จนไมส่ ามารถผสมพนั ธก์ นั กบั ตวั ผู้ ทมี วจิ ยั ของแอนเดรยี กต็ พี มิ พผ์ ลงานวจิ ยั ความเป็นไปได้ ในการใช้ยีนท่ีจำ�ลอง อน่ื ๆได้ในขณะทตี่ วั ผทู้ ม่ี ยี นี dsxกลายพนั ธุ์ ออกมาในวารสาร nature communications ตัวเองได้เหมือนปรสิตที่เรียกว่า selfish ยงั คงสบื พันธ์ุส่งทอดยนี dsx เพ้ียน ๆ นี้ วา่ ระบบ gene drive ของพวกเขานนั้ ยงั คง genetic elements เพื่อกำ�จัดประชากร ให้รุ่นต่อไปได้เป็นปกติ นั่นหมายความ ใช้ได้ผลกับประชากรยุงขนาดใหญ่ระดับ ยุงใหส้ ญู ส้ินไปจากพืน้ ที่ระบาด ว่ายุงตัวผู้ท่ีมียีนกลายพันธุ์จะทำ�หน้าท่ี ห ล า ย พั น ตั ว โ ด ย ส า ม า ร ถ ล ด จำ � น ว น อยา่ งที่เลา่ ไปในตอนกอ่ น ดว้ ยความ เป็นยุงทรยศที่จะทำ�ให้จำ�นวนยุงตัวเมีย ประชากรยงุ จนหมดสน้ิ ไปได้ในเวลาเพยี ง ตน่ื เตน้ กบั ไอเดยี เพอื่ สานงานตอ่ ออสตนิ รุ่นใหม่ลดลงไปเรื่อย ๆ จนท้ายที่สุดก็ แค่ไมถ่ งึ ปี ตัดสินใจจับมือรวมทีมกันกับนักวิจัยหนุ่ม สูญส้นิ เผ่าพันธุ์ไปเอง นอกจากทีม Target Malaria แล้ว ดาวรุ่งอีกคนจากอิมพีเรียล แอนเดรีย จากการคำ�นวนด้วยแบบจำ�ลองทาง อีกทมี ทม่ี ผี ลงานนา่ สนใจในการท�ำ gene ครแิ ซนติ(AndreaCrisanti)กอ่ ตง้ั พนั ธมติ ร คณิตศาสตร์ ทีม Target Malaria เชื่อวา่ drive ในยุงก็คือ ทีมวิจัย Oxitec ซึ่ง Target Malaria ขึ้นมาจนสามารถพัฒนา การท�ำ gene drive โดยใช้ dsx จะสามารถ เป็นบริษัทสปินออฟมาจากมหาวิทยาลัย โพรโตไทป์เพื่อทำ� gene drive ข้ึนมาได้ ลดทอนจำ�นวนยุงสาวเจริญพันธ์ุได้อย่าง ออกซฟ์ อรด์ ทมี่ ผี ลงานโดดเดน่ มายาวนาน สำ�เร็จในยุงก้นปล่อง แม้ว่าผลจะยังไม่ ชะงดั จากรนุ่ สรู่ นุ่ จนทา้ ยทส่ี ดุ กลมุ่ ประชากรยงุ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ในวงการทำ�หมัน ได้สวยหรสู ำ�เรจ็ ครบจบเกมได้สวย ๆ ดงั กจ็ ะขาดยงุ สาวเจรญิ พนั ธุ์ จนถงึ กาลอวสาน แมลง ทค่ี าด เพราะยุงร่นุ หลงั ๆ ดันกลายพันธุ์ ไปเองภายใน 9-13 รนุ่ ซง่ึ ตอ้ งยอมรับว่า ทมี Oxitec เริ่มท�ำ การทดลองปลอ่ ย หนไี ปได้ จนท้ายที่สดุ ระบบ gene drive ผลจากแบบจ�ำ ลองนน้ั นา่ สนใจมาก เพราะ หนอนเจาะสมอฝา้ ยแปลงพนั ธ์ุ OX1138B ท่ีเคยทำ�หมันยุงได้สำ�เร็จในระยะแรก ๆ ถ้าทำ�ได้จริง งานนี้อาจจะเป็นหนึ่งในวิธี ในรัฐแอริโซนา ในปี พ.ศ. 2549 และ กค็ อ่ ย ๆ ลดประสิทธภิ าพลงเรอ่ื ย ๆ และ ก�ำ ราบยุงร้ายแบบรวดเดยี วหมดกเ็ ป็นได้ หนอนใยผักแปลงพันธ์ุ OX4319L ในปี เลือนหายไปในกลุ่มประชากรยุงรุ่นหลัง แต่ท่ีน่าตื่นเต้นยิ่งกว่ากลับเป็นผล พ.ศ. 2560 เพือ่ ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพใน แต่แค่น้ีก็เพียงพอแล้วท่ีจะพิสูจน์ได้ว่า จากการทดลองจรงิ ๆ เพราะสง่ิ ทแ่ี อนเดรยี การแย่งคู่และการอยู่รอดของประชากร ไอเดยี gene drive นัน้ นา่ จะไปตอ่ ได้ แค่ ค้นพบก็คือ ถ้าเขาใช้ประชากรยุงเริ่มต้น ผีเส้ือศัตรูพืชแปลงพันธ์ุเม่ือเทียบกับ ต้องหายีนใหม่ที่สำ�คัญมากพอท่ีทำ�ให้ ขนาด 600 ตวั ทป่ี ระกอบไปดว้ ยยงุ ตวั เมยี ผีเส้ือจริง ๆ ในธรรมชาติ ซ่ึงผลออกมา การกลายพันธุ์ของยุงรุ่นหลังนั้นมีโอกาส ปกติ 300 ตัว และยุงตัวผู้อีก 300 ตัว คอ่ นขา้ งน่าสนใจ เกิดได้น้อยลง หรือดีที่สุดคือไม่มีโอกาส แบ่งเปน็ ปกติ 150 ตวั และกลายพนั ธุ์อกี และส�ำ หรบั ยุง ทมี Oxitec ก็แอก็ ทิฟ เกิดเลย 150 ตัว แล้วปล่อยใหพ้ วกมันผสมกนั เอง ไมแ่ พท้ มี Target Malaria พวกเขาเขา้ รว่ ม ในปี พ.ศ. 2561 ทีมของ Target ในกรง พอ gene drive ท�ำ งาน ยุงตัวเมยี เปน็ พนั ธมติ รกบั ยกั ษ์ใหญใ่ นวงการเกษตร Malaria นำ�โดยแอนเดรียก็ได้ตีพิมพ์ ก็จะค่อย ๆ เป็นหมนั มากขนึ้ เรื่อย ๆ ซ่ึงก็ หลายเจา้ อกี ทง้ั ยงั ไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก มถิ ุนายน 2565 42

สภากาแฟ มลู นธิ บิ ลิ และเมลนิ ดา เกตส์ เชน่ เดยี วกบั การรับรองอย่างเป็นทางการ ก็ปาเข้าไป แนน่ อนวา่ ไมม่ อี ะไรดเี ลศิ รอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต์ ทีม Target Malaria ดว้ ย ปี พ.ศ. 2563 ซง่ึ กพ็ อดกี บั ตอนทฟี่ ลอรดิ า มคี นรักก็ต้องมคี นชงั แม้นอยากจะเขยี น แต่ยุงที่ Oxitec สนใจนั้น ไม่ใช่ ประสบปัญหาไวรัสไข้เลือดออกระบาด ต่อ แต่ต้องขอยกไปคราวหน้า เพราะ ยุงก้นปล่องท่ีนำ�เช้ือมาลาเรีย แต่เป็น ครั้งแรกในรอบสิบปีพอดี เวลาช่าง โควตาหน้ากระดาษอาจจะมีจำ�กัด ใน ยุงลาย พาหะไข้เหลืองและไข้เลือดออก ประจวบเหมาะ ตอนหนา้ ผมจะมาเลา่ ต่อถงึ ความเส่ียงท่ี ที่จริงก็ต้องบอกว่าแสบไม่แพ้กัน ซ่ึง ถึงปัจจุบัน Oxitec เผยว่าทีมของ ใหญ่หลวงที่ทำ�ให้หลายคนกังวลเก่ียวกับ การแบ่งงานกันทำ�แบบนี้ ก็ถือว่าเป็น เขาได้ปล่อยยุงลายแปลงพันธุ์ OX5034 เทคโนโลยี gene drive รวมถึงยุทธวิธีท่ี ยทุ ธศาสตรท์ ่ดี ใี นการบริหารงานวิจัย คือ เพื่อควบคุมประชากรยุงแล้วนับพันล้าน นักวิทยาศาสตร์เอามาใช้ในการประเมิน มีวิสัยทัศน์คล้ายกัน แต่เลือกจะไม่สร้าง ตัว ซ่ึงจนถึงปัจจุบัน ผลท่ีได้ค่อนข้างน่า และจำ�กัดการแพร่กระจายของ gene ศัตรูคู่แข่งแบบทางตรง ใช้วิธีแบ่งเค้ก พึงพอใจ ประชากรยุงในท้องถ่ินก็ลดลง drive หลังจากท่ีปล่อยไปแล้ว ทั้งการ แบง่ เงนิ ทนุ วจิ ยั กนั ไปท�ำ คนละกอ้ น คนละ จริงอย่างเห็นได้ชัด และยังไม่เห็นผลก ทดลองสดุ ดรามาในบรู ก์ นิ าฟาโซ (Burkina โพรเจกต์ ถอื เป็นวธิ ที ่ีโพรดักทฟิ ระทบอะไรในระบบนิเวศที่ชัดเจน ในปี Faso) และไอเดียสายโซด่ อกเดซี แม้ว่าจะทำ�การทดลองในภาคสนาม พ.ศ. 2565 น้ีทีมวิจัย Oxitec วางแผนจะ คราวหนา้ มสี �ำ นกั งานบรหิ ารโครงการ มาก่อน แต่การท่ีจะเอายุงไปปล่อยใน เดินหน้าทดลองต่อกับยุงลายแปลงพันธ์ุ วิจัยขั้นสูงด้านกลาโหม สหรัฐฯ เข้ามา สภาพแวดล้อมจริงท่ีมีคนอยู่น้ันถือเป็น ในฟลอริดาเพื่อดูว่าประสิทธิภาพของ รว่ มด้วย หา้ มพลาด บอกเลย ความเสย่ี งใหญห่ ลวงตอ่ ระบบนเิ วศ ถงึ จะ เทคโนโลยีของพวกเขานั้นจะช่วยลดยุง โตแ้ ยง้ ไดบ้ า้ งวา่ ในพนื้ ทที่ พ่ี วกเขาวางแผน ลดความเส่ียงโรคร้ายได้ตลอดรอดฝ่ัง ทำ�การทดลองในอดีตอาจจะไม่ได้มี หรือเปลา่ นอกจากน้ีพวกเขายงั มีแผนจะ ประชากรยุงอยู่ และการกำ�จัดยุงพวกนี้ ขยายพ้ืนท่ีทดลองต่อไปยังแถบเซ็นทรัล ออกไปก็ไม่น่าจะส่งผลกระทบเป็นคล่ืน วลั ลยี ์ในแคลฟิ อรเ์ นยี อกี ดว้ ยในเฟสตอ่ ไป กระแทกในส่ิงแวดลอ้ มกต็ าม แม้ว่าผลทุกอย่างจะดูดีสวยงามชวน Oxitec ฉลาดที่เลือกลงพื้นท่ีอย่าง ฝันยิ่งกว่าเทเลทับบีข่ียูนิคอร์นในทุ่ง ต่อเน่ืองในรัฐฟลอริดา เพ่ือสร้างความ ลาเวนเดอร์ แตค่ วามเปน็ จรงิ นน้ั การท�ำ ตระหนักและหาแนวร่วมท้องถ่ินเพื่อการ gene drive เป็นเหมือนดาบสองคม ที่ถ้า ทดลองปลอ่ ยยงุ ของพวกเขา ตงั้ แตช่ ว่ งปี ใช้อย่างไม่ระวังอาจจะกลายเป็นการเด็ด พ.ศ. 2553 และในปี พ.ศ. 2559 ขอ้ เสนอ ดอกไม้สะเทอื นถงึ ดวงดาว งานวิจัยเพ่ือล้างบางยุงลายในฟลอริดา ของทมี Oxitec ก็ไดร้ บั การสนบั สนนุ อยา่ ง ท่วมทน้ ทจ่ี รงิ ตอ้ งบอกวา่ สว่ นหนงึ่ กน็ า่ มาจาก การระบาดของไวรัสซิกาท่ีมียุงลายเป็น พาหะในปี พ.ศ. 2559 แม้ได้รับเสียงสนับสนุนจากท้องถ่ิน แต่กว่างานวิจัยของ Oxitec จะได้รับ มถิ นุ ายน 2565 43

หอ้ งภาพสตั วป์ า่ ไทย ประทีป ด้วงแค คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระแตผีีชายหาด Esacus magnirostris กระแตผีชี ายหาดเป็็นนกที่�่พบเห็็นได้้เฉพาะบางแห่ง่ ในประเทศไทย พบตามเกาะห่า่ งไกลจากชายฝั�่่งทะเล ตรงบริิเวณที่ม่� ีหี าดทราย มักั จะพบเป็็นคู่่�หรืือฝููงเล็ก็ ๆ บางครั้้ง� ก็็พบรวมอยู่่�กับั ฝููงนกชายเลนอื่่น� ๆ อาหารได้้แก่่ ปููและหอยชนิิดต่า่ ง ๆ มิถนุ ายน 2565 44

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ วริศา ใจดี (ไอซี) เดก็ สาย(พันธ์)ุ วิทยส์ านศิลป์ ชอบเรียนคณิตศาสตร์และฟสิ ิกส์ สนใจเรือ่ งเกี่ยวกับอวกาศ และสัตว์เลยี้ งตวั จ๋วิ เวลาวา่ งชอบท�ำ งานศลิ ปะ กำ�ลงั คน้ หาสตู รผสมท่ลี งตัวระหว่างวทิ ยก์ บั ศลิ ป์ Facebook : I-see Warisa Jaidee ASTRO logbook 02 บันั ทึึกของเด็็กอวกาศ My Night Sky Gallery สาระวิิทย์์ในศิิลป์์ฉบัับนี้้�เป็็นตอน ต่อ่ จากฉบับั ที่่�แล้ว้ มาพร้อ้ มภาพ บัันทึึกการสำ�ำ รวจท้้องฟ้้ายาม ค่ำ�ำ �คืืนที่่�ฉัันได้้เก็็บสะสมมาตลอด เทอม เมื่อ�่ กล้อ้ งพร้อ้ ม โดมพร้อ้ ม คนพร้อ้ ม ทีนี ี้้�ก็ไ็ ด้เ้ วลาท่อ่ งอวกาศ กันั แล้ว้ มาเริ่่�มกันั เลย มถิ นุ ายน 2565 45

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ The Moon ดวงจันั ทร์์ ภาพที่่� 1 แสดงพื้้�นผิิวขรุขุ ระบนดวงจันั ทร์์ที่่�ปรากฏให้เ้ ห็น็ ชัดั เจนเมื่�่อใกล้ก้ ับั เงามืืด เป้าหมายขนาดใหญ่ยักษ์ท่ีหากันได้ งา่ ย ๆ นอกจากจะอยใู่ กล้โลกของเราแลว้ ราว 93 กิโลเมตร ลึก 3.8 กิโลเมตร ยังเป็นวัตถุเร่ิมต้นสำ�หรับทุกการสำ�รวจ ที่บรเิ วณใจกลางมียอดเขาสูง 800 เมตร เพราะดวงจันทร์เป็นวัตถุท้องฟ้าที่มี ต้งั อยู่ ดงั ภาพที่ 2 อิทธิพลต่อท้องฟ้ายามค่ำ�คืนของเรา มนั ปรากฏตวั ใหเ้ หน็ แทบจะทกุ คนื ยกเวน้ ภาพที่�่ 2 ภาพขยายหลุุม Copernicus วันแรม 15 คำ่�หรือ New Moon แต่ใน ถ่า่ ยเมื่อ�่ วัันที่่� 10 กุุมภาพันั ธ์์ พ.ศ. 2565 บางคนื ทดี่ วงจนั ทรส์ วา่ งจา้ เกนิ ไปกอ็ าจจะ เป็นอุปสรรคในการสำ�รวจดาวดวงอ่ืนได้ ฉะน้ันเวลาที่เราเลือกวันดูดาว จึงต้อง คอยเฝ้าดูทั้งพยากรณ์อากาศ ปริมาณ เมฆบนทอ้ งฟ้า รวมไปถงึ ข้างขึน้ ขา้ งแรม ของดวงจนั ทรด์ ว้ ย เมอ่ื มองดวงจนั ทรผ์ า่ นกลอ้ งโทรทรรศน์ เราจะเห็นถึงรายละเอียดของหลุมและ แอง่ บนพนื้ ผวิ ดวงจนั ทรท์ ่ีไมไ่ ดเ้ รยี บเนยี น อยา่ งทเ่ี หน็ ดว้ ยตาเปลา่ บนพน้ื ผวิ ทข่ี รขุ ระ น้ีประกอบไปดว้ ยภูมลิ กั ษณ์ตา่ ง ๆ ทเี่ กิด จากการชนของอกุ กาบาตและกระบวนการ ของหนิ และแรธ่ าตุบนนั้น ได้แก่ - Crater หลุมอกุ กาบาต เมื่อขยับเข้าไปดูใกล้ ๆ ภายใต้แสง นวลของดวงจันทร์ เราจะเห็นว่าพื้นผิว นั้นเต็มไปด้วยหลุมอุกกาบาตมากมาย จะถ่ายภาพดวงจันทร์ให้เห็นความลึกต้ืน อย่างชัดเจนได้ก็ตอนที่หลุมเหล่าน้ันอยู่ ใกลก้ บั เงามืด ดังภาพที่ 1 หลุมลึกที่เห็นนั้นคือหลุมอุกกาบาต Copernicus ตง้ั ตามชอ่ื ของนกั ดาราศาสตร์ Nicolaus Copernicus หลุมนี้เกิดขึ้น เมื่อพันล้านปีก่อน โดยอุกกาบาตพุ่งชน จนเกิดเป็นหลุมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง มิถนุ ายน 2565 46

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ - Lunar Ray ริว้ รอย - Maria ทะเล ผลมาจากการพุ่งชนของอุกกาบาตอีกประเภทท่ีเราสามารถ บรเิ วณสเี ขม้ ทเ่ี รามองเปน็ รปู กระตา่ ยกนั นน้ั คอื ทร่ี าบบะซอลต์ สังเกตเห็นไดก้ ็คอื Lunar Ray System เปน็ ร่องรอยของอนุภาค เรยี กวา่ Maria ในภาษาละตนิ แปลวา่ ทะเล เพราะนกั ดาราศาสตร์ ที่ถูกปล่อยออกมาในตอนที่หลุมกำ�ลังก่อตัวข้ึน ซ่ึงจะเรียงตัว สมัยก่อนเข้าใจผิดคิดว่าบริเวณเหล่านี้คือทะเลบนดวงจันทร์ ตามแนวรัศมี อนุภาคเหล่าน้ีมีค่าแอลบีโด (albedo) หรือค่า แต่ความจริงแล้วพวกมันเกิดจากการทับถมของลาวาในหลุม การสะท้อนแสงท่ีสูง ทำ�ให้สะท้อนแสงท่ีตกกระทบมาได้ อุกกาบาต เกิดเป็นแอ่งขนาดใหญ่ท่ีมีธาตุเหล็กปะปนอยู่มาก มากกว่าบริเวณโดยรอบ ก่อให้เกิดเป็นลวดลายที่มีสีสว่างกว่า จึงสะท้อนแสงได้น้อยกว่าโดยรอบ และปรากฏต่อสายตาเรา พนื้ ผวิ โดยรอบ ดังภาพท่ี 3 เปน็ สที เี่ ขม้ กวา่ นน้ั เอง ในภาพที่ 4 จะเหน็ Maria เปน็ พน้ื ผวิ สเี ขม้ กวา่ อย่างเห็นได้ชัด ดูรวม ๆ แลว้ คลา้ ยกระตา่ ยกลบั หวั ภาพที่�่ 3 Lunar Ray โดยรอบหลุมุ Copernicus ภาพที่�่ 4 แสดงความแตกต่่างของสีี ระหว่่างบริเิ วณ Maria ถ่า่ ยเมื่อ่� วันั ที่�่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 และพื้้�นผิิวโดยรอบ ถ่า่ ยเมื่่อ� วันั ที่่� 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 มถิ นุ ายน 2565 47

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ แตล่ ะหลมุ และแอง่ เหลา่ นี้ ไดร้ บั การตง้ั ชอ่ื เรยี กเฉพาะแตล่ ะ magnitude) ท่ีบ่งบอกลำ�ดับความส่องสว่างของดาวเมื่อมอง ตำ�แหน่ง พอมองจากบนโลก สามารถวาดครา่ ว ๆ โดยรวมแลว้ จากโลก ยงิ่ ค่าโชตมิ าตรต�ำ่ ก็ยง่ิ สวา่ งมาก และเราจะย่ิงมองวัตถุ เกดิ เปน็ แผนที่ดวงจันทร์ ดังภาพที่ 5 น้นั ได้ชดั ขน้ึ ดาวที่สว่างน้อยที่สุดที่ตาเปล่าเราสามารถมองเห็นได้มีค่า ภาพที่่� 5 แผนที่่�ดวงจัันทร์์ โชตมิ าตรปรากฏอย่ทู ่ี 6 เวลาฉนั เลือกวัตถทุ ต่ี ้องการหา ให้มอง ถ่า่ ยเมื่อ�่ วันั ที่่� 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ซึ่�ง่ เป็็นวัันขึ้้�น 13 ค่่ำ เห็นง่ายหน่อยก็ต้องมีค่าโชติมาตรปรากฏที่ตำ่�กว่า 6 เป็นต้นไป หรืือ Waxing Gibbous อยา่ งเชน่ ดาวฤกษส์ ว่างต่อไปนี้ Bright Stars - ดาวฤกษ์์สว่า่ ง - Betelgeuse บีเทลจุส : มคี า่ โชติมาตรเท่ากบั 0.58 ถัดจากดวงจันทร์ เป็นวตั ถทุ ่ีคอ่ นขา้ งทา้ ทายในการคน้ หาขนึ้ มาหน่อย มันคือดาวดวงจ๋ิวบนท้องฟ้าท่ีสามารถมองหาและกะ ดาวยกั ษ์ใหญแ่ ดง (red supergiant) นอ้ี ยใู่ นกลมุ่ ดาวนายพราน ตำ�แหน่งคร่าว ๆ บนท้องฟ้าได้ด้วยตาเปล่า จึงเป็นวัตถุท้องฟ้า ตรงบรเิ วณหวั ไหล่ มขี นาดใหญก่ วา่ ดวงอาทติ ยข์ องเราถงึ 950 เทา่ อีกชนิดที่นิยมใช้ฝึกทักษะการใช้กล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาว แต่บนท้องฟ้าท่ีไกลโพ้นแล้ว ดาวน้ีก็เป็นจุดสว่างเล็ก ๆ ไม่ต่าง ที่ Wellesley จากดาวโดยรอบท่ีประปรายบนท้องฟ้า ต่างไปจากดวงจันทร์ ค่าที่ใช้บอกระดับความสว่างของดวงดาวเพ่ือประเมินความ การค้นหาวัตถุเหลา่ นจ้ี ะใช้เวลามากกวา่ หนอ่ ย แถมบางทหี าเจอ ยากง่ายในการสงั เกตดูเรยี กวา่ ค่าโชติมาตร (magnitude) เปน็ แลว้ อาจไมแ่ นใ่ จว่าเจอถกู ดาวหรือเปลา่ หน่วยเปรียบเทียบลำ�ดับความส่องสว่างของดาว ในการสำ�รวจ รุน่ พข่ี องฉันไดแ้ นะน�ำ เคลด็ ลับดี ๆ มาให้ กล้องโทรทรรศน์ท่ี ท้องฟ้ายามคำ่�คืน เรามักจะใช้ค่าโชติมาตรปรากฏ (apparent น่ีไมม่ รี ะบบหมนุ ตามดาวแบบอตั โนมตั ิ วธิ เี ดยี วคอื การใชต้ �ำ แหนง่ สมั พัทธ์ โดยกะระยะจากข้อมูลท่ีเรามีอยู่ ซง่ึ กลุม่ ดาวบนทอ้ งฟ้า เปรยี บเสมือนปา้ ยบอกทางของเราเลยละ ในกรณนี ี้ ดาวที่เปน็ สว่ นหน่งึ ของกลุม่ ดาวย่งิ งา่ ยเขา้ ไปใหญ่ ถ้ามองดูดี ๆ และปรับสายตาเข้ากับความมืดนานหน่อย เราจะ สังเกตได้ว่าบีเทลจุสนี้มีสีสันต่างไปจากดาวอื่น ๆ ในกลุ่มดาว นายพราน พอมองผ่านกล้องโทรทรรศน์ โทนสีแดงของดาวกจ็ ะ ชดั เจนยง่ิ ข้นึ ดังภาพท่ี 6 ภาพที่�่ 6 ตำแหน่่งของดาว Betelgeuse และภาพผ่า่ นกล้้องโทรทรรศน์์ ถ่า่ ยเมื่�อ่ วัันที่�่ 10 กุมุ ภาพันั ธ์์ พ.ศ. 2565 มถิ นุ ายน 2565 48

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ - Arcturus ดาวดวงแกว้ : มคี า่ โชตมิ าตรเทา่ กบั -0.04 Binary Star - ดาวคู่่� เป็นระบบที่ประกอบไปด้วยดาวฤกษ์สองดวงท่ีมีแรงดึงดูด ดาวท่ีสว่างท่ีสุดในกลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์ (Boötes) ดวงน้ี ระหว่างกันและกัน ส่งผลให้ทั้งคู่มีวงโคจรรอบซึ่งกันและกัน จัดอยู่ในประเภทดาวยักษ์แดง (Red Giant) มีขนาดใหญ่กว่า โดยดาวคู่ท่ีเรามองเห็นแยกเป็นสองดวงได้เม่ือส่องผ่านกล้อง ดวงอาทติ ย์ 25 เทา่ ถงึ จะมขี นาดเลก็ กวา่ บเี ทลจสุ แตก่ ม็ อี ณุ หภมู ิ โทรทรรศนจ์ ะเรียกวา่ “visual binaries” ดังตัวอย่างดาวต่อไปนี้ สูงกว่ามาก แม้จะเป็นดาวสีแดงเหมือนกับบีเทลจุส แต่เราจะเห็นความ - Mizar & Alcor : มคี ่าโชติมาตรเท่ากบั 2.04 แตกต่างเล็ก ๆ ได้เม่ือมองผ่านกล้องโทรทรรศน์ ดังภาพที่ 7 จะเหน็ วา่ ดาวดวงแกว้ นจ้ี ะมสี อี อ่ นกวา่ หนอ่ ย ออกมาทางเหลอื งสม้ อยบู่ รเิ วณดาวดวงทส่ี องนบั จากหางของกลมุ่ ดาวหมใี หญข่ น้ึ ไป เสียมากกว่าเพราะอณุ หภูมิทสี่ งู กว่าบเี ทลจสุ นัน่ เอง หากมองด้วยตาเปล่าน้ันยากมากที่จะเห็นสองดวงแยกจากกัน สมยั ก่อนใช้เปน็ ตัววัดค่าสายตา ถา้ คนตาดีจะตอ้ งท�ำ ได้ อย่างท่ีบอกไปว่ากลุ่มดาวเปรียบเสมือนป้ายบอกทาง บนท้องฟ้า ครั้งน้ีเราจะใช้ป้ายบอกทางหมีใหญ่ หรือกลุ่มดาว Ursa Major เป็นตัวกำ�หนดตำ�แหน่งของดาวคู่ ท่ีมองแทบ ไมเ่ หน็ ดว้ ยตาเปลา่ ดงั ภาพที่ 8 ภาพที่�่ 8 ตำแหน่ง่ ของดาวคู่่� Mizar & Alcor และภาพผ่่านกล้อ้ งโทรทรรศน์์ ถ่า่ ยเมื่อ�่ วัันที่�่ 1 เมษายน พ.ศ. 2565 Alcor คืือดวงทางซ้้ายมืือที่่�มีีขนาดเล็ก็ กว่่าหน่่อย ภาพที่่� 7 ตำแหน่ง่ ของดาว Arcturus และภาพผ่า่ นกล้้องโทรทรรศน์์ ถ่่ายเมื่�อ่ วันั ที่่� 15 เมษายน พ.ศ. 2565 มิถนุ ายน 2565 49

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ราว ๆ 85 เปอรเ์ ซน็ ตข์ องดวงดาวบนทอ้ งฟา้ มโี อกาสสงู ทจ่ี ะ Nebula - เนบิิวลา เปน็ ดาวคู่ แตส่ ว่ นมากกจ็ ะมองเหน็ ไดย้ าก ตอ้ งดดู ว้ ยก�ำ ลงั ขยาย ส�ำ หรบั เนบวิ ลาจะเรม่ิ เพมิ่ ระดบั ความยากในการหาขน้ึ มาอกี สูงประกอบกับการคำ�นวณเพ่ือให้แน่ใจว่า ดาวในระบบมีความ เพราะทงั้ ไกลและไมค่ อ่ ยสวา่ ง แตค่ มุ้ คา่ แกก่ ารเสยี เวลา เพราะมนั เกยี่ วเนอ่ื งกนั เชงิ วงโคจร ไมใ่ ชแ่ คป่ รากฏวา่ อยใู่ กลก้ นั เฉย ๆ ตอ่ ไป สวยงามมาก ๆ เนบิวลาไม่ใช่ดาวหรือดวงจันทร์เหมือนกับกลุ่ม เปน็ อกี ตัวอยา่ งหนง่ึ ทม่ี องยากกว่าหน่อยแตย่ งั พอเห็นได้ ก็คือ ก่อนหน้า แต่เป็นบริเวณจุดกำ�เนิดของดาวท้ังหลาย ท่ามกลาง กลุ่มเมฆสีสวยท่ีก่อข้ึนมาจากแก๊สและฝุ่นผง เราจะสังเกตเห็น - Algieba ดาวอลั จีบา : มคี า่ โชตมิ าตรเทา่ กับ -0.18 จดุ สวา่ งเลก็ ๆ ของดาวเกิดใหม่ วตั ถทุ ่เี ราสอ่ งหาไม่จ�ำ เป็นตอ้ งเป็นดาวทอี่ ยใู่ นกลุม่ ดาวนั้น ๆ ในกลมุ่ ดาวสงิ โต มองเผนิ ๆ ดาวทง้ั สองมคี วามสวา่ งจนแทบจะ ตามตำ�แหน่งเป๊ะ ๆ ถึงจะใช้เป็นตัวอ้างอิงได้ บางทีเรากำ�หนด เหน็ เปน็ ดาวดวงเดยี ว ฉนั ใชเ้ วลาพอสมควรในการปรบั โฟกสั กลอ้ ง ต�ำ แหนง่ ครา่ ว ๆ แลว้ ลากเสน้ การกวาดหาได้ อยา่ ง Orion Nebula ถงึ ถา่ ยออกมาใหพ้ อเหน็ เป็นสองดวงท่ีอยใู่ กล้กนั ได้ ดงั ภาพท่ี 9 ที่มีค่าโชติมาตรเท่ากับ 4 แทบจะเป็นไปไม่ได้เลยท่ีจะมองเห็น ดว้ ยตาเปล่า แต่เราเลง็ กลอ้ งไปยงั กลุ่มดาวนายพราน แลว้ ขยับ ลงตามแนวเข็มขัดของนายพราน เพื่อหาวัตถุที่คล้ายกลุ่มแก๊ส เบลอ ๆ เรอื งแสง ซ่งึ นัน่ กค็ ือเนบวิ ลาท่เี ราตามหาได้ดังภาพที่ 10 ภาพที่�่ 9 ตำแหน่่งของดาวคู่่� Algieba และภาพผ่่านกล้อ้ งโทรทรรศน์์ ภาพที่่� 10 ตำแหน่่งของ Orion Nebula และภาพผ่่านกล้อ้ งโทรทรรศน์์ ถ่่ายเมื่่�อวัันที่�่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ท้้องฟ้้าที่�่ Wellesley ช่ว่ งนี้้ไ� ม่่มืืดพอที่ฉ�่ ัันจะถ่่ายภาพเนบิวิ ลาได้้ ฉันั เลยขอใช้้ภาพที่ถ�่ ่า่ ยเมื่อ�่ ตอนอยู่่�ที่่�ประเทศเวลส์์ ปีี พ.ศ. 2563 ด้ว้ ยกล้้องความละเอีียดสูงู ฉันยังคงศึกษาต่อท่ีนี่อีกสักระยะ และคงหาโอกาสถ่ายภาพ วัตถุท้องฟ้ามาเล่าให้เพื่อน ๆ ฟังกันอีก ดูดาวแล้วขอให้ทุกคน หลับฝนั ดี ฉบับนี้ฉนั ขอลาไปก่อน ขอขอบคณุ ขอ้ มลู จาก : หอดูดาว Whitin Observatory มถิ นุ ายน 2565 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook