Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore asean_market

asean_market

Published by Thalanglibrary, 2021-01-21 04:41:12

Description: asean_market

Search

Read the Text Version

รายงานสรุปฉบบั ผบู้ รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดท่องเทีย่ วกล่มุ ประเทศอาเซียน สารบัญ บทนา หนา้ นิยามศัพท์ i บทที่ 1 ขนาดตลาด ทศั นคติ และพฤตกิ รรมของนักท่องเท่ียวชาวอาเซยี นในภาพรวม ii 1-1 1.1 ทัศนคติ และพฤติกรรมของนักท่องเทย่ี วชาวอาเซยี น 1-1 1.2 ประเทศ และเมอื งทีเ่ คยไป 1.3 สรุปประสบการณ์ และภาพจาของประเทศไทยจากมมุ มองของนักทอ่ งเที่ยวชาวอาเซยี น 1-10 1.4 บทสรุปทัศนะของนกั ทอ่ งเท่ียวชาวอาเซยี นต่อประเทศไทย 1-13 บทที่ 2 ปจั จัยสาคญั ท่ใี ชใ้ นการจาแนกนักทอ่ งเทย่ี วศกั ยภาพสงู ขนาดตลาด ทศั นคติ และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว 1-15 ศักยภาพสูงชาวอาเซียนในภาพรวม 2-1 2.1 ปัจจัยสาคัญท่ใี ชใ้ นการจาแนกนักทอ่ งเท่ียวศกั ยภาพสงู 2.2 ขนาดตลาด และจานวนนักท่องเทยี่ วศักยภาพสงู ในประเทศอาเซียน 2-1 2-2 2.3 ขนาดตลาด และจานวนนักท่องเที่ยวศักยภาพสูงรายเมอื งในประเทศอาเซียน 2-4 2-6 2.4 คุณลกั ษณะทางกายภาพ และประชากรศาสตร์ของนกั ท่องเที่ยวศกั ยภาพสูง 2-7 2.5 คณุ ลักษณะทางจิตวทิ ยา และไลฟ์สไตลข์ องนักท่องเทย่ี วศักยภาพสงู 2-11 2.6 ประเทศท่นี กั ทอ่ งเที่ยวศักยภาพสงู เคยเดินทางไป และคา่ ใชจ้ า่ ยเฉลี่ยในการเดนิ ทางครั้งล่าสุดในแตล่ ะ ประเทศ 2-12 2.7 ประสบการณ์ และภาพจาของประเทศไทย 3-1 บทที่ 3 การจาแนกประเภทนกั ท่องเที่ยวศกั ยภาพสูง และคุณลักษณะทางกายภาพ และคณุ ลักษณะทางจิตวทิ ยา 3-2 3.1 กลมุ่ ทมี่ ไี ลฟ์สไตล์ และวิธีคดิ แบบผู้ควา้ ชยั (Succeeder Oriented) 3-3 3.2 กลมุ่ ทีม่ ไี ลฟ์สไตล์ และวธิ ีคิดแบบผ้ปู รับปรุง (Reformer Oriented) 3-5 3.3 กลมุ่ ทีม่ ีไลฟ์สไตล์ และวธิ คี ดิ แบบคนธรรมดาในโลกธรรมดา (Mainstream Oriented) 4-1 บทที่ 4 ขอ้ เสนอแผนกลยุทธ์ และแผนดาเนินการ จาแนกตามประเภทกล่มุ นกั ทอ่ งเท่ยี วศักยภาพสูง 4-1 4.1 ขอ้ มลู ประกอบทตี่ ้องนามาพจิ ารณาสาหรบั การสรา้ งแผนกลยทุ ธ์ (Key Considerations) 4-3 4.2 เป้าหมายกลยุทธใ์ นภาพรวม 4-4 4.3 กลยุทธส์ าหรับนักทอ่ งเทีย่ วกลมุ่ ศักยภาพสูงและแผนการดาเนนิ การภายใต้กลยุทธ์ A

รายงานสรปุ ฉบับผ้บู ริหาร โครงการศึกษาตลาดท่องเทีย่ วกลุม่ ประเทศอาเซียน สารบญั แผนภมู ภิ าพ หน้า 1-3 แผนภมู ิภาพที่ 1.1 แสดงค่าเฉลยี่ ความสาคัญของชอ่ งทางที่ใช้ในการรบั ข้อมลู ข่าวสารประกอบการตดั สนิ ใจ เลือกเป้าหมายทอ่ งเท่ยี ว 1-5 แผนภมู ิภาพท่ี 1.2 แสดงปจั จัยทีใ่ ช้เลอื กเป้าหมายเดนิ ทาง ของนกั ทอ่ งเทยี่ วชาวอาเซยี น 1-8 แผนภมู ิภาพท่ี 1.3 แสดงช่วงเวลาเดินทางท่องเที่ยวต่างประเทศของนกั ทอ่ งเทย่ี วชาวอาเซยี น 1-8 แผนภมู ิภาพท่ี 1.4 แสดงช่วงเวลาเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี วตา่ งประเทศของนกั ท่องเท่ยี วชาวอาเซยี น 1-9 แผนภมู ภิ าพที่ 1.5 แสดงสัดส่วนกจิ กรรมยอดนิยมระหวา่ งการทอ่ งเทีย่ ว 1-10 แผนภมู ิภาพที่ 1.6 แสดงสัดสว่ นประสบการณต์ อ่ ประเทศเป้าหมายการท่องเทย่ี วของนักท่องเท่ยี วชาวอาเซยี น 1-11 แผนภมู ภิ าพท่ี 1.7 แสดงสัดส่วนประสบการณต์ ่อเมืองเปา้ หมายการท่องเท่ียวของนักท่องเทีย่ วชาวอาเซียน 1-13 แผนภูมิภาพท่ี 1.8 แสดงสัดส่วนเคยเดินทางมาประเทศไทยแล้ว 1-13 แผนภมู ิภาพที่ 1.9 แสดงสัดสว่ นภาพจาทโ่ี ดดเด่นของประเทศไทย ในมุมมองของนักทอ่ งเท่ียวชาวอาเซยี น (ภาพรวมภมู ภิ าค) 2-2 แผนภมู ิภาพที่ 2.1 แสดงการเปรยี บเทยี บสดั ส่วนนกั ท่องเทย่ี วทัง้ หมด และนักท่องเท่ียวศกั ยภาพสงู ในกลุ่มประเทศ อาเซยี น 2-6 แผนภมู ภิ าพที่ 2.2 แสดงสดั สว่ นเพศ และชว่ งอายขุ องนักท่องเทย่ี วศักยภาพสงู ชาวอาเซยี น 2-6 แผนภมู ิภาพท่ี 2.3 แสดงสดั สว่ นรายได้เฉลีย่ ครัวเรอื น และกลุ่มอาชีพของนักทอ่ งเที่ยวศักยภาพสูงชาวอาเซียน 2-7 แผนภมู ิภาพท่ี 2.4 แสดงค่าเฉลย่ี ความเหน็ ดว้ ยในทศั นคติและอปุ นิสัยในการดารงชีวิตระหว่างนกั ทอ่ งเทย่ี วศักยภาพสงู กับนักท่องเท่ยี วทัว่ ไป 2-8 แผนภูมภิ าพที่ 2.5 แสดงค่าเฉลีย่ ความสาคญั ของช่องทางทใ่ี ชใ้ นการรบั ข้อมูลข่าวสารประกอบการตัดสินใจเลอื ก เป้าหมายทอ่ งเที่ยวของนกั ทอ่ งเท่ียวกล่มุ ศกั ยภาพสงู 2-9 แผนภมู ภิ าพท่ี 2.6 แสดงปัจจัยทใี่ ชเ้ ลือกเปา้ หมายเดินทาง ของนกั ท่องเท่ยี วศักยภาพสูงชาวอาเซียน 2-10 แผนภมู ภิ าพที่ 2.7 แสดงสัดสว่ นรูปแบบการจองตวั๋ และการเดนิ ทาง 2-10 แผนภมู ภิ าพท่ี 2.8 แสดงสดั ส่วนพาหนะสาหรบั การเดินทาง 2-12 แผนภมู ภิ าพท่ี 2.9 แสดงสดั สว่ นจงั หวดั เปา้ หมายทนี่ กั ทอ่ งเทยี่ วศักยภาพสูงชาวอาเซียนได้เดินทางกนั มาแลว้ 5 ลาดบั แรก 2-13 แผนภูมภิ าพที่ 2.10 แสดงสัดส่วนภาพจาทีโ่ ดดเดน่ ของประเทศไทยในมมุ มองของนักทอ่ งเท่ียวชาวอาเซียน (ภาพรวมภูมิภาค) B

รายงานสรุปฉบับผบู้ รหิ าร โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลมุ่ ประเทศอาเซยี น สารบญั ตาราง หนา้ 1-1 ตารางที่ 1.1 แสดงจานวน และสัดสว่ นของนกั ท่องเทีย่ วอายุต้ังแต่ 18 ปขี นึ้ ไปที่ได้เดินทางทอ่ งเทย่ี วตา่ งประเทศ ในชว่ ง 5 ปีทีผ่ า่ นมา 1-2 ตารางที่ 1.2 แสดงภมู ิหลังดา้ นประชากรศาสตรแ์ ละสาระสาคัญด้านรูปแบบการเดนิ ทางของนกั ท่องเทย่ี วชาติอาเซยี น (อายตุ ัง้ แต่ 18 ปขี ้นึ ไปทไ่ี ดเ้ ดินทางทอ่ งเที่ยวตา่ งประเทศในชว่ ง 5 ปที ี่ผ่านมา) 1-4 ตารางที่ 1.3 แสดงค่าเฉลี่ย (น้าหนัก) ความสาคัญของช่องทางส่อื ทใี่ ชต้ ัดสนิ ใจเลือกเปา้ หมายการท่องเทย่ี ว เปรยี บเทยี บ 5 ลาดับแรก รายชาติ (หนว่ ย ค่าเฉลีย่ ความสาคัญ) 1-6 ตารางท่ี 1.4 แสดงสดั ส่วนการใช้บรกิ ารอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ จากบรษิ ัททวั ร์ กบั สดั สว่ นการเลือกเดนิ ทางกบั กรุป๊ ทัวร์ รายประเทศ 1-7 ตารางที่ 1.5 แสดงสดั ส่วนของนักทอ่ งเที่ยวอายุตัง้ แต่ 18 ปขี น้ึ ไป ทไ่ี ดเ้ ดนิ ทางท่องเที่ยวตา่ งประเทศดว้ ยความถ่ี ตง้ั แตป่ ีละ 1 คร้ังขึน้ ไปตอ่ ประชากรทั้งหมด 2-1 ตารางท่ี 2.1 แสดงการเปรียบเทยี บปจั จัยท่ใี ชใ้ นการคดั แยก นกั ท่องเทย่ี วศกั ยภาพสูง ออกจากนักทอ่ งเท่ยี วทวั่ ไป 2-2 ตารางท่ี 2.2 แสดงการเปรียบเทยี บมลู คา่ การใชจ้ ่ายเฉลย่ี ในหมวดตา่ งๆ ระหวา่ งการท่องเทียวของนักทอ่ งเทีย่ ว ศกั ยภาพสูงในประเทศกล่มุ อาเซียน 2-3 ตารางที่ 2.3 แสดงจานวน และสัดส่วนนกั ท่องเทย่ี วศกั ยภาพสงู 2-4 ตารางที่ 2.4 แสดงจานวนนกั ท่องเท่ียวศกั ยภาพสงู ตามเมืองหลักตา่ งๆ ในประเทศกลมุ่ อาเซยี น 2-11 ตารางที่ 2.5 แสดงสัดสว่ นประสบการณเ์ ดินทางทอ่ งเทีย่ วในชว่ ง 5 ปีท่ีผ่านมา และมูลค่าเฉล่ียการใชจ้ า่ ยรายหมวด ของนกั ทอ่ งเทยี่ วกลุม่ ศักยภาพสูงในการเดนิ ทางครัง้ ลา่ สดุ 3-1 ตารางท่ี 3.1 แสดงนักท่องเทยี่ วศักยภาพสงู ในแต่ละกลุม่ ยอ่ ย C

รายงานสรุปฉบับผู้บรหิ าร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเที่ยวกลุม่ ประเทศอาเซยี น บทนำ ในฐานะองคก์ รภาครฐั ทมี่ ีบทบาทสาคญั ในการขบั เคลอื่ นอตุ สาหกรรมการท่องเทย่ี วของประเทศ การ ท่องเทยี่ วแห่งประเทศไทย ไดเ้ ตรียมความพร้อมทจี่ ะก้าวสู่การเปน็ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) ในปี 2558 ดว้ ยการก้าวไปสู่การเป็นหน่วยงานทมี่ คี วามเป็นเลิศทางการตลาดการท่องเทย่ี วยคุ ใหม่ (Modern Marketing) ในระดับสากล มีวสิ ยั ทัศน์ท่ีแสดงไดถ้ ึงความเป็นผ้นู าในตลาดอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วระดบั โลก หรืออย่างน้อยกใ็ นตลาดอาเซียน เพือ่ ความเป็นผ้นู าในอตุ สาหกรรมนี้ ททท. ตระหนักดวี า่ จานวนนกั ทอ่ งเทีย่ วไม่ใช่สาระเดยี วของการ แขง่ ขันเทา่ น้ัน “คณุ ภาพ” ของนักท่องเที่ยวกลบั เปน็ องคป์ ระกอบทส่ี าคญั ยิง่ กว่า หรอื กล่าวอีกนยั หนึ่งไดว้ ่า “การเพมิ่ จานวนนักทอ่ งเที่ยวทม่ี คี ุณภาพ” เป็นเป้าหมายของการทางานของ ททท. ในปัจจบุ ัน และประเด็น เหล่านี้คือท่ีมาของ “โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเที่ยวกล่มุ ประเทศอาเซียน” ความหมายของ “การเพมิ่ จานวนนักทอ่ งเทย่ี วทม่ี ีคุณภาพ” คอื การให้ความสาคญั กบั นักท่องเท่ยี ว กลุม่ เปา้ หมายทมี่ กี ารใช้จ่ายในระหว่างการเดนิ ทางมลู คา่ สงู กวา่ นักทอ่ งเที่ยวกลมุ่ ทว่ั ไป รวมถงึ การ ตัง้ สมมติฐานที่เช่อื วา่ นักทอ่ งเท่ียวกลมุ่ น้ีพัฒนาคณุ ภาพพฤตกิ รรมระหว่างการเดนิ ทางทอ่ งเที่ยวมากกว่า นักท่องเทีย่ วกลุ่มทวั่ ไปอกี ด้วยนน้ั ทาใหต้ ้องการข้อมูลในมิติต่างๆ มาเพื่อใชว้ างแผนกลยุทธ์ทเ่ี หมาะสมสาหรบั ดาเนินงานผา่ นเครื่องมือทางการตลาด และช่องทางการสอื่ สารต่างๆ ในการส่งขา่ วสารท่มี สี าระเหมาะสมตรง ใจกบั นกั ท่องเที่ยวกลุ่มเปา้ หมายใหต้ ัดสินใจเดนิ ทางมาท่องเทีย่ วประเทศไทย รวมทงั้ ใชจ้ ่ายในการซือ้ สนิ ค้า และบรกิ าร นารายได้เข้าสู่ประเทศเพม่ิ ขึน้ ในแต่ละปี การดาเนินงานของบรษิ ทั อนิ ทัช รเี สิรช์ แอนด์ คอนซัลแทนซี่ ร่วมกบั พนั ธมิตร อนั ไดแ้ ก่ บริษัท Young & Rubicam และบรษิ ทั RH International ภายใตก้ ารตดิ ตามดูแลสนบั สนุนของ ผสู้ ังเกตการณจ์ าก ททท. ซ่ึงไดด้ าเนนิ การเก็บข้อมูล ท้งั ในสว่ นของการศกึ ษาเชงิ คุณภาพ (การสนทนากลุ่ม และการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ ) และการเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยในภาพรวมกลา่ วไดว้ ่าบรรลุตามแผนงานท่ไี ดก้ าหนดไว้เปน็ อยา่ งดี รวมถงึ ได้ดาเนินการวิเคราะหผ์ ลทเี่ น้นแนวทางคัดกรอง “นักท่องเทีย่ วกล่มุ ศักยภาพสงู ” และขอ้ เสนอทิศทาง การตลาดสาหรับการเขา้ ถงึ กลุ่มเปา้ หมาย เพื่อแนวคดิ ใหม่ๆ ในการกาหนดทศิ ทางแผนการดาเนินงานปี 2557 ของผเู้ กย่ี วข้องไดอ้ ยา่ งทันการ อกี ท้ังยงั ช่วยกระตุน้ การเรยี นร้แู ละแลกเปลย่ี นข้อมูลจากประสบการณ์ของ ผู้เก่ยี วข้องในสว่ นอ่นื ๆ การนาเสนอรายงาน “บทสรุปผู้บริหาร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเท่ยี ว กลุ่มประเทศอาเซยี น” ฉบบั น้ี ได้รวบรวมผลการศกึ ษา โดยเฉพาะสาระสาคญั ท่เี ก่ียวเนือ่ งกบั นักทอ่ งเท่ียวศกั ยภาพสงู และบทสรุปแผนการ ทางานแบบเบ็ดเสร็จ (Implementation Plan) ตามรายงานฉบับสมบูรณ์รายประเทศทง้ั 9 ประเทศ เพอื่ ให้ ผบู้ รหิ ารได้ใชบ้ ทสรปุ นี้ กาหนดแนวทางกลยุทธ์ และส่งั การแผนการดาเนนิ การในภาพรวมได้ตามเหมาะสม ต่อไป i

รายงานสรุปฉบับผู้บรหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเท่ยี วกลุม่ ประเทศอาเซยี น นิยำมศพั ท์ พลเมืองในพื้นท่สี ารวจ ทีม่ อี ายตุ ้ังแต่ 18 ปีขน้ึ ไป มีเศรษฐฐานะพื้นฐาน ต้งั แต่ระดับ C+ ขนึ้ ไป ที่ได้มโี อกาสเดินทางทอ่ งเทยี่ วต่างประเทศ ใดๆ นักทอ่ งเทีย่ ว หรอื ในช่วง 5 ปที ่ีผ่านมา นักท่องเทีย่ วกลมุ่ เป้าหมาย กลุม่ เปา้ หมายท่ีมกี ารใช้จา่ ยในระหวา่ งการเดนิ ทางท่องเท่ยี วด้วยมลู ค่า นักทอ่ งเที่ยวกลมุ่ ศกั ยภาพสูง เฉลยี่ สูงกวา่ นักท่องเที่ยวกลุ่มท่ัวไป รวมถึงเชือ่ วา่ นักท่องเทย่ี วกล่มุ นี้มีการ พฒั นาคณุ ภาพพฤติกรรมระหวา่ งการเดนิ ทางท่องเที่ยว เป็นไปในทิศทาง นักท่องเท่ยี วชาวอาเซียน ส่งเสริมการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรทางธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เศรษฐฐานะระดบั C+ ข้ึนไป* หมายถงึ นกั ท่องเที่ยวกลุม่ เปา้ หมาย ในประเทศอาเซียนทัง้ หมด เว้น ประเทศไทย ร้อยละ เวยี ดนาม - รายได้ 410 เหรียญสหรัฐตอ่ เดอื นข้ึนไป กัมพูชา - รายได้ 410 เหรยี ญสหรัฐต่อเดือนขนึ้ ไป ลาว - รายได้ 410 เหรียญสหรัฐตอ่ เดอื นขนึ้ ไป พมา่ - รายได้ 410 เหรยี ญสหรัฐตอ่ เดอื นข้นึ ไป มาเลเซีย - รายได้ 970 เหรียญสหรัฐตอ่ เดือนขึ้นไป สิงคโปร์ - รายได้ 2,100 เหรียญสหรฐั ตอ่ เดือนขึ้นไป บรไู น - รายได้ 1,600 เหรียญสหรฐั ตอ่ เดอื นขึ้นไป อนิ โดนีเซีย - รายได้ 410 เหรยี ญสหรฐั ตอ่ เดอื นข้นึ ไป* ฟิลิปปนิ ส์ - รายได้ 690 เหรียญสหรัฐตอ่ เดอื นขน้ึ ไป * ข้อมลู ท่ีใช้ในการสารวจในพืน้ ท่ี ปี 2555 ของบริษัทวิจยั ทอ้ งถ่นิ หมายถงึ รอ้ ยละ ของกลมุ่ เป้าหมายท่ีไดเ้ ดนิ ทางทอ่ งเท่ยี วตา่ งประเทศ ในชว่ ง 5 ปีทผี่ ่านมา หมายเหต:ุ ใชก้ ารเรยี งประเทศตามลาดบั อกั ษรภาษาไทย เว้นเฉพาะเปน็ การเรยี งตามลาดับปรมิ าณ หรอื ความถ่ี ซ่ึงจะถกู ระบุ แยกไวเ้ ป็นกรณไี ปใต้ตาราง ii

รายงานสรุปฉบบั ผูบ้ รหิ าร โครงการศึกษาตลาดท่องเท่ยี วกลมุ่ ประเทศอาเซยี น บทที่ 1 ขนาดตลาด คุณลักษณะ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมของนักทอ่ งเทย่ี วชาวอาเซยี นในภาพรวม 1.1 คุณลักษณะ ทัศนคติ และพฤติกรรมของนักทอ่ งเทยี่ วชาวอาเซยี น  การศกึ ษาไดค้ ดั แยกนกั ท่องเท่ียวชาตอิ าเซียนอายตุ ้งั แต่ 18 ปีข้นึ ไป ท่ีไดเ้ ดนิ ทางท่องเท่ียวต่างประเทศ ในชว่ ง 5 ปที ผ่ี า่ นมา ออกจากประชากรทั่วไปของประเทศในภูมภิ าคอาเซียนทั้ง 9 ชาติ (ยกเวน้ ประเทศไทย) ซึ่งพบวา่ มจี านวนรวมกันเทา่ กบั 37,405,791 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6.8 ของประชากรท้ังหมด (549,332,820 คน) โดย สามารถแสดงจานวน และสัดส่วนนกั ท่องเท่ียว (ตา่ งประเทศ) ของแตล่ ะประเทศได้ดังน้ี ตารางที่ 1.1 แสดงจานวน และสดั ส่วนของนกั ทอ่ งเทย่ี วอายตุ ง้ั แต่ 18 ปขี ึ้นไป ท่ีได้เดนิ ทางทอ่ งเทยี่ วต่างประเทศ ในช่วง 5 ปีท่ผี า่ นมา จานวนนักทอ่ งเที่ยว ประเทศ จานวนประชากร* (อายุตัง้ แต่ 18 ปที ไ่ี ดเ้ ดนิ ทางทอ่ งเท่ยี ว สัดส่วน (รอ้ ยละ) ตา่ งประเทศในชว่ ง 5 ปที ่ผี า่ นมา) เวียดนาม 85,846,997 5,357,874 6.2 กมั พูชา 14,952,665 592,853 4.0 พมา่ 54,584,650 1,156,930 2.1 ลาว 6,586,266 305,377 4.6 มาเลเซยี 29,179,952 10,831,949 37.1 บรไู น 408,786 206,968 50.6 สงิ คโปร์ 5,353,494 3,990,721 74.5 ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 103,775,002 6,431,243 6.2 อินโดนเี ซีย 248,645,008 8,531,876 3.4 รวมอาเซยี น 9 ชาติ 549,332,820 37,405,791 6.8 * แหลง่ ทม่ี าข้อมลู จานวนประชากร ในภาคผนวก ข1 รายงานแตล่ ะประเทศ 1.2 คณุ ลักษณะ ทศั นคติ และพฤติกรรมของนักทอ่ งเทย่ี วชาวอาเซยี น  นกั ท่องเทยี่ วของชาตอิ าเซียนแต่ละชาติ มีคุณลักษณะทางดา้ นประชากรศาสตร์ และรูปแบบการเดนิ ทาง แตกต่างกันอย่บู ้าง โดยสามารถสรปุ สาระสาคัญในประเดน็ ดังกลา่ วได้ดังน้ี 1-1

รายงานสรปุ ฉบับผู้บริหาร โครงการศกึ ษาตลาดท่องเท่ยี วกลุ่มประเทศอาเซยี น ตารางที่ 1.2 แสดงภูมหิ ลังดา้ นประชากรศาสตร์และสาระสาคัญด้านรูปแบบการเดินทางของนกั ทอ่ งเทย่ี วชาติอาเซยี น (อายุตัง้ แต่ 18 ปขี ึน้ ไปทไ่ี ด้เดินทางท่องเท่ียวต่างประเทศในช่วง 5 ปีทผ่ี ่านมา) ประเทศ หน่วย (รอ้ ยละ ของจานวนนกั ท่องเทยี่ วแตล่ ะชาติ) แนวโนม้ เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 69.2) วยั ทางานชว่ งต้นถึงกลาง (61.6) เศรษฐฐานะ เวยี ดนาม ปานกลางลงไป (รวมกันร้อยละ 82.0) แตน่ ิยมเลอื กเดนิ ทางโดยเครอื่ งบิน (รอ้ ยละ (5,357,874 คน) 86.6) สดั ส่วนการเดินทางเป็นหมู่คณะไปกบั กรปุ๊ ทวั รม์ สี ูง (รอ้ ยละ 54.6) กัมพชู า ส่วนใหญ่อายุไม่มาก (อายุนอ้ ยกวา่ 35 ปี รอ้ ยละ 81.9) เศรษฐฐานะปานกลางลง ไป (รวมกนั รอ้ ยละ 82.0) เป้าหมายการเดินทางส่วนใหญเ่ ปน็ ประเทศไทยหรอื (592,853 คน) เวียดนาม และส่วนใหญเ่ ป็นการเดนิ ทางระยะทางไมไ่ กล การเดนิ ทางดว้ ยตัวเอง (FIT) โดยใชร้ ถยนต์สาธารณะ (ร้อยละ 70.5) หรอื รถยนตส์ ่วนตวั จงึ มีสดั สว่ นสงู พม่า สว่ นใหญ่เปน็ คนวยั ทางานช่วงตน้ ถงึ กลาง (อายุ 25-44 ปี ร้อยละ 59.9) (1,156,930 คน) เศรษฐฐานะปานกลางลงไป (รวมกันร้อยละ 91.0) แต่นยิ มเลือกเดนิ ทางโดย เครอื่ งบิน (รอ้ ยละ 95.0) เนื่องจากบรษิ ัททวั ร์ท่ีถกู ต้องตามกฎหมายมไี ม่มาก รปู แบบการเดนิ ทางจงึ ยงั ถกู ระบวุ า่ เปน็ การเดนิ ทางดว้ ยตัวเองในสัดส่วนท่สี งู (รวมกนั รอ้ ยละ 76.2) ลาว ส่วนใหญ่เปน็ กลมุ่ คนวยั ทางานชว่ งต้น-กลาง หรือเยาวชน (อายนุ ้อยกวา่ 45 ปี (305,377 คน) ร้อยละ 73.3) เศรษฐฐานะปานกลางลงไป (รวมกันร้อยละ 89.0) เปา้ หมายการ เดนิ ทางสว่ นใหญเ่ ป็นประเทศไทยหรอื เวียดนาม และส่วนใหญเ่ ปน็ การเดินทาง ระยะทางไม่ไกล การเดนิ ทางด้วยตัวเอง (รอ้ ยละ 75.7) โดยใชร้ ถยนต์สาธารณะ (ร้อยละ 19.3) หรือรถยนต์ส่วนตวั (ร้อยละ 42.3) จึงมสี ัดสว่ นสูง มาเลเซยี ส่วนใหญเ่ ปน็ กลมุ่ คนวยั ทางานชว่ งต้น-กลาง (อายุ 25-44 ปี รอ้ ยละ 60.4) (10,831,949 เศรษฐฐานะปานกลางถึงดี (รวมกันร้อยละ 86.7) เนื่องจากการเดินทางสว่ นหนึ่ง คน) เปน็ การเดินทางไปประเทศทม่ี พี รมแดนตดิ กัน โดยเฉพาะไทย หรอื สิงคโปร์ สดั ส่วน การเดินทางโดยรถสาธารณะ (ร้อยละ 45.7) หรือรถยนตส์ ว่ นตวั (รอ้ ยละ 25.2) จึง มีสดั ส่วนสูงพอสมควร อยา่ งไรกต็ ามการเดินทางโดยเคร่อื งบนิ ทงั้ ไฟลท์ปกติ (ร้อยละ 65.3) หรอื ชาร์เตอร์ไฟลท์ (ร้อยละ 32.3) ก็มีสัดส่วนสงู เช่นเดียวกัน บรไู น นักทอ่ งเท่ยี วส่วนใหญ่อายนุ ้อย (อายนุ ้อยกว่า 35 ปี รอ้ ยละ 60.3) สว่ นใหญ่มี (206,968 คน) เศรษฐฐานะดถี ึงดมี าก (รวมกันร้อยละ 62.9) รูปแบบการเดนิ ทางส่วนใหญ่เป็นการ เดินทางดว้ ยตัวเอง (รอ้ ยละ 70.9) โดยเครอ่ื งบนิ ทัง้ ไฟลท์ปกติ (รอ้ ยละ 84.4) หรือ ชารเ์ ตอร์ไฟลท์ (รอ้ ยละ 39.7) 1-2

รายงานสรุปฉบับผบู้ รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดท่องเทีย่ วกลมุ่ ประเทศอาเซียน ประเทศ หนว่ ย (รอ้ ยละ ของจานวนนักท่องเทย่ี วแต่ละชาติ) สิงคโปร์ กระจายตัวทุกกลุ่มอายุ ส่วนใหญ่มีเศรษฐฐานะดีถึงดีมาก (รวมกันร้อยละ 80.2) รูปแบบการเดินทางสว่ นใหญเ่ ป็นการเดนิ ทางด้วยตวั เอง (ร้อยละ 83.9) โดย (3,990,721 คน) เครื่องบนิ ทงั้ ไฟลทป์ กติ (รอ้ ยละ 75.2) หรือชารเ์ ตอรไ์ ฟลท์ (รอ้ ยละ 41.6) ฟลิ ิปปนิ ส์ นกั ท่องเทยี่ วส่วนใหญเ่ ปน็ คนวัยทางานช่วงต้นถงึ ปลาย (อายุ 25-54 ปี รอ้ ยละ 69.5) เศรษฐฐานะปานกลางข้นึ ไป (รวมกันร้อยละ 73.0) รปู แบบการเดนิ ทางส่วน (6,431,243 คน) ใหญ่เป็นการเดินทางด้วยตวั เอง (ร้อยละ 78.8) เน่อื งจากภมู ศิ าสตร์เปน็ ประเทศ หมู่เกาะ การเดินทางสว่ นใหญจ่ ึงใช้พาหนะเคร่อื งบนิ โดยเฉพาะไฟลทบ์ นิ ปกติ อินโดนีเซีย (รอ้ ยละ 97.3) (8,531,876 คน) สว่ นใหญ่เป็นคนวยั ทางานช่วงตน้ ถึงกลาง (อายุ 25-44 ปี รอ้ ยละ 50.0) เศรษฐฐานะปานกลางถงึ ดี (รวมกนั รอ้ ยละ 80.3) รูปแบบการเดินทางสว่ นใหญ่เป็น การเดินทางด้วยตวั เอง (รอ้ ยละ 76.9) แต่กิจกรรมท่ตี อ้ งใชบ้ ริการของบรษิ ัททัวรก์ ็มี ไมน่ ้อย (ร้อยละ 23.1) เนื่องจากภมู ศิ าสตรเ์ ป็นประเทศหมเู่ กาะ การเดินทางสว่ น ใหญจ่ ึงใชพ้ าหนะเครอื่ งบนิ โดยเฉพาะไฟลทบ์ ินปกติ (รอ้ ยละ 99.4)  ช่องทางข่าวสารดา้ นการท่องเทยี่ วทีม่ ีอิทธพิ ล (ตอ่ การตดั สินใจเลอื กเปา้ หมายการทอ่ งเทย่ี ว) ในภมู ิภาค อาเซียน (ภาพรวมภายหลงั ถ่วงนา้ หนกั ตามจานวนนักทอ่ งเทยี่ ว) ที่สาคญั 10 อนั ดับแรก ไดแ้ ก่ แผนภมู ภิ าพท่ี 1.1 แสดงค่าเฉลี่ยความสาคญั ของชอ่ งทางท่ีใช้ในการรับขอ้ มูลข่าวสารประกอบการตดั สินใจเลือกเป้าหมายท่องเท่ยี ว คา่ เฉล่ยี ความสาคัญ (เต็ม 10 คะแนน) 0.00 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 ขขอ้ ้อมมลู ลู จจาากกกกกาารรบบออกกเลเล่า่า(W(WOOMM)) 3.31 บรษิ ัททวั ร์ 2.20 นิตยสารทอ่ งเที่ยว 2.14 สงั คมออนไลน์ 2.04 โทรทศั น์ 1.35 หนังสอื คมู่ อื การเดนิ ทาง 1.12 โบรชัวร์ 1.11 หนงั สอื พิมพ์ 0.99 หน้าเว็บไซต์ 0.98 ฟอร์เวริ ์ดเมล/์ อีบุค๊ /อีแมกกาซีน 0.96 นติ ยสารทว่ั ไป 0.93 1-3

รายงานสรปุ ฉบบั ผู้บริหาร โครงการศึกษาตลาดท่องเท่ียวกลมุ่ ประเทศอาเซียน  โดยสามารถสรปุ ช่องทางขา่ วสารทีม่ ีอิทธพิ ล (ต่อการตดั สินใจเลือกเปา้ หมายการท่องเที่ยว 5 อันดบั แรก) เป็น รายประเทศ ได้ดงั น้ี ตารางที่ 1.3 แสดงค่าเฉล่ยี (นา้ หนกั ) ความสาคัญของชอ่ งทางส่อื ทใ่ี ชต้ ดั สินใจเลือกเปา้ หมายการท่องเที่ยว เปรยี บเทยี บ 5 ลาดบั แรก รายชาติ (หน่วย คา่ เฉลีย่ ความสาคญั ) ฟอร์ บอก เวริ ์ด เลา่ บรษิ ทั หนังสอื เมล/์ ปาก ทัวร์ ประเทศ ต่อ นติ ยสาร สงั คม โทรทศั น์ คู่มอื โบร- หนงั สือพิมพ์ หน้า /อีบคุ๊ นติ ยสาร วิทยุ ท่องเที่ยว ออนไลน์ การ ชวั ร์ เวบ็ ไซต์ อี ทวั่ ไป เดนิ ทาง แมก ปาก กา ซีน เวยี ดนาม (1.6) (1.9) (4.1) (3.4) (2.6) กมั พูชา (4.7) (1.6) (2.0) (2.6) (2.0) พมา่ (1.6) (2.8) (2.1) (1.9) (3.6) ลาว (2.6) (1.6) (2.1) (2.5) (2.7) มาเลเซีย (3.6) (1.2) (2.2) (2.4) (1.8) (1.3) บรูไน (2.3) (2.2) (2.6) (1.5) (2.6) สิงคโปร์ (3.4) (1.4) (1.9) (2.1) (2.8) ฟลิ ปิ ปนิ ส์ (2.5) (2.6) (2.8) (2.4) (2.1) อนิ โดนีเซยี (1.7) (1.8) (2.2) (1.7) (3.1) (3.1) (1.7)  สว่ นเน้ือหาข่าวสาร (ปัจจัยด้านเนือ้ หา) ที่นกั ทอ่ งเทีย่ วชาวอาเซยี นใช้เปน็ ขอ้ มูลในการเลือกสถานท่เี ดินทาง ตามลาดบั ความสาคัญ (ภายหลังถ่วงนา้ หนักสัดสว่ นตามจานวนนกั ทอ่ งเท่ยี วรายประเทศ) ได้แก่ เนอ้ื หาทีแ่ สดง ถงึ ความหลากหลายของสถานที่ท่องเทย่ี วในประเทศนั้นๆ (รอ้ ยละ 69.6) ความเชอื่ หรอื ขอ้ มลู ขา่ วสารที่สรุปได้ ว่าหากตดั สินใจแลว้ เกดิ ความรู้สึกวา่ “คุ้มคา่ ” กบั เงินและเวลาท่ีจะใช้ไป (ร้อยละ 60.3) และมีสิง่ อานวยความ สะดวกในการพกั อาศยั เดนิ ทาง กินอยอู่ ย่างได้มาตรฐานและเพยี งพอ (ร้อยละ 56.1) เป็นตน้ 1-4

รายงานสรุปฉบับผูบ้ รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเทย่ี วกลุ่มประเทศอาเซยี น แผนภูมิภาพที่ 1.2 แสดงปัจจยั ท่ีใชเ้ ลือกเปา้ หมายเดนิ ทาง ของนักทอ่ งเท่ยี วชาวอาเซียน  ในภาพรวมนักท่องเทย่ี วชาวอาเซียนนยิ มเลอื กเปา้ หมายและวางแผนการเดินทางดว้ ยตัวเอง (Own arrangement) ในสดั สว่ นเฉลย่ี ท้งั ภมู ิภาคเท่ากบั ร้อยละ 58.3 (ภายหลงั ถ่วงน้าหนกั ตามจานวนนักท่องเทย่ี ว) แตก่ ็สามารถกล่าวไดเ้ ช่นกันว่า สดั สว่ นนักท่องเท่ยี วชาวอาเซียนทใ่ี ช้บริการอยา่ งใดอย่างหน่งึ ของบรษิ ัททวั ร์ (ทงั้ การเดินทางกบั กรปุ๊ ทัวร์ หรอื ใชบ้ รกิ ารอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ของทวั รโ์ อเปอเรเตอร์/ทวั รเ์ อเยน่ ต์ เชน่ จองต๋วั เคร่ืองบนิ หรอื จองทพี่ กั หรือต๋ัวชมกจิ กรรม หรอื ตว๋ั เดินทางภายในประเทศ แลว้ เลอื กท่ีจะเดินทางเอง) ก็มี 1-5

รายงานสรุปฉบบั ผู้บริหาร โครงการศกึ ษาตลาดท่องเท่ยี วกลุม่ ประเทศอาเซยี น สัดสว่ นสงู ไมน่ ้อย ถึงร้อยละ 41.7 (แมว้ า่ การเดินทางไปกบั กลุ่มทัวรเ์ ป็นหม่คู ณะ -Group Tour- จะมีสดั สว่ น น้อยกว่าคอ่ นขา้ งมาก เพยี งร้อยละ 29.5 เทา่ นั้น)  สามารถแสดงสัดสว่ นการใช้บริการอยา่ งใดอย่างหน่งึ จากบรษิ ัททัวร์ กับการเลือกเดนิ ทางกับคณะทัวร์ของ แต่ละประเทศได้ตามตารางด้านลา่ งนี้ (เป็นสดั ส่วนประสบการณข์ องนักทอ่ งเทยี่ ว โดยไม่เกี่ยวข้องกบั ความถี่ใน การใชบ้ ริการ) ตารางที่ 1.4 แสดงสัดส่วนการใชบ้ รกิ ารอย่างใดอย่างหนึง่ จากบรษิ ทั ทวั ร์ กับสัดสว่ นการเลอื กเดินทางกบั กรุป๊ ทวั ร์ รายประเทศ ประเทศ เดินทางกับกรปุ๊ ทัวร์ ใชบ้ ริการอยา่ งเดินทางอย่างหนึง่ แลว้ รวมสัดสว่ น เลอื กเดนิ ทางเอง หรอื เดนิ ทางไปเฉพาะ นกั ท่องเทีย่ วทมี่ ี กจิ กรรมเกีย่ วขอ้ งกับ กลุ่มของตน บรษิ ทั ทัวร์ เวียดนาม 54.5 4.7 59.2 กมั พชู า 16.2 7.6 23.8 พม่า 23.8 7.3 31.1 ลาว 22.3 12.3 34.7 มาเลเซีย 25.2 15.2 40.4 สิงคโปร์ 9.4 42.8 52.2 บรไู น 21.2 28.5 49.7 อินโดนเี ซยี 37.3 3.4 40.7 ฟิลปิ ปินส์ 21.1 6.8 27.9 รวมอาเซียน 9 ชาติ 29.5 12.2 41.7 1-6

รายงานสรุปฉบับผบู้ ริหาร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเทย่ี วกลมุ่ ประเทศอาเซยี น  นักท่องเทยี่ วชาวอาเซยี น เดินทางทอ่ งเทีย่ วตา่ งประเทศดว้ ยความถีน่ ้อยคร้ังมาก เหน็ ได้จากนกั ท่องเท่ยี วใน สัดสว่ นถงึ ร้อยละ 82.4 (ของกลุม่ คนท่ีเคยเดนิ ทางท่องเทีย่ วในชว่ ง 5 ปที ีผ่ า่ นมา) เดินทางด้วยความถนี่ อ้ ยกว่า ปีละคร้งั หรอื มีเพยี งนกั ทอ่ งเท่ยี วในสัดส่วนร้อยละ 17.6 เทา่ นนั้ ที่เดินทางทอ่ งเทีย่ วตา่ งประเทศตั้งแตป่ ีละคร้งั ขึน้ ไป  หากนาเอาจานวนนักท่องเทย่ี วที่ได้เดินทางตา่ งประเทศตั้งแต่ปลี ะคร้งั ขึน้ ไป มาเปรยี บเทียบกบั ประชากรชาว อาเซยี น (เว้นประเทศไทย) พบว่านักทอ่ งเทยี่ วที่ได้เดินทางตา่ งประเทศตั้งแตป่ ีละครั้งขึ้นไปมีสัดสว่ นน้อยมาก เพียงประมาณร้อยละ 1 เทา่ นั้น (รอ้ ยละ 0.90) เมือ่ เทยี บกบั ประชากรทงั้ ภมู ภิ าค ซึ่งสดั สว่ นความถใี่ นเดนิ ทาง ทอ่ งเท่ยี วตา่ งประเทศต้ังแต่ปีละครัง้ ขึน้ ไปต่อประชากรแตล่ ะประเทศ สะท้อนได้ถึงพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจของ กล่มุ เป้าหมายในประเทศนัน้ ๆ เหน็ ได้จากสดั ส่วนดังกลา่ วมีความสมั พนั ธก์ บั ระดบั การพฒั นาการทางด้าน เศรษฐกจิ (เวน้ เฉพาะนักท่องเท่ียวของประเทศที่สามารถเดนิ ทางท่องเทย่ี วชายแดนทางบกโดยสะดวก เชน่ ประเทศลาว หรอื กมั พูชา) ตามตารางดา้ นลา่ ง ตารางที่ 1.5 แสดงสัดสว่ นของนักทอ่ งเทย่ี วอายตุ ้ังแต่ 18 ปขี ้ึนไป ทีไ่ ดเ้ ดินทางทอ่ งเทีย่ วต่างประเทศด้วยความถ่ีต้งั แต่ปลี ะ 1 คร้ังข้นึ ไป ต่อประชากรท้ังหมด ลาดบั ความเจริญเตบิ โต ลาดับที่ ทางดา้ นเศรษฐกิจ* สดั สว่ นประชากรอายุ 18 ปี ท่ีไดเ้ ดินทาง สดั สว่ นประชากรอายุ 18 ปี ทไ่ี ดเ้ ดินทางท่องเทย่ี ว ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น ท่องเท่ียวต่างประเทศในช่วง 5 ปีทีผ่ ่านมาต่อ ตา่ งประเทศด้วยความถ่ี ต้ังแต่ปลี ะครั้งขน้ึ ไป (ไมน่ ับรวมประเทศไทย) ในช่วง 5 ปที ี่ผา่ นมาต่อประชากรท้งั หมด ประชากรท้งั หมด 1. สิงคโปร์ 74.54 47.12 16.67 2. บรูไน 50.63 4.61 0.17 3. มาเลเซีย 37.12 0.19 0.19 4. อนิ โดนีเซีย 3.43 0.24 0.96 5. ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 6.20 0.20 0.90 6. เวียดนาม 6.24 7. พม่า 2.12 8. ลาว 4.64 9. กัมพชู า 3.96 รวมอาเซยี น 9 ชาติ 6.81 *ทมี่ า: International Monetary Fund. “World Economic Outlook Database”, 2013 1-7

รายงานสรุปฉบบั ผู้บรหิ าร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเทีย่ วกลุ่มประเทศอาเซียน  ชว่ งเวลาท่ีนิยมเดนิ ทางท่องเทยี่ วต่างประเทศของนักท่องเทย่ี วชาวอาเซยี นมี 2 ชว่ งในรอบปี ได้แก่ ช่วง ประมาณเดอื น เม.ย. ถึง ก.ค. รอบหน่ึง (ร้อยละ 67.1) กบั ชว่ งปลายปี พ.ย. ถงึ ม.ค. อีกชว่ งหนงึ่ (รอ้ ยละ 46.5) แผนภมู ิภาพท่ี 1.3 แสดงช่วงเวลาเดนิ ทางท่องเทีย่ วต่างประเทศของนกั ทอ่ งเท่ียวชาวอาเซยี น 30.0 (รอ้ ยละ) 67.1 46.5 27.4 25.0 22.5 19.1 20.0 16.1 15.0 14.4 14.0 11.1 11.2 11.9 12.6 10.1 10.2 10.0 5.0 0.0 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.  ประเภทผู้รว่ มการเดินทางส่วนใหญไ่ ด้แก่ครอบครวั (ร้อยละ 59.9) หรือเพอ่ื น (ร้อยละ 44.6) รวมถึงอกี ส่วน หน่งึ ทีเ่ ลือกเดินทางกบั คณะทวั ร์ (รอ้ ยละ 29.5) ดงั กลา่ วแลว้ แผนภูมิภาพที่ 1.4 แสดงช่วงเวลาเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี วตา่ งประเทศของนักท่องเท่ยี วชาวอาเซียน (ร้อยละ) 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 ครอบครวั 59.9 เพอื่ น 44.6 กรุ๊ปทวั ร์ 29.5 คนเดียว 22.5 คู่สามี/ภรรยา 21.9 เพ่อื นสานักงาน 16.0 คนรัก 4.4 1-8

รายงานสรุปฉบบั ผูบ้ รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเทีย่ วกลมุ่ ประเทศอาเซยี น  หากจาแนกกจิ กรรมระหว่างการท่องเทยี่ วออกเป็น 23 ประเภท พบวา่ กิจกรรมยอดนิยม 5 ลาดบั แรกของ นักท่องเท่ยี วชาวอาเซยี น ไดแ้ ก่ กจิ กรรมช้อปปิ้ง เท่ียวชิมอาหารท้องถ่นิ กิจกรรมบันเทิง (หรอื สวนสนกุ ) เท่ียวชมสถานทท่ี างประวัตศิ าสตร์/อารยธรรม และกจิ กรรมทะเล และชายหาด ตามลาดบั โดยแสดงรายการ กจิ กรรมอืน่ ๆ เรยี งตามลาดบั ความนิยม (ภายหลงั ถว่ งน้าหนักตามจานวนนกั ทอ่ งเทีย่ วรายชาติ) ไดด้ ังนี้ แผนภูมิภาพที่ 1.5 แสดงสดั ส่วนกจิ กรรมยอดนยิ มระหว่างการทอ่ งเทย่ี ว (รอ้ ยละ) 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 90.0 65.0 81.9 1. ช้อปปิ้ง 2. เท่ียวชมิ อาหารทอ้ งถนิ่ 54.9 3. กจิ กรรมบนั เทงิ /สวนสนกุ 53.0 4. สถานทท่ี างประวัติศาสตร์/อารยธรรม 52.1 43.3 5. ทะเลและชายหาด 32.9 6. ทอ่ งเท่ียวเชิงนเิ วศ/ธรรมชาติ 18.8 7. แสงสยี ามคา่ คนื 18.8 8. วถิ ชี วี ติ คนทอ้ งถน่ิ 18.2 9. กจิ กรรมเชงิ ผจญภัย 15.0 10. พบเพื่อน/ญาติ 14.4 11. สปาเพอ่ื สขุ ภาพ 10.0 12. กิจกรรมพเิ ศษ/เทศกาลทอ้ งถิน่ 8.3 13. วัตถุประสงค์ทางธรุ กิจ 6.3 14. ชมชนบท/เทย่ี วต่างจังหวดั 6.3 15. กิจกรรมเชิงการแพทย์ 5.0 16. กิจกรรมกีฬาทว่ั ๆไป 5.0 17. กจิ กรรมเชงิ ศาสนา 4.9 4.6 18. ดานา้ 3.9 19. เชงิ เกษตรกรรม 1.4 0.4 20. เรอื ครซู 21. แตง่ งาน/ฮนั นมี นู 22. กฬี ากอลฟ์ 23. เรยี นทาอาหาร 1-9

รายงานสรุปฉบับผูบ้ ริหาร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเท่ยี วกลมุ่ ประเทศอาเซยี น 1.3 สดั สว่ นประเทศ และเมอื งทีเ่ คยมปี ระสบการณเ์ ดนิ ทางไปท่องเท่ยี ว  มีประเทศทนี่ กั ท่องเที่ยวชาวอาเซียนเคยเดินทางไปในช่วง 5 ปีท่ผี า่ นมา และจดจาได้ จานวน 73 ประเทศ ทัว่ โลก แตห่ ากพิจารณาเปรียบประสบการณข์ องภาพรวมทง้ั อาเซยี น (เป็นสัดสว่ นประสบการณ์ ภายหลงั ถ่วงน้าหนักตามจานวนนักทอ่ งเที่ยวของแตล่ ะชาติ) พบว่า 5 ประเทศแรกทนี่ ักทอ่ งเทย่ี วชาวอาเซยี นเคย เดินทางไปมาแล้ว (ไมใ่ ชค่ วามถีใ่ นการเดนิ ทาง) ได้แก่ ประเทศไทย (รอ้ ยละ 41.3) สิงคโปร์ (รอ้ ยละ 31.3) มาเลเซยี (รอ้ ยละ 25.1) อนิ โดนเี ซีย (ร้อยละ 14.8) และจีน (ร้อยละ 14.5) ตามลาดบั แผนภมู ภิ าพที่ 1.6 แสดงสดั ส่วนประสบการณ์ตอ่ ประเทศเปา้ หมายการทอ่ งเท่ียวของนกั ท่องเที่ยวชาวอาเซยี น (รอ้ ยละ) 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 Thailand 41.3 Singapore Malaysia 31.3 Indonesia 25.1 China 14.8 Hong Kong 14.5 Cambodia 11.4 Japan 5.4 Vietnam 4.6 4.2 Korea 4.1 Australia 3.9 3.0 Laos 2.9 USA 2.8 India 2.5 Taiwan 1.4 UK 1.1 France 1.0 UAE 1.0 Philippines 0.9 Saudi Arabia 0.7 Italy 0.7 Germany 0.6 New Zealand 0.5 Netherland 0.5 Canada 0.4 Brunei 0.4 Turkey 0.3 Myanmar 0.3 Switzerland 0.2 Spain 1-10

รายงานสรปุ ฉบับผ้บู ริหาร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเทีย่ วกลุ่มประเทศอาเซียน  กวา่ 700 เมือง (ใน 73 ประเทศ) ที่นักทอ่ งเทีย่ วชาวอาเซียนเคยเดินทางไป ส่วนใหญ่เป็นเมอื งหลวง หรือเปน็ เมอื งทีม่ ชี ่ือเสยี งด้านการทอ่ งเที่ยวในประเทศสิงคโปร์ ไทย มาเลเซยี หรอื อินโดนเี ซีย ได้แก่ เมืองสิงคโปร์ (รอ้ ยละ 31.3) กรุงเทพฯ (ร้อยละ 25.6) กัวลาลัมเปอร์ (ร้อยละ 16.1) ภเู ก็ต (รอ้ ยละ 12.0) ฮอ่ งกง (ร้อยละ 11.4) ยะโฮร์บารู (ร้อยละ 7.5) และบาหลี (ร้อยละ 5.6) เป็นตน้ แผนภูมิภาพท่ี 1.7 แสดงสดั สว่ นประสบการณ์ต่อเมอื งเปา้ หมายการทอ่ งเที่ยวของนักทอ่ งเท่ียวชาวอาเซียน (รอ้ ยละ) 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 0.0 Singapore 31.3 25.6 Bangkok Kuala Lumpur 16.1 Phuket 12.0 Hong Kong 11.4 Johor Bahru 7.5 Bali 5.6 Pattaya 4.7 Macau 4.6 Beijing 4.6 Phnom Pehn 4.4 Jakarta 4.0 Hat Yai 3.9 Penang 3.9 Seoul 3.6 Tokyo 3.5 Vientiane 3.0 Shanghai 2.9 Bandung 2.8 Taipei 2.3 HCMC 2.3 Chiangmai 1.6 Siem Riap 1.5 Sydney 1.3 Medan 1.2 Melbourne 1.2 1-11

รายงานสรปุ ฉบบั ผู้บริหาร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเทย่ี วกลุม่ ประเทศอาเซียน 1.4 สรุปภาพลักษณ์การทอ่ งเท่ยี วของประเทศทอ่ งเทย่ี วสาคัญในภูมิภาคเอเชีย และโอเชียเนีย แผนภมู ิภาพที่ 1.8 แสดงภาพลกั ษณด์ า้ นการท่องเทยี่ วของประเทศท่องเทีย่ วช้นั นาในภมู ภิ าคเอเชีย และโอเชยี เนีย  ภาพลกั ษณ์ท่ีโดดเด่นด้านการท่องเท่ียวของประเทศไทยในมมุ มองของนักท่องเทย่ี วชาวอาเซยี น มีหลายดา้ น ตั้งแต่ “แหล่งทอ่ งเทย่ี วหลากหลาย” “แหล่งท่องเที่ยวดึงดดู ใจ” “กิจกรรมดึงดูดใจ” “แสงสียามคา่ คืน” “แหล่งชอ้ ปปิ้งมีมากมาย” “อาหารอร่อย” และโดยเฉพาะภาพลกั ษณ์ด้าน “ความเป็นมติ รของคนทอ้ งถ่นิ ”  นอกจากนัน้ ประเทศไทยยังโดดเดน่ ในด้าน “มแี หลง่ ดานา้ สวยงาม” มโี อกาส “เป็นศนู ย์การเดินทางเช่ือมต่อ ระหวา่ งประเทศ” และภาพรวมการท่องเท่ยี วสรา้ งความรสู้ ึกไดว้ ่า “เกิดความคมุ้ คา่ ”  แต่ภาพลกั ษณท์ ี่ประเทศอืน่ ๆ โดดเด่นเหนือกวา่ ประเทศไทยกม็ ีหลายด้าน ต้งั แต่ภาพลักษณด์ ้าน “ส่ือสาร เขา้ ใจงา่ ย” “ความพร้อมของสิ่งอานวยความสะดวก” “เชย่ี วชาญกจิ กรรมแตง่ งานและฮนั นีมนู ” “กิจกรรม กีฬากอล์ฟ” “การท่องเทย่ี วเชิงสขุ ภาพ” และโดยเฉพาะประเด็นภาพลักษณด์ ้าน “ความปลอดภยั ” และความ เป็น “ประเทศทอ่ งเท่ยี วระดบั หรหู รา” ซ่งึ ประเทศไทยยังต้องการการปรบั ปรงุ พัฒนา 1-12

รายงานสรปุ ฉบับผู้บริหาร โครงการศึกษาตลาดท่องเทย่ี วกลุ่มประเทศอาเซยี น 1.5 สรปุ ประสบการณ์ และภาพจาของประเทศไทยจากมมุ มองของนกั ทอ่ งเท่ยี วชาวอาเซียน  นกั ทอ่ งเท่ียวชาวอาเซยี น รอ้ ยละ 41.3 เคยเดนิ ทาง (ร้อยละ) มาประเทศไทยแล้ว (ส่วนใหญ่เพยี งคร้งั เดียว) สว่ นท่ี เหลือถึงร้อยละ 58.7 เคยเดินทางท่องเทย่ี วไป เคยมาแลว้ 41.3 ประเทศอืน่ ๆ แต่ยังไมเ่ คยเดินทางมาประเทศไทย  ในภาพรวมกล่าวไดว้ ่า ”ภาพจา “ของประเทศไทย** ไม่เคยมา จาแนกไดเ้ ปน็ 8 ประเภท ข้นึ อยกู่ ับ ขอ้ มลู ข่าวสาร ประเทศไทย ของประเทศไทย ทงั้ จากด้านการทอ่ งเท่ียว และ 58.7 แผนภูมิภาพท่ี 1.8 แสดงสดั สว่ นเคยเดินทางมาประเทศไทยแล้ว ขา่ วสารดา้ นอ่ืนๆ ในประเทศน้นั ๆ (** การสรุปภาพจาประเทศไทย ของนักท่องเทีย่ วชาวอาเซยี น มาจากการถามคาถามปลายเปิดวา่ “เม่ือกลา่ วถึงประเทศไทย คณุ นึกถึงภาพ หรอื เรื่องราวใด เปน็ ส่งิ แรก”)  สรปุ ภาพจาของประเทศไทย ท้งั 8 ดา้ น ได้แก่ แผนภมู ภิ าพท่ี 1.9 แสดงสัดส่วนภาพจาท่ีโดดเดน่ ของประเทศไทย ในมุมมองของนกั ท่องเทีย่ วชาวอาเซียน (ภาพรวมภมู ภิ าค) การช้อปป้งิ ท่แี สนคมุ้ คา่ หาดทรายชายทะเลสวยงาม สญั ลกั ษณท์ เ่ี ก่ยี วกับศาสนาพทุ ธ อาหารไทย (รอ้ ยละ 26.5) (รอ้ ยละ 25.5) เช่น โบสถ์ เจดยี ์ (รอ้ ยละ 17.3) (ร้อยละ 18.2) ช้าง ช้างเผือก การฝึกช้าง แสงสยี ามค่าคนื ความโอบออ้ มอารี เกย์ เพศทส่ี าม (รอ้ ยละ 9.8) (ร้อยละ 9.7) มีนา้ ใจของคนไทย (ร้อยละ 4.6) (รอ้ ยละ 7.3) 1-13

รายงานสรุปฉบับผูบ้ รหิ าร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเทยี่ วกลุม่ ประเทศอาเซียน  อยา่ งไรกต็ ามภาพจาของนกั ทอ่ งเทีย่ วชาวอาเซยี นต่อประเทศไทยมที งั้ ภาพจาท่ีเหมอื น และแตกตา่ งกัน โดย สามารถสรปุ ภาพจาของประเทศไทยทโี่ ดดเดน่ เหนือภาพจาอ่ืนๆ ในแต่ละประเทศไดด้ งั นี้ ประเทศ การ หาดทราย สญั ลักษณ์ อาหารไทย ช้าง แสงสยี าม ความโอบ เกย์ ช้อปป้งิ ชายทะเล ศาสนา ชา้ งเผือก ค่าคืน อ้อมอารี มี เพศท่ีสาม เวียดนาม พุทธ การฝึกชา้ ง น้าใจของ คนไทย กมั พชู า พมา่ ลาว มาเลเซีย บรูไน สงิ คโปร์ ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซีย 1-14

รายงานสรุปฉบบั ผบู้ รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเทีย่ วกลมุ่ ประเทศอาเซยี น 1.6 บทสรุปทศั นะของนักทอ่ งเทีย่ วชาวอาเซียนต่อประเทศไทย ตารางดา้ นล่างเปน็ การสรุปรวมทัศนคตขิ องนกั ทอ่ งเทย่ี วประเทศต่างๆ ทัง้ ในเชิงบวกและเชงิ ลบ ท่ีมีตอ่ การท่องเที่ยวในประเทศไทย เพอื่ ใชเ้ ป็นหน่ึงในประเด็นพิจารณาการสร้างกลยทุ ธ์เพือ่ ดึงดดู นักทอ่ งเท่ยี วให้ ตัดสินใจเลอื กประเทศไทยเปน็ ทหี่ มายในการเดนิ ทางทอ่ งเทีย่ ว ทศั นคตเิ ชิงบวก แหลง่ ท่องเทย่ี ว กิจกรรมหลากหลาย และนา่ สนใจ ทัศนคตเิ ชิงลบ กจิ กรรมชอ้ ปปง้ิ และสินคา้ ราคาเหมาะสม กิจกรรมแสงสียามคา่ คนื สร้างความแปลกใหม่ คนไทยมนี ้าใจ เป็นมติ ร ชายหาดสวย กิจกรรมดานา้ การให้บริการด้านการแพทย์มีค่าใชจ้ า่ ยถูกกว่าสงิ คโปร์ อาหารอร่อย การเดนิ ทาง ทพี่ ัก และระบบสาธารณปู โภคสะดวก สบาย เป็นประตูสูก่ ารท่องเทยี่ วประเทศอนื่ ๆ ยังไม่ใชแ่ หลง่ ทอ่ งเที่ยวชัน้ หรูหรา เมอ่ื เปรยี บเทียบกับประเทศสงิ คโปร์ ความร้สู ึกปลอดภยั ระหว่างเดินทางทอ่ งเที่ยวในประเทศไทยมีไมม่ าก ไม่ใชแ่ หลง่ ทอ่ งเที่ยวท่เี หมาะสาหรบั ฮนั นมี นู หรือการจัดงานแตง่ งาน การท่องเทยี่ วเชิงการแพทยย์ งั ไม่เดน่ พอ เมื่อเปรียบเทยี บกับประเทศสงิ คโปร์ การสือ่ สารทางด้านภาษายังไม่ดเี พยี งพอ การสื่อสารทางด้านสัญลกั ษณ์เพ่อื อานวยความสะดวกยังไม่ดเี พยี งพอ สง่ิ อานวยความสะดวกดา้ นการทอ่ งเทยี่ วยงั ไมด่ เี พยี งพอ โดยเฉพาะการเดนิ ทาง ยังไม่ใชจ่ ุดศนู ยก์ ลางการเช่ือมตอ่ ด้านการทอ่ งเที่ยว เม่อื เปรียบเทยี บกบั ประเทศที่ มเี มอื งหลวงขนาดใหญ่อย่างฟิลิปปนิ ส์ หรอื มาเลเซีย มคี วามเชอื่ ว่า คนไทยมที ศั นคตเิ ชิงดูถกู นักทอ่ งเที่ยวจากบางประเทศ โดยเฉพาะ นกั ทอ่ งเที่ยวชาวลาว หรือนักทอ่ งเท่ยี วชาวกัมพูชา 1-15

รายงานสรุปฉบับผบู้ ริหาร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเทีย่ วกล่มุ ประเทศอาเซียน บทท่ี 2 ปจั จยั สาคัญทใี่ ช้ในการจาแนกนักท่องเทยี่ วศักยภาพสงู ขนาดตลาด ทัศนคติ และพฤตกิ รรมของ นกั ทอ่ งเท่ียวศักยภาพสูงชาวอาเซียนในภาพรวม 2.1 ปจั จยั สาคญั ที่ใช้ในการจาแนกนักทอ่ งเทย่ี วศกั ยภาพสงู  ปจั จัยท่ีใช้จาแนก “นกั ทอ่ งเทยี่ วศักยภาพสงู ” ออกจากนกั ทอ่ งเทย่ี วทัว่ ไป มี 2 สว่ นหลกั ส่วนแรกได้แก่ ปัจจยั ทางดา้ นกายภาพ ไดแ้ ก่ ระดบั เศรษฐฐานะทพ่ี ิจารณาจากรายไดค้ รวั เรอื นและอาชพี สว่ นทสี่ อง ไดแ้ ก่ ปัจจยั ทางด้านจิตวทิ ยาทก่ี าหนดไลฟส์ ไตล์การดารงชีวิตของนักทอ่ งเท่ียวเหล่านนั้  ผลการจาแนกโดยใช้ปัจจยั ท่ีไดจ้ ากผลการศกึ ษาดังกล่าว แสดงผลสะท้อนโดยตรงถงึ ความแตกต่างระหวา่ ง นกั ท่องเทีย่ วศักยภาพสงู และนกั ท่องเท่ยี วทว่ั ไปดังนี้ ตารางที่ 2.1 แสดงการเปรียบเทยี บปัจจยั ท่ใี ช้ในการคัดแยก นักท่องเทย่ี วศักยภาพสูง ออกจากนกั ทอ่ งเที่ยวทั่วไป ความแตกต่างในด้าน นักท่องเทยี่ วศักยภาพสูง นักทอ่ งเทย่ี วทวั่ ไป การใชจ้ ่ายระหวา่ งการทอ่ งเที่ยว (บาท) ค่าใช้จา่ ยค่าหอ้ งพักเฉลี่ยต่อคนื 5,873 1,667 ค่าใชจ้ ่ายเฉลยี่ รวมคา่ ท่พี กั 25,261 6,258 คา่ ใช้จา่ ยเฉลยี่ รวมสาหรบั กิจกรรมชอ้ ปปิง้ 23,398 11,323 คา่ ใช้จ่ายเฉลีย่ รวมสาหรบั อาหารและ 14,483 5,739 เคร่อื งด่มื ค่าใชจ้ า่ ยเฉลี่ยรวมสาหรับกิจกรรมบนั เทิง 12,458 5,593 และสันทนาการ ระดบั เศรษฐฐานะ (รอ้ ยละ) Class AB* 82.4 26.9 Class CDE** 17.6 73.1 จิตวทิ ยา และไลฟ์สไตลก์ ารดารงชวี ิต ต้องการการยกยอ่ ง เพื่อแสดงความเหนือ ความสาคญั มาก ความสาคัญนอ้ ย ชน้ั อย่างแตกตา่ ง ต้องการแสดงออกถงึ วธิ ีคิดทชี่ าญฉลาด ความสาคญั มาก ความสาคญั น้อย และเปน็ เหตุเปน็ ผล ใชช้ วี ิตอยา่ งเปน็ ธรรมดา ปกติทัว่ ไปใน ความสาคญั ปานกลาง ความสาคัญมาก สังคม เน้นประหยัด เนน้ ราคาโปรโมชั่น ความสาคญั น้อย ความสาคัญมาก * รายได้เฉล่ยี ต้ังแต่ 20,000 เหรยี ญสหรัฐตอ่ ปีขน้ึ ไป และประกอบอาชพี ที่ตอ้ งมพี ้ืนฐานการศึกษาท่ดี เี ปน็ สว่ นสาคัญ ** รายได้เฉลยี่ นอ้ ยกว่า 20,000 เหรยี ญสหรัฐตอ่ ปีลงมา หรอื ประกอบอาชพี ที่ตอ้ งใชค้ วามชานาญเป็นสว่ นสาคัญ  พบแนวโนม้ ความสมั พันธ์ระหวา่ งระดับการพฒั นาทางเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศอนั เปน็ ถน่ิ ที่อยู่ของ นกั ทอ่ งเท่ยี วศกั ยภาพสงู (ชาติอาเซียน) กบั ค่าใชจ้ า่ ยเฉลยี่ ค่าห้องพักต่อคนื รวมถงึ คา่ ใชจ้ ่ายด้านอืน่ ๆ ระหว่าง การท่องเท่ียว ดังนี้ 2-1

รายงานสรปุ ฉบับผ้บู รหิ าร โครงการศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มประเทศอาเซยี น หนว่ ย : บาท ตารางที่ 2.2 แสดงการเปรยี บเทยี บมูลคา่ การใช้จ่ายเฉลย่ี ในหมวดตา่ งๆ ระหว่างการทอ่ งเทยี่ วของนักท่องเทยี่ วศกั ยภาพสงู ในประเทศกลุม่ อาเซียน ลาดบั ความเจริญเติบโต ค่าใชจ้ า่ ยเฉลย่ี คา่ คา่ ใชจ้ ่ายเฉลี่ยรวม คา่ ใช้จ่ายเฉล่ยี ค่าใชจ้ า่ ยเฉลยี่ รวม ลาดบั ทางด้านเศรษฐกิจ* หอ้ งพกั ตอ่ คืน สาหรับกิจกรรม รวมสาหรับ สาหรับกจิ กรรม อาหารและ ที่ (ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น ช้อปปงิ้ เคร่อื งดืม่ บันเทิงและ ไม่นับรวมประเทศไทย) สนั ทนาการ 1. สงิ คโปร์ 8,554 29,952 21,465 16,904 2. บรไู น 6,718 23,569 16,719 12,990 3. มาเลเซยี 6,019 17,747 11,439 11,362 4. อินโดนีเซีย 4,209 19,622 10,433 9,801 5. ฟลิ ิปปินส์ 5,807 30,170 14,277 13,012 6. เวียดนาม 2,706 20,027 15,257 9,086 7. พมา่ 2,731 22,545 11,902 8,893 8. กัมพูชา 1,742 17,050 13,950 9,920 9. ลาว 2,363 28,434 15,311 21,354 *ที่มา: International Monetary Fund. “World Economic Outlook Database”, 2013  กลา่ วโดยสรุปได้ว่านกั ท่องเทยี่ วศักยภาพสูงมกี ารใชจ้ า่ ยเงนิ ระหว่างการเดนิ ทางทอ่ งเที่ยวสูงกว่า มพี นื้ ฐาน เศรษฐฐานะทางสงั คมดกี ว่า และตอ้ งการการส่อื สารทม่ี สี าระใหก้ ารยกย่อง เพ่อื แสดงความเหนือช้นั อย่าง แตกตา่ งของกลุม่ พวกเขา และตอ้ งการส่ือสารถึงวิธคี ดิ ท่ีชาญฉลาด และเปน็ เหตเุ ป็นผลของกลุ่มตน มากกว่า นกั ทอ่ งเที่ยวท่ัวๆ ไป อยา่ งเด่นชัด 2.2 ขนาดตลาด และจานวนนักท่องเทีย่ วศกั ยภาพสูงในประเทศอาเซียน  สาหรบั จานวนของนกั ทอ่ งเที่ยวศกั ยภาพสงู ในประเทศอาเซียน มีอยู่ประมาณ 9,049,228 ราย คดิ เป็นเพียง รอ้ ยละ 1.6 ของประชากรชาวอาเซียนทง้ั หมด (ประชากรในประเทศอาเซียน เวน้ ประเทศไทย มจี านวน 549,332,820 ราย) แผนภมู ิภาพที่ 2.1 แสดงการปรยี บเทยี บสัดส่วนนกั ทอ่ งเที่ยวท้งั หมด และนักท่องเทีย่ วศกั ยภาพสงู ในกลุ่มประเทศอาเซยี น 10900..0000 (รอ้ ยละ) 100.00 80.00 567000...000000 549,332,820 คน 40.00 321000...000000 37,405,791 คน 9,049,228 คน 0.00 6.81 1.65 ประชากรทงั้ หมด นกั ท่องเทย่ี วท้งั หมด ศักยภาพสงู 2-2

รายงานสรุปฉบบั ผูบ้ ริหาร โครงการศกึ ษาตลาดท่องเที่ยวกลมุ่ ประเทศอาเซียน  พบว่าจานวน และสัดสว่ นนกั ท่องเทย่ี วศักยภาพสงู (โอกาสทจ่ี ะพบนกั ท่องเที่ยวศกั ยภาพสูงในแต่ละประเทศ) มคี วามสัมพนั ธก์ บั ระดบั การพฒั นาทางเศรษฐกิจของประเทศอันเป็นถ่ินที่อยู่ของนักทอ่ งเทยี่ วศกั ยภาพสงู โดยตรง หมายถึงประเทศทีม่ รี ะดับการพัฒนาการทางเศรษฐกจิ สูง เช่น สงิ คโปร์ และบรูไน พบสดั ส่วน นักทอ่ งเทย่ี วศักยภาพสูงต่อประชากร เท่ากับ ร้อยละ 50.76 และรอ้ ยละ 18.44 ตามลาดับ ขณะทป่ี ระเทศทม่ี ี ระดบั พัฒนาการทางด้านเศรษฐกจิ ดอ้ ยกวา่ เชน่ พม่า และกัมพูชา มนี ักท่องเทย่ี วศกั ยภาพสูงต่อประชากร เพยี งร้อยละ 0.11 และรอ้ ยละ 0.05 ตามลาดบั เท่าน้นั ตารางท่ี 2.3 แสดงจานวน และสดั สว่ นนักท่องเท่ยี วศกั ยภาพสูง ประเทศ จานวน จานวนคนอายตุ งั้ แต่ 18 ปี จานวนนักทอ่ งเท่ียว สัดส่วนนักทอ่ งเทย่ี ว ประชากร ขน้ึ ไป ท่ีได้เดินทางท่องเท่ยี ว ศกั ยภาพสูง (ราย) ศกั ยภาพสงู ต่อ สงิ คโปร์ ต่างประเทศในช่วง 5 ปีท่ี ประชากรท้ังหมด บรไู น ผา่ นมา (นกั ทอ่ งเทยี่ ว-ราย) (ร้อยละ) มาเลเซยี อนิ โดนีเซีย 5,353,494 3,990,721 2,717,681 50.76 ฟิลปิ ปินส์ 408,786 18.44 เวยี ดนาม 29,179,952 (ร้อยละ 74.5) (รอ้ ยละ 68.1 ของนกั ท่องเที่ยวท้ังหมด) 7.83 พมา่ 248,645,008 0.96 กัมพูชา 103,775,002 206,968 75,386 1.10 ลาว 85,846,997 0.41 54,584,650 (ร้อยละ 50.6) (รอ้ ยละ 36.4 ของนกั ท่องเทยี่ วทัง้ หมด) 0.11 14,952,665 0.05 6,586,266 10,831,949 2,285,541 0.28 (รอ้ ยละ 37.1) (ร้อยละ 21.1 ของนกั ท่องเที่ยวทั้งหมด) 8,531,876 2,388,925 (ร้อยละ 3.4) (รอ้ ยละ 28.3 ของนักทอ่ งเทย่ี วทั้งหมด) 6,431,243 1,144,761 (รอ้ ยละ 6.2) (ร้อยละ 17.8 ของนักท่องเท่ียวทั้งหมด) 5,357,874 353,620 (รอ้ ยละ 6.2) (ร้อยละ 6.6 ของนกั ทอ่ งเท่ยี วทง้ั หมด) 1,156,930 57,463 (รอ้ ยละ 2.1) (ร้อยละ 5.0 ของนกั ทอ่ งเทย่ี วทั้งหมด) 592,853 7,528 (ร้อยละ 4.0) (ร้อยละ 1.3 ของนักทอ่ งเทย่ี วท้งั หมด) 305,377 18,323 (รอ้ ยละ 4.6) (ร้อยละ 6.0 ของนักทอ่ งเทย่ี วทั้งหมด) 2-3

รายงานสรุปฉบับผ้บู รหิ าร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเท่ียวกลมุ่ ประเทศอาเซยี น 2.3 ขนาดตลาด และจานวนนักทอ่ งเทยี่ วศักยภาพสงู รายเมอื งในประเทศอาเซียน  จานวนเมืองสาคญั ทางเศรษฐกิจทมี่ ีขนาดใหญ่ และมีประชากรจานวนมากของประเทศอาเซยี น ท่ผี ลการศึกษา คาดการณ์ไดว้ า่ มจี านวนนักท่องเทีย่ วศักยภาพสงู อย่อู ย่างเพยี งพอในการทาแผนการตลาดใดๆ มจี านวนทงั้ สนิ้ 39 เมอื ง จาก 9 ประเทศ จาแนกเป็นเมอื งในประเทศสิงคโปร์ 1 เมือง มาเลเซยี 11 เมอื ง อินโดนีเซีย 12 เมือง บรไู น 2 เมือง ฟิลปิ ปินส์ 5 เมือง เวียดนาม 5 เมอื ง พม่า 1 เมือง ลาว 1 เมือง และกัมพชู า 1 เมอื ง ตารางที่ 2.4 แสดงจานวนนักท่องเที่ยวศักยภาพสูง ตามเมอื งหลกั ต่างๆ ในประเทศกลุ่มอาเซยี น ลาดับ ชอ่ื เมือง ** ประเทศ จานวนประชากร ประมาณการ ประมาณการจานวน สนามบินและจานวนเทยี่ วบินเฉลย่ี ตอ่ ที่ เฉพาะในเขต กลมุ่ เป้าหมายท่ี นกั ท่องเทย่ี วกลุ่มศกั ยภาพสูง สปั ดาห์ เทศบาลa อายเุ กินกว่า 18 ปี ท่ีไดเ้ ดินทาง ต่างประเทศในช่วง 5 ปที ี่ผ่านมา 1. Singapore สิงคโปร์ 5,353,494 3,990,721 2,717,681 Intl. –เฉลย่ี 6,245 เที่ยวบิน/สปั ดาห์ 2. Manila ฟิลปิ ปินส์ 9,462,271 4,057,763 884,592 Intl. เฉลยี่ 4,529 เทย่ี วบิน/สปั ดาห์ 3. Jakarta อินโดนเี ซีย 4,013,240 1,960,958 839,290 Intl. เฉลย่ี 7,110 เทยี่ วบนิ /สปั ดาห์ 4. Kuala มาเลเซยี 4,990,482 2,423,726 576,847 Intl. –เฉลย่ี 5,449 เทย่ี วบนิ /สัปดาห์ Lumpur 5. Palembang อนิ โดนเี ซีย 3,280,816 1,603,080 328,631 Intl. เฉลี่ย 193 เทย่ี วบิน/สปั ดาห์ 6. Ho Chi Minh เวียดนาม 5,968,384 1,484,819 288,426 Intl. เฉลี่ย 3,122 เที่ยวบิน/สปั ดาห์ City 7. Johor มาเลเซีย 2,405,874 1,088,041 228,489 Dom. - เฉลี่ย 188 เทยี่ วบนิ /สัปดาห์ มาเลเซยี 1,731,806 783,198 164,472 8. Sabah มาเลเซีย 1,640,241 741,788 155,776 Intl. –เฉลยี่ 1,122 เทย่ี วบนิ /สปั ดาห์ มาเลเซยี 1,418,074 753,939 140,233 Dom. - เฉล่ยี 29 เที่ยวบนิ /สัปดาห์ 9. Perak ฟิลิปปินส์ 2,554,281 1,095,368 140,207 Intl. –เฉลีย่ 1,033 เที่ยวบนิ /สัปดาห์ มาเลเซยี 1,330,217 601,582 126,332 Intl. เฉลย่ี 1,190 เทย่ี วบนิ /สปั ดาห์ 10. Penang มาเลเซีย 1,257,941 568,896 119,468 Intl. –เฉลยี่ 306 เทย่ี วบิน/สปั ดาห์ อินโดนีเซีย 1,103,960 539,419 112,199 Intl. –เฉล่ีย 346 เทย่ี วบนิ /สัปดาห์ 11. Cebu City อินโดนีเซีย 1,061,280 518,565 106,306 Intl. เฉลีย่ 2,619 เทย่ี วบนิ /สปั ดาห์ 12. Sarawak มาเลเซีย 1,036,596 468,794 98,447 Intl. เฉล่ยี 313 เที่ยวบนิ /สปั ดาห์ Domestic - เฉลยี่ 980 เท่ยี วบิน/ 13. Kedah อินโดนเี ซยี 937,640 458,152 93,921 สัปดาห์ มาเลเซยี 758,014 342,807 71,989 Intl. เฉลี่ย 1,269 เทยี่ วบิน/สปั ดาห์ 14. Surabaya Dom. - เฉลย่ี 69 เทยี่ วบนิ /สัปดาห์ 15. Bandung 16. Kelantan 17. Medan 18. Pahang 2-4

รายงานสรุปฉบบั ผู้บรหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเที่ยวกล่มุ ประเทศอาเซยี น ลาดับ ช่ือเมอื ง ** ประเทศ จานวนประชากร ประมาณการ ประมาณการ สนามบิน และจานวนเท่ียวบนิ เฉลย่ี ต่อ ที่ เฉพาะในเขต กลุ่มเป้าหมายท่ี จานวน สัปดาห์ เทศบาลa อายุเกินกว่า 18 ปี ทไ่ี ดเ้ ดินทาง นักทอ่ งเทยี่ วกลุ่ม Intl. –เฉลย่ี 940 เท่ยี วบนิ /สัปดาห์ ตา่ งประเทศในช่วง ศักยภาพสูง Intl. เฉลี่ย 273 เที่ยวบนิ /สัปดาห์ 5 ปีท่ีผ่านมา Intl. เฉลย่ี 1,406 เทยี่ วบนิ /สัปดาห์ 67,423 Dom. - เฉล่ยี 246 เท่ยี วบนิ /สปั ดาห์ 19. Melaka มาเลเซยี 709,933 321,063 66,998 Intl. เฉลี่ย 497 เทย่ี วบนิ /สัปดาห์ 58,798 20. Padang อินโดนเี ซยี 668,863 326,821 58,192 Intl. เฉลีย่ 57 เที่ยวบิน/สัปดาห์ 57,120 21. Makassar อนิ โดนเี ซยี 587,000 286,821 Dom. เฉล่ยี 786 เท่ยี วบิน/สัปดาห์ 48,600 Intl. เฉลยี่ 502 เทีย่ วบิน/สปั ดาห์ 22. Terangganu มาเลเซยี 612,737 277,106 Intl. เฉล่ีย 88 เที่ยวบิน/สัปดาห์ 48,481 Intl. เฉลี่ย 527 เทย่ี วบิน/สปั ดาห์ 23. Semarang อินโดนีเซีย 570,240 278,632 47,897 Dom. เฉล่ยี 484 เทยี่ วบนิ /สปั ดาห์ 35,378 Intl. เฉลี่ย 985 เท่ยี วบนิ /สัปดาห์ 24. Bandar Seri บรไู น 210,901 133,518 32,007 Bagawan 27,564 Intl. เฉลย่ี 137 เทย่ี วบนิ /สปั ดาห์ 17,105 25. Pekanbaru อนิ โดนีเซีย 484,000 236,493 Intl. เฉลย่ี 238 เทย่ี วบิน/สปั ดาห์ 16,303 26. Davao City ฟิลปิ ปนิ ส์ 2,371,332 374,195 Intl. เฉลย่ี 21 เที่ยวบิน/สัปดาห์ 14,750 Dom. จานวนเท่ียวบิน n/a 27. Yangon พม่า 3,194,250 404,314 10,365 Intl. เฉลี่ย 194 เที่ยวบิน/สัปดาห์ 8,916 28. Samarinda อินโดนีเซยี 319,538 156,133 8,577 Intl. เฉลี่ย 807 เทย่ี วบิน/สัปดาห์ 7,923 29. Banjarmasin อนิ โดนเี ซยี 275,174 134,456 5,460 n/a 4,298 Intl. เฉลย่ี 433 เทย่ี วบิน/สัปดาห์ 30. Yogyakarta อนิ โดนเี ซีย 170,759 83,437 3,897 Intl. เฉล่ยี 112 เท่ยี วบิน/สัปดาห์ 31. Zamboanga ฟลิ ิปปินส์ 807,129 127,365 City 32. Danang เวียดนาม 887,069 132,887 33. Vientiane ลาว 450,329 98,714 34. Vung Tau เวยี ดนาม 322,873 80,325 35. Iloilo City ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 424,619 67,005 36. Hanoi เวียดนาม 2,644,536 396,162 37. Belait บรูไน 23,695 15,001 38. Phnom Penh กมั พชู า 1,242,992 188,917 39. Can Tho เวยี ดนาม 783,122 194,826 Intl. International Airport Dom. Domestic Airport ** เรยี งตามลาดับจานวนนักท่องเทีย่ วศักยภาพสงู ท่ีคาดการณ์ได้จากผลการศึกษา 2-5

รายงานสรุปฉบบั ผบู้ รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเท่ียวกลุ่มประเทศอาเซียน 2.4 คุณลักษณะทางกายภาพ และประชากรศาสตร์ของนักทอ่ งเท่ียวศักยภาพสูง แผนภูมิภาพที่ 2.2 แสดงสดั ส่วนเพศ และช่วงอายุของนักท่องเทีย่ วศกั ยภาพสูงชาวอาเซียน เพศ ช่วงอายุ (รอ้ ยละ) รอ้ ยละ 48.0 ชาย 18.0 25.4 22.6 18.2 15.4 53.7 0.5 หญิง 46.3 ต่ากว่า 25 ปี 25 – 34 ปี 35 – 44 ปี 45 – 54 ปี 55 – 64 ปี ต้งั แต่ 64 ปขี ้ึน ไป  คุณลกั ษณะร่วมทางดา้ นกายภาพของนกั ทอ่ งเที่ยวศักยภาพสงู ในทกุ ชาติอาเซียน ครอบคลมุ ทงั้ เพศชาย และ เพศหญิง และกระจายตวั ไปในทุกกลุม่ อายุอยา่ งค่อนขา้ งสมา่ เสมอ โดยเฉพาะในวัยทางานตัง้ แต่ชว่ งตน้ ถงึ กลาง ซ่ึงมสี ัดสว่ นรวมกนั สงู อยา่ งน่าสนใจ (รอ้ ยละ 48.0) แผนภมู ภิ าพที่ 2.3 แสดงสัดสว่ นรายได้เฉลี่ยครัวเรือน และกล่มุ อาชพี ของนกั ท่องเที่ยวศักยภาพสูงชาวอาเซยี น รายไดเ้ ฉลีย่ ครัวเรือน กลมุ่ อาชพี (รอ้ ยละ) รอ้ ยละ 71.7 $50,000 ขน้ึ ไป 26.1 83.7 $20,000 - $49,999 57.6 30.3 25.6 15.8 $10,000- $19.999 14.9 7.7 7.3 6.2 4.3 2.7 นอ้ ยกว่า $10,000 1.4 ผู้บรหิ าร ผปู้ ระกอบ พนักงาน นกั เรียน แมบ่ ้าน ภาครัฐ แรงงาน เกษียณ 0.0 100.0 นักธรุ กิจ วิชาชพี เอกชน เกษตรกร อายุ  ประเด็นร่วมท่ีสาคญั อีกประการหนึง่ ก็คือ เกอื บทง้ั หมดมีอาชพี การงานที่มน่ั คง (สดั ส่วนนักท่องเท่ียวศกั ยภาพ สงู ทมี่ ีอาชพี ผูบ้ รหิ าร นกั ธุรกจิ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี เช่น แพทย์ วิศวกร ทนายความ หรือกลมุ่ พนกั งาน บริษทั เอกชน มสี ัดส่วนรวมกันถงึ รอ้ ยละ 71.7) ซึง่ เชือ่ ไดว้ า่ มคี วามสมั พนั ธก์ ับพื้นฐานการศกึ ษาทดี่ ี (พจิ ารณา จากสดั สว่ นอาชีพท่ตี อ้ งการพื้นฐานการศกึ ษาทดี่ ี เป็นองคป์ ระกอบสาคัญในการทางานมอี ยสู่ ูง) ซึ่งการมีพน้ื ฐาน การศกึ ษาทด่ี ี และอาชพี การงานท่ีมั่นคง สะทอ้ นไปถึงระดับเศรษฐฐานะทางสงั คมทด่ี ี เห็นได้จากสว่ นใหญ่ (ร้อยละ 83.7) มีรายได้เฉลย่ี ตงั้ แต่ 50,000 บาทต่อเดอื นขึ้นไป (ตั้งแต่ $20,000 ต่อปี) 2-6

รายงานสรุปฉบบั ผู้บริหาร โครงการศกึ ษาตลาดท่องเที่ยวกลมุ่ ประเทศอาเซยี น 2.5 คุณลักษณะทางจติ วทิ ยา และไลฟส์ ไตล์ของนกั ท่องเท่ยี วศกั ยภาพสงู แผนภมู ิภาพที่ 2.4 แสดงคา่ เฉลีย่ ความเหน็ ด้วยในทศั นคตแิ ละอุปนสิ ยั ในการดารงชวี ิตระหว่างนกั ทอ่ งเทีย่ วศกั ยภาพสูง กบั นักทอ่ งเท่ียวทว่ั ไป 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 ฉนั ชอบแกไ้ ขปญั หาทตี่ ้องอาศัยความคดิ มากๆ 4.0 4.5 นักทอ่ งเท่ยี วศักยภาพสงู ฉันจดั การกบั สถานการณ์ทค่ี ลมุ เครือได้อย่างงา่ ยดาย 3.9 4.4 นักทอ่ งเท่ยี วทัว่ ไป ฉนั สามารถเขา้ ใจเร่ืองทซี่ บั ซอ้ นได้โดยงา่ ย 4.24.5 ฉันชอบหาวิธีการใหมๆ่ ในการแกไ้ ขปญั หาเสมอ 4.14.4 ฉนั มีเหตผุ ลและเลอื กทจ่ี ะทาในสงิ่ ทเ่ี ปน็ ไปไดจ้ รงิ 4.24.5 ฉนั ชอบมรี ะบบระเบยี บท่ดี ีและทาตามกฏเกณฑ์ 4.43.4 ฉันพดู คุยแลกเปล่ียนเพือ่ ชว่ ยพัฒนาความคิด 4.43.5 ค่แู ตง่ งานทุกคู่ควรมลี ูก 4.5 4.8 ฉันชอบติดตามเรื่องแฟชน่ั และสไตลก์ ารแตง่ ตวั 4.0 4.3 ฉันมักจะระมัดระวงั เรอื่ งการใช้เงินเสมอ 4.3 4.7 มเี พียงไม่กเี่ รื่องเท่านั้นท่เี ปลี่ยนแปลงชวี ติ เราได้ 3.3 3.8 ผ้หู ญงิ จะสมบรู ณเ์ มอ่ื ทาใหค้ รอบครัวมีความสขุ เงินคอื สง่ิ ท่ีดที สี่ ดุ ในการวดั ความสาเร็จของคนเรา 4.3 4.8 3.7 4.2 ฉนั อยเู่ พือ่ วนั นโี้ ดยไม่กงั วลเลยถึงพร่งุ น้ี 2.7 3.2  ความแตกต่างทีเ่ ด่นชดั อยา่ งหนง่ึ ของนกั ท่องเท่ียวศกั ยภาพสงู ในแง่พืน้ ฐานทางจิตวทิ ยา และไลฟส์ ไตล์การ ดารงชวี ติ ไดแ้ ก่ การให้ความสาคญั กบั “การพฒั นา” ปรบั ปรงุ คณุ ภาพของตน ผ่านกระบวนการทางความคิด ยึดหลกั การดว้ ยเหตุและผล ตามกฎเกณฑ์ของสงั คม (เหน็ ไดจ้ ากค่าเฉลยี่ ความเห็นด้วยต่อประเดน็ แกป้ ัญหา ดว้ ยการคดิ ไตร่ตรอง มีความเข้าใจต่อสถานการณ์ ยึดถอื ในเหตุผล และกฎเกณฑ์ มคี า่ เทา่ กบั 4.5, 4.5, 4.5 และ 4.5 ตามลาดับ สูงกวา่ นักทอ่ งเท่ียวท่วั ไป อยา่ งมนี ัยสาคัญ) แตกต่างจากกลุ่มนักท่องเที่ยวทัว่ ไป ท่ียงั คงให้ ความสาคญั แนวคิดอนรุ กั ษ์ ตามแบบแผนเดมิ ๆ กับการก้าวไปสู่ความสาเร็จทางด้านวตั ถุ (เห็นไดจ้ ากคา่ เฉล่ยี ความเห็นดว้ ยตอ่ ประเด็น หนา้ ท่ีสตรี ครอบครวั กบั บตุ ร เงนิ คอื ความสาเร็จ และระมัดระวังการใช้จา่ ย มคี ่า เทา่ กบั 4.8, 4.8, 4.2 และ 4.7 ตามลาดบั สูงกว่านกั ท่องเทีย่ วกลุ่มศกั ยภาพ อย่างมีนัยสาคัญ) 2-7

รายงานสรปุ ฉบับผบู้ ริหาร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเที่ยวกลุ่มประเทศอาเซยี น  ช่องทางข่าวสารด้านการท่องเทีย่ วที่มอี ิทธิพลตอ่ การตัดสินใจเลอื กเปา้ หมายการทอ่ งเทย่ี วของนักท่องเทีย่ ว ศกั ยภาพสูง (ภาพรวมภายหลงั ถว่ งน้าหนักตามจานวนนักทอ่ งเทย่ี ว) ที่สาคัญ 5 อันดับแรก ไดแ้ ก่ ข้อมลู จาก การบอกเลา่ นติ ยสารท่องเท่ียว สังคมออนไลน์ หนา้ เวบ็ ไซต์ (บนคอมพิวเตอร์) และบริษัททัวร์ ตามลาดับ โดย เปน็ ทีน่ า่ สงั เกตวา่ ข้อมูลสอื่ ดิจติ อล ท้ังสังคมออนไลน์ ขอ้ มูลจากเว็บไซต์ มคี า่ เฉลี่ยความสาคัญต่อกลุม่ นักท่องเที่ยวศกั ยภาพสงู เปน็ ลาดบั ต้นๆ (ค่าเฉล่ยี ความสาคญั เทา่ กับ 1.9 และ 1.3) แผนภมู ภิ าพท่ี 2.5 แสดงคา่ เฉลยี่ ความสาคญั ของช่องทางที่ใช้ในการรับขอ้ มูลขา่ วสารประกอบการตดั สินใจเลือกเปา้ หมายทอ่ งเทย่ี วของ นกั ทอ่ งเท่ียวกลมุ่ ศักยภาพสูง ค่าเฉลี่ยความสาคัญ (เต็ม 10 คะแนน) 0.0 1.0 2.0 3.0 4.0 ขอ้ มลู จากการบอกเล่า (WOM) 3.5 นิตยสารท่องเที่ยว 2.4 สงั คมออนไลน์ 1.9 หน้าเวบ็ ไซต์ (บนคอมพวิ เตอร)์ 1.3 บริษัททวั ร์ 1.2 หนงั สือคู่มอื การเดินทาง 1.1 โทรทศั น์ 1.0 ฟอร์เวริ ์ดเมล/์ อบี คุ๊ /อแี มกกาซีน 1.0 นิตยสารท่วั ไป 1.0 โบรชัวร์ 1.0 2-8

รายงานสรปุ ฉบับผบู้ รหิ าร โครงการศึกษาตลาดท่องเท่ยี วกลุ่มประเทศอาเซียน  ส่วนเนื้อหาขา่ วสารทน่ี ักท่องเท่ยี วศักยภาพสงู ใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการเลอื กสถานทเี่ ดนิ ทางตามลาดบั ความสาคญั (ภายหลังถ่วงนา้ หนกั ) ได้แก่ เน้ือหาทีแ่ สดงถงึ ความหลากหลายของสถานทีท่ ่องเทยี่ วในประเทศนั้นๆ (รอ้ ยละ 66.0) ความเชื่อหรือขอ้ มลู ขา่ วสารท่สี รุปได้ว่าหากตัดสินใจแล้วเกิดความรูส้ กึ ว่า “ค้มุ คา่ ” กับเงิน และเวลาทจ่ี ะ ใชไ้ ป (รอ้ ยละ 63.5) และมสี ิง่ อานวยความสะดวกในการพักอาศยั เดนิ ทาง กนิ อยอู่ ย่างไดม้ าตรฐาน และ เพยี งพอ (รอ้ ยละ 61.1) รวมถงึ ปัจจัยด้านอาหารการกิน และเคร่ืองดม่ื (ร้อยละ 54.2) เป็นตน้ แผนภมู ภิ าพที่ 2.6 แสดงปจั จัยท่ใี ช้เลอื กเปา้ หมายเดินทาง ของนกั ท่องเทย่ี วศกั ยภาพสูงชาวอาเซยี น 2-9

รายงานสรปุ ฉบบั ผ้บู รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเท่ียวกลมุ่ ประเทศอาเซียน (รอ้ ยละ*) แผนภูมิภาพท่ี 2.7 แสดงสัดส่วนรูปแบบการจองตว๋ั และการเดนิ ทาง 80 0 20 40 60 จองเทีย่ วบนิ , ยานพาหนะ,ท่ีพกั ฯลฯ ดว้ ยตวั เองหรือเพ่อื น 64.9 84.2 เดินทางไปด้วยตัวเอง แตอ่ าจซอื้ ตัว๋ เดนิ ทาง/กจิ กรรมจากบริษทั บ้าง 19.3 เดนิ ทางกบั กร๊ปุ ทวั รท์ อ่ งเท่ียว/แพค็ เกจทวั ร์ 12.9 เดินทางไปกบั ทวั ร์ส่วนบุคคล/ ทัวรจ์ ดั เฉพาะกลุ่ม 2.9 * สดั ส่วนภายหลังถ่วงนา้ หนกั ตามจานวนนกั ท่องเทยี่ วศักยภาพสงู รายชาติ  ภาพรวมสาหรบั รูปแบบการจองตวั๋ และการเดนิ ทางของนักท่องเทย่ี วศกั ยภาพสงู สว่ นใหญ่เลอื กแผนการ เดินทางดว้ ยตนเอง (รอ้ ยละ 84.2) และเลือกการบริหารจดั การรายละเอียดการเดินทางดว้ ยตนเอง แมใ้ นสว่ นน้ี จะมีนกั ท่องเทยี่ วศักยภาพสูงบางส่วนทเี่ ลือกใช้บรกิ ารบางประเภทจากบริษทั ทัวร์อยบู่ า้ ง (ร้อยละ 19.3 ท่ีใช้ บริการจองตัว๋ หรอื ทพ่ี ัก หรืออ่นื ๆ ผา่ นบริษัททวั ร์ แล้วเดนิ ทางไปเอง)  ขณะท่ีการเดนิ ทางไปกับคณะกรปุ๊ ทวั ร์ ของนักท่องเท่ยี วศกั ยภาพสูงมีสดั สว่ นไม่มากนกั (เพยี งรอ้ ยละ 12.9 นอ้ ยกว่าสดั ส่วนการเดินทางกับกรุ๊ปทวั ร์ของนกั ทอ่ งเท่ียวทวั่ ไป ซ่งึ เทา่ กบั รอ้ ยละ 33.7 อย่คู อ่ นขา้ งมาก) แผนภมู ภิ าพที่ 2.8 แสดงสัดส่วนพาหนะสาหรับการเดินทาง (ร้อยละ*) 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 เทยี่ วบนิ ปกติ 0.1 29.6 74.1 เครือ่ งบนิ เชา่ 29.0 เคร่อื งบนิ สว่ นตวั 14.9 84.2 รถบสั /รถรบั จ้าง 4.4 รถยนต์สว่ นตัว 7.3 รถไฟ 2.2 เรอื เฟอร่ี (Ferry) 0.1 เรือครซู (Cruise) 1.1 เรอื ยอร์ช (Yatch) รถจกั รยายนต์ * สดั สว่ นภายหลงั ถว่ งนา้ หนกั ตามจานวนนกั ทอ่ งเทีย่ วศกั ยภาพสงู รายชาติ 2-10

รายงานสรุปฉบับผ้บู รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเทีย่ วกลุ่มประเทศอาเซยี น  พาหนะสาหรับการเดินทางของนักทอ่ งเทย่ี วศักยภาพสูงสว่ นใหญ่ ได้แก่ การเดนิ ทางโดยเท่ยี วบนิ แบบปกติ (รอ้ ยละ 74.1) โดยเป็นทน่ี ่าสงั เกตว่าการเดนิ ทางโดยใชบ้ รกิ ารเครอื่ งบินเช่าเหมาลา เรือครซู หรือเรือยอรช์ ของนักท่องเที่ยวศักยภาพสงู มีแนวโนม้ มากกว่านักทอ่ งเท่ียวกล่มุ ทว่ั ไป (นกั ทอ่ งเท่ยี วศักยภาพสงู ร้อยละ 29.6 รอ้ ยละ 2.2 และร้อยละ 0.1 ตามลาดบั ) (หมายเหตผุ วู้ จิ ยั : ขณะที่สัดสว่ นพาหนะเดียวกันของนักทอ่ งเท่ยี วทว่ั ไปก่อนถ่วงน้าหนกั เทา่ กบั เพียง ร้อยละ 17.8 รอ้ ยละ 0.5 และรอ้ ยละ 0.0 ตามลาดับเท่าน้นั ) 2.6 ประเทศทน่ี ักท่องเท่ียวศักยภาพสูงเคยเดนิ ทางไป และค่าใชจ้ ่ายเฉล่ยี ในการเดนิ ทางคร้งั ลา่ สุดในแต่ละ ประเทศ  ในภาพรวมกล่าวไดว้ ่านักท่องเทีย่ วศักยภาพสงู ชาวอาเซยี นส่วนใหญ่เคยมปี ระสบการณ์เดนิ ทางมาประเทศไทย (ประมาณครง่ึ หนึ่ง ร้อยละ 50.1) รองลงไปเป็นประสบการณต์ อ่ ประเทศมาเลเซีย และสิงคโปร์ (ร้อยละ 35.2 และ ร้อยละ 30.7) (หมายเหตุผู้วิจยั : เปน็ สดั ส่วนประสบการณ์ของหน่วยตัวอยา่ ง ไม่เก่ยี วข้องกับจานวนคร้ัง หรือความถ่ีในการเดนิ ทาง) ตารางท่ี 2.5 แสดงสดั ส่วนประสบการณเ์ ดินทางทอ่ งเท่ียวในชว่ ง 5 ปที ่ผี ่านมา และมูลค่าเฉลย่ี การใช้จา่ ยรายหมวด ของนักทอ่ งเท่ยี วกลุ่มศักยภาพสูงในการเดนิ ทางครง้ั ล่าสดุ หนว่ ย: บาท สดั สว่ นประสบการณ์เดินทาง ประเทศ * ท่องเทย่ี วในชว่ ง 5 ปที ่ผี ่านมา ค่าทพ่ี กั ช้อปปง้ิ อาหารและเครื่องด่มื บนั เทิงและสนั ทนาการ Thailand (ร้อยละ) 50.1 20,857 21,597 13,132 11,991 Malaysia 35.2 21,191 21,620 13,357 11,044 Singapore 30.7 21,060 9,599 19,499 10,879 China 20.2 27,613 23,487 15,025 13,842 Indonesia 17.7 22,904 11,474 Hong Kong 12.2 29,901 22,775 14,563 16,788 32,387 20,433 Australia 6.3 33,304 24,831 17,946 14,006 Japan 6.1 25,181 12,271 21,190 14,654 India 5.5 36,090 27,623 20,049 18,870 South Korea 5.5 26,107 19,192 11,646 8,347 Taiwan 4.6 28,144 23,747 12,884 10,110 Vietnam 4.4 23,739 22,329 13,966 8,034 USA 4.4 50,620 38,706 20,696 19,896 Cambodia 3.5 24,591 16,329 8,430 8,336 UK 2.3 33,850 21,372 20,865 17,532 France 1.7 31,756 36,591 34,607 16,444 New Zealand 1.6 45,268 14,197 Italy 1.5 26,919 21,997 18,009 30,406 38,980 22,158 * เรียงตามลาดบั ประสบการณ์ของเฉพาะนักทอ่ งเท่ยี วกลุม่ ศกั ยภาพสงู ภายหลังการถว่ งนา้ หนกั ตามจานวนนักทอ่ งเที่ยวศักยภาพสงู รายชาติ 2-11

รายงานสรปุ ฉบบั ผู้บริหาร โครงการศกึ ษาตลาดท่องเทย่ี วกลมุ่ ประเทศอาเซยี น  เหน็ ได้วา่ ค่าใช้จ่ายดา้ นทพ่ี กั ของนกั ทอ่ งเที่ยวศักยภาพสูงท่มี าประเทศไทยมมี ลู คา่ เฉลยี่ นอ้ ยทสี่ ุด (เพียง 20,857 บาท) เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้จา่ ยในหมวดเดยี วกันในประเทศอ่ืนๆ (เชน่ ในจนี เฉลย่ี 27,613 บาท ในฮ่องกง 29,901 บาท)  คา่ ใช้จา่ ยเพอื่ การช้อปปงิ้ กอ็ ยูใ่ นเกณฑ์ต่า (เพียง 21,597 บาท) ขณะท่ีมูลคา่ การใชจ้ ่ายในหมวดเดยี วกนั ของ ฮ่องกง และประเทศในยโุ รปมีมูลค่าสูงกวา่ คอ่ นข้างมาก (ในฮอ่ งกง 32,387 ฝร่งั เศส 36,591 อิตาลี 38,980 บาท เปน็ ตน้ ) 2.7 ประสบการณ์ และภาพจาของประเทศไทย  ดังทก่ี ลา่ วถึงไปแล้วว่านกั ทอ่ งเที่ยวศักยภาพสูงชาวอาเซยี นในสดั สว่ นรอ้ ยละ 50.1 เคยเดินทางมาประเทศไทย แล้ว ขณะท่ีรอ้ ยละ 49.9 ไดเ้ ดินทางไปประเทศอน่ื ๆ แตไ่ มไ่ ดเ้ ดนิ ทางมาประเทศไทยในชว่ ง 5 ปที ่ผี ่านมา โดย จงั หวดั เป้าหมายทีไ่ ดเ้ ดนิ ทางกนั มาแลว้ 5 ลาดบั แรก ได้แก่ กรุงเทพฯ ภเู ก็ต หาดใหญ่ พทั ยา และเชียงใหม่ (สดั สว่ นประสบการณ์ รอ้ ยละ 27.1 ร้อยละ 18.8 รอ้ ยละ 3.0 ร้อยละ 2.8 และร้อยละ 2.2 ตามลาดับ) แผนภมู ิภาพท่ี 2.9 แสดงสดั ส่วนจงั หวดั เป้าหมายทีน่ กั ท่องเท่ยี วศักยภาพสงู ชาวอาเซยี นได้เดินทางกันมาแล้ว 5 ลาดับแรก (รอ้ ยละ) 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 ไม่เคยมา เคยมาไทย กรงุ เทพฯ 27.1 ไทย แลว้ ภูเกต็ 18.8 49.9 50.1 หาดใหญ่ พทั ยา 3.0 เชียงใหม่ 2.8 2.2  2-12

รายงานสรุปฉบบั ผ้บู ริหาร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเท่ยี วกลุ่มประเทศอาเซียน  สรุปภาพจาของนกั ท่องเท่ียวกลุม่ ศักยภาพสูงตอ่ ประเทศไทยท้งั 8 ดา้ น นักท่องเทย่ี วกลุ่มศกั ยภาพสูงมี “ภาพจา” (เป็นคาตอบต่อคาถามปลายเปิดวา่ เมือ่ กลา่ วถึงประเทศไทย คณุ นกึ ถึงเร่อื งราวใดเปน็ ส่งิ แรก) ตอ่ ประเทศไทยเป็นประเดน็ ที่เกีย่ วกับ การมหี าดทรายชายทะเลทส่ี วยงาม (รอ้ ยละ 27.9) มีกจิ กรรมชอ้ ปปิ้งทีน่ า่ สนใจ (ร้อยละ 22.8) มอี าหารการกินทม่ี ีชือ่ เสียง (ร้อยละ 20.5) และเปน็ ศูนยก์ ลางวัฒนธรรมทางศาสนาพทุ ธ (ร้อยละ 16.3) ตามลาดบั แผนภมู ิภาพท่ี 2.10 แสดงสัดส่วนภาพจาทโี่ ดดเด่นของประเทศไทย ในมุมมองของนักท่องเทยี่ วกลมุ่ ศักยภาพสูง (ภาพรวมภมู ิภาค) หาดทรายชายทะเลสวยงาม การชอ้ ปปิ้งทแ่ี สนคุ้มค่า อาหารไทย สัญลักษณ์ท่ีเก่ยี วกับศาสนาพทุ ธ (รอ้ ยละ 27.9) (ร้อยละ 22.8) (ร้อยละ 20.5) เชน่ โบสถ์ เจดีย์ (ร้อยละ 16.3) ช้าง ชา้ งเผือก การฝกึ ช้าง แสงสียามค่าคนื ความโอบอ้อมอารี เกย์ เพศทส่ี าม (ร้อยละ 12.9) (ร้อยละ 9.5) มีน้าใจของคนไทย (รอ้ ยละ 4.5) (ร้อยละ 6.5) 2-13

รายงานสรปุ ฉบับผูบ้ ริหาร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเท่ยี วกลุม่ ประเทศอาเซยี น บทที่ 3 การจาแนกประเภทนกั ท่องเทีย่ วศกั ยภาพสูง และคุณลักษณะทางกายภาพ และ คุณลักษณะทางจิตวทิ ยา  การแบง่ กล่มุ คณุ ลกั ษณะทางจิตวทิ ยาภายใตโ้ มเดล 4Cs Statement พบวา่ สามารถจาแนกนกั ทอ่ งเที่ยวกลุ่ม ศกั ยภาพสงู ออกเป็นกล่มุ คุณลกั ษณะทางจติ วิทยาได้ 3 กลุ่มยอ่ ย เพือ่ เป็นพ้นื ฐานการกระตนุ้ สร้างแรงจงู ใจด้วย เทคนคิ ทางการตลาดทแ่ี ตกตา่ ง ไดแ้ ก่ o กลมุ่ Succeeder (รอ้ ยละ 31.5 ของนักท่องเทย่ี วศกั ยภาพสงู ชาวอาเซยี นท้งั หมด) o กล่มุ Reformer (ร้อยละ 35.8 ของนักท่องเท่ียวศกั ยภาพสงู ชาวอาเซียนทัง้ หมด) o กลมุ่ Mainstream (ร้อยละ 32.7 ของนักทอ่ งเท่ียวศกั ยภาพสูงชาวอาเซียนท้ังหมด) แสดงจานวนประมาณการของนักท่องเท่ียวศกั ยภาพสงู ในแต่ละกลมุ่ ย่อยได้ดังน้ี ตารางที่ 3.1 แสดงนักท่องเท่ยี วศักยภาพสูงในแตล่ ะกลุ่มย่อย นกั ท่องเท่ียว ผูค้ วา้ ชยั ผปู้ รบั ปรงุ คนธรรมดาในโลก ศกั ยภาพสงู (Total) (Succeeder (Reformer ธรรมดา Oriented) Oriented) (Mainstream Oriented) เวียดนาม 353,620 166,909 86,637 100,074 กมั พูชา 7,528 <500 5,646 1,878 พม่า 57,463 7,662 3,831 45,970 ลาว 18,323 6,108 5,090 7,125 มาเลเซยี 2,285,541 717,660 895,932 671,949 บรไู น 75,386 22,616 26,728 26,042 สงิ คโปร์ 2,717,681 859,775 1,027,778 830,128 ฟลิ ปิ ปนิ ส์ 1,144,761 410,969 402,956 330,836 อนิ โดนเี ซีย 2,386,535 662,416 782,214 944,295 3-1

รายงานสรุปฉบับผูบ้ รหิ าร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเทีย่ วกล่มุ ประเทศอาเซียน 3.1 กลุ่มที่มีไลฟส์ ไตล์ และวธิ คี ดิ แบบผู้ควา้ ชยั (Succeeder Oriented)  นกั ทอ่ งเที่ยวกลมุ่ น้สี ่วนใหญ่มีอายปุ ระมาณ 35 ปหี รอื นอ้ ยกว่า หากมาจากประเทศที่พฒั นาแลว้ อย่างประเทศ สิงคโปรห์ รอื บรไู นจะมแี นวโนม้ ทจี่ ะมีเศรษฐฐานะที่ดถี งึ ดมี าก สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเป็นเจา้ ของธรุ กิจ ผูบ้ รหิ ารบริษทั เอกชน หรอื วชิ าชพี เชน่ แพทย์ หรอื ทนายความ ในอกี ดา้ นหนึง่ หากมาจาก ประเทศทก่ี าลังพฒั นาอยา่ งกลุ่มประเทศ CLMV จะมกี ารกระจายตัวของอายุมากกว่าเล็กน้อย คอื เป็นกลมุ่ คนวยั ทางานตอนตน้ ถงึ กลาง (อายุ 25-44 ป)ี ประกอบอาชพี พนกั งานหรืออยูอ่ าศยั กระจาย ตามเขตเมืองหลวง และเมืองสาคัญทวั่ ไป ส่วน ใหญเ่ ศรษฐฐานะระดบั ปานกลาง  กลุ่มไลฟ์สไตล์ และวิธีคิดแบบ Succeeder จะมีแกนกลางของแนวคิดเป็นความเชอื่ มัน่ ต่อความสามารถในการ ควบคมุ ผูอ้ ื่น ต้องการความโดดเด่นแตกต่างจากคนท่ัวไป ต้องการมรี ากฐานชีวิตท่มี ่นั คง ให้ความสาคญั กบั ครอบครัว หวังความสาเรจ็ ในชีวติ จึงทางานหนกั เช่ือม่ันในตนเองว่าจะก้าวสู่ความสาเรจ็ แตก่ ็ต้องการทจ่ี ะหา ความสขุ ใสต่ ัวเพ่อื เป็นรางวัลใหก้ ับชีวิตดว้ ยการกินดีอยู่ดี 3-2

รายงานสรุปฉบับผู้บรหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทอ่ งเที่ยวกลุม่ ประเทศอาเซยี น  การสือ่ สารทางการตลาดเบอื้ งตน้ สาหรบั กลุม่ Succeeder หรอื กลุม่ ผ้คู ว้าชยั คอื นาเสนอเฉพาะสนิ ค้า และ บริการชน้ั ดีเยีย่ ม (Top quality product & service) เตมิ แต่งอารมณข์ องสินค้าใหด้ หู รหู รายิง่ ขน้ึ (Sense of Prestigious) สรา้ งอารมณ์ของการนาเสนอใหไ้ มซ่ ับซ้อน (Peace of Mind) เนน้ กล่มุ สนิ ค้าท่ีเจาะจงเฉพาะ กลุ่ม ไมใ่ ช่ Mass Product (Exclusively) และแสดงความเชีย่ วชาญในธรุ กิจโดยคาดหมายแผนการตอบโจทย์ ความต้องการแบบเฉพาะเจาะจงได้อยา่ งครบถ้วน (Be Professional) โดยตอ้ งระมดั ระวัง ไม่นาเสนอเหมือน ทว่ั ๆไป (Do not shout) ไมเ่ นน้ การขาย (Do not hard sale) หรอื ทาให้สินค้าดมู ีภาพลักษณ์ทซี่ บั ซ้อน และ ไม่จรงิ ใจ (Too Complicated, Process-Maniac) 3.2 กล่มุ ทีม่ ีไลฟส์ ไตล์ และวธิ คี ิดแบบผปู้ รบั ปรุง (Reformer Oriented)  นกั ทอ่ งเท่ยี วกล่มุ น้ีมีอายุมากกวา่ นักท่องเท่ียวศักยภาพสูงในกลุม่ Succeeder อยู่บา้ ง กลา่ วคืออายุ 40 ปหี รอื มากกว่า มักจะอยใู่ นเมืองหลวงหรือหวั เมืองใหญ่ที่ สามารถรับขา่ วสาร และสอ่ื ต่างๆ ได้อยา่ งครบถว้ น และทันเหตกุ ารณ์ เป็นกล่มุ คนท่ีไดร้ บั การศกึ ษาดี และมีหน้าที่การงานทด่ี ี หากเปน็ นกั ทอ่ งเทย่ี ว ศกั ยภาพสูงในกลุ่มท่ีมาจากประเทศที่พฒั นาแล้ว อยา่ งประเทศสิงคโปร์ หรือบรูไน จะเปน็ กลุ่มท่ี ประสบความสาเร็จในหน้าที่การงาน และประกอบ อาชีพท่มี เี กยี รติเช่น ผ้บู รหิ ารระดับสงู เจ้าของ กจิ การทป่ี ระสบความสาเรจ็ หรือประกอบวิชาชพี เช่น แพทย์ ทนายความ มเี ศรษฐฐานะอยู่ในระดบั ดถี งึ ดมี าก ในขณะที่กลมุ่ Reformers ทม่ี าจากประเทศกาลงั พฒั นาหรือประเทศในกลุ่มCLMV จะมีอายนุ ้อย กว่าเล็กนอ้ ย กลา่ วคืออยู่ในวยั ทางานตอนกลาง (อายุประมาณ 30 ปี) อาจจะมีเศรษฐฐานะด้อยลงมาคอื ปาน กลาง แต่เปน็ กลุ่มที่ไดร้ บั การศึกษาท่ีดจี งึ แสวงหาความกา้ วหนา้ และการเรยี นร้สู ง่ิ ใหม่ๆเสมอ  กลมุ่ ไลฟส์ ไตล์ และวิธคี ดิ แบบ Reformer Oriented จะมลี ักษณะแนวคิดของการต้องการคน้ หาประสบการณ์ ตอ้ งการเรยี นรสู้ ิง่ ใหมๆ่ ทเ่ี น้นไปทางการปรบั ปรุงจิตใจ และสังคม มคี วามเป็นมืออาชีพ มคี วามสนุ ทรยี ะ ชอบ ธรรมชาติ และไมย่ ดึ ตดิ กบั กรอบ รวมทัง้ ใหค้ วามสาคญั กบั แกน่ แทภ้ ายในมากกว่าเปลือกนอก นกั ทอ่ งเทีย่ ว ศักยภาพสงู ทถ่ี กู จดั อยู่ในกลมุ่ Reformer หรอื ผูป้ รับปรุงนี้ มสี ัดส่วนสูงในประเทศมาเลเซยี และสิงคโปร์ ท่ี รอ้ ยละ 39.2 และ 37.8 ตามลาดบั 3-3

รายงานสรปุ ฉบับผบู้ รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดท่องเท่ียวกลมุ่ ประเทศอาเซียน  การสอื่ สารทางการตลาดเบ้ืองต้นสาหรบั กล่มุ Reformer หรือกลมุ่ ผู้ปรบั ปรุง คอื การนาเสนอสนิ ค้าท่ีคณุ ภาพ ดีอยา่ งแทจ้ ริง (Real Thing) นาเสนออยา่ งตรงไปตรงมา (Social Fairness) แสดงออกต่อความใสใ่ จใน สิง่ แวดลอ้ ม และสงั คม (Care Community & Environment) กระตุ้นให้เกดิ ความอยากรู้ อยากได้ ประสบการณ์ แตท่ ิ้งให้ตดั สินใจเอง (Provoke Curiosity, Provide personal space) ขอ้ ควรระวังสาหรับการ ส่อื สารกับกลมุ่ Reformer คือ อย่านาเสนอเกนิ จรงิ (Never Cliche) หลกี เล่ยี งกฏเกณฑ์ และข้นั ตอนท่ี ซับซอ้ น (Don’t tell them what to do, too many instructions) และอย่าเน้นการขายจนเกนิ ไป (Do not hard sale) 3-4

รายงานสรุปฉบบั ผบู้ รหิ าร โครงการศึกษาตลาดท่องเทีย่ วกลมุ่ ประเทศอาเซยี น 3.3 กลมุ่ ท่มี ไี ลฟ์สไตล์ และวิธคี ดิ แบบคนธรรมดาในโลกธรรมดา (Mainstream Oriented)  นกั ทอ่ งเทย่ี วกลุ่มนสี้ ามารถจาแนกออกมาตามคณุ ลกั ษณะทางกายภาพได้ยาก เนอื่ งจากคุณลกั ษณะท่ีกระจาย ตัวทง้ั ในเรอื่ งของเพศ อายุ และอาชพี เรยี กไดว้ า่ นักท่องเทยี่ วศกั ยภาพสูงกลุ่ม Mainstream นีม้ อี ยู่ทกุ เพศทุก วยั และหลากหลายอาชพี สง่ิ เดียวทีส่ ามารถจาแนก นกั ท่องเท่ยี วศักยภาพสูงทีถ่ ูกจัดอยู่ในกลมุ่ Mainstream และนกั ทอ่ งเที่ยวทั่วไปทถ่ี กู จดั อย่ใู นกลุม่ เดียวกันน้ี คือ นักท่องเทย่ี วศักยภาพสงู กลมุ่ Mainstream จะมีเศรษฐ- ฐานะท่ดี กี ว่า กล่าวคอื มเี ศรษฐฐานะอย่ใู นระดบั ปานกลาง ถึงดี และบางส่วนประกอบอาชีพท่ีมหี นา้ มีตาในสงั คม เชน่ ผบู้ รหิ าร กล่มุ วชิ าชีพเฉพาะด้าน หรอื แมบ่ ้าน และ นกั ศึกษาท่ีมาจากครอบครวั ทรี่ ่ารวย นักทอ่ งเทย่ี ว ศกั ยภาพสงู กล่มุ Mainstream ในประเทศพม่าถอื วา่ เป็น กลุ่มทนี่ า่ จับตามอง เพราะมสี ัดส่วนมากถงึ รอ้ ยละ 80 เมื่อเทียบกบั กลมุ่ อ่นื ๆ  กล่มุ ไลฟ์สไตล์ Mainstream จะมีคา่ นยิ มที่ใหค้ วามสาคญั กับความม่นั คง ปลอดภยั ผูกพัน โอนออ่ นผ่อนตาม คนหมมู่ าก และคนในครอบครวั มกี จิ วตั รประจาวันซ้าเดิม คานงึ ถงึ คุณค่าของเงนิ และการใช้เงิน ไม่ชอบความ ส่มุ เส่ียง และไม่ชอบการลองอะไรใหมๆ่ มักจะใชส้ นิ คา้ และบรกิ ารท่ีสงั คมสว่ นใหญ่ยอมรบั ใช้จ่ายกับของท่ี ตอ้ งค้มุ คา่ ค้มุ ราคา 3-5

รายงานสรปุ ฉบับผบู้ ริหาร โครงการศึกษาตลาดทอ่ งเท่ียวกลุ่มประเทศอาเซียน  การสอ่ื สารทางการตลาดเบ้อื งตน้ สาหรับกลุม่ Mainstream หรือกลุม่ คนธรรมดาในโลก คอื การเน้นใชต้ รรกะ ธรรมดาสาหรบั การดารงชีวิตประจาวันทเี่ ขารู้สึกคนุ้ เคย (“Slice of Life” pattern or behavior) นาเสนอ อย่างเรียบง่าย (Simply but sure) ใหค้ าแนะนาทีง่ า่ ย และครบถ้วน (Complete Guidelines) เสนอสินคา้ ท่ี ราคาเหมาะสมกบั คุณภาพ (Provide Standard Quality with Value of Money) ให้ความรู้สกึ คุ้มคา่ กบั การ ใชจ้ ่ายทไี่ มแ่ พง (Everyday Low Price) ข้อควรระวงั ในการส่ือสารกบั กลุ่ม Mainstream คอื ไม่สร้างความ ตระหนกหรือประหลาดใจเกนิ ไป (Do not surprise, Do not radical) หลีกเลีย่ งการนาเสนอแบบแหวกแนว (Avoide being rebellious) ไม่ใชก้ ลยุทธ์ในการตบตาหลอกลวงหรอื ให้ร้ายผอู้ ่ืน (Negative Approach)  หากมองโดยภาพรวมแลว้ กลุม่ นักทอ่ งเท่ียวศักยภาพสูงของแตล่ ะประเทศส่วนใหญจ่ ะอาศัยอยู่ในเขตเมอื ง หลวงมากที่สุด รองลงมาคือหวั เมอื งสาคัญตา่ งๆ ยกเวน้ ประเทศสงิ คโปร์ซึ่งเปน็ ประเทศขนาดเลก็ จงึ พิจารณา เป็นเมอื งเดียว แต่ยังเหน็ ได้ว่าสามารถพบนักท่องเที่ยวกลมุ่ ศกั ยภาพสงู ไดม้ ากในพ้นื ทย่ี า่ นธรุ กิจของประเทศ นอกจากนน้ั แลว้ จานวนของกลุ่มนกั ท่องเทีย่ วศักยภาพสูงในเมืองตา่ งๆ ยงั สัมพันธ์กับจานวนเท่ยี วบนิ โดยเฉลีย่ ต่อสัปดาห์ของสนามบินในเมอื งนนั้ ๆ อกี ด้วย กล่าวคือ ยง่ิ มีจานวนนักทอ่ งเที่ยวท่ัวไป และนักท่องเท่ยี ว ศกั ยภาพสูงในเมอื งๆหนึ่ง มากเทา่ ไร จานวนเที่ยวบนิ เฉลย่ี ต่อสปั ดาหก์ ย็ ง่ิ มีจานวนมากขึน้ เทา่ นัน้ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ เมืองสาคญั ของประเทศพฒั นา หรอื เมืองหลวงซ่ึงมสี นามบนิ นานาชาตขิ นาดใหญ่ทส่ี ามารถใช้เช่ือมต่อ เท่ยี วบนิ ในการเดนิ ทางไปยงั เมืองอ่ืนๆ ไดอ้ ีก เช่น เมือง Jakarta ของประเทศอินโดนีเซยี ซง่ึ มีเทีย่ วบนิ เฉลี่ยถึง 7,110 เที่ยวบินตอ่ สัปดาห์ หรือเมอื ง Kuala Lumpur ของประเทศมาเลเซียซึง่ มเี ท่ยี วบนิ เฉลย่ี 5,449 เท่ยี วบนิ ตอ่ สปั ดาห์ เป็นตน้ 3-6

รายงานสรุปฉบบั ผูบ๎ รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทํองเที่ยวกลมุํ ประเทศอาเซยี น บทที่ 4 ข้อเสนอแผนกลยทุ ธ์ และแผนดาเนนิ การ จาแนกตามประเภทกลุ่มนกั ท่องเทยี่ ว ศกั ยภาพสงู 4.1 ขอ้ มูลประกอบทต่ี อ้ งนามาพจิ ารณาสาหรบั การสรา้ งแผนกลยทุ ธ์ (Key Considerations)  นักทํองเทยี่ วกลมุํ ศักยภาพสงู ชาวฟิลปิ ปินส์นิยมเลือกเดินทางทํองเทย่ี วกับครอบครวั โดยเฉพาะ นกั ทอํ งเท่ยี วศักยภาพสูงชาวอนิ โดนเี ซียที่ในสัดสํวนไมํนอ๎ ยท่ีเลอื กเดินทางพร๎อมกนั หลายครอบครวั เป็น คณะใหญนํ ักทอํ งเทีย่ วศกั ยภาพสงู เหลํานี้จึงใชเ๎ วลาในการวางแผนเดินทางทํองเท่ียวนานกวาํ ชาตอิ ืน่ ๆ รวมถงึ ขอ๎ มูลประกอบการตดั สนิ ใจจากทัวรเ์ อเยํนต์ จึงมีอทิ ธิพลตํอการตดั สนิ ใจตอํ กลมุํ เหลาํ นส้ี ูงกวําชาติ อืน่ ๆ อยํูบา๎ ง  นักทํองเท่ียวศักยภาพสูงชาวบรไู นเป็นกลุํมทม่ี กี ารวางแผนลวํ งหนา๎ กอํ นการเดินทางในชํวงสนั้ ที่สุด กลําวคือ สามารถจัดกระเป๋า และเดินทางได๎ในทนั ทหี ากต๎องการ เพราะฉะน้ันการมเี ท่ียวบินที่หลากหลาย ในชํวงเวลาเพ่อื ตอบสนองความตอ๎ งการไดจ๎ งึ เปน็ เร่อื งสาคญั  สภาพภมู ิประเทศ และส่งิ แวดลอ๎ มในประเทศของตนเอง มสี ํวนสาคัญในการเลอื กเป้าหมายการเดินทาง และกิจกรรมทีช่ อบในระหวาํ งการเดนิ ทางทอํ งเท่ยี วตาํ งประเทศ อาทิ กลํมุ นกั ทํองเทีย่ วชาวลาวทไ่ี มํมี ชายแดนติดทะเล นิยมแสวงหาแหลํงทอํ งเทย่ี วทางทะเล และชายหาดทส่ี วยงาม รวมท้งั ความศิวไิ ลซใ์ นตัว เมืองที่หาไมํได๎ในบา๎ นเกิดตนเอง  อกี กรณีหนง่ึ คอื นักทอํ งเทย่ี วชาวสิงคโปร์ ท่อี าศัยอยํูในประเทศขนาดเลก็ ซง่ึ ประชากรอยกูํ ันอยาํ งแออัด ทํามกลางสิง่ กํอสรา๎ งทางวัตถุ จึงใฝ่ฝนั ทจ่ี ะหลดุ พ๎นออกไปจากสภาพแวดลอ๎ มเดิมๆ เพือ่ เติมพลงั ให๎กบั ชีวติ รวมถงึ ความนิยมสนิ ค๎า และบริการช้นั หรหู ราโดยไมํคานงึ ถงึ คาํ ใชจ๎ าํ ยเพอื่ เปน็ การให๎รางวัลตัวเองจากการ ทางานหนัก  วัฒนธรรมประเพณี และธรรมเนียมปฏิบัตขิ องประเทศในแถบอาเซียนนน้ั มคี วามคล๎ายคลึง และมกี าร ผสมผสานกนั อยูํบ๎างแล๎ว สงํ ผลดที าให๎นักทํองเทยี่ วจากภูมิภาคในอาเซยี นไมรํ ูส๎ กึ แปลกแยกมากนัก เมือ่ เดินทางทอํ งเท่ยี วในภมู ภิ าค โดยเฉพาะในประเทศไทย  ความใกล๎ชิดทั้งทางสภาพทางภมู ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม โดยเฉพาะวฒั นธรรมการกิน ทาใหก๎ ารปรบั ตวั ตาม สภาพบรรยากาศ และอาหารการกินระหวาํ งการเดินทางภายในภูมิภาคมไี มํมาก  อยํางไรก็ตาม ความแตกตํางทางด๎านศาสนานับเป็นประเด็นสาคัญทไี่ มคํ วรมองข๎าม เนอื่ งจากนกั ทํองเทย่ี ว สวํ นใหญํจากประเทศอนิ โดนีเซีย มาเลเซีย และบรูไน นบั ถือศาสนาอิสลาม การมีอาหารท่ีได๎รับมาตรฐาน ฮาลาล และสาธารณปู โภคท่ีเออื้ ตอํ หลกั ปฏิบัติของศาสนาอสิ ลาม เชํน ห๎องละหมาด รวมทัง้ การปฏบิ ตั ิตอํ นกั ทอํ งเที่ยวด๎วยการให๎เกยี รติ และความเคารพกเ็ ปน็ สิง่ ท่ีสาคัญตํอนักทอํ งเทย่ี วศักยภาพสงู จากประเทศ ดังกลาํ ว 4-1

รายงานสรุปฉบบั ผบู๎ ริหาร โครงการศึกษาตลาดทํองเที่ยวกลมํุ ประเทศอาเซยี น  นักทอํ งเทีย่ วศักยภาพสงู จากบางประเทศ โดยเฉพาะฟลิ ิปปนิ ส์ และอนิ โดนเี ซยี ยังมคี วามรเู๎ กีย่ วกบั แหลงํ ทํองเทย่ี วทมี่ คี วามหลากหลายในประเทศไทยคอํ นขา๎ งนอ๎ ย สวํ นใหญํรูจ๎ ักเพยี งแหลงํ ทํองเที่ยวซ่งึ เปน็ ท่ีนิยม อยาํ งกรงุ เทพฯ หรอื ภูเก็ตเทาํ นน้ั  ข๎อมูลทีไ่ ด๎รับจากการบอกเลําของเพ่อื น ญาติ และคนในครอบครวั เป็นสวํ นสาคญั ท่สี ดุ ในการตัดสินใจ เดนิ ทางทอํ งเท่ียวมายงั ประเทศไทยของนักทอํ งเท่ียวหลายประเทศ เชํน ฟลิ ิปปินส์ บรไู น กัมพูชา และ เวียดนาม ในขณะท่นี กั ทอํ งเที่ยวชาวมาเลเซยี นิยมมคี วามคุ๎ยเคยกบั การสื่อสารทางสังคมออนไลน์ และมี แนวโน๎มทีจ่ ะหาขอ๎ มูลการทํองเท่ยี วจากอินเตอรเ์ น็ตควบคไํู ปดว๎ ย  นักทอํ งเท่ยี วศักยภาพสูงจากประเทศบรไู น และสิงคโปร์ ยอมจาํ ยแพงกวําเพอื่ คุณภาพทีด่ กี วาํ และ สามารถจับจาํ ยซอ้ื ของได๎โดยทร่ี าคาไมใํ ชปํ ระเด็นสาคญั ในขณะทีน่ กั ทํองเทย่ี วจากประเทศมาเลเซีย คอํ นข๎างคานงึ ถงึ คาํ ใชจ๎ าํ ย และชอบการทอํ งเท่ียวประเทศไทยเพราะ “เป็นแหลงํ ทํองเทยี่ วท่ีคําใช๎จํายไมํ แพง” 4-2

รายงานสรุปฉบับผูบ๎ รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทอํ งเท่ยี วกลมํุ ประเทศอาเซยี น 4.2 เปา้ หมายกลยทุ ธใ์ นภาพรวม  สาหรับกลํุมนักทอํ งเทยี่ วที่ยงั ไมรํ ู๎จกั แหลํงทอํ งเทย่ี วในประเทศไทยมากนัก จะตอ๎ งสร๎างการรบั รแ๎ู หลํง ทอํ งเท่ยี วทห่ี ลากหลายมากยิ่งข้ึนในแงขํ องกิจกรรม และบรรยากาศ เชนํ โปรโมทการทํองเท่ียวใน ภาคเหนอื ในแงขํ องวฒั นธรรมประเพณี ธรรมชาตทิ ี่สวยงามรวมทัง้ อากาศเย็นสบาย หรอื แนะนาแหลํง ทํองเทยี่ วทางชายทะเลอนื่ ๆนอกเหนอื จากพทั ยาหรอื ภเู กต็  ประชาสัมพันธ์ และสรา๎ งการรับรู๎กจิ กรรมทางการทํองเท่ียวหลากหลายแบบท่เี หมาะกบั นักทอํ งเท่ียว หลากหลายกลุมํ เชํน กจิ กรรมการทอํ งเที่ยวท่เี หมาะกับนกั ทํองเที่ยวทมี่ าเปน็ ครอบครัว อยาํ งสวนสัตว์ สวนสนุก กิจกรรมทส่ี ร๎างความตนื่ เตน๎ และบนั เทงิ สาหรับนกั ทอํ งเทย่ี วท่มี าเปน็ กลมุํ เพ่ือน เปน็ ตน๎  สรา๎ งเสริม และทะนุถนอมภาพลกั ษณ์ด๎านทีเ่ อือ้ ตอํ ความสะดวกสบายของนกั ทํองเที่ยวทนี่ ับถอื ศาสนา อสิ ลาม เชนํ อาหารฮาลาล รวมทงั้ สรา๎ งภาพลกั ษณข์ องแหลํงทํองเท่ยี วช้นั หรูหราสาหรบั นกั ทอํ งเท่ียวที่มี เกยี รติ และตอ๎ งการบริการช้นั ดเี ลศิ  ประชาสมั พนั ธ์ และสรา๎ งเสรมิ ภาพลักษณ์ของสินค๎าทีผ่ ลติ ในประเทศไทยหลากหลายประเภท โดยท่ี คณุ ภาพจะต๎องเหมาะสมกับราคา และยังตอ๎ งมีสนิ ค๎าระดับหรูหราไวร๎ องรับนักทํองเทย่ี วท่ตี อ๎ งการสินคา๎ ระดับพรเี มย่ี มเทาํ น้ัน  สํงเสริมภาพลกั ษณค์ วามปลอดภัยในการทํองเท่ยี วในประเทศไทย รวมทงั้ ความสะดวกสบายในการสือ่ สาร และระบบสาธารณูปโภคตาํ งๆด๎วย 4-3

รายงานสรุปฉบบั ผู๎บริหาร โครงการศกึ ษาตลาดทอํ งเทีย่ วกลมํุ ประเทศอาเซยี น 4.3 กลยทุ ธส์ าหรับนกั ท่องเที่ยวกลุม่ ศกั ยภาพสงู และแผนการดาเนินการภายใต้กลยทุ ธ์  สรปุ กลยุทธ์สาหรับนกั ทอํ งเทยี่ วศักยภาพสงู จาแนกตามกลุํมลกั ษณะไลฟ์สไตล์ โดยใชป๎ ัจจยั ทางการ จิตวิทยา และความตอ๎ งการพืน้ ฐานดา๎ นการเดินทางทอํ งเทยี่ ว ซ่ึงเปน็ ข๎อค๎นพบจากการศกึ ษาครัง้ นไี้ ด๎ดังนี้ 4.3.1 กลยทุ ธส์ าหรบั นักทอ่ งเท่ียวศกั ยภาพสงู กลมุ่ Suceeder Oriented  นกั ทํองเท่ยี วศกั ยภาพสูงกลมุํ Suceeder Oriented ต๎องการความหรหู รามรี ะดับเพ่ือตอบสนองอารมณ์ ขนั้ สุดยอด และยนั ยนื ชยั ชนะแหํงตน เป็นการใหร๎ างวลั กบั ตวั เองจากการทางานหนกั และตอ๎ งการความ โดดเดํนแตกตํางจากผ๎ูอ่นื โดยเร่อื งคาํ ใชจ๎ ํายน้นั เป็นประเด็นรอง กลยุทธ์หลกั ของนกั ทอํ งเทย่ี วศกั ยภาพสูง กลํมุ ผ๎คู วา๎ ชัยจึงเนน๎ การนาเสนอสถานที่ทอํ งเท่ียว ทพ่ี ัก สนิ ค๎า และบริการระดับหรูหรา โดยเนน๎ การส่ือสาร ไปในทาง Exclusively หรือเปน็ สิ่งทีม่ อบให๎กบั ลูกค๎าคนสาคญั เทํานน้ั  สาหรับนกั ทอํ งเที่ยวศกั ยภาพสูงกลุํม Succeder ท่ีชนื่ ชอบการชอ๎ ปปงิ้ อยาํ งนักทอํ งเท่ยี วจากประเทศ ฟิลปิ ปนิ ส์ กลยุทธจ์ ะเนน๎ ไปทางการแสวงหาแหลํงช๎อปปิง้ หลากหลายสไตล์ มีรา๎ นค๎า และร๎านอาหารให๎ เลือกมากมาย ท้งั ในพน้ื ทก่ี รุงเทพฯ และตํางจงั หวัด เชํน ตลาดนา้ อัมพวา สวนผึ้ง Asiatique ตลาดนัด จตจุ ักร จนไปถึงศนู ยก์ ารค๎าท่ีมรี ๎านคา๎ ระดับไฮเอนด์ และสินคา๎ แบรนดเ์ นมอยํางเกษรพลาซํา สยาม พารากอน และเซ็นทรลั เวริ ์ล (สาหรับรา๎ นคา๎ ระดบั ไฮเอนด์ เนน๎ ขอ๎ พเิ ศษในการจัดโปรแกรมตอ๎ นรบั ทเี่ นน๎ ความหรูหรา และใหเ๎ กียรตยิ ศสงู สดุ แกํผู๎มาเยอื น โดยไมํเปดิ เผยสูกํ ลมุํ เป้าหมายเรอ่ื งการปรบั ลดราคาหรือ Redemption program)  สวํ นนักทอํ งเท่ยี วศักยภาพสูงกลมํุ ผคู๎ วา๎ ชัยที่ช่นื ชอบกิจกรรมทางทะเล เชนํ นกั ทํองเท่ยี วศกั ยภาพสงู ชาวลาว และนกั ทอํ งเทย่ี วศกั ยภาพสงู ชาวกัมพูชา กลยุทธจ์ ะเนน๎ ไปที่ การโปรโมทสถานท่ีทํองเทย่ี วทาง ทะเล และแหลํงดานา้ รวมท้ังทีพ่ กั โรงแรม และรีสอรท์ ระดับหรูหรา Pool Villa เนน๎ การสือ่ สารในเชงิ การ ให๎รางวลั กบั ชวี ิตที่คุม๎ คํา และตอบสนองมิติทางอารมณ์ถงึ ขดี สดุ ของผู๎ทีม่ สี ถานะทีเ่ หนอื ชนั้ และประสบ ความสาเรจ็ ในชวี ติ แผนการปฏิบัติการภายใต๎กลยทุ ธ์คือ การแสวงหาพนั ธมิตรทางธุรกจิ ดา๎ นโรงแรม และ รสี อร์ทหรรู ะดับ 5-6 ดาว Pool Villa การสารวจพ้ืนท่ีดานา้ เพ่อื สร๎างทางเลือก รวมท้งั ธรุ กิจเรือ Yatch หรอื ธรุ กิจทเ่ี กย่ี วขอ๎ งอนื่ 4-4

รายงานสรปุ ฉบับผ๎ูบริหาร โครงการศึกษาตลาดทอํ งเท่ยี วกลุํมประเทศอาเซียน  นอกจากนั้นยังมกี ลยทุ ธใ์ นการประชาสมั พันธ์ และนาเสนอทางเลอื กของสถานทที่ ํองเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม ทางภาคเหนือท่แี ตกตาํ งจากสถานทท่ี อํ งเท่ยี วซึ่งเปน็ ที่นยิ มอยํแู ล๎วอยํางกรุงเทพฯ หรอื ภูเก็ต เพ่ือสร๎าง ทางเลอื กให๎กบั นักทํองเทยี่ วศกั ยภาพสงู กลมุํ ผค๎ู วา๎ ชยั ท่ตี ๎องการทางเลือกใหมํๆอีกดว๎ ย  สวํ นนักทํองเที่ยวศักยภาพสูงกลมุํ ผู๎คว๎าชัยจากประเทศอนิ โดนเี ซีย เวียดนาม พมํา บรูไน และมาเลเซีย น้นั คอํ นข๎างคล๎ายคลงึ กนั ในแงํมุมของความต๎องการกิจกรรมการทํองเทย่ี วท่ีหลากหลาย แตํจะต๎องหรูหรามี ระดับ และตอกยา้ ถงึ ความเปน็ ผูเ๎ หนือชั้น สาหรับนกั ทอํ งเท่ียวศกั ยภาพสงู กลุมํ ผ๎คู วา๎ ชยั ชาวสิงคโปร์ซ่งึ ไมํได๎ มองประเทศไทยเป็นแหลงํ ทํองเทีย่ วระดับหรูหราน้ัน กลยทุ ธ์หลกั คือการประชาสมั พันธแ์ หลํงทอํ งเท่ยี ว ท่ีพัก สินคา๎ และบรกิ ารระดบั ไฮเอนด์โดยเนน๎ การสื่อสารในเชงิ “ความหรูหราท่ีคุณภาพคมุ๎ คํามากกวําเงนิ ที่จํายไป” (Much value than other choices for the same thing & quality)  โดยสามารถสรุปกลยทุ ธ์ และแผนดาเนนิ การภายใตก๎ ลยทุ ธข์ องนักทํองเทยี่ วศักยภาพสงู กลํมุ ผูค๎ ว๎าชยั ในภาพรวม “ทงั้ ภมู ิภาค” ได๎ดังนี้ กลยทุ ธ์ แผนการ รายละเอยี ด เวียดนาม Feel the Extraordinary, Shopper’s Paradise เพ่ือเปดิ โอกาสใหน๎ ักทํองเที่ยวทม่ี ีศักยภาพและกาลังซือ้ ได๎สมั ผสั กมั พูชา Sense the Prestige - เน๎นการช๎อปปงิ้ ที่มสี ินค๎า สินคา๎ ท้ังแบรนด์ชั้นนาระดับโลก และแบรนด์ไทยช้ันแนวหน๎า ใน พมํา - ความเหนือชน้ั อยาํ งหรูหรา หลากหลายกวํา คุณภาพสงู หา๎ งสรรพสนิ ค๎าหรู ใจกลางเมืองใหญํ กวาํ Live High on the Next เพ่ือเพมิ่ จานวนนักทํองเทย่ี วชาวกัมพูชาโดยตรง สแํู หลงํ เปา้ หมาย Door Me, Sea & Beach การทอํ งเทยี่ วทางทะเลแหลงํ ใหมํๆ โดยเฉพาะแหลํงทอํ งเท่ียวท่ี - เพิ่มโอกาสการเดนิ ทาง - นาเสนอบรรยากาศ จงั หวัดกระบ่ี ตรงั สตลู และพทั ลุง ชายทะเลทแ่ี ปลกใหมํ เป็นที่ Experience all นยิ มของคนรุํนใหมํ เพื่อเปิดโอกาสใหน๎ ักทํองเท่ยี วท่ีมีศกั ยภาพ และกาลังซอ้ื ไดส๎ มั ผัส dimension of Thai สนิ ค๎า ทั้งแบรนด์ช้นั นาระดบั โลก และแบรนดไ์ ทยชน้ั แนวหนา๎ ใน Senses Shopper’s Heaven หา๎ งสรรพสินคา๎ หรใู จกลางเมืองใหญํ พรอ๎ มโปรแกรมทอํ งเทยี่ วเพือ่ - ความหรูหรา เหนอื ชั้นของ - เนน๎ การชอ๎ ปปง้ิ ทีม่ สี ินค๎า สักการะสิ่งศกั ด์สิ ิทธิต์ ามศาสนสถานสาคัญ ชมิ อาหารรสเลิศในร๎าน เพอ่ื นไทยผ๎ใู กลช๎ ดิ หลากหลายกวาํ คุณภาพสูง ช่ือดังยํานธรุ กิจ กวํา 4-5

รายงานสรปุ ฉบบั ผู๎บริหาร โครงการศึกษาตลาดทํองเทยี่ วกลํมุ ประเทศอาเซยี น กลยทุ ธ์ แผนการ รายละเอียด ลาว Sea, Sand, Sun and Unforgettable เพ่ือสรา๎ งการรบั รู๎ และเพมิ่ จานวนนักทอํ งเทยี่ วชาวลาวกลมุํ มาเลเซีย Spectacular Experience by the Sea ศกั ยภาพสงู สแูํ หลงํ เป้าหมายการทํองเท่ยี วทางทะเลทมี่ รี ะยะทาง - ปลุกเร๎าความอยาก - ดว๎ ยข๎อเสนอที่เน๎นความ ไมไํ กลเกินไปนกั แตํมีสิ่งอานวยความสะดวกครบครัน อาหารทะเล บรูไน ทํองเทยี่ วดว๎ ยบรรยากาศ สะดวกสบาย และนาํ สนใจ รสเลศิ มกี จิ กรรมสนั ทนาการ และความบันเทิงท่หี ลากหลาย สิงคโปร์ ชายทะเล สาหรับผ๎มู ีรสนิยม โดยเฉพาะแหลํงทอํ งเทยี่ วในจงั หวัดระยอง และจังหวดั ตราด Nurture your Ultimate Honeymoon’s Paradise ขยายภาพลกั ษณ์ด๎านแหลงํ ทํองเท่ยี วช้ันไฮคลาส สาหรับคูฮํ ันนมี นู Moments Exclusively - เน๎นนาเสนอความเปน็ หรอื ฉลองครบรอบแตงํ งาน ไปสูํพนื้ ท่ที อํ งเทยี่ วทางทะเลอ่นื - ปลุกเร๎าความต๎องการ ด๎วย สํวนตวั อยาํ งหรูหรา นอกเหนือไปจากเมอื งทํองเที่ยว ฝัง่ ทะเลอันดามนั เชํน เกาะพะงัน ความแปลกใหมํ ทตี่ ืน่ ตาตนื่ จงั หวัดสุราษฎร์ธานี ใจ Adventurous @ Nurture ขยายภาพลักษณ์ด๎านแหลํงทอํ งเท่ยี วชั้นไฮคลาส สาหรบั การสัมผสั - นาเสนอกิจกรรมที่ ธรรมชาติ บนความหลากหลายทางวฒั นธรรม Be indulged, Be invited สรา๎ งสรรคเ์ พอ่ื ความตื่นเตน๎ - ผํอนคลาย ทงั้ กายและใจ และได๎สมั ผสั ประสบการณ์ท่ี เพอ่ื เพิ่มจานวนนกั ทอํ งเทีย่ วชาวบรูไนโดยตรง สูแํ หลํงเปา้ หมาย ในบรรยากาศอันเปน็ มิตร แปลกใหมทํ างวฒั นธรรม การทํองเที่ยวทางทะเลระดับไฮเอนดแ์ หลงํ ใหมํๆ โดยเฉพาะแหลํง Me, Sea & Beach ทํองเทย่ี วท่ีจงั หวัดกระบี่ ตรงั สตูล และพัทลงุ Feel the reward in-style - สอื่ สารถงึ บรรยากาศ - ใหร๎ างวลั จากการทางาน ชายทะเลทีแ่ ปลกใหมํ เป็นที่ เพอ่ื เปดิ โอกาสให๎นักทอํ งเท่ยี วทมี่ ีศกั ยภาพและกาลังซือ้ ได๎สมั ผสั หนกั ตลอดสปั ดาห์ ตลอด นิยมของคนรุํนใหมํ สนิ คา๎ ทงั้ แบรนดช์ ้นั นาระดบั โลก และแบรนด์ไทยช้ันแนวหนา๎ ใน เดือน ตลอดปี ดว๎ ยการมา Shopper’s Paradise หา๎ งสรรพสนิ ค๎าหรู ใจกลางเมอื งใหญํ เยย่ี มบา๎ นเพอ่ื นแท๎ - เน๎นการชอ๎ ปป้ิงทม่ี ีสนิ คา๎ หลากหลายกวาํ คุณภาพสงู เพอ่ื แสวงหาแหลํงทอํ งเท่ียวใหมํ ที่แตกตํางจากกรงุ เทพฯ และ กวาํ ภเู ก็ต Northern Chill out - หันมาใชช๎ วี ิตแบบช๎า เพอ่ื เพิ่มจานวนนกั ทอํ งเทย่ี วชาวสงิ คโปรโ์ ดยตรง สูแํ หลํงเปา้ หมาย เนบิ ๆ เพมิ่ พลงั สาหรบั การ การทํองเทีย่ วทางทะเลแหลงํ ใหมํๆ โดยเฉพาะแหลํงทํองเท่ยี วที่ ตอํ ส๎ชู ีวติ ตํอไป ดว๎ ย จังหวัดกระบี่ ตรงั สตลู และพทั ลุง บรรยากาศทางวัฒนธรรมท่ี อํอนชอ๎ ย สงบ และรํมเยน็ เพ่ือแสวงหากิจกรรมใหมํๆ ท่ีแตกตํางจากการชอ๎ ปป้งิ ในเมอื งใหญํ Me, Sea & Beach - นาเสนอบรรยากาศ เพอ่ื เพิม่ จานวนนักทํองเท่ียวศกั ยภาพสงู ชาวสิงคโปรโ์ ดยตรง ชายทะเลที่แปลกใหมํ เป็นที่ สูแํ หลงํ เป้าหมายเชงิ นิเวศใหมํ โดยใชแ๎ หลงํ ทอํ งเทย่ี วทางแนว นิยมของคนรุํนใหมํ ตะวันตกด๎านชายแดนพมําเปน็ แบบทดลอง Thainess Wellness - นาเสนอสนิ ค๎าเพ่อื การ ถนุถนอมกาย และใจ จาก เพ่ือนคนไทย ผ๎เู ป็นหนงึ่ ใน เพอื่ นแท๎ Me, Eco-adventure - นาเสนอภาพของป่าเขา เขียวชอํุม ในบรรยากาศเปน็ มิตร 4-6

รายงานสรปุ ฉบบั ผ๎บู รหิ าร โครงการศึกษาตลาดทอํ งเที่ยวกลมํุ ประเทศอาเซยี น ฟลิ ิปปินส์ กลยทุ ธ์ แผนการ รายละเอียด อนิ โดนเี ซยี สํงเสริมภาพลักษณ์การชอ๎ ปปง้ิ สนิ คา๎ ช้ันคุณภาพสงู ของไทย ใน Feel the Heartbeat of Shopping Family ราคาทีเ่ ป็นธรรม Shopping Phenomenon - เนน๎ การช๎อปปิ้งใน - ช๎อปปง้ิ สนิ คา๎ ดีไซนแ์ ปลก บรรยากาศครอบครวั อบอนุํ ขยายภาพลกั ษณด์ ๎านแหลํงทอํ งเที่ยวชั้นไฮคลาส ไปสูํพื้นที่ ใหมํ หนึ่งเดียวหาไมํได๎ที่ใด สนิ คา๎ หลากหลายครบถว๎ น ทํองเทย่ี วทางทะเลที่มแี หลงํ ความเปน็ มาทางประวตั ิศาสตร์ หรอื ในโลก สาหรับทกุ คน ในราคาเปน็ อารยธรรมท่นี ําสนใจ เชนํ กระบี่ และสตลู เปน็ ต๎น ธรรม Boundless Pleasure, Historical Breeze Limitless Joy - ส่ือสารถงึ ความสมั พันธ์ - ความหรูหราชายฝง่ั ทะเล ทางวัฒนธรรม ทส่ี รา๎ งอารย ไทย และอารยธรรมที่ ธรรม และประวตั ศิ าสตร์ เก่ียวพนั ไปถงึ ดนิ แดนชวา ชายฝงั่ ทะเลไทย 4.3.2 กลยุทธ์สาหรบั นักท่องเท่ยี วศักยภาพสูงกลมุ่ Reformer Oriented  นกั ทํองเทย่ี วศักยภาพสงู กลํมุ Reformer Oriented เปน็ กลมุํ ทไ่ี ด๎รบั การศึกษาดี มวี ธิ ีคดิ และอารมณ์ท่ี เตบิ โต และมองหาสนิ คา๎ และบรกิ ารระดบั ดีเลศิ รวมท้งั ชอบขอ๎ มลู ทแี่ สดงออกถึงความเปน็ ธรรม ชดั เจน ตรงไปตรงมา และแสดงถึงความใสใํ จตอํ สงิ่ แวดล๎อม และสงั คม จากข๎อมูลการศึกษาพบวํา กลยุทธ์ที่มี ประสทิ ธิภาพในการดึงดดู นกั ทอํ งเท่ียวศักยภาพสงู กลํุม Reformer จากประเทศตาํ งๆนน้ั มี 3 กลยทุ ธห์ ลัก ด๎วยกัน ไดแ๎ กํ กลยทุ ธ์เพื่อสงํ เสรมิ การทอํ งเท่ยี วเชิงการแพทย์ (Medical Tourism) กลยทุ ธเ์ พือ่ สํงเสรมิ การทํองเท่ยี วแบบหรูหรามีเกยี รตสิ ะดวกสบายสาหรับผูน๎ ับถอื ศาสนาอสิ ลาม (The Thai Sensation of Prestige) และกลยทุ ธ์สาหรับสํงเสรมิ การทอํ งเทย่ี วทีเ่ นน๎ ความหลากหลายของกิจกรรมตํางๆในประเทศ ไทย (Experience the Local Chic)  นกั ทอํ งเที่ยวศกั ยภาพสูงกลมํุ Reformer จากประเทศพมาํ ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม และบรูไน เป็นกลํมุ ทม่ี ี ศกั ยภาพตอํ การทอํ งเทีย่ วเชงิ การแพทย์ หรือ Medical Tourism เน่ืองจากกลํุมดงั กลาํ วมองหาบริการทาง การแพทยท์ ท่ี ันสมัยในตาํ งประเทศดว๎ ยทมี แพทย์ท่เี ช่ียวชาญรวมทง้ั บริการที่ดเี ลิศ แผนการดาเนินงาน ภายใต๎กลยุทธ์อยาํ งคราํ วๆ ไดแ๎ กํ การแสวงหาพันธมิตรระดบั ไฮเอนด์ในพนื้ ทีเ่ ป้าหมาย เชํน กลุํม โรงพยาบาลเอกชนชั้นนา คลนี คิ ทนั ตกรรม รวมทัง้ สถานบริการด๎านสุขภาพ และสปา จดั หาผู๎เชยี่ วชาญ เพ่ือโปรแกรมการดแู ล บารงุ หรือรกั ษาสุขภาพ ให๎ขอ๎ มูลที่แสดงความเชยี่ วชาญด๎านธุรกจิ กาหนดแผน ประชาสมั พันธเ์ พือ่ ตอบโจทย์ความตอ๎ งการแบบเฉพาะเจาะจงของกลํุมดังกลําว 4-7

รายงานสรุปฉบบั ผูบ๎ รหิ าร โครงการศกึ ษาตลาดทํองเทยี่ วกลมุํ ประเทศอาเซียน  ขณะท่นี ักทํองเทีย่ วกลมุํ ศกั ยภาพสูงกลุํม Reformer จากประเทศอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซ่งึ มีสดั สํวน ของนกั ทอํ งเทีย่ วท่ีนับถือศาสนาอิสลามคํอนขา๎ งสูง นอกจากนนั้ ยงั มีแนวโน๎มทจ่ี ะวางแผนการทํองเที่ยว อยาํ งเป็นระบบ ชอบแผนการทํองเที่ยวทเี่ รยี บงาํ ย และสะดวกสบายครบครนั ในแบบ one-stop service ควรกาหนดกลยุทธ์การทอํ งเทย่ี วเพอื่ สงํ เสริมสนิ คา๎ และบรกิ ารทสี่ ํงเสรมิ ความเป็นไทย โดยใช๎ความเปน็ เมอื งพุทธบนพืน้ ฐานความหลากหลายทางวฒั นธรรม และประเพณี นาเสนอน้าใจท่ีเป็นมติ รจากคนไทย ปฏบิ ัติตํอนักทอํ งเท่ียวกลมํุ นีโ้ ดยเนน๎ การให๎เกยี รติ และตระหนักถึงความแตกตาํ งทางศาสนา ในฐานะของ แขกเมืองผู๎ทรงเกยี รติ รวมถงึ การจดั เตรียมสิ่งอานวยความสะดวกสาหรบั ผท๎ู ี่นบั ถือศาสนาอสิ ลาม เชํน อาหารฮาลาล ห๎องละหมาด ฯลฯ แผนการดาเนนิ งานภายใต๎กลยุทธ์อยาํ งคราํ ว ได๎แกํ การจัดสารวจแหลํง ทอํ งเทีย่ วทางวฒั นธรรมในเมอื งใหญํทมี่ สี ิ่งอานวยความสะดวกทางศาสนาอิสลามอยํางครบครนั รวมทัง้ พันธมิตรทางธรุ กจิ อยาํ งโรงแรมระดับ 5 ดาว และผเ๎ู ช่ยี วชาญเพ่ือจดั โปรแกรมการทอํ งเท่ยี ว นอกจากนั้น ยงั สามารถดาเนินการรวํ มไปกบั กลยทุ ธใ์ นการสงํ เสริม และประชาสมั พนั ธใ์ หน๎ กั ทอํ งเที่ยวกลํมุ ดงั กลาํ วรจ๎ู กั กับสถานท่ีทอํ งเทย่ี วในเมอื งไทยมากข้ึน วําไมใํ ชํมีแคกํ รงุ เทพฯ พัทยา หรือภูเกต็ เทําน้ันซง่ึ มีสถานที่ ทอํ งเท่ยี วอนั สวยงาม โดยการโปรโมทสถานท่ที ํองเท่ยี ว เทศกาล และกจิ กรรมการทอํ งเที่ยวท่ีมีศกั ยภาพ เชนํ เทศกาลโคมยีเ่ ป็งทางเหนอื กิจกรรมการข่ชี ๎าง เปน็ ต๎น  นกั ทอํ งเทย่ี วกลํมุ ศกั ยภาพสูงกลมุํ Reformer จากประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ และประเทศสงิ คโปร์จะมสี ํวนที่ คลา๎ ยคลงึ กันคือความช่ืนชอบในกิจกรรมการช๎อปปง้ิ จงึ เหมาะกับกลยุทธ์หลกั ในการจดั เตรยี มสถานที่ ชอ๎ ปป้ิงซึ่งมีสนิ ค๎าทหี่ ลากหลายใหเ๎ ลอื กมากมาย ตั้งแตํระดบั ศนู ยก์ ารคา๎ ท่มี รี ๎านค๎าไฮเอนด์ จนถงึ ตลาด ทอ๎ งถนิ่ ทมี่ สี นิ คา๎ จาเพาะหรอื สนิ คา๎ ทามือ นกั ทํองเทยี่ วศักยภาพสงู กลุํม Reformer ชาวฟลิ ิปปินส์นัน้ จะใช๎ โอกาสการทํองเทย่ี วในการกระชับความสมั พนั ธ์ในการครอบครวั กลยทุ ธส์ าหรบั นกั ทํองเทย่ี วศักยภาพสูง กลมุํ Reformer ชาวฟิลปิ ปินสท์ ่คี วรทาควบคกํู ันไปคอื การจดั หาโปรแกรมการทํองเที่ยวท่ีเหมาะกบั ครอบครวั ในเชิงของประวตั ิศาสตร์ วิถชี วี ติ และวัฒนธรรมของคนไทย สํวนนักทอํ งเที่ยวศักยภาพสงู กลํุม Reformer ชาวสิงคโปรน์ ้ันมองวําประเทศไทยไมํใชสํ ถานที่ทํองเที่ยวทีห่ รหู รา แตํชืน่ ชอบในสินค๎า และบริการท่ีมีแบบฉบับเฉพาะตัว นอกเหนอื จากการโปรโมทสนิ ค๎าไทย และสถานทช่ี ๎อปป้ิงท่ีมเี อกลักษณ์ อยาํ ง ตลาดนา้ อัมพวา ตลาดทอ๎ งถิน่ ตาํ งๆ แล๎ว ยงั สามารถโปรโมทกิจกรรม และเทศกาลตาํ งๆ ที่สื่อถงึ 4-8

รายงานสรปุ ฉบับผ๎ูบริหาร โครงการศึกษาตลาดทํองเที่ยวกลุํมประเทศอาเซียน ความเป็นไทยอยาํ งเทศกาลลอยกระทง หรือสงกรานต์ ควบคํไู ปดว๎ ย แผนการดาเนินงานภายใตก๎ ลยุทธ์ อยํางครําว ไดแ๎ กํ แสวงหาผป๎ู ระกอบการพันธมิตรในประเทศเพอื่ รํวมโครงการ โดยเฉพาะผป๎ู ระกอบการ สนิ คา๎ SME ท่มี คี วามพรอ๎ มในการสื่อสาร รวมท้งั ผูป๎ ระกอบการแหลงํ ชอ๎ ปป้ิงตราสินค๎าของคนไทยซ่ึงเปน็ สินค๎าชน้ั ดีเย่ยี ม จดั หาผ๎ูเชยี่ วชาญเพอื่ สร๎างโปรแกรมการทํองเทย่ี วเพือ่ นาเสนอวิถชี วี ติ ชาวไทยพ้ืนบา๎ น สาหรับนักทอํ งเท่ียวทมี่ าเป็นครอบครวั หรอื การทํองเท่ียวเชิงประวัตศิ าสตร์  โดยสามารถสรุปกลยุทธ์ และแผนดาเนนิ การภายใตก๎ ลยุทธ์ของนกั ทอํ งเท่ยี วศกั ยภาพสงู กลุํมผ๎ปู รับปรุง ใน ภาพรวม “ท้งั ภูมิภาค” ไดด๎ งั นี้ เวียดนาม กลยทุ ธ์ แผนการ รายละเอียด กัมพูชา Touch the Thai with Holistic Healthcare & แสดงศกั ยภาพและความเหนือช้ันทางด๎านการถนุถนอม ดแู ลและ พมาํ Distinction Travel บารงุ รักษาสุขภาพ ดว๎ ยวธิ ีองคร์ วม ผสมผสานอยํางลงตวั กบั ลาว - กายและใจ ผสมผสาน - ดูแลองคร์ วมทัง้ กายและใจ การแพทย์สมยั ใหมํ เพ่อื สรา๎ งความแตกตาํ ง เดํนล้าเหนอื ใคร มาเลเซยี ด๎วยบุคลลากร และ บรูไน Completely Care เทคโนโลยีทีล่ า้ หนา๎ พร๎อม ประเทศไทยมศี กั ยภาพ และความเหนอื ชนั้ ทางดา๎ นการแพทย์ Tourism การบรกิ ารทเ่ี ปน็ มติ ร สมยั ใหมํ สามารถดูแลรักษาสขุ ภาพไดท๎ ้ังรํางกาย และจติ ใจ สิงคโปร์ - ดแู ลสขุ ภาพอยาํ งมือ Healthcare package นอกจากนี้ ประเทศไทยยังมีสถานท่ีใหบ๎ ริการด๎านทนั ตกรรม ที่ อาชีพ - ด๎วยบคุ ลลากร และ ทันสมัย พรอ๎ มใหบ๎ รกิ ารแกํนกั ทอํ งเที่ยวระดับสูงชาวกมั พชู า ซึ่งจะ เทคโนโลยีท่ีลา้ หนา๎ พรอ๎ ม สร๎างความแตกตํางเหนอื ประเทศจดุ หมายปลายทางอน่ื ๆ Completely Care การบริการที่เปน็ มิตร ประเทศไทยมศี ักยภาพและความเหนือชัน้ ทางด๎านการแพทย์ Tourism สมยั ใหมํ สามารถดูแลรักษาสุขภาพไดท๎ ัง้ รํางกาย และจติ ใจ - ดแู ลสขุ ภาพอยํางมอื Healthcare package นอกจากน้ี ประเทศไทยยงั มีสถานทใี่ ห๎บรกิ ารดา๎ นทันตกรรมท่ี อาชีพ - ด๎วยบคุ ลลากร และ ทนั สมัย พรอ๎ มให๎บริการแกนํ กั ทอํ งเท่ียวระดบั สูงชาวพมาํ ซ่งึ จะ เทคโนโลยีทีล่ ้าหน๎า พรอ๎ ม สร๎างความแตกตาํ งเหนอื ประเทศจุดหมายปลายทางอื่นๆ Completely Care การบรกิ ารทเ่ี ปน็ มติ ร ประเทศไทยมศี กั ยภาพ และความเหนอื ชั้นทางด๎านการแพทย์ การ Tourism ดแู ลรกั ษาสุขภาพท่คี รบวงจร นอกจากนป้ี ระเทศไทยยงั มสี ถานที่ - ดูแลสขุ ภาพอยาํ งมอื Healthcare package ให๎บรกิ ารดา๎ นทนั ตกรรมทที่ นั สมยั พร๎อมใหบ๎ รกิ ารแกนํ ักทํองเทยี่ ว อาชพี - ดว๎ ยบคุ ลลากร และ ตาํ งชาติ ซง่ึ จะสรา๎ งความแตกตํางเหนือประเทศจดุ หมายปลายทาง เทคโนโลยที ล่ี า้ หนา๎ พร๎อม อื่นๆ Sense the Spirit of การบรกิ ารทเ่ี ปน็ มติ ร ดงึ ดดู ความสนใจ โดยการเพิ่มทางเลอื กกิจกรรม ทีล่ อ๎ มรอบด๎วย Mindful Travel สภาพแวดลอ๎ มชั้นหรู การเตรยี มการเพอื่ ตอบสนองวิถีชีวติ บน - กายและใจ ผสมผสาน Holistic Pride ความแตกตาํ งทางศาสนา อยํางใหเ๎ กียรติ - นาเสนอโอกาสการพกั ผํอน Touch the Thai with ทง้ั กายและใจ ด๎วยความตง้ั ใจ ประเทศไทยมศี ักยภาพและความเหนือช้ันทางดา๎ นการแพทย์ การ Distinction พถิ ีพถิ นั และใหเ๎ กยี รติ ดแู ลรักษาสุขภาพ ท้ังยังรวมข๎อเดํนของการแพทย์สมยั ใหมกํ บั - กายและใจ ผสมผสาน Holistic Healthcare & การแพทยแ์ ผนโบราณหรอื การแพทย์ทางเลอื ก เชนํ การฝงั เข็ม วิธี Travel บาบดั ทางธรรมชาติ สามารถดูแลรักษาสุขภาพไดท๎ ้ังรํางกาย และ Experience the Local - ดแู ลองค์รวมท้ังกายและใจ จติ ใจ นอกจากนี้ ประเทศไทยยงั มสี ถานทใ่ี ห๎บริการด๎านทันตกรรม Chic ด๎วยบคุ ลลากร และ ทท่ี ันสมยั พร๎อมให๎บริการแกนํ กั ทอํ งเท่ียวชาวบรูไน ซง่ึ จะสร๎าง - ดว๎ ยวัฒนธรรมที่ เทคโนโลยที ล่ี ้าหนา๎ พรอ๎ ม ความแตกตาํ งเหนอื ประเทศจุดหมายปลายทางอืน่ ๆ แตกตาํ ง การบรกิ ารที่เป็นมติ ร เพอ่ื เพ่มิ มลู คําตํอหนํวยของสนิ คา๎ ไทย โดยเฉพาะสนิ คา๎ ประเภท แฟช่ันเสอื้ ผ๎าที่มีตราสนิ คา๎ ของตนเอง (ตลาดจตจุ ักร ห๎างแพลตติน่มั Experience the Local ประตนู า้ ) รา๎ นอาหาร รา๎ นเคร่อื งประดับ Chic - สนิ ค๎าคณุ ภาพสูง ผลิตดว๎ ย พลงั ใจทม่ี งุํ มั่น สาหรับผ๎ู แสวงหาความแปลกใหมํ ที่ แตกตาํ ง 4-9

รายงานสรปุ ฉบับผ๎บู ริหาร โครงการศกึ ษาตลาดทํองเที่ยวกลุํมประเทศอาเซียน ฟลิ ิปปนิ ส์ กลยทุ ธ์ แผนการ รายละเอียด อินโดนเี ซีย เพ่อื เพม่ิ การรับรม๎ู ลู คาํ สนิ คา๎ ชนั้ คณุ ภาพของไทย ตัง้ แตํใน Touch the luxury, Touch the Luxury, Learn หา๎ งสรรพสินคา๎ กลางเมอื งใหญํ จนถึงคณุ คําการประดษิ ฐ์ที่สามารถ Feel the ‘Thai-ness’, the Local สมั ผัสไดจ๎ ริงในแหลํงผลิต พรอ๎ มสมั ผัสชีวติ ชมุ ชนท๎องถิน่ ชํวยเพ่มิ Learn the finest - นาเสนอความเรยี บงาํ ยแตํ มลู คาํ ทางจิตใจ - กอปรด๎วยผืนดนิ พถิ พี ิถนั บนความหรูหรา ท่ี ลอํ งลอยสูํสวรรค์ สัมผัสได๎ ความสนใจในวิถกี ารดารงชวี ิตของคนทอ๎ งถน่ิ ผสมผสานกบั ความ กระตอื รือรน๎ ในประสบการณ์ทจี่ ะได๎รับจากการรับประทาน The Thai Sensation of Exclusive Festive Dining อาหารฮาลาลระดับมาตรฐานเปน็ กิจกรรมดึงดดู ความสนใจท่แี ฝง Prestige Festivity & - สอ่ื สารวิถีความเป็นอยูํ เตมิ ความเชือ่ ทางศาสนา อยํางใหเ๎ กียรติ Dining แตํงสินคา๎ และบริการดว๎ ยพลงั - ผกู โยงประเพณี และ ใจท่มี ุงํ มน่ั เพื่อรบั รองเพอื่ นผู๎ วฒั นธรรมทีแ่ ตกตาํ ง มาเยอื นอยํางใหเ๎ กียรติ ผสานสัมพนั ธเ์ พ่ิมพนู 4.3.3 กลยุทธ์สาหรับนกั ท่องเทยี่ วศกั ยภาพสูงกลมุ่ Mainstream  นักทอํ งเทีย่ วศกั ยภาพสงู กลมํุ Mainstream จะให๎ความสาคญั กับความสะดวกสบาย และความปลอดภัยใน การเดินทางทอํ งเที่ยว ถงึ แม๎วาํ นกั ทอํ งเที่ยวกลมุํ น้ีจะมีเศรษฐฐานะดแี ตํกไ็ มไํ ดใ๎ ชเ๎ งินฟมุ่ เฟอื ยจนเกินไป การ เสนอสินคา๎ และบริการทใ่ี หค๎ วามร๎ูสึกคุ๎มคาํ คุ๎มราคาจงึ เป็นส่ิงสาคญั นอกจากนั้นยังรวมถึงการ ประชาสมั พนั ธก์ ิจกรรมการทอํ งเที่ยว และสถานทีท่ ํองเท่ียวซ่งึ เหมาะกับครอบครวั และการจัดเตรยี ม สาธารณูปโภคสิง่ อานวยความสะดวกของการทํองเทย่ี วเป็นหมํูคณะ  นักทอํ งเท่ียวศกั ยภาพสงู กลํุม Mainstream ชาวอินโดนเี ซียทน่ี ยิ มเดินทางเป็นหมูํคณะหรือหลายครอบครัว เหมาะกับการนาเสนอภาพลักษณก์ ารทํองเท่ียวทสี่ นกุ สนานสาหรบั ทกุ คนในครอบครัว รวมทงั้ สะดวกสบายทัง้ การเดนิ ทาง สาธารณปู โภค และการชอ๎ ปปิ้งทีม่ สี ินคา๎ คุณภาพดีในราคาทเี่ หมาะสม สํงเสรมิ ภาพลักษณ์ดา๎ นแหลํงทอํ งเทีย่ วทมี่ คี วามเปน็ กลางทางศาสนา และนาเสนอวฒั นธรรมทแ่ี ตกตํางแตํสามารถ อยรูํ ํวมกันอยํางเป็นสุข แผนปฏิบตั กิ ารภายใต๎กลยุทธ์ เชํน การแสวงหาพันธมติ รหา๎ งสรรพสินคา๎ ชน้ั นา นาเสนอขําวสารผํานบริษทั นาเทยี่ วหรอื สายการบินต๎นทุนตา่ แสวงหาพันมิตรในเขตพ้ืนท่ี 3 จังหวดั ชายแดนภาคใตท๎ พี่ รอ๎ มรับการเยย่ี มชมแหลํงทํองเท่ียวของนกั ทํองเท่ียวตาํ งชาติ 4-10


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook