Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sarawit 93

sarawit 93

Published by Thalanglibrary, 2020-12-13 03:02:25

Description: sarawit 93

Search

Read the Text Version

A Team Bulletin สารบญั Cover Story 3 บทความพเิ ศษ 12 ร ะเบียงขา่ ววิทย์- เทคโนฯ ไทย 17 ทป่ี รกึ ษา หนา้ ต่างขา่ ววทิ ย์- Sci- สาระ App 28 เทคโนฯ โลก 22 infographic 25 ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล จุฬารตั น์ ตันประเสรฐิ ร้อยพันวทิ ยา 29 สภากาแฟ 35 หอ้ งภาพ จุมพล เหมะครี นิ ทร์ สตั วป์ ่าไทย 40 บรรณาธกิ ารผูพ้ มิ พผ์ ู้โฆษณา สาระวิทย์ เปิดโลก อ๋อ ! มนั เป็น กลุ ประภา นาวานุเคราะห์ ในศลิ ป์ 41 นิทานดาว 45 อยา่ งนี้น่ีเอง 48 บรรณาธกิ ารอ�ำ นวยการ ปัน้ น�ำ้ เปน็ ปลา 50 Sci Quiz 53 ค�ำ คมนักวิทย์ 54 นำ�ชยั ชีวววิ รรธน์ ENdiototer’s บรรณาธกิ ารบรหิ าร สวัสดคี รับคณุ ผ้อู ่านสาระวทิ ยท์ ุกท่าน ก้าวเขา้ สเู่ ดอื นสดุ ท้ายของปี พ.ศ. 2563 อย่างรวดเรว็ แต่ สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ก็ยังไม่มีท่าทีที่จะไว้วางใจได้ แต่ขณะน้ีนักวิทยาศาสตร์ ปริทัศน์ เทียนทอง ทว่ั โลกเรง่ พฒั นาวคั ซนี ปอ้ งกนั ไวรสั กอ่ โรค COVID-19 และเรม่ิ มขี า่ วการทดลองใชว้ คั ซนี จรงิ แลว้ ในหลาย ประเทศ ซงึ่ ตอนนม้ี วี คั ซนี อยา่ งนอ้ ย 13 ชนดิ แลว้ ทก่ี �ำ ลงั เขา้ สกู่ ารทดสอบขนั้ สดุ ทา้ ย โดยเปน็ ความหวงั กองบรรณาธิการ ในการยุตกิ ารระบาดของไวรัสทสี่ รา้ งผลกระทบต่อชวี ิตผู้คนอย่างท่ีไม่เคยปรากฏมากอ่ น ส�ำ หรบั นติ ยสารสารวทิ ย์ฉบับส่งท้ายปี พ.ศ.2563 เปน็ เรื่องของเทคโนโลยีทีน่ า่ จบั ตามอง ซ่งึ ทาง สวทช. รกั ฉัตร เวทีวุฒาจารย์ ไดค้ ดั สรรเทคโนโลยเี ดน่ ทคี่ าดวา่ จะสง่ ผลกระทบอยา่ งชดั เจนเปน็ วงกวา้ งในอกี 3-5 ปขี า้ งหนา้ ในขณะท่ี วชั ราภรณ์ สนทนา บางเทคโนโลยนี ้ันอาจพลิกโฉมธุรกิจในยคุ นิวนอร์มัลได้โดยสิ้นเชิง อาทิตย์ ลมูลปลงั่ ซึ่งเราต้องติดตามกันต่อไปว่า เทคโนโลยีใดจะสามารถกอบกู้ประเทศของเราให้รอดพ้นจากวิกฤตต่างๆ วณี า ยศวังใจ พร้อมทงั้ สร้างโอกาสให้แก่นกั ลงทุนได้ในอนาคตอันใกล้น้ี และแน่นอนวา่ สวทช. ก็ได้ทมุ่ เททรพั ยากร ภัทรา สัปปนิ ันทน์ อยา่ งเตม็ ก�ำ ลงั ความสามารถ เพอื่ สรา้ งความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ส�ำ หรบั ตอบโจทย์ปัญหาส�ำ คัญ และนำ�พาประเทศให้กา้ วพ้นทุกวกิ ฤตการณ์ไปได้ นักเขียนประจ�ำ ☺สุดท้ายน้ีขอให้คุณผู้อ่านสาระวิทย์ทุกท่าน มีความสุขกับช่วงเทศกาลส่งท้ายปีเก่า ตอนรับปีใหม่ พ.ศ. รวิศ ทศั คร พงศธร กจิ เวช 2564 แลว้ พบกนั ใหม่กับนติ ยสาระวทิ ย์ในปหี น้าที่จะเพมิ่ เนือ้ หาใหน้ า่ สนใจมากขึน้ ครับ ปว๋ ย​ อุ่น​ใจ วริศา ใจดี ปรทิ ัศน์ เทียนทอง บรรณาธิการ บรรณาธิการศลิ ปกรรม จฬุ ารัตน์ นม่ิ นวล ศลิ ปกรรม เกิดศริ ิ ขนั ติกติ ติกุล ผ้ผู ลติ ฝา่ ยสร้างสรรค์ส่อื และผลติ ภัณฑ์ สำ�นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม 111 อุทยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธิน ต.คลองหนง่ึ อ.คลองหลวง จ.ปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ตอ่ 1177 โทรสาร 0 2564 7016 เวบ็ ไซต์ http://www.nstda.or.th/sci2pub/ facebook page: นติ ยสารสาระวทิ ย์ ติดตอ่ กองบรรณาธกิ าร โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ต่อ 1177 อเี มล [email protected]

CSotovreyr กองบรรณาธกิ าร จับตา “10 เทคโนโลยี” พลกิ โฉมธรุ กิจในยุคนวิ นอรม์ ัล สถานการณ์โควิด 19 กินเวลายาวนานมาเกือบปี ถือเป็นวิกฤตการณ์คร้ังใหญ่ ของมวลมนุษยชาตทิ ตี่ ้องเผชญิ หน้ากบั โรคระบาดและความท้าทายอีกหลายด้าน ทงั้ ความพรอ้ มของระบบสาธารณสขุ ภาวะเศรษฐกจิ ทตี่ กต�ำ่ อยา่ งรนุ แรง ปญั หา สง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ขา้ ขน้ั วกิ ฤต และวถิ ชี วี ติ ของผคู้ นในสงั คมทจี่ ะเปลย่ี นแปลงไปภาย หลงั ยคุ โควดิ 19 หรอื ทเ่ี รยี กวา่ “ชวี ติ วถิ ใี หม”่ หรอื “นวิ นอรม์ ลั ” (new normal) เพ่ือใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ “วิถีชีวิตใหม่ นวัตกรรม เพื่อการลงทุน Watch) โดย ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ส ถ า น ก า ร ณ์ ปั จ จุ บั น (Technologies and Innovations for ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ และเตรียมพร้อมสำ�หรับชีวิตวิถีใหม่ Investment in The New Normal)” โดย และเทคโนโลยีแห่งชาติ ซึ่งได้คัดสรร สำ � นั ก ง า น พั ฒ น า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ จัดบนแพลตฟอร์มออนไลน์เป็นครั้งแรก เทคโนโลยีเด่นท่ีคาดว่าจะส่งผลกระทบ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวง อย่างสมบูรณ์เมื่อวันท่ี 2-4 ธันวาคม อย่างชัดเจนเป็นวงกว้างในอีก 3-5 ปี การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ พ.ศ. 2563 และไฮไลต์ของงานน้ีคือ ขา้ งหนา้ ในขณะท่บี างเทคโนโลยนี นั้ อาจ นวัตกรรม (อว.) ได้จัดงาน THAILAND การบรรยายพิเศษเรื่อง 10 เทคโนโลยี พลิกโฉมธุรกิจในยุคนิวนอร์มัลได้ โดย TECH SHOW 2020 ภายใต้แนวคิด ที่น่าจับตามอง (10 Technologies to สิน้ เชงิ 3 ธันวาคม 2563

CSotovreyr 01 กระตนุ้ ให้รา่ งกายสรา้ งภูมคิ ุ้มกนั ซึ่งมีทั้ง ได้ทั้งโรคโควิด 19 และโรคไข้หวัดใหญ่ วัคซีนเช้ือเป็นท่ีทำ�ให้อ่อนฤทธ์ิและวัคซีน หรือใช้ adenovirus vaccine วัคซีนโควิด 19 เชื้อตาย ในประเทศไทยมีการพัฒนาวัคซีน รูปแบบที่สอง คือ protein-based ท้ัง 4 รูปแบบ โดยคณะแพทยศาสตร์ (COVID-19 Vaccines) vaccine หรอื subunit vaccine เปน็ การ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จับมือกับ เอายีนของเช้ือ SARS-CoV-2 ไปใส่ใน University of Pennsylvania ในการ การระบาดของโรคโควดิ 19 เรม่ิ ตงั้ แต่ แบคทเี รยี หรอื ยสี ต์ แลว้ ใหแ้ บคทเี รยี หรอื พัฒนาสูตรวัคซีน mRNA และวางแผน ยีสต์สร้างโปรตีนข้ึนมา โดยก่อนจะนำ� ให้ Bionet Asia ผลติ เพือ่ ทดสอบในเชิง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ซ่ึงแต่ละ ไปฉีดเข้าร่างกาย จะต้องเติม adjuvant คลินิก ปัจจุบันได้ผลทดสอบในลิงแล้ว ประเทศก็มีการจัดการกับการระบาด ซ่ึงเป็นสารกระตุ้นท่ีทำ�ให้ร่างกายสร้าง สว่ นบริษัท Siam Bioscience รว่ มมือกบั ของโรคเพ่ือให้อยู่กับสถานการณ์โควิด ภมู คิ มุ้ กันเขา้ ไปดว้ ย บริษัท AstraZeneca และ University of แบบในปจั จบุ นั ได้ โดยหลกั ๆ จะใช้ 3 วธิ ี รูปแบบท่ีสาม คือ nucleic acid Oxford พฒั นา viral vector vaccine โดย คอื การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั หมู่ (herd immunity) vaccine เปน็ การตอ่ ยอดใชส้ ารพนั ธกุ รรม ใช้ adenovirus เป็นตัวนำ�สง่ การพัฒนายารักษาโรคโควิด 19 และ ของแบคทีเรียหรือยีสต์ท่ีมีการเติมยีน สำ�หรับ สวทช. พฒั นาต้นแบบวัคซนี การพัฒนาวัคซีน ซึ่งทั่วโลกรวมท้ัง ของเช้ือ SARS-CoV-2 มาใช้ประโยชน์ 3 รูปแบบ ยกเว้นรูปแบบ virus vaccine ประเทศไทยเร่งพัฒนาวัคซีนโควิด 19 มี 2 รปู แบบ ไดแ้ ก่ DNA vaccine และ ท่ีต้องใช้เชื้อไวรัส SARS-CoV-2 และพยายามท่ีจะผลักดันให้ผลิตเพื่อ mRNA vaccine ซ่ึงทั้งสองรูปแบบนี้ เน่ืองจากยังไม่มีห้องปฏิบัติการท่ีมีความ ออกมาใช้ได้เร็วที่สุด ปัจจุบันมีการใช้ จ�ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งพฒั นาตวั น�ำ สง่ ไดแ้ ก่ lipid ปลอดภัยระดับ 3 อย่างไรก็ตามหากดู เทคโนโลยีวัคซีน 4 รูปแบบเพ่ือพัฒนา nanoparticle หรอื gene gun ดว้ ย โดย ความก้าวหน้าในระดับโลก ปัจจุบันยัง วัคซนี โควิด 19 ไดแ้ ก่ ถา้ เปน็ DNA vaccine ตอ้ งน�ำ สง่ เขา้ ไปยงั ไม่มีวัคซีนท่ีผ่านการรับรองท่ีพร้อมผลิต รูปแบบที่หนึ่ง คือ virus vaccine นวิ เคลียส และหากเป็น mRNA vaccine เชิงพาณิชย์ แต่ก็มีหน่วยงานที่มีความ เป็นเทคโนโลยีด้ังเดิมท่ีใช้ในการพัฒนา ตอ้ งน�ำ สง่ ไปยงั ไซโทพลาซมึ เพอื่ ใชก้ ลไก ก้าวหนา้ ในขนั้ ทดลองเฟส 3 เชน่ บรษิ ัท วคั ซนี ทวั่ ไป คอื ใชต้ วั ไวรสั ทงั้ ตวั มาเปน็ ตวั ของรา่ งกายเปลยี่ น DNA หรอื mRNA ให้ Pfizer และ BioNTech ของสหรฐั อเมริกา เป็นโปรตีนท่ีทำ�ให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน เป็น mRNA vaccine ซ่ึงประกาศความ ตอ่ เช้ือก่อโรค สำ�เร็จในการวิจัยเชิงคลินิกระยะที่ 3 (ณ รปู แบบท่ีส่ี คือ viral vector vaccine วันที่ 9 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563) และได้ เป็นเทคโนโลยีท่ีใช้ไวรัสวัคซีนที่มีอยู่ ย่ืนขอ emergency use authorization แล้วมาเป็นตัวนำ�ส่ง โดยออกแบบให้ (EUA) จาก U.S. Food and Drug วัคซีนเหล่าน้ีสามารถนำ�ยีนของเช้ือ Administration (FDA) แล้ว มีคู่แข่งใน SARS-CoV-2 เขา้ สรู่ า่ งกาย ตวั อยา่ งเชน่ แพลตฟอร์มเดียวกันคือ Moderna ของ การสร้างวัคซีนไข้หวัดใหญ่ท่ีมียีนของ สหรฐั อเมริกา SARS-CoV-2 ท�ำ ใหร้ า่ งกายสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ธนั วาคม 2563 4

CSotovreyr 02 อัลเบิร์ตไอน์สไตน์แห่งมหาวิทยาลัย 03 เยชีวา ยารักษาโรคพาร์กินสันของบริษัท ยาแกค้ วามชรา Alkahest ยารกั ษาโรคตดิ เชอ้ื ทางเดนิ หายใจ อนิ เทอร์เน็ต ในผู้สูงอายุของบริษัท ResTORbio ยา ของสรรพสง่ิ สขุ ภาพ (Rejuvenating Drug) รักษาโรคข้อเข่าเส่ือมของบริษัท UNITY Biotechnology (Internet of Health ความชราเกิดจากกลไกในร่างกาย ส�ำ หรบั ในประเทศไทยกม็ ยี าอายวุ ฒั นะ Things, IoHT) REDGEMs หรือ มณีแดง เพ่ือแก้ไข เราเอง เชน่ มกี ารสะสมของสารพนั ธกุ รรม ความชรา ซ่ึงเป็นผลงานวิจัยของ ปัจจุบันเริ่มมีการนำ� Internet of ที่ถูกทำ�ลาย หรือเกิดการเปลี่ยนแปลง ศ. ดร. นพ.อภิวัฒน์ มุทิรางกูร จาก สภาวะสิ่งแวดล้อมในเซลล์ท่ีมีผลต่อ ค ณ ะ แ พ ท ย ศ า ส ต ร์ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ Things หรือ IoT มาใช้งานในด้านการ ความเสถียรหรือการทำ�งานของดีเอ็นเอ มหาวทิ ยาลยั นกั วจิ ยั แกนน�ำ สวทช.ทพ่ี บวา่ ดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ IoT ใน ที่เรียกรวมๆ ว่า สภาวะเหนือพันธุกรรม ความชราของดีเอ็นเอเป็นสภาวะเหนือ รปู แบบอปุ กรณส์ วมใสอ่ ยา่ งสมารต์ วอตช์ (epigenetics) เพราะมีส่ิงแวดล้อมมาส่ง พันธุกรรม เกิดจากการลดลงของข้อต่อ ท่ีสามารถวัดและบันทึกข้อมูลสุขภาพ ผลกระทบดว้ ย ดีเอ็นเอซึ่งทำ�ให้รอยโรคของดีเอ็นเอ ส่วนบุคคล เช่น สัญญาณชีพ ความดัน ย า แ ก้ ไ ข ค ว า ม ช ร า ถื อ เ ป็ น ห นึ่ ง ใ น เพิ่มข้ึน จึงพัฒนายามณีแดงที่จะช่วย อุณหภูมิ ความถี่ของการไอจาม ฯลฯ เทคโนโลยีแห่งความหวังของโลกที่ก้าว เพิม่ ขอ้ ต่อดเี อ็นเอในเซลล์ ท�ำ ใหร้ อยโรค ซ่ึงข้อมูลเหล่าน้ีจะเป็นประโยชน์ในการ เขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายุ นอกจากจะชว่ ยใหเ้ รา ของดีเอน็ เอลดลง เซลล์กลบั มามรี ูปร่าง ตรวจวนิ จิ ฉัยโรคไดอ้ ย่างแม่นย�ำ ขึ้น และ มีชีวิตยืนยาวแล้ว ท่ีสำ�คัญคือจะช่วยให้ และทำ�งานไดเ้ หมอื นเซลล์ปกติ เทคโนโลยี 5G ที่จะเกิดขน้ึ น้นั สามารถ เราสามารถใช้ชีวิตในช่วงวัยชราได้อย่าง ปัจจุบันมีการทดสอบใช้มณีแดง รองรับการทำ�งานของอุปกรณ์ IoT มคี ณุ ภาพและมีความสขุ ในเซลล์และในหนูทดลองแล้ว พบว่า จำ�นวนมากๆ ได้พร้อมๆ กัน (massive ปัจจุบันมีสถาบันวิจัยทั่วโลกวิจัยและ สามารถสร้างข้อต่อดีเอ็นเอได้ เซลล์ที่ IoT) ทำ�ให้การติดตามสุขภาพผู้ป่วย พฒั นายาแก้ไขความชรา มียาหลายชนดิ ชราแล้วกลับมามีรูปร่างและการทำ�งาน ผ่านอุปกรณ์สวมใส่ (mobile medical ก้าวหน้าไปสู่การทดลองทางคลินิกใน เหมือนเซลล์ปกติ แผลไฟไหม้ ในหนู devices) ตา่ งๆ มปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขน้ึ มนุษยแ์ ลว้ เชน่ ยา Metformin ส�ำ หรับ ทดลองหายเร็วข้ึน ไขมันลงพุงลดลง ต่อต้านความชราของวิทยาลัยการแพทย์ หนูชรามีความจำ�ดีข้ึนและคล่องแคล่ว ว่องไวพอๆ กับหนูหนุ่มสาว ถ้ามณีแดง ผลิตได้จริงในเชิงพาณิชย์ ก็จะนำ�ไปใช้ เพื่อการรักษาโรคทางผิวหนัง เช่น แผล เบาหวาน แผลไฟไหม้น้ำ�ร้อนลวก แผล คนชรา และโรคอื่นๆ เช่น กระดูกผุ ความดันโลหติ สูง ไขมันพอกตบั ร่างกาย เส่ือมโทรมจากเบาหวานหรือความชรา และสมองเสอื่ ม 5 ธนั วาคม 2563

CSotovreyr ประกอบกับการระบาดของโรคโควิด 19 IoHT มาประยุกต์ใช้ในการป้องกันการ ดังน้ันจึงมีความพยายามในการพัฒนา ทำ�ให้คนส่วนใหญ่พยายามลดความเสี่ยง หกล้มของผู้สูงอายุ โดยพัฒนาเป็น ชิปคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลได้รวดเร็ว โดยหลีกเล่ียงการไปตรวจติดตามโรค อุปกรณ์เซนเซอร์สำ�หรับสวมใส่หรือ เหมือนกับสมองของมนุษย์ที่สามารถ เร้ือรังที่โรงพยาบาล ทำ�ให้อุปกรณ์ IoT ติดไว้บนร่างกาย เพื่อตรวจวัดการ เช่ือมต่อข้อมูลต่างๆ ซึ่งมีความซับซ้อน ด้านสุขภาพมีแนวโน้มท่ีจะได้รับความ เคล่ือนไหวของผู้สวมใส่ หากพบว่า หลายมิติได้พร้อมกัน เรียกว่า นิวโรมอร์ นิยมมากขึ้น อ ยู่ ใ น ท่ า ท า ง ที่ เ ส่ี ย ง ต่ อ ก า ร ห ก ล้ ม ฟิกชปิ หรือชิปสายพันธุ์ใหม่ การทำ�งานของระบบ IoT ทางดา้ น เซนเซอร์จะส่งสัญญาณไปแจ้งเตือน นิ ว โ ร ม อ ร์ ฟิ ก ชิ ป เ ลี ย น แ บ บ ก า ร สุขภาพ หรือ Internet of Health ผู้ดูแล ซง่ึ ขณะนอี้ ย่รู ะหว่างการพฒั นาให้ ทำ�งานของสมองและเส้นประสาทของ Things, IoHT ประกอบด้วย 3 ส่วน เซนเซอร์มีขนาดเล็กลง ทนทานต่อการ มนุษย์ โดยใช้อุปกรณ์ท่ีทำ�งานคล้ายกับ หลัก ส่วนแรกคือ เซนเซอร์ ท่ีอยู่ใน ใช้งาน และมี data analytics ที่แมน่ ย�ำ เซลล์ประสาทในสมอง และพัฒนาส่ิง อุปกรณ์สวมใสห่ รอื เคร่อื งมอื แพทยต์ า่ งๆ มากยิง่ ขนึ้ ท่ีเรียกว่า ไซแนปส์ (Synapse) หรือจุด เพ่ือใช้วัดสัญญาณชีพของผู้ป่วย เช่น ประสานประสาท ซึ่งเป็นโครงสร้างพิเศษ ความดันโลหิต อุณหภูมิ อัตราการเต้น 04 ทที่ �ำ หนา้ ทเี่ สมอื นล�ำ เลยี งขอ้ มลู จากเซลล์ หัวใจ สัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยส่ง ประสาทหน่ึงไปยังอีกเซลล์หน่ึงได้ หรือ ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายไปเก็บยังส่วน ชปิ สายพันธุ์ใหม่ จากหนว่ ยประมวลผลหน่งึ ไปยงั อีกหน่วย ทีส่ องคือ ฐานข้อมลู สุขภาพ ท่ีเกบ็ ข้อมูล หนงึ่ ได้ เพอ่ื ประมวลผลและจดั เกบ็ ขอ้ มลู สขุ ภาพของแตล่ ะบคุ คล ทงั้ ขอ้ มลู ทวี่ ดั ได้ (Neuromorphic Chip) หลายอยา่ งไดพ้ รอ้ มกนั เหมอื นกบั ทส่ี มอง จากเซนเซอร์และข้อมูลจากแหล่งอ่ืนๆ ของมนษุ ย์ทำ�ได้ รองรบั การทำ�งานขน้ั สูง และส่วนสดุ ท้ายคือ ซอฟตแ์ วร์วิเคราะห์ โ ล ก ทุ ก วั น นี้ เ ข้ า สู่ ยุ ค ท่ี เ ต็ ม ไ ป ด้ ว ย ที่มีความซับซ้อนมากย่ิงขึ้น ด้วยความ ข้อมูล ท่ีทำ�หน้าที่ประมวลผลข้อมูล รวดเร็วกว่า และใช้พลังงานน้อยกว่า สำ�หรับแพทย์ตรวจติดตามและวินิจฉัย ข้อมูลต่างๆ มากมาย จึงจำ�เป็นต้องมี คอมพิวเตอร์ในปจั จุบัน รวมทั้งแสดงผลกลบั ไปยงั ตัวผู้ปว่ ย เทคโนโลยีที่สามารถส่งข้อมูลขนาดใหญ่ ช่วงหลายปีท่ีผ่านมามีบริษัทและ ปจั จบุ นั บรษิ ทั Startup ในตา่ งประเทศ และเทคโนโลยีที่ช่วยในการประมวลผล หน่วยงานวิจัยช้ันนำ�ของโลกหลายแห่ง หลายแห่งออกผลิตภัณฑ์ IoHT ในการ ข้อมูลจำ�นวนมหาศาลได้อย่างรวดเร็ว วิจัยและพฒั นานิวโรมอร์ฟิกชิป เช่น ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุบ้าง ในปี พ.ศ. 2557 บริษัท IBM พฒั นา แล้ว เช่น ตรวจติดตามโรคหัวใจ ตรวจ ชิป SyNAPSE ท่ีในชิปหนึง่ ตวั ประกอบ ติดตามโรคเบาหวาน และประยุกต์ใช้ ด้วย \"คอร์\" ท่ีสามารถประมวลผล เก็บ เพอ่ื ตดิ ตามอาการของผปู้ ว่ ยโรคโควดิ 19 ข้อมูลในหน่วยความจำ� และส่ือสารกับ ระหว่างกักตวั ท่ีบ้าน คอร์อื่นๆ ไดภ้ ายในตวั เอง ในประเทศไทยก็มีหลายหน่วยงาน ปี พ.ศ. 2559 นักวจิ ยั จาก Princeton วิจัยพัฒนาในเร่ืองนี้ เช่น ศูนย์วิจัย University สร้างนิวโรมอร์ฟิกชิปท่ีใช้ เทคโนโลยีสิ่งอำ�นวยความสะดวกและ แสงเลียนแบบการส่งสัญญาณประสาท เครื่องมอื แพทย์ (A-MED) สวทช. ไดน้ ำ� ภายในสมอง สามารถประมวลผลทาง ธันวาคม 2563 6

CSotovreyr คณิตศาสตร์ได้เร็วกว่า CPU ท่ัวไปถึง 05 กะพริบตา ส่ายหน้า หรือแสดงอารมณ์ 1,960 เท่า และความรสู้ กึ ออกมาทางใบหนา้ เชน่ คว้ิ ปี พ.ศ. 2560 บริษัท Intel พัฒนา การสอ่ื สารด้วยภาพ ตา สายตา และมุมปาก ชิป Loihi ที่สามารถเรียนรู้ชุดข้อมูลได้ 2) กลุ่มท่ีมีการคิดแบบมีเหตุผล ดว้ ยความเรว็ ทส่ี งู กวา่ ชปิ บนคอมพวิ เตอร์ (Vision Communication) (thinking rationally) สามารถวิเคราะห์ ท่ัวไปถึง 1 ล้านเท่า โดยใช้พลงั งานนอ้ ย อารมณ์ไดจ้ ากใบหนา้ แยกแยะและจดจ�ำ ลง 1,000 เทา่ เมื่อคอมพิวเตอร์มีสมองหรือชิปท่ีมา ใบหนา้ ได้ สามารถแยกเสยี งพดู วเิ คราะห์ และในปี พ.ศ. 2563 บริษัท Intel ร่วม ความหมาย อารมณ์ ความต้องการของ กับมหาวิทยาลัย Cornell ทดสอบและ จากการเลียนแบบการทำ�งานของสมอง เสยี ง เช่น ระบบผู้เช่ยี วชาญ ระบบคน้ หา พัฒนาความสามารถของชิป Loihi โดย ของมนษุ ย์ กย็ ง่ิ ท�ำ ใหค้ อมพวิ เตอรม์ คี วาม ข้อมลู ให้ประมวลผลเพ่ือแยกแยะและจดจำ� สามารถคลา้ ยมนษุ ยม์ ากขน้ึ ปจั จบุ นั เรม่ิ มกี ารน�ำ เทคโนโลยี Vision กลิ่นของสารเคมที ่เี ป็นอันตรายได้ พบวา่ Vision Communication หรือ Communication ไปใช้งานด้านการสรา้ ง Loihi สามารถแยกแยะกล่ินสารเคมีได้ “การส่ือสารด้วยภาพ” เป็นรูปแบบการ ภาพยนตร์ เช่น ภาพยนตร์ไซไฟเรื่อง ถึง 10 ชนิด ในสภาวะที่มีกล่ินอ่นื ปะปน สื่อสารยุคใหม่ ที่เกิดขึ้นจากวิทยาการ Gemini Man (เจมิไน แมน) ทีแ่ สดงนำ� อยู่ด้วย ซ่ึงความสามารถน้ี ถ้าใช้ deep คอมพิวเตอร์และปัญญาประดษิ ฐ์ ในการ โดย “วลิ สมธิ ” ซึง่ เขา้ ฉายในปี 2562 อีก learning อื่นๆ จะต้องใช้ข้อมูลตัวอย่าง ทำ�ให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถคล้าย ตัวอย่างท่ีเริ่มมีให้เห็นบ่อยและใกล้ตัว มากกว่า 3,000 ชุด มนุษย์หรือเลียนแบบพฤติกรรมมนุษย์ เรามากข้ึน คือการนำ�ไปใช้งานด้านการ คาดว่าใน 10 ปีข้างหน้า นิวโรมอร์- โดยเฉพาะความสามารถในการคิดเองได้ สอ่ื สาร เชน่ ในจนี มกี ารสรา้ งตวั avatar ฟิกชิปจะเป็นหัวใจสำ�คัญที่ช่วยเพ่ิม หรอื ทเ่ี รยี กวา่ มปี ญั ญานน่ั เอง ซงึ่ ประกอบ ของผู้ประกาศข่าวหรือผู้ประกาศข่าว ประสิทธิภาพการทำ�งานของปัญญา ด้วย 2 กลุ่ม คอื เสมือนให้มาอ่านข่าวแทนผู้ประกาศข่าว ประดิษฐ์ ให้เก่งและสามารถทำ�งานแทน 1) กลุ่มท่ีมีการกระทำ�คล้ายมนุษย์ ตัวจริง และล่าสุดเกาหลีใต้เพ่ิงเปิดตัวผู้ มนุษย์ได้หลายด้านมากข้ึน ท้ังในงาน (acting humanly) คือ ส่อื สารกับมนุษย์ ประกาศข่าวเสมือนที่สามารถอ่านข่าว ด้านการแพทย์ ที่นำ�มาใช้ในการวินิจฉัย ได้ด้วยภาษาที่มนุษย์ใช้ มีจังหวะการพูด และพูดโต้ตอบกับผู้ประกาศข่าวตัวจริง โรคจากรูปภาพทางการแพทย์ได้รวดเร็ว ได้แบบเรียลไทม์ เพ่ิมความน่าสนใจและ มากกวา่ และแมน่ ย�ำ ยิ่งขน้ึ ดา้ นยานยนต์ ความรวดเร็วในการรายงานข่าว หรือแม้ อัตโนมัติ ที่สามารถนำ�ทาง ตอบสนอง กระทั่งในโรงพยาบาลที่มีแนวโน้มว่าจะ และโต้ตอบกับยานพาหนะอ่ืนๆ ได้อย่าง น�ำ เทคโนโลยนี ี้ไปใช้ในการคดั กรองคนไข้ รวดเรว็ รวมทงั้ สญั ญาณและไซเรน และ และวนิ จิ ฉยั โรคในเบอื้ งตน้ กอ่ นพบแพทย์ ดา้ นความปลอดภยั ทางไซเบอร์ เพื่อลดความเสี่ยงจากการติดต่อส่ือสาร กันโดยตรงระหว่างคนไข้และบุคลากร ทางการแพทย์ อย่างเช่นในยุคโควิด 19 หรอื ในสถานการณท์ ม่ี โี รคระบาดอน่ื เกดิ ขน้ึ 7 ธันวาคม 2563

CSotovreyr 06 น้ำ�หนักเบาและมีความแข็งแรงกว่า มี อุตสาหกรรมใหม่ที่ใช้ประโยชน์จากความ ความเสถียรทางความร้อนสูง สามารถ หลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ขวดพลาสติกจากพืช น�ำ มารไี ซเคลิ ได้ 100% ในระบบเดยี วกับ เพื่อขับเคล่ือนเศรษฐกิจไทยให้เติบโต PET มสี มบัติกันนำ�้ และกา๊ ซผา่ นเขา้ ออก อยา่ งยัง่ ยนื (PEF) ได้ดีกว่า PET ด้วยคุณสมบัติเหล่าน้ีจึง คาดวา่ PEF จะเป็นพอลิเมอร์ร่นุ ต่อไปท่ี 07 อุตสาหกรรมพลาสติกเร่ิมต้น มีศกั ยภาพในการแทนท่ี PET PEF ผลิตได้จากชีวมวลและของ การออกแบบ มาจากปิโตรเคมี ซ่ึงเป็นวัตถุดิบของ เหลือทิ้งจากภาคการเกษตร รวมถึง โครงสร้างวัสดุ การผลิตเม็ดพลาสติกก่อนนำ�ไปขึ้นรูป อุตสาหกรรมแป้งและน้ำ�ตาล ซ่ึงในต่าง ชนิดเดยี ว เป็นผลิตภัณฑ์พลาสติกต่างๆ แต่การใช้ ประเทศมีการวิจัยการผลิตขวดพลาสติก พลาสตกิ จ�ำ นวนมากในชว่ งทผี่ า่ นมาสง่ ผล PEF อย่างตอ่ เนอื่ ง และเม่ือเปรียบเทยี บ (Monomaterial Structure ให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อมตามมามากมาย ราคาตน้ ทุนของ PEF กับ PET พบวา่ ใน Design) ปัจจุบันท่ัวโลกจึงให้ความสำ�คัญกับวัสดุ ชว่ งเรมิ่ แรก PEF มตี น้ ทนุ สงู กวา่ PET มาก ชีวภาพมากข้ึน มีวัสดุใหม่หลายอย่างที่ แต่ปัจจุบันราคาเร่ิมใกล้เคียงกัน และ ในประเทศไทยมีขยะพลาสติกเกิดข้ึน ทำ�จากวัสดุชีวภาพ และมีวัสดุที่เรียกว่า คาดการณ์ว่าตน้ ทนุ ของ PEF จะลดต�ำ่ ลง BIOPET ซึ่งมีส่วนประกอบเป็นวัตถุดิบ มาเท่ากับ PET จึงทำ�ให้ PEF มีความ ปีละประมาณ 2 ล้านตัน ในจำ�นวนน้ี จากพชื 30% และตอ่ ไปจะมวี สั ดทุ เี่ รยี กวา่ น่าสนใจและสามารถแข่งขันได้ในระดับ สามารถน�ำ ไปรไี ซเคลิ ไดเ้ พยี ง 0.5 ลา้ นตนั PEF (Polyethylene Furanoate) ผลติ อุตสาหกรรม อีก 1.5 ล้านตัน ต้องกำ�จัดด้วยการเผา จากวัสดุชีวภาพหรือ Bio-based 100% สวทช. โดยศูนย์นาโนเทคโนโลยี หรือฝังกลบ โดย 0.3 ล้านตัน เป็นขยะ ซง่ึ สามารถลด Carbon footprint ได้กว่า แห่งชาติ (NANOTEC) กำ�ลังเริ่มศึกษา ประเภทขวดพลาสตกิ และอกี 1.2 ลา้ นตนั 50% เมอ่ื เทยี บกบั การผลติ ขวด PET จาก เกี่ยวกับ PEF โดยมีความร่วมมือกับ เปน็ ประเภทถงุ พลาสตกิ และซองบรรจภุ ณั ฑ์ ปโิ ตรเคมี ท�ำ ให้คาดวา่ PEF จะมาแทนที่ Prof. Xiaoqing Liu นักวิจยั จาก Ningbo ต่างๆ แบบใช้คร้ังเดียว ซ่ึงส่วนใหญ่เป็น พลาสติก PET ในอนาคต Institute of Materials Technology and พลาสติกแบบ multilayer materials ท่ี คุณสมบตั ิเดน่ ของ PEF ท่ีเหนอื กวา่ Engineering ประเทศจีน ในการน�ำ PEF เป็นวัสดุหลายชนิดเรียงซ้อนกัน เพื่อ PET คือ ผลิตจากวัตถุดิบชีวภาพ 100% มาพัฒนาเป็นต้นแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพ่ือให้ได้องค์ความรู้ท่ีจะนำ�มาสู่ต้นแบบ กระบวนการผลิต PEF และผลิตภัณฑ์ จาก PEF สำ�หรบั ถา่ ยทอดสอู่ ตุ สาหกรรม ตั้งแต่ต้นน้ำ�ถึงปลายนำ้� เพ่ือผลักดันให้ เกดิ การใชพ้ ลาสตกิ จากพอลเิ มอรช์ วี ภาพ แทนพลาสติกจากปิโตรเลียม ซ่ึงจะช่วย ลดปัญหาขยะพลาสติกและลดภาวะโลก ร้อน และท่ีสำ�คัญยังเป็นการส่งเสริม ธันวาคม 2563 8

CSotovreyr ให้มีสมบัติการใช้งานท่ีดี แต่ข้อเสียคือ แพรห่ ลาย เชอ่ื วา่ เราจะสามารถท�ำ ใหข้ ยะ เป็นวัสดุได้หลายชนิด เช่น คาร์บอเนต คัดแยกยาก (sorting) และแยกช้ันฟิล์ม พลาสตกิ ลดปรมิ าณลงไดเ้ ปน็ จ�ำ นวนมาก (carbonates) และสารประกอบของ ออกจากกันยาก (delamination) ท�ำ ใหน้ ำ� คาร์บอน (Carbon-based compounds) ไปรไี ซเคิลยากและไมค่ ุม้ ค่าตอ่ การลงทุน 08 แต่ต้องใช้พลังงานสูงและมีต้นทุนสูง เทคโนโลยี Monomaterial Structure แต่หากเปล่ียนวิธีใหม่ โดยนำ� O2 ออก Design ได้รับการพัฒนาข้ึนมาเพื่อแก้ วัสดุนาโนคาร์บอน ให้เหลือ C เพียงอย่างเดียว แล้วทำ�ให้ ปัญหาดังกล่าว คือทำ�ให้ได้บรรจุภัณฑ์ จากกา๊ ซคาร์บอนได เป็นคาร์บอนที่มีมูลค่าสูง เช่น วัสดุ พลาสตกิ ทด่ี กี วา่ หรอื เทยี บเทา่ กบั multilayer ออกไซด์ นาโนคาร์บอน ท่ีสำ�คัญได้แก่ ท่อนาโน materials แตท่ เี่ หนอื กวา่ คอื การเปน็ วสั ดุ คาร์บอน (carbon nanotubes) และ ชนิดเดียวกัน ทำ�ให้สามารถคัดแยกง่าย (CO2 to Nanocarbon) กราฟีน (graphene) ซ่ึงมีโครงสร้าง ไม่ต้องมีข้ันตอนการแยกชั้นฟิล์มออก ระดบั นาโนแบบ 1 และ 2 มติ ิ ทีก่ ำ�ลงั ได้ จากกัน นำ�มารีไซเคิลได้ท้ังหมดโดยไม่มี หลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม ก๊าซ รบั ความสนใจอยา่ งมากเมอื่ เทยี บกบั วสั ดุ ของเสียเหลืออยู่ จึงไม่ไปเพ่ิมขยะสู่ อ่ืน เนื่องจากมีคุณสมบัติที่โดดเด่นเป็น สิง่ แวดล้อม คารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ในบรรยากาศ พิเศษท้ังทางกายภาพ ไฟฟ้าและเคมี เทคโนโลยีนี้ควบคุมโครงสร้างต้ังแต่ ไ ด้ เ พิ่ ม ป ริ ม า ณ สู ง ขึ้ น อ ย่ า ง ม า ก จ า ก ท�ำ ใหเ้ หมาะทจี่ ะน�ำ ไปประยกุ ต์ใชเ้ พอื่ เพม่ิ การสงั เคราะห์โดยควบคมุ ให้โมเลกลุ ของ กิจกรรมของมนษุ ย์ จนถงึ ปี 2562 ความ ประสทิ ธภิ าพในการใชง้ านในหลายๆ ดา้ น วัสดุชนิดเดียวกันมีโครงสร้างต่างๆ กัน เข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ใน เช่น อิเลก็ ทรอนกิ ส์ระดับนาโน เซนเซอร์ เพอื่ ท�ำ หนา้ ทแ่ี ตล่ ะสว่ นตามตอ้ งการ จาก บรรยากาศไดเ้ พม่ิ สงู กวา่ 400 ppm สง่ ผล วัสดุสำ�หรับยานยนต์และอากาศยาน นน้ั ผา่ นกระบวนการขนึ้ รปู ดว้ ยการฉดี หรอื ให้เกิดภาวะโลกร้อน (global warming) แบตเตอรขี่ นาดเลก็ อัดรีดข้ึนรูปเพ่ือควบคุมโครงสร้างระดับ ซึ่งเป็นปัญหาสำ�คัญของประเทศต่างๆ การสงั เคราะหว์ สั ดนุ าโนคารบ์ อนจาก จลุ ภาค ใหเ้ กดิ การเรยี งซอ้ นกนั หลายๆ ชน้ั ทว่ั โลก จึงเกดิ แนวคิดที่จะนำ� CO2 ท่ีอยู่ ก๊าซ CO2 เพิ่งเริ่มมีมาได้ไม่นานนักและ เป็นสิบถึงพันช้ัน กลายเป็นวัสดุใหม่ท่ีมี ในบรรยากาศมาเปล่ียนรูปให้เป็นวัสดุอื่น สามารถทำ�ได้หลายวิธี แต่มีเพียงไม่ก่ีวิธี สมบตั กิ ารใชง้ านตามตอ้ งการ ท่ีมปี ระโยชน์ เพ่อื ลดปรมิ าณ CO2 และ ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ทอี่ าจสามารถน�ำ ไปใช้ ในส่วนของ สวทช. มีทีมนักวิจัย ลดผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ในการผลติ เชงิ พาณชิ ย์ในอนาคต หนง่ึ ในนน้ั จากศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่ง ปัจจุบันเราสามารถเปล่ียน CO2 ให้ คือ การสังเคราะห์วัสดุท่อนาโนคาร์บอน ชาติ (MTEC) ที่เตรียมความพร้อมเชิง และกราฟีนด้วยไอเคมี หรือ CVD ลงบน เทคโนโลยีท้ังเรื่องของ Monomaterials คะตะลสิ ตจ์ ากกา๊ ซ CO2 ในเตาอณุ หภมู สิ งู และ Monomaterial Structure Design ซ่ึงมีการศึกษาและพัฒนามากที่สุดโดย เพ่ือทำ�งานร่วมกับภาคเอกชนในการ หนว่ ยงานวจิ ยั ตา่ งๆ ทวั่ โลก เชน่ เยอรมนี พัฒนาบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่เป็นมิตรต่อ จีน และไทย โดย สวทช. มีศูนย์วิจัย ส่ิงแวดล้อม เพื่อตอบโจทย์ของประเทศ ด้านการสังเคราะห์กราฟีนและการผลิต ในการแก้ไขปัญหาขยะพลาสติก ซึ่งใน กราฟนี และวสั ดุนาโนคาร์บอนจาก CO2 อนาคตหากมีการลงทุนในเทคโนโลยีนี้ เทคโนโลยกี ารแปลงกา๊ ซ CO2 ไปเปน็ เพ่มิ มากข้ึน และมผี ลิตออกสู่ตลาดอย่าง กราฟีนและท่อนาโนคาร์บอนนี้สามารถ 9 ธนั วาคม 2563

CSotovreyr นำ�ไปใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อ เม่ือไม่นานมานี้กองทัพบกสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2568 ซึ่งในปัจจบุ ันมบี รษิ ทั เอกชนท่ี ช่วยลดปริมาณก๊าซ CO2 ท่ีปลดปล่อย และหน่วยงานในสหรัฐฯ ประสบความ พฒั นาแบตเตอรซ่ี งิ ก์ไอออนและก�ำ ลงั จะ ออกมาจากกระบวนการผลิต สามารถ สำ�เร็จในการวิจัยแบตเตอร่ีซิงก์ไอออน ออกสทู่ ้องตลาดแล้ว ยกตัวอย่าง บริษัท ตอบสนองต่อแนวทางการใช้วัสดุซำ้�หรือ ชนดิ ใชน้ �ำ้ เกลอื เปน็ อเิ ลก็ โทรไลต์ มจี ดุ เดน่ NantEnergy พัฒนาแบตเตอรี่ zinc air เหลือทิ้งให้เป็นประโยชน์ เกิดเป็นธุรกิจ คือสามารถเก็บพลังงานได้สูง โดยมี บริษัท e Zn พัฒนาแบตเตอรี่ zinc ใหมท่ จี่ ะสร้างวสั ดุที่มมี ูลคา่ สงู และขณะ ความหนาแน่นพลังงานสูงเทียบเท่ากับ aqueous และบริษัท Ionic materials เดยี วกนั กช็ ว่ ยลดมลพษิ ในสง่ิ แวดลอ้ ม ซงึ่ แบตเตอรี่แบบลิเทียมไอออนที่ใช้อยู่ใน พัฒนาแบตเตอร่ี zinc solid state สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ปัจจบุ นั แต่มตี น้ ทนุ ถูกกวา่ เกอื บ 3 เท่า electrolyte ของสหประชาชาติ (SDGs) แบตเตอรซ่ี งิ ก์ไอออนมขี อ้ ดหี ลายดา้ น ในประเทศไทย สวทช. โดยศูนย์ ท้ังด้านราคาที่ถูกกว่า เน่ืองจากแหล่ง เทคโนโลยีเพื่อความม่ันคงของประเทศ 09 แร่สังกะสีที่ใช้เป็นวัตถุดิบมีมากกว่า ซ่ึง และการประยุกต์เชิงพาณิชย์ (NSD) มี ในประเทศไทยก็มีแหล่งแร่สังกะสีอยู่ งานวิจัยพัฒนาแบตเตอร่ีซิงก์ไอออน แบตเตอรป่ี ลอดภยั ในหลายพื้นที่ ขณะที่ลิเทียมมีจำ�กัดแค่ ดว้ ยวัสดกุ ราฟนี จนมปี ระสิทธภิ าพเทยี บ ไร้ลิเทยี ม ในบางประเทศ และไทยต้องนำ�เข้ามา เคียงได้กับแบตเตอรี่ลิเทียมบางชนิด เท่าน้ัน เนื่องจากลิเทียมมีความไวต่อ (Lithium iron phosphate; LFP) แต่มี (Non-Lithium Ion Batteries) สภาพแวดล้อม จึงต้องประกอบในห้อง ความปลอดภัยสูง ไม่ระเบิดแม้ถูกเจาะ คลีนรูม ทำ�ให้มีต้นทุนในการจัดการ นอกจากนี้ ยังได้ร่วมกับจุฬาลงกรณ์ ปัจจุบันมีการพัฒนาแบตเตอรี่ท่ี โรงงานผลติ แบตเตอร่ีลิเทยี มสงู กวา่ มหาวิทยาลยั และ กรมวิทยาศาสตร์และ ทสี่ �ำ คญั ในดา้ นความปลอดภยั สงั กะสี เทคโนโลยกี ลาโหม จดั ตงั้ และด�ำ เนนิ การ ปลอดภัยและไม่ใช้ลิเทียมหลายชนิด เป็นธาตุท่ี ไม่ทำ�ปฏิกิริยากับอากาศ ศู น ย์ ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ ด้ า น น วั ต ก ร ร ม โดยเฉพาะแบตเตอรี่ซิงก์ไอออน โดย และติดไฟเหมือนลิเทียม จึงไม่ระเบิด แบตเตอร่ีล้ำ�สมัยท่ีผลิตจากวัตถุดิบ สามารถขนส่งทางอากาศได้ เหมาะ ภายในประเทศเพื่อความม่ันคง เพื่อ สำ � ห รั บ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ ง า น ท่ี ต้ อ ง ก า ร เป็นหน่วยงานหลักในการวิจัยและเป็น ความปลอดภัยสูง เช่น เรือดำ�น้ำ� ศูนย์กลางในเครือข่ายงานวิจัยนวัตกรรม แทน่ ขดุ เจาะน�ำ้ มนั นอกจากนยี้ งั ตอบโจทย์ แบตเตอร่ีท่ีผลิตจากวัตถุดิบภายใน ด้ า น ค ว า ม ม่ั น ค ง ท า ง พ ลั ง ง า น ข อ ง ประเทศ หากประเทศไทยสามารถผลิต ประเทศ และยังเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม แบตเตอร่ีซิงก์ไอออนได้ จะช่วยให้เราไม่ สามารถรีไซเคลิ ได้ ต้องประสบปัญหาขาดแคลนพลังงานใน มีการคาดการณ์ว่าแบตเตอรี่ซิงก์ ยามวิกฤตท่ีไม่สามารถนำ�เข้าลิเทียมได้ ไอออนจะเปน็ หนง่ึ ในแบตเตอรชี่ นดิ ใหมท่ ่ี และยังส่งเสริมความมั่นคงทางพลังงาน จะออกสู่ตลาดในอนาคตอันใกล้ภายในปี ของประเทศอีกดว้ ย ธนั วาคม 2563 10

CSotovreyr 10 พฒั นา green hydrogen ซึ่งสะอาดมา ผ่านเซลล์เช้ือเพลิง เพื่อใช้กับรถยนต์ ตงั้ แต่ต้นทางไปจนถงึ ปลายทาง ดว้ ยการ ไฟฟ้า (เช่น Toyota Mirai) หรือเป็น กรีนไฮโดรเจน เลอื กใชว้ ตั ถดุ บิ จากแหลง่ พลงั งานสะอาด เซลล์เชื้อเพลิงท่ีติดไว้กับบ้านเรือน หรือ อยา่ งแสงอาทติ ย์ ลม และใชก้ ระบวนการ ป้อนเข้าโรงไฟฟ้าโดยการนำ�ไปใช้ผลิต (Green Hydrogen) อเิ ลก็ โทรไลซสิ ซง่ึ ไมม่ กี ารปลดปลอ่ ยกา๊ ซ ไฟฟ้าผ่านกังหันก๊าซร่วมกับการใช้ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการเผาไหม้ แนวโน้มด้านพลังงานใหม่ที่ทั่วโลก กระบวนการอิเล็กโทรไลซิสคือการ ซ่ึงตอนนี้ก็มีโครงการนำ�ร่องผ่านความ แยกนำ้�ด้วยไฟฟ้าโดยใช้เคร่ืองมือท่ีชื่อ ร่วมมือระหว่างญ่ีปุ่นกับบรูไน โดยผลิต ให้ความสนใจคือ พลังงานสะอาด ท่ีไม่ ว่า electrolyser ซึ่งจะได้ก๊าซไฮโดรเจน ไฮโดรเจนท่ีบรูไนแล้วขนส่งทางเรือไป สรา้ งมลพษิ การกกั เกบ็ พลงั งานในรปู ของ กับออกซิเจนออกมา เราสามารถเก็บ ญีป่ นุ่ เพ่ือผลิตไฟฟ้า ก๊าซไฮโดรเจนที่ผลิตจากแหล่งพลังงาน ไฮโดรเจนไว้ ได้เหมือนกับการกักเก็บ นอกจากน้ี ไฮโดรเจนยังเป็นส่วน ท่นี ำ�กลับมาใช้ใหมไ่ ด้ เชน่ พลังงานแสง อิเล็กตรอนในแบตเตอรี่ แต่มีข้อดีกว่า ประกอบของซินก๊าซ (synthesis gas) ท่ี อาทิตย์ และพลังงานลม เป็นหน่ึงใน คือ มีตน้ ทุนต่ำ�กวา่ เกบ็ พลงั งานได้มาก เป็นสารตั้งต้นของสารอื่นๆ สามารถนำ� เทคโนโลยีทางเลือกท่ีตอบโจทย์น้ี และนานกวา่ เมอ่ื มคี วามตอ้ งการใช้ไฟฟา้ ไปใช้ประโยชน์ต่อได้อีกหลากหลาย ซึ่ง ปัจจุบันหลายประเทศจึงมุ่งที่จะ กส็ ามารถน�ำ ไฮโดรเจนปอ้ นเขา้ ไปในเซลล์ แนวคิดนเ้ี รยี กว่า Power-to-X เชื้อเพลิงเพ่อื ผลติ ไฟฟ้าได้ ท้ังหมดน้ีคือ 10 เทคโนโลยีที่น่า ตอนน้ีเคร่ืองอิเล็กโทรไลเซอร์ท่ีอยู่ จบั ตามอง ในชว่ งวกิ ฤตการณค์ รง้ั ส�ำ คญั ในเชิงพาณิชยแ์ ล้วมี 2 ชนิดคอื alkaline ของโลก ซ่ึงเราต้องติดตามกันต่อไปว่า electrolyser และ PEM electrolyser เทคโนโลยีใดจะสามารถกอบกู้ประเทศ ส่วน solid oxide electrolyser ซึ่งมี ข อ ง เ ร า ใ ห้ ร อ ด พ้ น จ า ก วิ ก ฤ ต ต่ า ง ๆ ประสทิ ธภิ าพในการแยกน�ำ้ เปน็ ไฮโดรเจน พร้อมท้ังสร้างโอกาสให้แก่นักลงทุนได้ สงู ยังอยู่ในขนั้ ตอนวิจยั และพัฒนา ในอนาคตอันใกล้นี้ ตัวอย่างของการใช้ประโยชน์กรีน ไฮโดรเจน เช่น การนำ�ไปใช้ผลิตไฟฟ้า 11 ธนั วาคม 2563

เรอื่ งโดย: แพงมาก พุม่ มาก บทพคเิ ศวษาม สมาคมยุวชนอวกาศไทย “หินดวงจนั ทร์เทียม” ฝีมือคนไทย งานวจิ ยั เพ่อื ใชช้ ีวิตบนดวงจันทร์ ธันวาคม 2563 ข้้อมููลจาก บริิษััทสเปซ แซ่่บ จำำ�กััด 12

บทพคเิ ศวษาม กลายเปน็ ทฮี่ อื ฮาอยา่ งมาก ความเป็นไปได้นอ้ ยมากที่จะท�ำ ส�ำ เรจ็ ในเรว็ ๆ น้ี จากขอ้ มูลที่เรามีในตอนนีช้ ี้ให้เห็นว่า ยงั ในวงการอวกาศทั่วโลก กับ ไม่มีดาวเคราะห์ดวงใดที่มีทรัพยากรจำ�เป็นในการดำ�รงชีวิตครบถ้วนและเพียงพอ น่ีจึง การค้นพบโมเลกุลของนำ้�ใน กลายเป็นข้อจำ�กัดของส่ิงมีชีวิตบนโลกในการไปใช้ชีวิตนอกโลก แต่ข้อจำ�กัดนี้กำ�ลังจะ ช่องว่างระหว่างโมเลกุลของ หินบนดวงจันทร์บริเวณด้าน ภาพของหิินดวงจัันทร์์ไทยภายใต้้กล้้องจุุลทรรศน์์ ท่ี ถู ก แ ส ง ด ว ง อ า ทิ ต ย์ เ ป็ น ข้้อมููลจาก บริิษััทสเปซ แซ่่บ จำำ�กััด คร้ังแรก เม่ือเดือนตุลาคม ทผ่ี า่ นมา องค์์ประกอบทางเคมีีของหิินดวงจัันทร์์ที่่�พััฒนาในไทย โดยคร้ังก่อนๆ จะพบเพยี งในบริเวณ ข้้อมููลจาก บริิษััทสเปซ แซ่่บ จำำ�กััด ที่ไม่โดนแสงดวงอาทิตย์ เช่น หลุมขั้ว ดวงจันทร์ ซึ่งการค้นพบในคร้ังนี้ต้องยก ความดีความชอบให้แก่ Stratospheric Observatory for Infrared Astronomy หรือ SOFIA จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบ วา่ มนี �ำ้ จำ�นวน 12 ออนซต์ ่อ 1 ลูกบาศก์ เซนตเิ มตร ของหนิ บนดวงจันทร์ โดยนัก วิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าน้ำ�เหล่านั้นมา จากลมสรุ ยิ ะ (solar wind) หรอื อกุ กาบาต ลกู เล็กๆ ท่อี าจจะมีน�ำ้ อยู่ในนน้ั ในขณะเดียวกันยังมีนักวิทยาศาสตร์ อีกกลุ่มหน่ึงคาดว่าการท่ี SOFIA ตรวจ พบน้ำ�เป็นเพราะพื้นผิวดวงจันทร์น้ันเต็ม ไปดว้ ยหลมุ ซงึ่ สรา้ งร่มเงาและความเยน็ เพียงพอที่จะรักษาสภาพน้ำ�ให้คงอยู่ใน สถานะของแขง็ ได้ ถา้ ทฤษฎที สี่ องนนั้ เปน็ จรงิ แผนงานท่ี NASA จะสง่ นกั บนิ อวกาศ ไปใช้ชีวิตอยู่บนดวงจันทร์จะมีความเป็น ไปไดท้ ส่ี ูงขนึ้ ปัจจุบันโลกกำ�ลังเผชิญกับภาวะโลก ร้อนและภัยธรรมชาติต่างๆ มากมาย ท�ำ ใหม้ นษุ ยเ์ ราเรม่ิ หาวธิ แี ก้ไขปญั หาท่ีโลก กำ�ลังเผชิญอยู่ ซ่ึงมีอยู่สองวิธีการหลักๆ ได้แก่ ดูแลรกั ษาสภาพแวดล้อมให้ดที ี่สุด หรอื หาดาวดวงใหมอ่ ยู่ วธิ กี ารอยา่ งหลงั มี 13 ธันวาคม 2563

บทพคเิ ศวษาม ถูกทำ�ลายลงเนื่องจากส่ิงท่ีเรียกว่า “หิน เม่ือไม่นานมานี้ประเทศไทยของเรา ท้ังในสัดส่วนของปริมาณแมกนิเซียม, ดวงจนั ทร์” ไดม้ กี ้าวเลก็ ๆ ที่อาจนำ�ไปถึงดวงจนั ทร์ได้ ไทเทเนียม และซลิ ิกา เป็นต้น เน่ืองจากประเทศไทยน้ันสามารถสร้าง หลังการตรวจสอบหินดวงจันทร์ “หินดวงจันทร์” ท่ีกำ�ลังจะกล่าวถึง หินดวงจันทร์เทียมซึ่งมีความคล้ายคลึง ท่ีผลิตได้ เราค้นพบว่าหินดวงจันทร์ น้ี เ ป็ น หิ น ด ว ง จั น ท ร์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ม า จ า ก ด ว ง กับตัวอยา่ งทีย่ านอพอลโล 11 อยา่ งมาก นั้นประกอบไปด้วยออกซิเจนถึง 45 จนั ทร์ แตเ่ ปน็ การสร้างหินขน้ึ มาโดยให้มี เม่ือนำ�หินท่ีได้มาค้นคว้าวิจัยต่อ ก็ทำ�ให้ เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นการต่อยอดเพื่อผลิต คุณสมบัติคล้ายหินดวงจันทร์โดยอ้างอิง เกิดความหวงั เลก็ ๆ ว่าเราอาจจะได้ไปตงั้ ออกซิเจนโดยใช้หินดวงจันทร์จึงไม่ใช่ ข้อมูลจากตัวอย่างหินดวงจันทร์ที่ถูกเก็บ รกรากอยู่ทด่ี วงจนั ทร์ไมว่ ันใดก็วันหนง่ึ เร่ืองยาก โดยสามารถผลิตออกซิเจน กลับมาในภารกิจอะพอลโล 11 และท่ี หินหรือดินบนดวงจันทร์ท่ีพัฒนาใน จากหินดวงจันทร์ได้ถึง 1 เมตริกตันใน ส�ำ คญั คือ ผลงานน้เี ป็นฝมี ือของคนไทย ไทย มีลักษณะสำ�คัญหลายอย่างที่เป็น หน่ึงปี โดยการใช้อุปกรณ์ที่เรามีอยู่ใน เอกลกั ษณข์ องหนิ ดวงจนั ทร์ อาทิ ลกั ษณะ ปัจจุบัน ซ่ึงปริมาณนี้เพียงพอต่อคนหน่ึง หินดวงจันทร์เทียม ของหินเป็นเม็ดหินที่มีส่วนประกอบเป็น คนประมาณ 181 วัน ถึงกระนั้น หาก ท่ที �ำ ขึน้ มีองคป์ ระกอบ ผงขนาดเล็กมาก (74 ไมครอนหรือเล็ก เราสร้างสถานีผลิตออกซิเจนสำ�เร็จ เรา ทางเคมที ีใ่ กลเ้ คยี งกบั กว่า) และมีลักษณะที่มีความแหลมคม จะสามารถสร้างออกซิเจนได้มากขึ้นถึง หนิ ดวงจนั ทร์ทเ่ี ก็บมาจาก ซ่ึงความแหลมคมน้ีเคยก่อให้เกิดปัญหา 10 เท่าตัว ในอนาคตมีความเป็นไปได้ ภารกิจอพอลโล 11 ท้ังใน ตอ่ กระจกและแวน่ ของนกั บนิ อวกาศที่ไป สูงมากที่จะผลิตออกซิเจนในจำ�นวน สดั ส่วนของปรมิ าณ ปฏิบัติภารกิจบนดวงจันทร์ ด้วยลักษณะ มากข้ึน จนมีปริมาณที่เพียงต่อการสร้าง แมกนเิ ซยี ม, ไทเทเนยี ม หินเช่นนี้ทำ�ให้ฝุ่นติดอยู่บนชุดอวกาศได้ รกรากของมนุษย์ในอย่างท่ีทราบกันน้ัน ง่ายและยากต่อการทำ�ความสะอาด ออกซิเจนบนดวงจันทร์ไม่สามารถนำ� และซิลิกา นอกจากคุณลักษณะกายภาพแล้ว มาใช้ได้ทันที ดังนั้นเราจึงต้องนำ�หินที่มี หินดวงจันทร์เทียมที่ทำ�ข้ึนก็ยังมีองค์ ออกซิเจนเป็นส่วนประกอบมาสกัด โดย ประกอบทางเคมีที่ใกล้เคียงกับหินดวง มี 5 ขนั้ ตอนหลักๆ คอื จันทร์ที่เก็บมาจากภารกิจอะพอลโล 11 ด่่านเริ่ �มแรก สถานีีผลิิตเมื่่�อสร้้างเสร็็จ ธนั วาคม 2563 14

บทพคเิ ศวษาม 1. การเก็บหินดวงจนั ทรบ์ นดวงจนั ทร์ ดวงจนั ทรน์ น้ั ประกอบดว้ ยหนิ หลากหลายชนดิ แตม่ เี พยี งบางชนดิ เทา่ นนั้ ทจ่ี ะน�ำ มาสกดั ออกซเิ จนได้ (2-20% ของดวงจนั ทรป์ ระกอบ ด้วย FeTiO2) ดังนั้นเราจะต้องตรวจสอบก่อนว่ามีหินดวงจันทร์ท่ีมีออกซิเจนเป็นส่วนประกอบ (FeTiO2) ซ่ึงสามารถนำ�มาใช้งานได้ อยทู่ ี่ไหนบ้าง ส่วนกระบวนการเกบ็ นั้นจะใช้หุน่ ยนต์ 2. น�ำ หนิ มาสกดั ตััวเครื่่�อง การสร้้างด่่านเริ่ �มในการใช้้แก้้ขััด ขั้นตอนน้ีเป็นหัวใจสำ�คัญของการสกัด ออกซิเจน ซ่ึงสามารถทำ�ได้สามวิธีได้แก่ ธันวาคม 2563 solid gas interaction, molten electrolysis/ reduction, และ vacuum pyrolysis คาดว่า ประสิทธิภาพในการดึง oxygen มาจะอยู่ท่ี 1-5% สำ�หรับ solid gas interaction, 14-28% สำ�หรบั vacuum pyrolysis และ 40% ส�ำ หรับ molten electrolysis 3. รอใหเ้ ย็น การสกัดหินมักจะเกิดข้ึนท่ีในสภาพ แวดล้อมที่มีความดันและอุณหภูมิสูงมาก ดงั นน้ั เราจงึ ตอ้ งรอใหห้ นิ เยน็ ตวั ลงกอ่ น เพอ่ื ความสะดวกในการจัดเก็บและน�ำ ไปใช้ 15

บทพคเิ ศวษาม Workflow สำำ�หรัับการผลิิต oxygen ด้้วยวิิธีี Vacuum Pyrolisis ในงานชุมนุมด้านวิชาการท่ีผ่านมาพบว่า ปัญหา ทางวิศวกรรมท่ียังต้องนำ�กลับไปขบคิดมีอยู่บาง ประเดน็ ได้แก่ - ปญั หาดา้ นการซลี สญุ ญากาศซงึ่ จะสง่ ผลส�ำ คญั ตอ่ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการท�ำ งาน - อุนหภูมิของพื้นผิวดวงจันทร์ท่ีมีช่วงอุณหภูมิ กว้างมากตั้งแต่ 100 เคลวิน ถึง 400 เคลวิน (-173 องศาเซลเซียส ถึง 127 องศาเซลเซียส) ในแต่ละวนั - สว่ นประกอบของหนิ หรอื ทรายดวงจนั ทรข์ นาดเลก็ ทมี่ ลี กั ษณะคลา้ ยผงขดั อาจจะน�ำ มาซง่ึ ความล�ำ บาก ในการใช้งาน รวมไปถึงองค์ประกอบทางเคมีท่ี อาจจะแตกตา่ งกนั ไปในแต่ละบริเวณท่สี �ำ รวจ แตถ่ งึ กระนนั้ กม็ คี วามเปน็ ไปไดท้ เี่ ราจะสามารถ workflow สำำ�หรัับการผลิิต oxygen ด้้วยวิิธีี molten electrolysis จัดการอุปสรรคท่ีมีอยู่และข้ึนไปต้ังรกรากบน ดวงจันทร์ได้ในอนาคต 4. กกั เก็บ เม่ือผลิตเสร็จแล้วเราจะต้องนำ�ออกซิเจนท่ีได้ มากกั เก็บและเตรยี มท่ีจะน�ำ ไปใช้ ถึงแม้ความเป็นไปได้ ในการใช้ชีวิตอยู่บน อา้ งองิ รปู ภาพ https://sci.esa.int/documents/34200/36212/1567256046440-7_4_5_final-Piccolo.pdf ดวงจนั ทรจ์ ะมมี ากขน้ึ เรอื่ ยๆ เนื่องจากการค้นพบท่ี https://1drv.ms/w/s!AnrjLd9vvEroimsSo18yVzJu0oOD?e=yydjsE เกดิ ขนึ้ ใหมๆ่ แตเ่ รากย็ งั คงตอ้ งเผชญิ กบั ความยาก ล�ำ บากทางดา้ นเทคโนโลยี จากการพดู คยุ วเิ คราะห์ https://www.nasa.gov/pdf/203084main_ISRU%20TEC%2011-07%20V3.pdf ธันวาคม 2563 16

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย เอ็มเทค-ไทยเบฟ เปิดตวั “Green Rock” วสั ดุเมด็ มวลเบาสงั เคราะห์ วัสดกุ ่อสร้างเพอื่ ความยั่งยืน ดร.จุุลเทพ ขจรไขยกููล นายประวิิช สุุขุุม ผู้้�อำำ�นวยการเอ็็มเทค สวทช. ผู้้�ช่่วยกรรมการผู้้�อำำ�นวยการใหญ่่ บริิษััทไทยเบฟเวอเรจ จำำ�กััด (มหาชน) “Green Rock” วััสดุุเม็็ดมวลเบาสัังเคราะห์์ มวลเบาสังเคราะห์ หรอื “Green Rock” พัฒนาข้ึนโดย ดร.พิทักษ์ เหล่ารัตนกุล ได้รับความร่วมมือจากบริษัทพีซีเอ็ม เปิดตวั แล้ว อีกหนึง่ ผลงานนวัตกรรม หวั หนา้ ทมี วจิ ยั วศิ วกรรมเซรามกิ ส์ เอม็ เทค คอนสตรัคชนั่ แมททีเรียล จำ�กดั เพ่ือความย่ังยืนตามหลัก BCG และคณะ ร่วมกับบริษัทจรัญธุรกิจ 52 นายประวิช สุขุม ผู้ช่วยกรรมการ (Bio-Circular-Green) Economy Model กลุ่มธุรกิจต่อเน่ืองในเครือบริษัทไทย ผู้อำ�นวยการใหญ่ ผู้บริหารสูงสุดสาย ซงึ่ มาจากการด�ำ เนนิ งานของ กระทรวง เบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน) แนวทางใน บริหารท่วั ไป บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จ�ำ กดั การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ การพัฒนาวัสดนุ ีค้ ือ การน�ำ วสั ดุพลอยได้ (มหาชน) ทิ้งท้ายในประเด็น BCG ว่า นวตั กรรม (อว.) โดย ส�ำ นกั งานพฒั นา จากภาคอตุ สาหกรรมกลบั มาใชป้ ระโยชน์ ล่าสุดไทยเบฟได้ร่วมลงนามบันทึกข้อ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ใหม่ ซึ่ง “Green Rock” สามารถนำ�มา ตกลง “โครงการขับเคลื่อนการพัฒนา (สวทช.) ที่ได้ส่งเสริมให้ภาคเอกชน ประยุกต์ ใช้ทดแทนหินธรรมชาติใน เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน เกดิ การลงทนุ เพอ่ื ขบั เคลอ่ื น BCG ซงึ่ มี ส่วนผสมคอนกรีตประเภทต่างๆ ได้ และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Economy เป้าหมายเพื่อความย่ังยืน โดยผลงาน และยังมีคุณสมบัติเด่น คือ ช่วยลด Model)” เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อมุ่งสู่ ล่าสุดนี้ คือ “Green Rock” วัสดุเม็ด น้ำ�หนักโครงสร้างอาคาร คงความแข็ง เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (SDGs) มวลเบาสงั เคราะห์ แรงตามมาตรฐานการก่อสร้าง และเพิ่ม ครั้งน้ีจึงเป็นโอกาสอันดีที่ได้ร่วมงานกับ ดร.จลุ เทพ ขจรไขยกูล ผอู้ �ำ นวยการ ประสิทธิภาพด้านการประหยัดพลังงาน สวทช. ซึ่งเป็นหน่วยงานชั้นนำ�ระดับ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ เนื่องจากโครงสร้างประกอบด้วยฟอง ป ร ะ เ ท ศ ใ น ด้ า น ก า ร พั ฒ น า แ ล ะ วิ จั ย (เอม็ เทค) สวทช. กลา่ ววา่ ผลงานวสั ดเุ มด็ อากาศภายในเป็นจำ�นวนมาก จึงช่วย นวตั กรรม พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ Green Rock ป้องกันความร้อนจากแสงอาทิตย์ไม่ให้ ซ่ึงเป็นวัสดุก่อสร้างท่ีตอบสนองความ เขา้ สภู่ ายในอาคารไดด้ ี โดยในการทดสอบ ตอ้ งการของผู้ใชท้ งั้ ดา้ นคณุ ภาพและการ ประสิทธิภาพการต้านทานความร้อน ทดแทนวัสดุจากธรรมชาติ ช่วยลดการ ทำ�ลายส่งิ แวดลอ้ มได้อย่างแท้จรงิ เรยี บเรยี งจาก : https://www.posttoday.com/pr/638082 (โพสต์ทูเดย์) 17 ธันวาคม 2563

ระเบยี ง BioVis โนวฮ์ าวเพ่ิมคา่ ขยะ ปทู างซโี ร่เวสต์ เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย “Smart Wristband” ระบตุ วั ตนผู้ป่วย Smart Wristband เปน็ หนึง่ ในผลงาน โดยเทคโนโลยีดังกล่าว คือ “patient นักวิจัยสถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC) จ า ก โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า เ ท ค โ น โ ล ยี tracking” ในรปู แบบ “Smart Wristband” ประยกุ ต์ใชค้ วามรดู้ า้ นเอนไซมเ์ ปลย่ี น นวัตกรรมเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย เอกศักด์ิ โอศริ พิ ัฒน์ ประธานกรรมการ ขยะอินทรีย์เป็น BioVis สารบำ�รุงพืชที่ และบุคลากรสาธารณสุข หรือ SP @ บริหาร บริษัทอินเทลลิเจ็นซ์ ซิสเท็ม คอร์ ปลอดภัยและเป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม โดย Safety Tech โดยกระทรวงการอดุ มศกึ ษา เปอร์เรช่ัน จำ�กัด อธิบายถึงการใช้งาน ส่งงานวิจัยเข้าพื้นที่จังหวัดน่าน เพื่อช่วย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) Smart Wristband วา่ เร่มิ จากการให้ผ้ปู ่วย ชุมชนสร้างรายได้จากขยะครัวเรือนผ่าน สำ � นั ก ง า น พั ฒ น า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สวมใส่ริสแบนด์ซ่ึงติดอาร์เอฟไอดีให้ผู้ป่วย โครงการขยะเพ่ิมทรพั ยแ์ ล้ว เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ จากนนั้ จงึ น�ำ โคด้ ของผปู้ ว่ ยมาลงทะเบยี นใน “C-ROS” (Cash Return from สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ระบบ ทกุ ครงั้ ทบ่ี คุ ลากรทางการแพทยท์ �ำ การ Zerowaste and Segregation of Trash) หรอื (องค์การมหาชน) หรือ สรพ. รักษาจะใช้สมาร์ตโฟนสแกนที่ริสแบนด์ “โครงการขยะเพม่ิ ทรพั ย”์ มจี ดุ เรมิ่ ตน้ มาจาก โดยโครงการน้ี ได้สนับสนุนการจับคู่ เพื่อดูข้อมูลผู้ป่วย การรักษาและการทำ� การตระหนักถึงปัญหาขยะที่เพิ่มขึ้นอย่าง โรงพยาบาลกับสตาร์ตอัปที่มีความสามารถ หัตถการ รวมถึงการจ่ายยา รวมถึงบันทึก รวดเร็วจนถึงขั้นวิกฤต ซ่ึงกว่า 60% เป็น ในการพัฒนานวัตกรรมให้ตอบโจทย์ความ ข้อมูลการรักษาของตนทุกครั้ง ประโยชน์ ขยะอินทรีย์จากครัวเรือนที่มีมูลค่าตำ่�ไม่คุ้ม ต้องการหรือ pain point ของโรงพยาบาล ท่ีเกิดขึ้นคือการช่วยลดความผิดพลาดใน ค่าต่อการลงทุน นักวิจัยจึงได้นำ�เทคโนโลยี โดย Smart Wristband เปน็ ผลงานทเี่ กดิ จาก การทำ�งาน เสริมความมั่นใจให้กับบุคลากร มาเปลี่ยนขยะให้เป็นสารสำ�คัญที่คุ้มค่าต่อ การจับคู่กันระหว่างบริษัทอินเทลลิเจ็นซ์ ทางการแพทยแ์ ละคนไขว้ า่ มกี ารระบตุ วั ตนท่ี กระบวนการแยกขยะ ซสิ เทม็ คอรเ์ ปอรเ์ รชน่ั จ�ำ กดั กบั โรงพยาบาล แม่นยำ� อีกท้งั ยงั อ�ำ นวยความสะดวกในการ ระยอง เพือ่ แก้ปัญหา 4 ดา้ น คอื 1) ภาระ ยอ้ นดปู ระวตั กิ ารรกั ษาแบบเรยี ลไทมอ์ กี ดว้ ย งานรักษาและงานเอกสารท่ีมากตามจำ�นวน เอกศักดิ์ท้ิงท้ายว่า บริษัทมีความตั้งใจ ผู้รับบริการ 2) การทำ�งานซ้ำ�ซ้อนทั้งใน ท่ีจะพัฒนางานด้านสาธารณสุขไทย เพราะ และระหว่างแผนก 3) ปัญหาบุคลากรทาง มปี ระสบการณ์ในการท�ำ งานดา้ นวจิ ยั ยาและ ก า ร แ พ ท ย์ ไ ม่ เ พี ย ง พ อ ห รื อ มี อ ย่ า ง จำ � กั ด เคร่ืองมือแพทย์ท้ังในไทยและต่างประเทศ 4) ความเสยี่ งในการระบตุ วั ตนคนไขผ้ ดิ บรษิ ทั เป็นต้นทุน ซ่ึงในตอนนี้กำ�ลังเตรียมร่าง จึงได้นำ�เทคโนโลยีท่ีทำ�การพัฒนามากว่า โรดแมปเรอ่ื งการดแู ลสุขภาพ โรค อบุ ตั ิเหตุ 2 ปี ซึ่งมีโรดแมปในการก้าวสู่ตลาดสถาน และอุบัติภัย ท่ีมีโอกาสเกิดข้ึนในวัยทำ�งาน พยาบาลอยู่แล้วมาใช้ ในการแก้ปัญหานี้ อีกด้วย เรยี บเรียงจาก : https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/906953 (กรงุ เทพธรุ กจิ ) ธนั วาคม 2563 18

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย ศ.พิมพ์ใจ ใจเย็น คณบดีสำ�นักวิชา ‘สารบำ�รุงพืชชีวภาพ BioVis’ ที่ผ่าน ผ่านกระบวนการชวี วิทยาสงั เคราะห์” ซ่ึงได้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละวศิ วกรรมศาสตรช์ วี โมเลกลุ กระบวนการย่อยแบบไฮเทค ทำ�ให้มีธาตุ เรม่ิ ใชง้ านจรงิ ทบี่ า้ นมหาโพธ์ิ วดั อรญั ญาวาส สถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC) หัวหน้า อาหารหลกั และรองครบถว้ นสมบรู ณ์ ชว่ ยให้ และโรงเรยี นจมุ วนดิ าภรณ์ จงั หวดั นา่ น แลว้ โครงการระบบสาธติ กระบวนการชวี ภาพเพอ่ื พชื เจรญิ เตบิ โตไดด้ ี มภี ูมิค้มุ กนั โรค กระตุ้น และได้รับผลตอบรับท่ีดี เพราะแก้ปัญหาได้ การเปลี่ยนแปลงเป็นเช้ือเพลิงชีวภาพและ การเกิดราก ซึ่งเม่ือพืชขยายระบบรากได้ดี ตรงจุด สะดวก ปลอดภยั ท่ีส�ำ คัญยงั สรา้ ง สารชวี ภณั ฑ์ โดยการสนบั สนนุ จากส�ำ นกั งาน กจ็ ะสามารถดดู ธาตอุ าหารไดด้ ขี น้ึ ดว้ ย ท�ำ ให้ มูลค่าเพิ่มให้ขยะที่ไม่มีมูลค่า ก่อให้เกิดผล คณะกรรมการสง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และ ได้ผลผลิตสูง คุณภาพดี ช่วยปรับสภาพ กระทบเชิงบวกด้านการรณรงค์คัดแยกขยะ นวัตกรรม (สกสว.) เผยว่า “โครงการขยะ ดินให้ร่วนซุย อุ้มนำ้� และช่วยเพ่ิมจุลินทรีย์ ในระดับชุมชน ปัจจุบันโครงการได้รับการ เพิ่มทรัพย์” เป็นแพลตฟอร์มที่จะสนับสนุน ในดิน นอกจากน้ันการใช้ปุ๋ยชีวภาพยัง สนับสนุนให้สร้างเทคโนโลยีที่มีระดับใหญ่ ใหเ้ กดิ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น สรา้ งสงั คมไทยให้ ปอ้ งกนั ไมใ่ หร้ ากเปน็ แผลจากการใชส้ ารเคมี และครบวงจรมากขึ้น ท้ังจากภาครัฐ คือ เปน็ สงั คมไรข้ ยะ โดยการเปลย่ี นขยะอนิ ทรยี ์ ปริมาณมากอีกด้วย ผลิตภัณฑ์นี้ผ่าน สกสว. และภาคเอกชน ธนาคารกสิกรไทย จากอุตสาหกรรมอาหารและการเกษตร การทดสอบประสิทธิภาพแล้ว จากฟาร์ม บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) และบริษัท รวมทั้งขยะเศษอาหารจากเทศบาลชุมชน เกษตรอนิ ทรยี ์ เกษตรกรชาวสวน ผอู้ ยอู่ าศยั บางกอกอนิ ดสั เทรยี ลแกส๊ จ�ำ กดั โดยมงุ่ หวงั และครัวเรือน ให้เป็นเช้ือเพลิงชีวภาพและ ในบา้ นเรือนและคอนโดมิเนยี ม” ให้ประเทศไทยมีเทคโนโลยีชีวภาพแบบ สารชีวภัณฑม์ ลู คา่ เพมิ่ ในการนี้ทีมวิจัยและนิสิตได้รับการ สะอาดในการจัดการขยะ และเป็นระบบ “หนึ่งในผลิตภัณฑ์จากขยะที่พร้อม สนับสนุนจากธนาคารกสิกรไทย ในการทำ� Zero Waste ทส่ี มบรู ณ์แบบ ใช้งานและสามารถจัดจำ�หน่ายได้แล้วคือ โครงการ “การสรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ใหข้ ยะอนิ ทรยี ์ เรียบเรียงจาก : https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/887705 (กรงุ เทพธรุ กิจ) 19 ธันวาคม 2563

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย นวัตกรรมสเปรยจ์ บั ฝุน่ PM2.5 รศ. ภญ. ร.ต.อ.หญงิ ดร.สชุ าดา เผยถงึ จุดเริ่มต้นในการพัฒนางานวิจัยว่า แนวคิด ในระยะหลังช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยและหลายประเทศท่ัวโลกมีฝุ่นจิ๋ว PM2.5 อฝกายุ่นรู่ใพนPอัฒMาน2ก.5าาสศเปเปจน็ รึงอ์ยไนดลุภค้ดาิดฝคห่นุ ขาอPวงธิMแีท2ข�ำ.5ง็ใหมท้ฝา่ีแจนุ่ขาตวกนกกลลาองรทสยู่ี่ เป็นมลภาวะทางอากาศ ท่ีส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ทั้งในระยะส้ันและ พื้นโดยใช้เทคโนโลยีทางเภสัชกรรมคิดค้น ระยะยาว รศ. ภญ. ร.ต.อ.หญิง ดร.สชุ าดา สุขหรอ่ ง และ รศ. ภญ. ร.ท.หญงิ ดร.ภัสราภา สจ�ำาเรพผาสะมหทลี่สังาจมาากรกถาดรักทจำ�ับวิจPยั Mกว2า่.5 ด้วยกลไก โตวิวฒั น์ อาจารยค์ ณะเภสชั ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั จึงพฒั นานวัตกรรม “สเปรย์ 1 ปี จงึ ได้ ลดฝุ่น PM2.5” ส�ำ หรับพ้นื ทปี่ ิด เช่น บา้ น ส�ำ นักงาน และรถยนต์ ฯลฯ กสัานรเผปส็นมฝทุ่น่ีสขานมาาดรถใหทญ�ำ ใ่หต้กPลMงส2.5ู่พเ้ืนกาทะรำ�วใมหต้ไมัว่ ลอยอยู่ในอากาศ ช่วยให้ผู้ใช้งานไม่สูดเอา เรียบเรียงจาก : https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/909110 จฝานุ่ กPธMรร2.ม5 ชเขาา้ ตสิทรู่ ่ีมา่ งีคกวาายมโปดลยอสดารภทัยี่ใตช่อเ้ ปมน็ นสุษายร์ และสงิ่ แวดล้อม รศ. ภญ. ร.ท.หญงิ ดร.ภัสราภา เสริมวา่ นวัตกรรมน้ีประสบความสำ�เร็จได้จากการ ผสานศาสตรแ์ ละความรว่ มมอื จากคณะตา่ งๆ ทำ�ให้สามารถต่อยอดงานวิจัยสู่ผลิตภัณฑ์ โดยผลงานน้ไี ดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ ในโครงการ Leaders in Innovation Fellowships Programme (LIF) ประจำ�ปี 2563 ภายใต้ การสนับสนุนของ กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) โดย ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ Newton Fund และ The Royal Academy of Engineering สหราชอาณาจกั ร การตผ่อลยงอาดนจา“กสภเปารค์ยเอลกดชฝนุ่นเปP็นMท2ี่เ.5ร”ียบไดร้อ้รับย แลว้ โดยบริษัทเอส.ท.ี โพรเทค จ�ำ กัด ไดท้ �ำ ข้อตกลงความร่วมมือในการใช้สิทธิบัตร เพ่ือนำ�ไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ “PhytFoon ไฟทฝ์ นุ่ ” ซงึ่ จะแถลงขา่ วเปดิ ตวั ในชว่ งเดอื น ธันวาคมปี พ.ศ. 2563 ธันวาคม 2563 20

ระเบยี ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยไท-์ ย Power Lift Bed เตยี งนอนลกุ นัง่ ยนื สบาย เพือ่ สังคมผู้สูงอายุ จากขอ้ มลู ของส�ำ นักงานสถติ แิ หง่ ชาติ การดำ�เนินธุรกิจกว่า 50 ปี กลุ่มบริษัท คอื การสามารถปรับท่าทางใหล้ ุกนงั่ และยืน สรปุ วา่ ไทยจะเขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายโุ ดย เอสบี เฟอรน์ ิเจอร์ มุ่งเน้นเรอ่ื ง Customer ไดด้ ว้ ยตนเอง ลดความเสี่ยงในการหกล้ม มี สมบรู ณแ์ บบในปีพ.ศ.2564กลมุ่ บรษิ ทั เอสบี centric หรือการมีลูกค้าเป็นศูนย์กลางใน ฟังก์ชันหมุนได้ 90 องศา และควบคุมการ ดไี ซนส์ แควร์ จงึ รว่ มกบั ศนู ยเ์ ทคโนโลยีโลหะ การสร้างสรรค์สินค้าและบริการ ดังนั้นเพื่อ ใช้งานด้วยรีโมตคอนโทรล จึงมีความคล่อง และวสั ดแุ หง่ ชาติ (เอม็ เทค) สวทช. ในการ ให้สอดรับกับแนวโน้มของสังคมท่ีกำ�ลัง ตวั ในการใชง้ านมากกวา่ เตยี งธรรมดาทว่ั ไป” พฒั นา Power Lift Bed เตียงนอนส�ำ หรบั เปล่ียนแปลงไปจึงได้พัฒนาเทคโนโลยีนี้ข้ึน พิเดชกล่าวเสริมว่า นอกจากเร่ือง ผสู้ งู อายแุ ละผปู้ ว่ ยพกั ฟน้ื เพอ่ื เปน็ ทางเลอื ก เพื่อเปน็ ประโยชน์แก่ผบู้ รโิ ภค ฟงั กช์ นั ทค่ี รบถว้ นสมบรู ณแ์ ลว้ เตยี ง Power ใหม่ในการสร้างความอ่นุ ใจในการใช้ชวี ติ “เตียงนอน Power Lift Bed เป็นการ Lift Bed ยงั ไดร้ บั การพฒั นาในดา้ นรปู ลกั ษณ์ พิเดช ชวาลดฐิ กรรมการบริหาร กลุ่ม พัฒนาต่อยอดจากผลงานวิจัยเตียงตื่นตัว ให้มีดีไซน์สวยงามเสมือนเป็นเฟอร์นิเจอร์ บริษัทเอสบี เฟอร์นิเจอร์ เผยว่า ตลอด (Joey-active bed) หรอื เตียงนอนท่ีมีกลไก ชน้ิ หนง่ึ ภายในบา้ น จงึ ใหค้ วามรสู้ กึ ทแี่ ตกตา่ ง จากเตียงผู้ป่วยทั่วไป หวังเป็นอย่างย่ิงว่า ช่วยผู้สูงอายุในการลุก ผลิตภัณฑ์นี้จะเป็นทางเลือกใหม่ที่ช่วย น่ังยืนของเอ็มเทค โดย เติมเต็มความสุขในการใช้ชีวิตให้กับสมาชิก เอสบีได้รับอนุญาตให้ ทุกคนในครอบครวั ทงั้ ผสู้ งู อายุ ผู้ป่วย และ ใช้สิทธิประโยชน์ของ ลกู หลานท่ีท�ำ หน้าท่ดี ูแล ผลงานดังกล่าวในเชิง ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล ผู้อำ�นวยการ พาณิชย์ สำ�หรับเตียง เอม็ เทค เผยวา่ เอม็ เทคใหค้ วามส�ำ คญั ในเรอื่ ง Power Lift Bed มีกลไก การท�ำ วจิ ยั และพฒั นา (R&D) เพอ่ื สนบั สนนุ สำ�คัญที่จะช่วยอำ�นวย นวัตกรรมด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ท่ีดี ความสะดวกใหแ้ กผ่ ้ใู ชง้ าน เพอ่ื คณุ ภาพของคนในสงั คม โดยเฉพาะการท่ี ประเทศไทยก�ำ ลงั กา้ วสกู่ ารเปน็ สงั คมผสู้ งู อายุ เรียบเรียงจาก : https://www.khaosod.co.th/monitor-news/news_5434857 (ข่าวสด) โดยสมบูรณ์แบบ นักวิจัยเอ็มเทคนำ�โดย ดร.ศราวุธ เลิศพลังสันติ หัวหน้าทีมวิจัย ออกแบบและแก้ปัญหาอุตสาหกรรม และ คณะ จึงใชห้ ลัก Human-centric design ใน ทกุ ขน้ั ตอนของการพฒั นางานวจิ ยั ดงั นน้ั ผทู้ ี่ สนใจเลอื กซอ้ื ผลติ ภณั ฑจ์ งึ มน่ั ใจไดว้ า่ ผลงาน จะตอบโจทย์ผู้ใช้งานอย่างแท้จริง สำ�หรับผู้ที่สนใจสามารถพาผู้สูงอายุ หรอื คณุ พอ่ คณุ แมไ่ ปทดลองสนิ คา้ ไดท้ เ่ี อสบี ดีไซน์สแควร์ 4 สาขา คือ เดอะคริสตัล, เอสบี ราชพฤกษ์, คริสตัล ดีไซน์เซ็นเตอร์ (CDC) สาขาบางนาและพระราม 2 โดยมี โปรโมชันพิเศษเป็นของขวัญปีใหม่ต้ังแต่ วนั น้ถี งึ 31 ธนั วาคม พ.ศ. 2563 21 ธนั วาคม 2563

หนา้ ตา่ ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยโล-์ ก PayPal เปิดตัวบริการ ซ้ือ ขาย ถอื เงนิ คริปโตฯ ได้อิสระ PayPal ผใู้ หบ้ รกิ ารรบั ช�ำ ระเงนิ ออนไลนเ์ ปดิ ตวั บรกิ ารใหม่ ใหผ้ ใู้ ชง้ านในประเทศสหรฐั อเมรกิ า สามารถ ซื้อ ขาย และถอื สนิ ทรพั ยใ์ นรปู แบบเงินดจิ ทิ ลั ครปิ โตเคอรเ์ รนซไี ดอ้ ย่างอสิ ระผ่านบญั ชี PayPal สาเหตุสำ�คัญที่ทำ�ให้ PayPal หันมาให้ความสำ�คัญกับ ผู้ใชส้ ามารถเข้าถงึ ไดร้ วดเร็ว มีประสิทธภิ าพ และยดื หย่นุ รวมถงึ เงินรูปแบบนี้ เพราะเทรนด์การใช้เงินดิจิทัลกำ�ลังได้ ทำ�ให้รัฐบาลสามารถนำ�จ่ายเงินให้กับประชาชนได้รวดเร็วอีกด้วย รับความนิยมอย่างแพร่หลายในวงกว้าง โดยเฉพาะจากข้อมูล PayPal จงึ กระตอื รอื รน้ ทจี่ ะท�ำ งานรว่ มกบั ธนาคารกลางและรฐั บาล การสำ�รวจธนาคารเพ่ือการชำ�ระบัญชีระหว่างประเทศ (Bank ทั่วโลก เพื่อนำ�เสนอการสนับสนุนและการมีส่วนในการกำ�หนด of International Settlements) ที่ระบุว่า 1 ใน 10 ของธนาคาร บทบาทของสกุลเงนิ ดจิ ิทลั ในอนาคต กลาง เตรยี มจะออกเงนิ ดจิ ทิ ลั ของตวั เองภายในอกี 3 ปี ตอ่ จากน้ี สำ�หรับเงินดิจิทัลท่ี PayPal เปิดให้ใช้งานได้ ประกอบด้วย สกลุ เงิน Bitcoin, Ethereum, Bitcoin Cash และ Litecoin ซง่ึ แดน ซูลแมน (Dan Schulman) ประธานกรรมการบริหาร ภายในครง่ึ ปแี รกของปี พ.ศ. 2564 นี้ PayPal ตง้ั ใจจะขยายขอบเขต การใชง้ านไปยังแพลตฟอร์ม Venmo และประเทศอ่ืนๆ PayPal ระบุว่า การขับเคลื่อนความเปล่ียนแปลงของเงินไปสู่ รูปแบบดิจิทัลเปน็ สง่ิ ท่ีไมอ่ าจหลกี เล่ยี งได้ เพราะเงินดจิ ทิ ลั ทำ�ให้ เรียบเรียงจาก: https://thestandard.co/paypal-accept-cryptocurrency/ (The Standard) ธันวาคม 2563 22

หนา้ ตา่ ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยโล-์ ก Virgin Hyperloop ประสบความส�ำ เร็จ ว่งิ พรอ้ มผ้โู ดยสารจริง ขยบั เขา้ ใกลน้ วัตกรรมการเดินทางแบบ Hyperloop อกี ขน้ั เม่อื Virgin Hyperloop ประสบความสำ�เร็จในการทดสอบวิ่งพร้อมผู้โดยสารที่เป็น ‘มนุษย์’ เรียบร้อยแล้วเมื่อ วันที่ 8 พฤศจิกายน ท่ผี า่ นมา โดยเปน็ การทดสอบวิ่งยาน Pod ท่ีมีผโู้ ดยสารจรงิ 2 คน เซอรร์ ชิ าร์ด แบรนสัน ผูก้ อ่ ต้งั Virgin Group บริษทั แม่ ยกระดับการเดินทางสู่อัตราความเร็วสูง 1,000 กิโลเมตร ของ Virgin Hyperloop กล่าวว่า ชว่ งหลายปีน้ที ีมงาน ต่อช่ัวโมง เพ่ือให้สามารถให้บริการผู้โดยสารนับหม่ืนคน ไดท้ �ำ งานกนั อยา่ งหนกั เพอื่ ยกระดบั เทคโนโลยนี ี้ใหส้ ามารถ ต่อชั่วโมง ใช้ได้จริง และจากความสำ�เร็จของการทดสอบวันน้ี ก็ได้ สะท้อนให้เห็นว่านวัตกรรมนี้จะนำ�ไปสู่การเปล่ียนแปลง การใชช้ ีวิต การท�ำ งาน และการเดนิ ทางของผคู้ น ส�ำ หรบั การทดสอบวิง่ ยาน Pod ของ Virgin Hyperloop เป็นการทดสอบบนไซต์ของ DevLoop ในแคลิฟอร์เนีย บนรางมีความยาว 500 เมตร โดยสามารถทำ�ความเร็วได้ 172 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หรือใช้เวลาในการเดินทางเพียง 15 วินาทีเท่าน้ัน ซ่ึงก่อนหน้าน้ี Virgin Hyperloop ได้ทำ� การทดสอบโดยไม่มผี ู้โดยสารมาแล้วถึง 400 คร้งั อยา่ งไรกต็ าม การทดสอบวง่ิ ดว้ ยอตั ราเรว็ ท่ี 172 กโิ ลเมตร ต่อชั่วโมง ยังห่างไกลจากเป้าหมายท่ีบริษัทต้ังไว้คือต้องการ เรยี บเรยี งจาก : https://thestandard.co/virgin-hyperloop/ (The Standard) ภาพจาก : https://virginhyperloop.com/ (Virgin Hyperloop) 23 ธนั วาคม 2563

หนา้ ตา่ ง เทขคา่ โวนวฯทิ ยโล-์ ก ถงุ มือคนเหงา ถุงมือโลกเสมือน เทคโนโลยที ก่ี า้ วไกลเดนิ หนา้ เขา้ แทนทมี่ นษุ ยใ์ นหลายวงการ และยงั มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั มนษุ ย์ มากข้ึนในทุกวัน 2 เทคโนโลยีท่ีหยิบยกมานำ�เสนอในฉบับน้ีจึงเป็น 2 ถุงมือท่ีจะทำ�งาน ใกล้ชดิ กบั ผู้คนในอนาคต ทง้ั ในโลกความเป็นจริงและโลกเสมอื น ถุงมอื แรก คอื ถงุ มือส�ำ หรับคนโสดขี้เหงา “Osampo คอร์แนล ถุงมือนี้มีเซนเซอร์เส้นใยแก้วนำ�แสงยืดหดได้ Kanojo” ซงึ่ ไดร้ ับการรายงานจากส�ำ นักข่าว CENT ทำ�หน้าท่ีตรวจจับการทำ�งานของน้ิว ทั้งรูปทรงมือ การกด วา่ เปน็ หนุ่ ยนตถ์ งุ มอื ทส่ี รา้ งขน้ึ โดยนกั วทิ ยาศาสตรช์ าวญปี่ นุ่ งอ และการยืด ผ่านการเคลื่อนไหวของแสง ซ่ึงจะส่งข้อมูล มีสัมผัสคล้ายมือคน ทั้งฝ่ามือท่ีมีความอ่อนนุ่ม ยืดหยุ่น ไปแปรผลในระบบคอมพิวเตอร์ ถุงมือนี้ใช้ต้นทุนการสร้างท่ี มเี หงอ่ื จรงิ และเมอื่ ผู้ใชจ้ บั หรอื บบี ฝา่ มอื นน้ั ฝา่ มอื กจ็ ะบบี มอื ไม่สูง ประกอบด้วยบลูทูทในการส่งข้อมูล และแบตเตอร่ี กลับทันที นอกจากน้ันยังมีลำ�โพงขนาดเล็กเล่นเสียงเท้า ลเิ ทียมเปน็ แหล่งพลังงาน และเสยี งหายใจแผ่วๆ เสมอื นมคี นเดนิ อยเู่ คียงข้าง และมี ลองนึกภาพดูว่า หากใช้ถุงมือน้ีในการเรียนซ่อมรถหรือ การปลอ่ ยกลนิ่ หอมออ่ นๆ ของทง้ั ชายและหญงิ ตามเพศของ เปลี่ยนยางในโลกเสมือนจริง แล้วถุงมือนี้สามารถบอกคุณ ถงุ มอื อกี ดว้ ย ผสู้ รา้ ง Osampo Kanojo คาดหวงั วา่ ถงุ มอื นี้ ได้ว่า ให้บิดตรงน้ี หยุดขยับตรงน้ี ใช้แรงเท่าไหร่ จะทำ�ให้ จะชว่ ยปลอบประโลมใหผ้ ู้ใชผ้ อ่ นคลายจากความเครยี ดและ การเรียนรู้เป็นเร่ืองง่ายขึ้นขนาดไหน นอกจากน้ีนักวิจัยยัง ความเหงาได้ คาดว่าในอนาคตอุปกรณ์เหล่านี้จะสามารถนำ�ไปต่อยอดใน อกี หนง่ึ เทคโนโลยที น่ี า่ ตน่ื ตาไปไมแ่ พก้ นั คอื “ถงุ มอื จบั ของ การแพทย์รวมถงึ การทำ�กายภาพบำ�บัดอกี ดว้ ย ในโลกเสมอื น” ทพี่ ฒั นาโดยนกั วทิ ยาศาสตรจ์ ากมหาวทิ ยาลยั เรยี บเรยี งจาก : https://www.beartai.com/news/sci-news/505687 (#beartai) ธันวาคม 2563 24

grSIanpcfohiic 25 ธันวาคม 2563

grSIanpcfohiic ธนั วาคม 2563 26

grSIanpcfohiic 27 ธันวาคม 2563

สAาpรpะ แนะนำ�แอปดี มคี วามรู้ ThaiJO 2.0 : Thai Journals Online วารสารวชิ าการ (Academic/Research Journal) เปน็ ชอ่ งทางการน�ำ เสนอผลงานทางวชิ าการ ของ นักเรียน นักศกึ ษา อาจารย์ นักวิจัย และนกั วชิ าการในสาขาตา่ งๆ ส�ำ หรบั ประเทศไทยมีระบบบรกิ ารวารสาร อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์กลางของประเทศ คอื ระบบ ThaiJO หรอื Thai Journals Online ท่เี ปน็ แหลง่ รวมวารสาร วิชาการที่ผลิตในประเทศไทยทุกสาขาวิชา ทั้งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ ปัจจบุ ันมีวารสารที่อยูใ่ นระบบฯ กว่ารอ้ ยละ 80 ของวารสารทง้ั หมดในประเทศไทย ด้วยความร่วมมือของสองหน่วยงานระหว่างศูนย์ดรรชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) ซ่ึงมีภารกิจ โดยตรงในการยกระดับคุณภาพวารสารไทยกับศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ไดร้ ว่ มกนั พฒั นาและปรบั ปรงุ ระบบสู่ ThaiJO 2.0 โดยพฒั นามาจากซอฟตแ์ วร์ Open Journal System (OJS) ซง่ึ เปน็ โอเพนซอรส์ ซอฟตแ์ วรท์ ไ่ี ดร้ บั ความนยิ มทวั่ โลก น�ำ มาปรบั ปรงุ แกป้ ญั หาขอ้ บกพรอ่ ง ต่างๆ ของระบบเดิมให้สามารถรองรับข้อมูลวารสารทั้งประเทศได้ เพิ่มกระบวนการให้สมบูรณ์สอดคล้อง กับการทำ�งานของทีมบรรณาธิการวารสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผนวกกระบวนการตรวจความซ้ำ�ซ้อน (plagiarism checking) ด้วยระบบ CopyCatch ไวใ้ น ThaiJo2.0 ด้วย จดุ เด่นของ ThaiJO 2.0 - การบริหารจัดการระบบท่ีส่วนกลาง ไม่เป็นภาระ ของทีมบรรณาธิการวารสาร - มกี ระบวนการตรวจสอบความซ�้ำ ซอ้ น (Plagiarism Checking) ในระบบ โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื CopyCatch ใหข้ อ้ มลู แกบ่ รรณาธกิ ารเพอ่ื สนบั สนนุ การพจิ ารณา คุณภาพบทความ - ยกระดบั การยอมรบั วารสารดว้ ยการประเมนิ คณุ ภาพ วารสารวชิ าการนนั้ เวบ็ ไซตท์ ไี่ ดม้ าตรฐาน ถอื เปน็ เกณฑ์หลักของทุกฐานข้อมูลวิชาการ ทั้งภายใน ประเทศ (Thai Citation Indexed) หรือระดับ นานาชาติ เชน่ Scopus, Web Of Science - ตอบโจทย์การมีเว็บไซต์ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ของวารสารวชิ าการไทย เนื่องจากท่ีผา่ นมา ดว้ ย ข้อจำ�กัดเรื่องงบประมาณและบุคลากร ทำ�ให้มี วารสารจ�ำ นวนไมม่ ากนกั ทม่ี เี วบ็ ไซตท์ ไี่ ดม้ าตรฐาน ของตัวเอง ใชง้ านระบบได้ท่ี ติดตามข่าวสารและกิจกรรม https://www.tci-thaijo.org/ อบรม หรือสอบถามเพมิ่ เตมิ Facebook: https://www.facebook.com/ThaiJo2.0/ ธันวาคม 2563 28

รวอ้ ทิ ยยพานั รวศิ ทศั คร รวิศ ทศั คร เคยเป็นกรรมการบรหิ ารและสมาชกิ ทมี บรรณาธิการวารสารทางชา้ งเผือก สมาคมดาราศาสตร์ไทย เคยท�ำ งานเปน็ นักเขยี น ประจำ�นติ ยสาร UpDATE นติ ยสารวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของบรษิ ทั ซีเอ็ดยูเคชนั่ (มหาชน) จ�ำ กัด ปจั จบุ ันรับราชการ เปน็ อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมล็ดเจีย อาหารแสนมหัศจรรย์ ในประวตั ศิ าสตรม์ หี ลกั ฐานปรากฏวา่ มกี ารใชเ้ มลด็ เจยี กบั เมลด็ ถวั่ ขา้ วโพด และผกั โขม โดยกลมุ่ วฒั นธรรมในแถบอเมรกิ ากลาง อยา่ งชาวแอซเทก็ และมายนั ในการเตรยี มยา พนื้ บา้ นและอาหาร ในสงั คมของอเมรกิ ากลางกอ่ นการมาถงึ ของโคลมั บสั นน้ั เจยี เปน็ พชื เกษตรชนิดหลักอยา่ งท่สี องรองจากถั่วทเี ดยี ว ในชุมชนต่างๆ ของชาวแอซเท็ก นั้นใช้เจียเปน็ อาหาร เครื่องส�ำ อาง และประกอบพิธกี รรมด้านศาสนา 29 ธันวาคม 2563

รวอ้ ทิ ยยพานั ในปัจจุบันเจียไม่ได้ปลูกอยู่แต่ใน ของไขมันทั้งหมด ซ่ึงปริมาณของกรด ถั่วลันเตา(25%) ถั่วลูกไก่หรือถ่ัว ประเทศแถบอเมรกิ ากลางอยา่ ง ไขมันชนิดไม่อ่ิมตัวที่มีพันธะคู่หลายอัน หัวช้าง (21%) นอกจากน้ีเส้นใยอาหาร เมก็ ซโิ ก และกวั เตมาลาเทา่ นน้ั แตย่ งั ปลกู (polyunsaturated fatty acids, PUFAs) (18–30%) ท่ีมียังมีศักยภาพท่ีจะนำ�ไป ในออสเตรเลีย โบลิเวีย กัมพูชา เปรู จะมีการแปรผันไปขึ้นกับอุณหภูมิของ ใช้งานในการผลิตอาหารฟังก์ชัน (func- อาร์เจนตินา อเมริกา และยุโรปอีกด้วย สถานทีป่ ลูก tional food) อีกด้วย โดยเมล็ดเจียกับ โดยมีประเทศเม็กซิโกถือเป็นประเทศ ประโยชนข์ องกรดไขมนั โอเมกา3มตี อ่ นำ้�มันของเมล็ดเจียจะมีปริมาณสารต้าน ผู้ผลิตเจยี รายใหญ่ทส่ี ุดของโลก รา่ งกายมนษุ ยค์ อื ชว่ ยลดระดบั กลเี ซอไรด์ อนุมูลอิสระตามธรรมชาติในปริมาณมาก คำ�ว่า Chia มาจากคำ�ในภาษาสเปน และคอเลสเตอรอลตา้ นการอกั เสบปกปอ้ ง กลุ่มสารทพี่ บ อาทิ โทโคฟีรอล (tocoph- ว่า “Chian” ซึ่งหมายถึงการมนี ำ�้ มันมาก หวั ใจ ปอ้ งกนั ความเสยี หายตอ่ ตบั ตอ่ ตา้ น erols) ไฟโตสเตอรอล (phytosterols) เพราะเมล็ดเจียถือเป็นเมล็ดพืชให้นำ้�มัน เบาหวาน และป้องกันมะเร็ง ข้ออักเสบ แคโรทีนอยด์(carotenoids) และ ทม่ี ปี รมิ าณน�ำ้ มนั มาก (30–40% เทยี บกบั โรคภมู คิ มุ้ กนั ท�ำ ลายตวั เอง ในขณะทก่ี รด สารประกอบในกลุ่มพอลิฟีนอล (poly- น้ำ�หนักแห้ง) โดยนอกจากมีวิตามิน ไขมันโอเมกา 6 กม็ ีผลในการตอ่ ต้านการ phenolic compounds) (เอ บี เค อี และดี) แลว้ ยงั อดุ มไปดว้ ย อกั เสบ ความดนั โลหติ สงู ปอ้ งกนั กจิ กรรม ส า ร ก ลุ่ ม พ อ ลิ ฟี น อ ล น้ี เ ป็ น ก ลุ่ ม กรดไขมันไมอ่ ิม่ ตวั ซ่งึ ในสว่ นของไขมันน้ี ต่างๆ ท่ีจะทำ�ให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันและ สารประกอบที่มีโครงสร้างซับซ้อนที่มี หลกั ๆ จะเปน็ กรดไขมนั โอเมกา 3 รอ้ ยละ มะเรง็ [1] ความส�ำ คญั มากทสี่ ดุ ท่ีใหค้ วามสามารถใน 68 ของไขมันท้ังหมด ซ่ึงสัดส่วนต่อ เจยี มปี รมิ าณคาร์โบไฮเดรต 26–41% การตอ่ ตา้ นอนมุ ลู อสิ ระใหแ้ กเ่ มลด็ เจยี ซงึ่ น้ำ�หนักสูงกว่าท่ีมีในปลาแซลมอนถึง และมีปริมาณโปรตีน 15–25% ซ่ึง มีความสามารถในการกำ�จัดอนุมูลอิสระ 8 เทา่ และกรดไขมนั โอเมกา 6 รอ้ ยละ 19 เหมือนกับท่ีมีในถ่ัวเลนทิล (23%) จับประจุอิออนต่างๆ และให้ไฮโดรเจน ธนั วาคม 2563 30

รวอ้ ทิ ยยพานั สารประกอบแอนตอิ อกซแิ ดนตช์ นดิ ตา่ งๆ เมลด็ บด แปง้ จากเมลด็ เจยี น�้ำ มนั และเจล และสารจบั ประจหุ รอื สารคเี ลต (chelator) ยังลดความเส่ียงเกี่ยวกับโรคเร้ือรังต่างๆ ในปี พ.ศ. 2543 ตามขอ้ แนะน�ำ การบรโิ ภค ซึ่งสารในกลุ่มนี้นอกจากเมือกเมล็ดเจีย ท้ังมะเร็งและภาวะหัวใจขาดเลือด หรือ อาหารของสหรฐั มกี ารเสนอแนะให้ใชเ้ จยี แล้ว ยังมีสารที่มีลักษณะคล้ายกันอีก หวั ใจวาย และยงั ปอ้ งกนั โรคบางชนดิ เชน่ เป็นแหล่งอาหารหลัก แต่ใช้ในปริมาณ หลายชนิด มีการใช้งานด้านต่างๆ ท้ัง เบาหวาน อัลไซเมอร์ และพารก์ นิ สนั อีก จ�ำ กดั โดยแนะใหร้ บั ประทานไมเ่ กนิ วนั ละ ทางด้านการเกษตรสำ�หรับจับธาตุอาหาร ด้วย [1] 48 กรัม ส�ำ หรบั ปยุ๋ พชื ในดา้ นการแพทย์ใชส้ �ำ หรบั นอกจากมีสารกลุ่มพอลิฟีนอลสูง เมื่อเรานำ�เมล็ดเจียไปแช่ในนำ้� มัน การล้างพษิ โลหะหนักในกระแสเลือด เมล็ดเจียยังมีข้อดีอีกคือท่ีไม่มีสารพิษ จะปลดปล่อยเอาเมือกที่เรียกว่า chia ในอุตสาหกรรมอาหารนั้น เมือก จากเชื้อราและไม่มีกลูเตน ซึ่งผู้บริโภค mucilage (CM) ออกมา เมอื กนมี้ ลี กั ษณะ เมล็ดเจียใช้เป็นตัวรักษาเสถียรภาพของ บางส่วนมีอาการแพ้ และยังมีปริมาณ เป็นเจลที่ประกอบไปด้วยใยอาหารท่ีมี โฟม สารช่วยแขวนตะกอน สารอิมัลซิ แคลเซยี มมากกวา่ ขา้ ว ขา้ วบาเลย์ ขา้ วโพด ส่วนที่ละลายน�้ำ ได้ และคิดเป็นร้อยละ 6 ไฟเออร์ (emulsifying activity index, และขา้ วโอต๊ ของเมล็ด เจลท่ีกอ่ ตวั ออกมาจากเมลด็ นี้ EAI) สารยึดติด (adhesives) สารช่วย ในอุตสาหกรรมอาหารนั้น เมล็ดเจีย มกี ารน�ำ ไปใชง้ านมากมายในอตุ สาหกรรม ยดึ เกาะ (binders) เนอ่ื งจากความสามารถ อาจใชง้ านได้ในหลายรปู แบบ ใชท้ งั้ เมลด็ อาหาร เชน่ เปน็ สารท�ำ ใหข้ น้ สารกอ่ เจล ในการอมุ้ น�้ำ และความหนดื ของมนั ซง่ึ มนั สามารถอุ้มน้ำ�ได้มากกว่านำ้�หนักของตัว รูปที่ 1 ภาพถ่ายเมล็ดเจียหลังจากแช่น้ำ� (ภาพ 1b และ c) เมือกของเมล็ดในสภาพที่อิ่มน้ำ�อย่าง มันเองถึง 12 เท่า นอกจากน้ีเมือกเจีย เต็มที่มีลักษณะเป็นแคปซูลใสหุ้มรอบเมล็ด มีความหนาประมาณ 414 ไมครอน ซึ่งจะมีความหนา ยงั ใชเ้ ป็นสารเคลอื บท่ปี รับปรุงสมบัตเิ ชงิ สูงสุด หลังแช่ราว 2 ชั่วโมง เมื่อใช้สีย้อมจะสังเกตเห็นชั้นเมือกหุ้มเมล็ดแบ่งเป็นสองชั้น ชั้นใน หนา้ ทตี่ า่ งๆ ใหด้ ขี น้ึ ไดก้ วา่ สารเคลอื บชนดิ ก่อตัวขึ้นจากโครงสร้างที่มีลักษณะคล้ายกิ่งก้าน ส่วนด้านนอกจะเป็นชั้นที่เป็นเนื้อเดียวกันและมี เดมิ ๆ อีกดว้ ย ดัชนีชีค้ วามสามารถในการ ความขุ่น (ภาพ d) ( ที่มา : [5] ) เปน็ อมิ ลั ซไิ ฟเออรม์ คี า่ ต�่ำ เมอื กเมลด็ เจยี แสดงความสามารถในการเพมิ่ เสถยี รภาพ ของอิมัลชันอย่างมีนัยสำ�คัญ อย่างไร ก็ตามความสามารถของมันน้ันจะได้รับ ผลกระทบจากองค์ประกอบของอิมัลชัน น้ันๆ ด้วย การที่เมือกเจียสามารถทำ�ให้ อิมัลชันมีความเสถียรมากขึ้นได้อาจ เนื่องจากความสามารถในการดูดซับใน พน้ื ผวิ สมั ผสั ระหวา่ งวฏั ภาคทงั้ ในของแขง็ กับของเหลว และทำ�ให้อิมัลชันเสถียร โดยไม่มีการเปล่ียนแปลงทางเคมีหรือ เอนไซม์ เมอื กจากเมลด็ เจยี นนั้ เปน็ แหลง่ พอลแิ ซก็ คาไรดแ์ บบใหมซ่ ง่ึ อาจใหส้ ว่ นผสม พอลเิ มอรท์ น่ี า่ สนใจส�ำ หรบั ใชท้ �ำ ฟลิ ม์ และ สารเคลือบท่ีรับประทานได้ ซ่ึงอาจนำ�ไป 31 ธนั วาคม 2563

รวอ้ ทิ ยยพานั ใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ที่เป็นสารสังเคราะห์ ขนมปังและเค้กได้ เพื่อช่วยลดปริมาณ แต่ฟิล์มท่ีได้นั้นมีลักษณะบางและเปราะ ไขมนั ในสตู รสว่ นผสมลงโดยไมก่ ระทบตอ่ แตกง่าย จึงอาจใช้กลีเซอรอลเป็นสาร ลักษณะต่างๆ ของผลิตภัณฑ์แต่เดิมที่มี พลาสติไซเซอร์เพ่ือช่วยด้านคุณสมบัติ ไขมันมากอีกด้วย [3] เน่ืองจากมีสมบัติ ทางกายภาพ ซึ่งสมบัติการละลายนำ้�จะ ท่ีไม่ชอบนำ้�จึงใช้เป็นตัวแทนของไข่และ เพมิ่ ขน้ึ หากมีการเติมกลเี ซอรอลลงไป ไขมนั ได้ โดยอาจใชท้ ดแทนไขใ่ นสว่ นผสม ปัจจุบันมีการศึกษาเพ่ือนำ�เอาเมือก สตู รอาหารได้ถงึ รอ้ ยละ 25 เมลด็ เจยี เตมิ เขา้ ไปในผลติ ภณั ฑ์ไสก้ รอก สำ�หรับการนำ�เมล็ดเจียมาประกอบ โดยพบว่าสามารถลดปริมาณฟอสเฟตท่ี อาหารน้ัน มีข้อสังเกตประการหนึ่งคือ จะเติมลงไปในไส้กรอกโบโลญญาลงไป หากต้องการประโยชน์อย่างเต็มเม็ดเต็ม ได้ถึงร้อยละ 50 โดยเตมิ ในปริมาณเพียง หน่วย ไม่ควรใช้ความร้อนเกนิ 90 องศา 2% โดยนำ้�หนักเท่าน้ัน [2] เมือกเมล็ด เซลเซียส เนื่องจากมีผู้ศึกษาเอาไว้ [4] เจยี ยงั สามารถเตมิ ลงในผลติ ภณั ฑจ์ �ำ พวก วา่ หากท�ำ การแปรรปู เมลด็ เจยี ดว้ ยการใช้ รูปที่ 2 ภาพถ่ายผ่านกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน(SEM) แสดงเมล็ดเจีย (a) เมล็ดเจียที่แช่น้ำ�จน ความร้อนท่ี 90, 120, 150 และ 180 oC พองแล้ว และทำ�ให้แห้งอีกครั้ง จะเห็นเมือกเป็นฟิล์มบางหุ้มรอบเมล็ด (b-d) แสดงให้เห็นถึงโครงสร้าง พบว่าทอี่ ณุ หภมู ิสูงขน้ึ ค่าปรมิ าณโปรตีน รูปหกเหลี่ยม(hexagonal structure) เยื่อเมมเบรนที่เป็นเมือกแห้งบนพื้นผิวเมล็ด (e) และ (f) ที่จุด รวมและเถ้าจะเพ่ิมข้ึน แต่ปริมาณสาร ใจกลางของโครงสร้างหกเหลี่ยม แสดงให้เห็นถึงฐานของส่วนคอลัมเมลลา(columella) ( ที่มา : [5] ) ฟนี อลกิ ฟลาโวนอยด์ คาโรทนี อยด์ และคา่ แอนติออกซิแดนต์แอกทิวิตี กลับมีค่า ลดลง โดยสารฟนี อลกิ ทมี่ มี ากในเมลด็ เจยี ไดแ้ ก่ myrcetin และกรด rosmarinic 3, 4-dihydroxybenzoic, caffeic, และ gallic acid จะลดลงเมอ่ื อณุ หภมู กิ ารแปรรปู เพมิ่ มากขนึ้ ท้งั น้นั กรดไขมนั อยา่ ง linolenic, linoleic และกรด oleic จะลดลง รวมถงึ สารประกอบในกลุ่มของวิตามินอีอย่าง tocopherols และ tocotrienols จะลดลง เชน่ กัน เม่ือทราบว่าเมล็ดเจียมีประโยชน์ ขนาดน้ีแล้ว จะรอช้าไปใย มาทำ�พุดดิง เมล็ดเจยี (chia pudding) ทานกนั ดีกว่า ลองท�ำ ตามกนั เลยครับ ธันวาคม 2563 32

รวอ้ ทิ ยยพานั สตู รพดุ ดิงเมลด็ เจยี แสนอรอ่ ย สตู รเร่มิ ตน้ 3 ชอ้ นโต๊ะ 1 ชอ้ นโต๊ะ เมลด็ เจีย 1 ชอ้ นชา นำ้�เช่อื มเมเปลิ หรอื สารให้ความหวานตามชอบ ¾ ถว้ ย (อาจใชส้ ารสกดั หญ้าหวานที่มีขายบรรจขุ วดส�ำ เรจ็ รปู ) วานลิ ลา นมชนิดท่คี ณุ ชอบ (อาจใชน้ ้�ำ กะทิ นำ�้ นมถัว่ เหลือง นำ�้ นมเม็ดมะม่วงหิมพานตห์ รอื น้ำ�นมเมล็ดอัลมอนด์ แทนนมววั ก็ได)้ วิธที �ำ ผสมสว่ นผสมต่างๆ ในชาม ท้ิงไว้ให้อยูต่ วั อยา่ งนอ้ ย 15 นาที หรือ หากจะให้ดีในหลายสูตรจะแช่เย็นเอาไว้ 6 ชั่วโมงขึ้นไป เพ่ือให้เมล็ดเจีย พองตวั เมอ่ื ขน้ แลว้ กวนผสมอกี ครง้ั และเตมิ น�ำ้ นมลงไปเพม่ิ เลก็ นอ้ ยตามชอบ โรยเครื่องแตง่ หนา้ ทคี่ ณุ ชอบลงไป เช่น เมลด็ อัลมอนดป์ ่น วอลนตั ป่น หรอื อืน่ ๆ ตามชอบ เท่าน้กี จ็ ะไดพ้ ุดดงิ เมล็ดเจยี ท่ีนา่ รบั ประทานแลว้ หากยงั ไมจ่ ุใจ คณุ ผู้อา่ นอาจลองท�ำ ตามสตู รอน่ื ๆ อกี เช่น 33 ธนั วาคม 2563

รวอ้ ทิ ยยพานั สูตรผสมผิวเลมอนและราสป์เบอรร์ ี เมลด็ เจีย 3 ช้อนโตะ๊ น้�ำ เชอื่ มเมเปลิ 1 ช้อนโต๊ะ ผวิ มะนาวเลมอน 1 ลูก น�้ำ นมอัลมอนด ์ 2/3 ถว้ ย ราสป์เบอรร์ ีสด ¼ ถว้ ย วธิ ีท�ำ ผสมเมล็ดเจยี นำ�้ เช่อื มเมเปลิ นมอัลมอนด์ และผวิ เลมอนเข้าดว้ ยกนั ทง้ิ ไวอ้ ย่างน้อย 15 นาที หรือทิ้งไว้คา้ งคนื จากน้นั เมือ่ จะรับประทาน ใหน้ �ำ ผล ราสปเ์ บอร์รใี สล้ งไปก้นถ้วย ใช้ช้อนบดใหล้ ะเอยี ดตามตอ้ งการ แล้วตกั พุดดิง เมลด็ เจยี เติมลงไปขา้ งบน แล้วโรยผวิ เลมอนเพ่ิมตามชอบ แหลง่ ขอ้ มูล 1. Knez Hrnčič, M., Ivanovski, M., Cör, D., & Knez, Ž. (2019). Chia Seeds (Salvia Hispanica L.): An Overview—Phytochemical Profile, Isolation Methods, and Application. Molecules, 25(1), 11. doi:10.3390/molecules25010011 2. Câmara, A.K.F.I., Vidal, V.A.S., Santos, M., Bernardinelli, O.D., Sabadini, E., Pollonio, M.A.R. (2020). Reducing phosphate in emulsified meat products by adding chia (Salvia hispanica L.) mucilage in powder or gel format: A clean label technological strategy. Meat Science, 163, 108085. https://doi. org/10.1016/j.meatsci.2020.108085 3. Fernandes, S. S., & Salas-Mellado, M. de las M. (2017). Addition of chia seed mucilage for reduction of fat content in bread and cakes. Food Chemistry, 227, 237–244. doi:10.1016/j.foodchem.2017.01.075 4. Ghafoor, K., Ahmed, I. A. M., Musa Özcan, M., Al-Juhaimi, F. Y., Babiker, E. E., & Azmi, I. U. (2020). An evaluation of bioactive compounds, fatty acid composition and oil quality of chia (Salvia hispanica L.) seed roasted at different temperatures. Food Chemistry, 127531. doi:10.1016/j. foodchem.2020.127531 5. Muñoz, L. A., Cobos, A., Diaz, O., & Aguilera, J. M. (2012). Chia seeds: Microstructure, mucilage extraction and hydration. Journal of Food Engineering, 108(1), 216–224. doi:10.1016/j.jfoodeng.2011.06.037 ธันวาคม 2563 34

สภากาแฟ ผศ. ดร.ป๋วย อุน่ ใจ ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ผศ. ดร.ปว๋ ย​อุน่ ใจ | http://www.ounjailab.com นักวิจยั ชวี ฟิสิกสแ์​ ละอาจารยป์ ระจ�ำ ภาควชิ าชวี วิทยา​ คณะวิทยาศาสตร​์ มหาวทิ ยาลยั​ มหดิ ล​ นกั สอ่ื สารวิทยาศาสตร์​ นักเขียน​ ศลิ ปนิ ภาพสามมติ ​ิ และผูป้ ระดษิ ฐ​ฟ์ อนต์ไทย​ มคี วามสนใจทัง้ ในดา้ นวทิ ยาศาสตร​์เทคโนโลย​ี งานศลิ ปะและบทกวี แอดมนิ และผ้รู ่วมก่อต้งั ​เพจ​ FB: ToxicAnt​ เพราะทุกสิ่งล้วนเปน็ พิษ โครงสร้างโปรตีน ภาพโครงสร้างโปรตีนจาก DeepMind จากปัญญาประดิษฐ์ เซลล์น้ันหรือ.....ก็คอื ถงุ ไขมัน โครงสร้างบันไดเวียน ห่อหมุ้ สองช้นั .....เก็บสารเคมหี ลากหลาย เกลียวคู่ของเจมส์ ขบั เคลือ่ นชะตา....ด้วยปฏกิ ิริยามากมาย วตั สนั และฟรานซสิ ครกิ ไดเ้ ปดิ ศกั ราช ทั้งหมดเกดิ ข้นึ ได.้ ....เพราะเอนไซมท์ ภ่ี ายใน ใหม่ที่ทำ�ให้เราเข้าใจกลไกที่ง่ายแต่ ทว่างดงามยิ่งในการส่งต่อข้อมูลทาง 35 พันธุกรรมจากรุ่นสู่รุ่น ตั้งแต่การแบ่ง ดีเอ็นเอในระดับเซลล์ ไปจนถึงกลไก การแบ่งเซลล์หรือแม้แต่กระบวนการ ปฏสิ นธใิ นสงิ่ มชี วี ติ ทมี่ คี วามหลากหลาย ธันวาคม 2563

สภากาแฟ หน้าเว็บเพจหลักของ DeepMind ที่ http://www.deepmind.com ! ท่ีจริง ถ้าคุณอยากเข้าใจระบบอะไรที่ ความละเอียดระดบั ให้เห็นอะตอมให้ได้ ของไวรสั กอ่ โรคอยา่ งเชน่ SARS-CoV-2 ! ซับซ้อนมากๆ ส่ิงที่คุณต้องทำ�ก็แค่มอง ข้อมูลโครงสร้างเหล่าน้ันทำ�ให้เรา องค์ความรู้ ในเรื่องของโครงสร้าง เขา้ ไปให้รูว้ ่าอะตอมอยตู่ รงไหน กแ็ คน่ ้นั เข้าใจกลไกต่างๆ ในสิ่งมีชีวิต ต้ังแต่ สามมิติของโปรตีนและเอนไซม์ตา่ งๆ น้นั ศาสตราจารย์ ดร.ริชาร์ด ไฟยน์แมน การสร้างโปรตีนจักรกลนาโนท่ีเรียกว่า ทำ�ให้นักวิทยาศาสตร์สามารถออกแบบ นกั ฟสิ กิ สร์ างวลั โนเบลผทู้ โ่ี ดง่ ดงั ไดก้ ลา่ วไว้ เอนไซมม์ าใช้ในการเรง่ ปฏกิ ริ ยิ าขบั เคลอ่ื น เอนไซม์ใหม่ๆ แอนติบอดีใหม่ๆ หรือ และนนั่ ท�ำ ใหน้ กั วทิ ยาศาสตรม์ ากมาย ทกุ สง่ิ อยา่ งทเ่ี กดิ ขน้ึ ภายในเซลล์ การสง่ สาร ยาใหม่ๆ ท่จี �ำ เพาะเจาะจงมากกับโรคร้าย ทุม่ เทแรงกายแรงใจเพอ่ื คน้ หาโครงสร้าง ติดต่อกับโลกภายนอกผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ จนแทบไมส่ ง่ ผลขา้ งเคยี งอะไรเลยกบั ผปู้ ว่ ย สามมิติที่ซับซ้อนของโมเลกุลต่างๆ ท่ี ไปจนถึงการควบคุมชะตาชีวิตของเซลล์ ขอ้ มลู เชงิ ลกึ เหลา่ น้ีหลายๆคนถอื เปน็ ภายในส่ิงมชี วี ิต ขอ้ มลู ลบั ระดบั พนั ลา้ นดอลลาร์ ทน่ี กั พฒั นา หรอื แมแ้ ตก่ ระบวนการเขา้ ยดึ ครองเซลล์ ยาและเภสัชภณั ฑ์ตา่ งๆ หวงแหน เพราะ ธันวาคม 2563 36

สภากาแฟ รายละเอียดเพียงเล็กน้อยอาจจะส่งผล การพัฒนาเทคนิคแยกบริสุทธิ์และ แต่ต้นทุนทางอินฟราสตรักเจอร์ของ ให้ยาบางตัวออกฤทธิ์ได้ดีกว่ายาตัวอ่ืน การตกผลึกโปรตีนที่ยากแสนยาก แหล่ง ทงั้ สองเทคโนโลยนี น้ี นั้ แพงมหาศาล หลกั จนเอาชนะได้ ในเกมการแข่งขันแสน ก�ำ เนดิ แสงขนาดมหมึ าจนจสุ นามฟตุ บอล หลายพนั ลา้ นบาททต่ี อ้ งทมุ่ ลงไป แนน่ อน ดุเดือดท่ีมีชีวิตคนและเม็ดเงินจำ�นวน เข้าไปได้สบายๆ อย่างซินโครตรอน ท่ีสุด ในหลายประเทศท้ังสหรัฐอเมริกา มหาศาลเป็นเดมิ พัน ไซโครตรอน หรอื บวี าตรอน จงึ ไดถ้ กู กอ่ ตงั้ ยโุ รป จีน เกาหลี ญ่ีป่นุ สงิ คโปร์ ตา่ งก็ ในวงการธรุ กจิ การปรบั แตง่ โครงสรา้ ง ขึ้นมาเพ่ือตอบโจทย์ในการหาโครงสร้าง ลงทนุ งบประมาณกอ้ นใหญด่ ว้ ยความหวงั เอนไซม์ให้มีความเสถียรมากข้ึน ทนขึ้น โมเลกุลด้วยหลักการทางผลึกศาสตร์ ท่ีว่าโครงสร้างเอนไซม์ท่ีมีความสำ�คัญใน อาจจะดเู หมอื นไมม่ อี ะไร แตก่ ารไดเ้ ปรยี บ (crystallography) เชงิ เศรษฐกจิ เชน่ เอนไซมท์ เี่ ปน็ เปา้ หมาย เพยี งเลก็ นอ้ ยน้ี อาจสรา้ งผลตา่ งใหญห่ ลวง และเม่ือไม่นานมานี้เองก็มีข่าวดี ของยาต้านเช้ือก่อโรค หรือเอนไซม์ที่มี ในด้านการผลิตสารออกฤทธิ์ในระดับ อีกข่าวหนึ่งจากนักวิทยาศาสตร์และนัก บทบาทส�ำ คญั ในเชงิ อตุ สาหกรรมเพยี งแค่ อตุ สาหกรรม พัฒนาเทคโนโลยี นนั่ ก็คือเทคโนโลยกี าร ไมก่ ต่ี วั กจ็ ะสง่ ผลใหเ้ กดิ การสรา้ งผลติ ภณั ฑ์ เ ม็ ด เ งิ น ที่ ป ร ะ เ ท ศ ที่ พั ฒ น า แ ล้ ว สร้างภาพสุดลำ้�โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ และนวัตกรรมท่ีออกมานำ�ตลาดทำ�กำ�ไร ไ ด้ ล ง ทุ น ไ ป กั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง พื้ น ฐ า น อิเล็กตรอนถ่ายภาพที่อุณหภูมิเยือกแข็ง ได้อย่างเป็นกอบเป็นกำ� คุ้มค่ากับ (infrastructure) เพ่ือการหาโครงสร้าง ยง่ิ ยวด (cryoEM) หรอื cryogenic electron งบประมาณท่ลี งไป สามมิติของโปรตีนและเอนไซม์ท่ีสำ�คัญ microscopy ก็ประสบความส�ำ เร็จในการ อย่าลืมว่ารายละเอียดเพียงเล็กน้อย นน้ั จึงบอกไดค้ ำ�เดียวว่าสุดประมาณ ถา่ ยภาพโปรตนี ใหเ้ หน็ ได้ในระดบั อะตอม อาจจะสร้างผลต่างในเชิงเศรษฐกิจอย่าง มหาศาล ไม่นับในเรื่องของผู้เช่ียวชาญ ! ที่จะเกิดข้ึนในประเทศที่จะมาช่วยพัฒนา นวตั กรรมและเทคโนโลยตี อ่ ยอดตอ่ ไปดว้ ย เว็บไซต์การแข่งขันการทำ�นายโครงสร้างสามมิติของโปรตีน CASP14 แนน่ อนวา่ เทคโนโลยกี ารหาโครงสรา้ ง สามมิตินั้น ต้องอาศัยผู้เช่ียวชาญ ที่มีประสบการณ์สูง อีกทั้งยังต้องใช้ งบประมาณมากมาย แถมโครงสร้างท่ีได้ เปน็ แค่ snapshot หรือโครงสร้างภาพน่งิ ที่ยังยากที่จะการันตีความถูกต้องแม่นยำ� ของโครงสร้างน้นั ได้ นักวิจัยด้านชีววิทยาเชิงโครงสร้าง ก็เลยได้จัดตั้งการประกวดการทำ�นาย โครงสร้างของโปรตีนในคอม ที่เรียกว่า CASP หรอื วา่ Critical Assessment of Protein-Structure Prediction ข้ึนมา ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2537 เพ่ือให้นักวิจัยและ ผู้สนใจทั่วโลกน้นั ได้พัฒนาเทคนิคในการ 37 ธันวาคม 2563

สภากาแฟ ออกแบบวิธีการทำ�นายโครงสร้างสามมิติ พันธุศาสตร์เช่นลำ�ดับกรดอะมิโน เพื่อ เราตง้ั ใจจะทำ�ให้อลั ฟาโฟลดม์ ีประโยชน์ ของโปรตีนอยา่ งแมน่ ย�ำ ข้นึ มา ท�ำ นายระยะหา่ งระหวา่ งกรดอะมโิ นแตล่ ะ สงู สดุ กับนักวทิ ยาศาสตร์ท่ีสนใจอยาก เป็นข่าวใหญ่ท่ีพ่ึงออกมาสะเทือน คู่ในโปรตีน และในขน้ั ตอ่ มา อลั ฟาโฟลด์ จะใช้มนั อันทีจ่ รงิ เราพง่ึ จะเรมิ่ เห็นภาพ วงการชวี วทิ ยาและชวี เคมี เมอื่ อลั ฟาโฟลด์ จะเอาข้อมูลทุกอย่างมาวิเคราะห์เพื่อ ชดั วา่ นกั ชวี วิทยาอยากไดอ้ ะไร แน่นอน (Alpha fold) ปญั ญาประดษิ ฐจ์ ากโครงการ สร้างแบบจำ�ลองสามมิติขึ้นมาท่ีจะบอก ว่าการบุกเบกิ ยา และการออกแบบ DeepMind ของกูเกิลสามารถทำ�นาย ได้วา่ โปรตนี ต่างๆ นั้นมโี ครงสร้างสามมติ ิ โปรตนี คงเปน็ การต่อยอดทชี่ ัดเจน โครงสรา้ งสามมติ ขิ องโปรตนี ไดด้ ว้ ยความ เป็นอย่างไร โดยจะโฟกัสท่ีโครงสร้าง เดมสิ แฮสซาบสิ ผรู้ ว่ มกอ่ ตงั้ และหวั หนา้ แม่นยำ� ขนาดที่บอกได้ว่าอะตอมไหน สุดทา้ ยทด่ี ีทส่ี ุดที่สรา้ งขึ้นมาได้ ผ้บู ริหาร DeepMind ใหส้ มั ภาษณ์ น่าจะอยู่ตรงไหนในโมเลกลุ แอนเดร ลูปาส (Andrei Lupas) การท�ำ นายของทมี DeepMind เขา้ ไป นั ก ชี ว วิ ท ย า วิ วั ฒ น า ก า ร จ า ก ส ถ า บั น เดมิส แฮสซาบิส หัวหน้าทีมผู้บริหารและหนึ่ง แขง่ ใน CASP ภายใตช้ อ่ื กลมุ่ 427 (group มักซพ์ ลงั ก์เพื่อชวี วิทยาพฒั นาการ (Max ในผู้ร่วมก่อตั้ง DeepMind 427) ท่ีน่าตื่นเต้นก็คือ 2/3 ของแบบ Planck Institute for Developmental จำ�ลองท่ี DeepMind AlphaFold ส่งไป Biology) ในเมือง Tübingen ประเทศ แข่งน้ัน ดันมีความเหมือนมากๆ กับ เยอรมนี เปิดเผยว่า สำ�หรับโปรตีน โครงสร้างโปรตีนที่มาจากการทดลองที่ ชนิดหนึ่งจากแบคทีเรียที่ทีมวิจัยของ เขาเตรียมไว้เป็นโจทย์ เช่น ข้อมูลจาก เขาสนใจ และใช้เวลานับทศวรรษกว่า ผลกึ หรือจาก cryoEM จะผลิต แยกบริสุทธ์ิ ตกผลึก และ โดยปกตแิ ลว้ ถา้ นบั ความถกู ตอ้ ง โดย ประกอบรา่ งสรา้ งขน้ึ มาจนเปน็ โครงสรา้ ง เปรยี บเทยี บกบั โครงสรา้ งทถ่ี กู สรา้ งขน้ึ มา สามมิติได้ อัลฟาโฟลด์ใช้เวลาเพียงแค่ แลว้ จากการทดลอง ท่ถี ูกซ่อนไว้เพ่อื เปน็ ครึ่งช่ัวโมงในการทำ�นายโครงสร้างที่ โจทย์ การทำ�นายโดยใช้เทคนิคชีววิทยา สวยงามและมคี วามแมน่ ย�ำ สงู มาก ไมต่ า่ ง เชงิ ค�ำ นวณ (computational biology) นน้ั ไปจากโครงสร้างที่พวกเขาทุ่มเททำ�การ จะไดค้ ะแนนอยใู่ นชว่ งราวๆ 75 เปอรเ์ ซน็ ต์ ทดลองจนแทบกระอักเลือดนานนับ คือมีความแม่นยำ�พอสมควร แต่จะยังมี สบิ ปกี ว่าจะได้มา ความเพ้ียนๆ ของโครงสร้างอยู่บ้าง นค่ี ือจุดพลิกผนั ท่จี ะเปล่ียนการแพทย์ เลก็ นอ้ ย แต่การทำ�นายของอัลฟาโฟลด์ น้ัน เปลย่ี นงานวจิ ัย เปล่ียนวิศวกรรม ได้คะแนนมากถึงราวๆ 90% เลยทีเดียว ชีวภาพ เปลี่ยนทกุ ส่งิ อยา่ ง เมื่อเปรียบเทยี บในโจทย์เดยี วกัน จอห์น จัมเปอร์ (John Jumper) หัวหน้าทีมอัลฟาโฟลด์จาก DeepMind ให้สัมภาษณ์ว่าในข้ันแรก เทคนิคทาง ปัญญาประดิษฐท์ เี่ รยี กวา่ deep learning จะนำ�ไปศึกษาข้อมูลทางโครงสร้างและ ธนั วาคม 2563 38

สภากาแฟ หน้าเว็บเพจของ DeepMind ที่ให้ข้อมูลโครงสร้างโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับโรคโควิด 19 แบบ Opensource แ ล ะ น่ี คื อ ก า ร เ ปิ ด ฉ า ก เ ริ่ ม ต้ น ที่ CASP14 ไม่ไดม้ ีแค่ DeepMind แต่ยงั มี นกั วทิ ยาศาสตร์และนักเทคโนโลยี สวยงามของการนำ�ปัญญาประดิษฐ์มา ไมโครซอฟต์และบริษัทเทคโนโลยีช่ือดัง ดิสรัปชันท่ีจะทำ�ให้เกิดการปฏิรูป ใช้ในทางชีววิทยาเชิงโครงสร้าง และคง สัญชาติจีนอย่างเทนเซนต์ (Tencent) วงการชวี เคมแี ละวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ไม่ต้องบอกว่า DeepMind ไม่ใช่เอกชน อีกดว้ ย ก�ำ ลงั เรม่ิ ขึน้ แล้ว ! เจ้าเดียวท่ีกระโดดลงมาเล่นในสนามน้ี หนทางยังอีกยาวไกล แต่หนทาง เพราะผู้เข้าร่วมการแข่งขันในสังเวียน ส า ย ใ ห ม่ ช่ า ง ดู ส ว ย ง า ม นั ก สำ � ห รั บ 39 ธนั วาคม 2563

หสอ้ ตัไงทวภยป์ าา่พ ประทีป ด้วงแค คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พังพอนเลก็ Herpestes urva พงั พอนเลก็ เปน็ สตั วผ์ ลู้ า่ ขนาดเลก็ อาศยั ไดเ้ กอื บทกุ สภาพพน้ื ท่ี มกั ออกหากนิ ตามล�ำ พงั โดยมากพบเหน็ ในชว่ งเยน็ หรอื กลางคนื อาหารเปน็ สตั วข์ นาดเลก็ เชน่ หนู นก สตั วเ์ ลอ้ื ยคลานโดยเฉพาะงู ออกลกู ตามโพรงไมห้ รอื โพรงดนิ ครง้ั ละประมาณ 2-4 ตวั ธันวาคม 2563 40

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ สาระวิทย์ ในศลิ ป์ 14 วริศา ใจดี (ไอซ)ี เดก็ สาย(พนั ธ)์ุ วิทยส์ านศลิ ป์ ชอบเรียนคณิตศาสตรแ์ ละฟสิ กิ ส์ สนใจเรื่องเกย่ี วกับอวกาศ และสัตวเ์ ลีย้ งตัวจ๋ิว เวลาว่างชอบทำ�งานศิลปะ กำ�ลงั ค้นหาสตู รผสมทล่ี งตัวระหว่างวิทยก์ ับศิลป์ Facebook : I-see Warisa Jaidee ท่องอวกาศกบั กล้องโทรทรรศนแ์ บบโรโบตกิ ตอนท่ี 3 เดนิ ทางมาถงึ ตอนสดุ ทา้ ยของการ ธนั วาคม 2563 ท่องอวกาศกับกล้องโทรทรรศน์ แบบโรโบติก โดยเป็นเรื่องเก่ียว กับกิจกรรม Image of the month ของ NSO (National School’s Observatory) ท่เี ปดิ โอกาสให้ทุกคนที่สนใจ สามารถ ส่งภาพที่ตนเองปรับแต่งแสงสี โดยใช้ซอฟต์แวร์ LTImage นเี้ ขา้ ร่วมประกวดชิงตำ�แหน่งภาพเด่น ประจำ�เดอื น 41

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ โดยภาพที่ไดร้ ับเลอื กก็จะถูกโพสต์ลงในเว็บไซต์ของ NSO ไปเลย และถา้ ผู้ชนะพ�ำ นกั อาศยั อยู่ในสหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์ จะไดร้ บั รางวลั เพมิ่ เตมิ เปน็ เฟรมแคนวาสของภาพทตี่ นสง่ ไป วธิ กี ารสง่ กค็ อื โพสตภ์ าพลงในโซเชยี ลมเี ดยี ของ NSO และตดิ แฮช แทก็ #NSO_comp หรอื แชร์ลงในเวบ็ ไซต์ แล้วรอลุ้นรบั รางวลั กันทุกๆ ส้ินเดือนไดเ้ ลย ตัวอย่างภาพที่เคยได้รางวัลประจำ�แต่ละเดือนที่ผ่านมาในปี พ.ศ. 2563 ภาพ Messier 27 (M27; Dumbbell Nebula) ทั้งสองภาพเป็นภาพของ M27; Dumbbell Nebula หรือ เนบิวล่าดัมบ์เบลล์ ภาพทางซ้ายเป็นภาพที่ได้รับรางวัลเดือนพฤษภาคม ปี พ.ศ. 2562 เจ้าของ ผลงานคือคุณ Guy Wells ส่วนภาพทางขวา ฉันสืบค้นได้มาจากคลังภาพของ National Schools’ Observatory (NSO) เนบิวล่าดัมบ์เบลล์ เป็นอีกหนึ่ง ความสวยงามในอวกาศที่เกิดจากการขยายตัวของดาวฤกษ์และยุบตัวลงเป็นดาวแคระขาวอยู่ตรงใจกลางของเนบิวลาตามวงจรชีวิตดาวฤกษ์มวลต่ำ� เศษซาก ที่กระจายอยู่ภายนอกบริเวณกลุ่มแก๊สคือซากวัตถุที่หลุดออกด้วยแรงระเบิดและล่องลอยออกไปยังอวกาศโดยรอบสร้างรูปร่างคล้ายกับเครื่องยกน้ำ�หนัก เช่นเดียวกัน ดวงอาทิตย์ของเราเองก็กำ�ลังมีอายุมากขึ้นและในอนาคตอีกหลายปีข้างหน้าก็จะดำ�เนินรอยตาม และอาจกลายเป็นเนบิวลาหน้าตาคล้ายๆ กันนี่แหละ ธนั วาคม 2563 42

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ตัวอย่างภาพกาแล็กซีในคลังภาพของ National Schools’ Observatory (NSO) ภาพทั้งสามนี้เป็นภาพ Spiral Galaxy หรือกาแล็กซีทรงกังหัน เหมือนทางช้างเผือกของเรา ยกเว้น NGC 1600 เป็นกาแล็กซีรี (elliptical galaxy) ซึ่งมีสสาร พวกกลุ่มแก๊สระหว่างดวงดาวน้อยกว่ารูปร่างแบบอื่นๆ ทำ�ให้การเกิดของดาวฤกษ์นั้นพบได้น้อยในกาแล็กซีประเภทนี้ จากภาพที่ถ่ายออกมาจะเห็นว่า NGC 1600 อยู่อย่างโดดเดี่ยวแยกออกจากวัตถุอื่นๆ บนท้องฟ้า และที่สำ�คัญคือตรงใจกลางของกาแล็กซีนี้เป็นที่อยู่ของหนึ่งในหลุมดำ�มวลยิ่งยวด (super massive black hole) ขนาดใหญ่มาก ภาพสีแบบ 3-colour imaging ของกาแล็กซี NGC 891 ฉันสร้างโดยเอาไฟล์ภาพทั้ง 3 ภาพ ที่ถ่ายด้วยฟิลเตอร์ R,V และ B จากกล้องโทรทรรศน์ LT มา ประกอบซ้อนกันในซอฟต์แวร์ LTImage และปรับสีระบบ RGB (red,green,blue) สามารถเข้าไปศึกษาวิธีใช้ซอฟต์แวร์ LTImage ได้ที่ https://youtu.be/ WMmx2nHY-Q4 NGC 891 หรือ กาแล็กซีซิลเวอร์ ซิลเวอร์ (Silver Sliver Galaxy) กาแล็กซีในกลุ่มดาวแอนโดรเมดา (Andromeda constellation) นอกจากความสวยงาม ของแสงสีดวงดาวแล้ว ตำ�แหน่งที่อยู่และการวางตัวกาแล็กซียังสร้างมุมมองที่ทำ�ให้เราชาวทางช้างเผือกมองเห็นด้านข้างของมัน (edge-on perspective) ทำ�ให้เราสามารถสังเกตอวกาศในมุมมองที่ต่างออกไป และกาแล็กซีนี้ก็ถูกเลือกให้เป็น First Light Image* ของกล้องโทรทรรศน์ชื่อดังถึงสองตัวด้วยกัน นั่นคือเป็นวัตถุแรกที่ถูกถ่ายด้วย Large Binocular Telescope และ Lowell Discovery Telescope *First light image ของกล้องโทรทรรศน์ คือ ภาพแรกที่ถูกถ่ายด้วยกล้องหลังจากกล้องนั้นถูกสร้างขึ้นมาใหม่ๆ ถึงจะยังได้ภาพที่ไม่ชัดเจนพอที่จะใช้งานได้ แต่นับว่ามีความสำ�คัญ ทางประวัติศาสตร์มากทีเดียว (ข้อมูลจาก https://apod.nasa.gov/apod/ap170112.html) 43 ธนั วาคม 2563

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ภาพนี้เป็นภาพของเนบิวลา IC63 เปรียบเทียบระหว่างภาพถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์ LT ที่เป็นขาวดำ� Credit: National Schools’ Observatory (NSO) และฉันได้ ใช้ซอฟต์แวร์ LTimage ปรับความคมชัดให้ภาพกับภาพที่ถ่ายจากกล้องฮับเบิ้ลที่ได้ปรับแต่งสีแล้ว Credit: ESA/Hubble, NASA เนบิวลา IC63 เป็นที่รู้จักกันในชื่อ the ghost of Cassiopeia เกิดขึ้นห่างจากกลุ่มดาวแคสสิโอเปีย (Cassiopeia constellation) ออกไป 550 ปีแสง เนบิวลานี้ ได้รับผลกระทบจากรังสีอัลตราไวโอเลตที่ดาว Gamma ในกลุ่มดาวแคสสิโอเปีย แผ่ออกมา ส่งผลให้เนบิวลาหรือกลุ่มก๊าซนี้ค่อยๆกระจายตัวและ สลายออกเป็นรูปร่างและสีสันอย่างที่เห็น โดยอิเล็กตรอนของก๊าซไฮโดรเจนในเนบิวลาจะได้รับพลังงานหลังจากถูกกระทบด้วยรังสีอัลตร้าไวโอเลต และปลด ปล่อยออกมาในรูปของรังสีไฮโดรเจนอัลฟ่า ที่ปรากฏเป็นสีแดงในภาพจากกล้องฮับเบิล ภาพวาดกลุ่มดาวแคสสิโอเปีย แสดงตำ�แหน่งของดาว Gamma (γ) จะเห็นได้ว่าการปรับแต่งสีของภาพนั้นไม่มีถูกผิด ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับ วตั ถปุ ระสงคข์ องการน�ำ ภาพไปใช้ เราสามารถปรบั แตง่ สตี ามจนิ ตนาการของเรา ว่าต้องการให้ภาพออกมามีสีสันสวยงามอย่างไร หรือจะปรับสีเพื่อใช้ในการ ศกึ ษาเฉพาะทางตามขอ้ มลู ทม่ี ี กอ็ าจจะตอ้ งใช้โปรแกรมการตกแตง่ ภาพอน่ื ๆ เขา้ มารว่ มดว้ ย และถา้ ใครอยากไดภ้ าพส�ำ เรจ็ รปู ทถี่ กู ปรบั แตง่ สสี นั โดยผเู้ ชยี่ วชาญ ทางดา้ นดาราศาสตร์ กส็ ามารถเขา้ ไปเลือกภาพทตี่ ้องการได้จากแกลลอร่ีของ เพจนี้ไดเ้ ช่นกัน โดยกดเข้าไปท่ี Home> Gallery จะมีภาพสวยๆ ให้เลอื กดไู ด้ มากมาย ถา้ ใครอยู่บา้ นในชว่ งนี้ สนใจอยากใกล้ชิดกับจกั รวาลมากข้ึน ก็ลอง เข้าไปใช้บรกิ ารแหลง่ เรียนร้ผู ่านกลอ้ งโทรทรรศน์ออนไลนก์ ันได้ รับประกนั ว่า นอกจากสนกุ แลว้ ยงั ไดภ้ าพเจง๋ ๆ ทม่ี คี ณุ ภาพระดบั งานวจิ ยั มาชน่ื ชมอกี ดว้ ย ขอบคุณข้อมูลจาก https://www.schoolsobservatory.org https://www.nasa.gov/ ขอบคุณแหลง่ เรยี นรูเ้ พม่ิ เติมสอนวธิ ีใชง้ านซอฟตแ์ วร์ LTImage ใช้แตง่ รปู ถา่ ยทางดาราศาสตร์ https://youtu.be/WMmx2nHY-Q4 ธันวาคม 2563 44

เปดิ โลก นทิ านดาว พงศธร กิจเวช (อัฐ) ภาพแสงเลเซอร์จากกล้องโทรทรรศน์ Very Large Facebook: คนดูดาว stargazer Telescope (VLT) ในประเทศชิลี ส่องไปที่ใจกลาง ทางช้างเผือก ถ่ายโดย Yuri Beletsky ที่มาภาพ NASA: Astronomy picture of the Day (APOD) https://apod.nasa.gov/apod/ap190106.html กลมุ่ ดาวคนยิงธนู ท่ีมาของเดือนธนั วาคม กาลครง้ั หนง่ึ นานมาแลว้ เทพเจา้ จงึ ออ้ นวอนขอใหเ้ ทพเจา้ ชว่ ยเปลย่ี นรา่ งเธอ เป็นอาจารยข์ องเหล่าวีรบรุ ษุ กรีกหลายคน โครนสั (Cronus) ได้แปลง เปน็ อะไรก็ไดท้ ่ีไมใ่ ชม่ นษุ ย์ เทพเจา้ จงึ เปลยี่ น ลกั ษณะครง่ึ คนครง่ึ มา้ นเี้ รยี กวา่ เซนทอร์ ร่างเปน็ ม้า แอบหนีภรรยาคือ รอี า (Rhea) รา่ งเธอเป็นต้นไม้ (centaur) ไครอนไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เปน็ เซนทอร์ โครนัสได้ไปพบฟิไลรา (Philyra) เทพอพอลโล (Apollo) ไดม้ าพบไครอนก็ ที่ฉลาดทีส่ ุด เทพธิดาแห่งมหาสมุทร และได้มีลูกชาย พาไปเลย้ี ง และสอนศลิ ปะความรตู้ า่ ง ๆ ใหค้ อื บนท้องฟ้ามีกลุม่ ดาว 2 กลุ่มทเ่ี ก่ยี วกบั ดว้ ยกนั ชอื่ ไครอน (Chiron) มลี กั ษณะแปลก ดนตรี การเล่นพณิ การยิงธนู การรักษาโรค เซนทอร์และไครอนคือ กลุ่มดาวคนคร่ึงม้า ประหลาดคอื ล�ำ ตวั ทอ่ นบนเปน็ คน แตล่ �ำ ตวั และการพยากรณ์ อาร์ทมิ สิ (Artemis) น้อง (Centaurus ออกเสียงว่า เซนทอรัส) และ ท่อนลา่ งเปน็ มา้ สาวของอพอลโลกช็ ว่ ยสอนเรอ่ื งการลา่ สตั ว์ กลมุ่ ดาวคนยิงธนู (Sagittarius ออกเสียงว่า ฟไิ ลรารสู้ กึ อบั อายมากทลี่ กู เกดิ มาเชน่ นี้ เม่ือไครอนเติบโตเป็นผู้ ใหญ่ได้กลาย แซจิแทเรียส) 45 ธนั วาคม 2563

เปดิ โลก นทิ านดาว ภาพดวงอาทิตย์อยู่ในกลุ่มดาวคนยิงธนูวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เวลา 18:00 น. กรุงเทพฯ ที่มาภาพ แอป SkyPortal 3.3.4.0, iPhone SE (2nd generation) ภาพไครอนกำ�ลังสอนลูกศิษย์คือ อาคิลีส (Achilles) ยิงธนู ภาพเนบิวลาสามแฉก (Trifid Nebula) หรือ M20 ในกลุ่มดาวคนยิงธนู วาดโดย Jean-Baptiste Regnault (ค.ศ. 1754-1829) ถ่ายโดย Franz Hofmann และ Wolfgang Paech อาคิลีสเป็นวีรบุรุษสำ�คัญคนหนึ่งในสงครามกรุงทรอย ที่มาภาพ NASA: Astronomy picture of the Day (APOD) ที่มาภาพ Wellcome Collection https://apod.nasa.gov/apod/ap171020.html https://wellcomecollection.org/works/vzbb7m92 ภาพจำ�ลองการร่วมทิศใหญ่ (great conjunction) กลุ่มดาวคนยงิ ธนเู ปน็ ทมี่ าของชือ่ เดือนธนั วาคม คำ�วา่ “ธันวาคม” วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เวลา 19:00 น. กรุงเทพฯ เป็นภาษาสันสกฤต มาจากค�ำ ว่า “ธน”ุ แปลว่า ธนู กบั คำ�วา่ “อาคม” ที่มาภาพ แอป SkyPortal 3.3.4.0, iPhone SE (2nd generation) แปลว่า มาถึง หมายความว่า ดวงอาทิตย์มาถึงราศีธนูหรือกลุ่มดาว คนยิงธนู เน่ืองจากการส่ายของแกนโลกและการแบ่งเขตกลุ่มดาวสากล สมยั ใหม่ ท�ำ ใหป้ จั จบุ นั วนั ที่ 1-18 ธนั วาคม ดวงอาทติ ยจ์ ะอยใู่ นกลมุ่ ดาว คนแบกงู (Ophiuchus) และวนั ท่ี 19 ธนั วาคม ถึง 20 มกราคม จงึ จะ อยู่ในกลุม่ ดาวคนยิงธนู เราจะเห็นกลุ่มดาวคนยิงธนูได้ในที่มืดสนิท ในเมืองใหญ่อย่าง กรุงเทพฯ อาจจะเห็นได้เพียงบางดวงเท่าน้ัน ดาวท่ีสว่างที่สุดใน กลมุ่ ดาวคนยิงธนูคอื ดาวเอปซิลอน แซจิแทรีไอ (Epsilon Sagittarii) มีความสว่าง 1.85 ธนั วาคม 2563 46

เปดิ โลก นทิ านดาว ภาพจำ�ลองฝนดาวตกคนคู่ (Geminids) วันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เวลา 04:00 น. กรุงเทพฯ ที่มาภาพ แอป SkyPortal 3.3.4.0, iPhone SE (2nd generation) ใจกลางดาราจักรหรือแกเล็กซีทาง จ�ำ นวนมากเกดิ ในฤดหู นาวซงึ่ ทอ้ งฟา้ มกั โปรง่ 2. การร่วมทิศใหญ่ (great conjunction) ช้างเผือก (Galactic Center) อยใู่ นกลมุ่ ดาว หรอื มเี มฆนอ้ ย และมกั มดี าวตกลกู ใหญส่ วา่ ง วันจันทร์ท่ี 21 ธันวาคม พ.ศ. 2563 เป็น คนยิงธนูด้วย ทำ�ให้เราเห็นทางช้างเผือก หรอื ลกู ไฟ (fireball) ท�ำ ใหฝ้ นดาวตกคนคเู่ ปน็ ปรากฏการณ์ที่ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์ สวยสดุ เมอื่ มองไปทางกลมุ่ ดาวคนยงิ ธนู ฝนดาวตกทนี่ ่าดูที่สุดในประเทศไทย ใกล้กัน จะเกิดทุก 20 ปี และคร้ังนี้จะ ช่ือเทพโครนัส (พ่อของไครอน) เป็น เนื่องจากวันท่ี 14 ธันวาคมปีน้ีไม่มี ใกล้กันมากท่ีสุดในรอบ 397 ปี นับต้ังแต่ ภาษากรีก ซ่ึงก็คือ แซเทิร์น (Saturn) ใน แสงจันทร์รบกวนเลย จึงเป็นปีที่ดีท่ีสุด ปี พ.ศ. 1623 ภาษาโรมัน และหมายถึงดาวเสาร์ด้วย ในรอบ 11 ปี (พ.ศ. 2555-2566) ท่ีจะดู ถ้ามองด้วยตาเปล่าจะเห็นเหมือน สำ�หรับเดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 ฝนดาวตกคนคู่ ดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์รวมเป็นดวง มปี รากฏการณ์ที่น่าสนใจ 2 เรื่องคอื ฝนดาวตกเกิดทั่วท้องฟ้า สามารถ เดียวกัน ถ้าดูด้วยกล้องโทรทรรศน์หรือ 1. ฝนดาวตกคนคู่ (Geminids) 150 ดวง มองทิศทางใดก็ได้ ไม่จำ�เป็นต้องมองไปที่ กล้องดูดาวท่ีมีกำ�ลังขยาย 20-100 เท่า ตอ่ ช่วั โมง มากที่สดุ วนั จนั ทรท์ ่ี 14 ธันวาคม จุดกระจายหรือจุดศูนย์กลางของฝนดาวตก จะเห็นดาวพฤหัสบดีและดาวเสาร์อยู่ใน พ.ศ. 2563 เวลา 07:50 น. เนอื่ งจากเปน็ เวลา ในกลุ่มดาวคนคู่ (ย่ิงมองใกล้จุดกระจาย กรอบ (frame) เดยี วกนั กลางวนั อาจดตู งั้ แตห่ วั ค�ำ่ วนั ท่ี 13 ถงึ เชา้ มดื ดาวตกยิ่งส้ัน แต่สำ�หรับการถ่ายภาพนิยม ตอนหวั ค�่ำ เวลาประมาณ 18:45-19:20 น. วันที่ 14 ธนั วาคม ใหเ้ หน็ จดุ กระจายด้วย) มองไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต้ หาดาวสวา่ ง เราจะเห็นดาวตกเหมือนพุ่งออกมาจาก นอนดูกลางท้องฟ้าดีที่สุด เพราะเป็น ทีส่ ดุ ใกลข้ อบฟ้า กลมุ่ ดาวคนคู่ (Gemini) บรเิ วณทอ้ งฟา้ ทม่ี ดื สดุ กวา้ งสดุ และสบายสดุ ฝนดาวตกคนคเู่ กดิ ประจ�ำ ทกุ ปี มดี าวตก ไม่เมอ่ื ยคอ 47 ธนั วาคม 2563

มนั อเอ๋ ปน็ อยา่ งนน้ี เ่ี อง \"หมกึ บลูริง\" by อาจารย์เจษฎ์ เสียบไมข้ าย https://www.facebook.com/OhISeebyAjarnJess/ พิษรา้ ยถงึ ชีวติ ตามทกี่ รมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝง่ั ออกมาเตอื นวา่ พบคนเอา \"หมกึ บลรู งิ \" ทม่ี พี ษิ รา้ ยแรง มายา่ งขายนนั้ และการใชค้ วามรอ้ น ก็ไม่สามารถท�ำ ลายพษิ ของมันได้ ขอเอาความรู้เก่ยี วกับอนั ตรายของหมึกชนดิ นี้ มาเผยแพร่ใหอ้ ่านกันนะครับ หมึกสายวงนำ้�เงิน หรือหมึกบลูริง (อังกฤษ: blue-ringed octopus) เป็น หมึกในสกุล Hapalochlaena อันดับหมึกยักษ์ จัดเป็นหมึกขนาดเล็กจำ�พวกหนึ่ง มีจุดเด่น คือสีสันตามลำ�ตัวที่เป็นจุดวงกลมคล้ายแหวนสีนำ้�เงินหรือสีม่วงซ่ึง สามารถเรอื งแสงไดเ้ มอื่ ถูกคุกคาม ตดั พ้นื ลำ�ตวั สขี าวหรือเขียว หมกึ สายวงน�ำ้ เงนิ นน้ั มพี ษิ ทผ่ี สมอยใู่ นน�้ำ ลายทม่ี คี วามรา้ ยแรงมาก ซงึ่ รา้ ยแรง กว่างูเหา่ ถงึ 20 เท่า ผทู้ ถี่ กู กัดจะตายภายใน 2-3 นาที นับเปน็ หน่ึงในสัตวน์ �ำ้ ทม่ี พี ษิ รา้ ยแรงมากทสี่ ุดชนิดหน่ึงของโลก สารพิษของหมึกสายวงน้ำ�เงินน้ัน เรียกว่า เทโทรโดทอกซิน (tetrodotoxin) เป็นพิษชนิดเดียวกับท่ีพบในปลาปักเป้า ออกฤทธ์ิต่อระบบประสาท โดยจะเข้าไป ขดั ขวางการสง่ั งานของสมองท่ีจะไปยงั กล้ามเนอ้ื ที่อยูใ่ ต้อำ�นาจจิต คนที่ถูกพิษจะมีอาการคล้ายเป็นอัมพาต หายใจไม่ออกเนื่องจากกล้ามเน้ือ กะบังลมและหนา้ อกไมท่ ำ�งาน ทำ�ให้ไมส่ ามารถน�ำ อากาศเข้าสู่ปอดได้ เปน็ สาเหตุ ให้เสียชีวิต ธนั วาคม 2563 48

มนั อเอ๋ ปน็ อยา่ งนน้ี เ่ี อง พิ ษ ข อ ง ห มึ ก ส า ย ว ง นำ้ � เ งิ น เ กิ ด จ า ก แบคทเี รยี ทอี่ าศยั อยใู่ นตอ่ มน�ำ้ ลายของมนั (เป็นแบคทีเรียสกุล Bacillus และ Pseudomonas) พษิ เทโทรโดทอกซนิ และ แบคทเี รยี ยงั พบได้ในไข่ของหมกึ การปฐมพยาบาลตอ้ งหาวธิ นี �ำ อากาศเขา้ สปู่ อด เชน่ เปา่ ปาก จากนน้ั ต้องรบี น�ำ ส่งแพทย์โดยด่วน เพื่อใชเ้ ครอ่ื งช่วยหายใจ ถ้าช่วยชวี ติ เป็นผล ผู้ป่วยจะฟ้นื เป็นปกตภิ ายใน 24 ช่วั โมง เว้นแต่ว่าจะขาดอากาศนานเกิน ไปจนสมองตาย พษิ ของหมกึ สายวงน�ำ้ เงนิ เกดิ จากแบคทเี รยี ทอี่ าศยั อยใู่ นตอ่ มน�้ำ ลาย ของมนั (เป็นแบคทเี รียสกุล Bacillus และ Pseudomonas) พิษเทโทรโด ทอกซนิ และแบคทเี รยี ยงั พบได้ในไข่ของหมึก สันนิษฐานว่าเป็นกระบวนการส่งถ่ายความสามารถในการสร้างพิษ จากแม่หมกึ ไปยงั ลูก โดยพบได้ตง้ั แต่แรกเกิดเลยดว้ ยซ้ำ� ในนา่ นน�ำ้ ของประเทศไทยนน้ั มหี มกึ สายวงน�ำ้ เงนิ อยา่ งนอ้ ย 1 สปชี สี ์ (จากทัง้ หมด 3-4 สปชี ีส์) คอื Hapalochlaena maculosa สามารถพบได้ ท้ังทางฝ่งั ทะเลอนั ดามันและอา่ วไทย ตอ่ มพษิ ของหมึกชนดิ นี้จะอยู่ที่ปาก (ต่อมนำ้�ลาย salivary gland) ไม่ ได้กระจายท่วั ไปตามลําตัว ผู้ที่ไดร้ ับพษิ นัน้ มกั เกดิ จากการถกู มันกัด ไมใ่ ช่ จากการสมั ผสั โดนตวั โดยพษิ ของหมกึ ชนดิ นจ้ี ะไมส่ ลายเมอื่ ถกู ความรอ้ น หากนาํ ไปปรงุ อาหารจนสกุ แลว้ รบั ประทานเขา้ ไป กเ็ สย่ี งทจ่ี ะเกดิ อนั ตราย ไดเ้ ช่นกนั จึงไมค่ วรซ้อื มาปรุงเป็นอาหารรบั ประทานเดด็ ขาด 49 ธนั วาคม 2563

ปน้ั ปนล�ำ้ เาปน็ ดร.ชวลิต วิทยานนท์ https://www.facebook.com/WaterAndFishes สายยูแห่งบางปะกง ปลาทเ่ี จอเมือ่ วานนี้ บันทึกเมอ่ื 2 ตลุ าคม พ.ศ. 2563 วันก่อนผมลงพ้ืนที่ทุ่งใหญ่ปากพลี ที่ นครนายก เพอ่ื ชว่ ยมลู นธิ พิ น้ื ทช่ี มุ่ น�ำ้ ไทย และมูลนิธิอีสต์ ฟอรั่ม สำ�รวจแม่น้ำ� บางปะกงทัง้ ระบบ ท�ำ ใหน้ กึ ถึงปลาชนดิ หน่ึงท่ผี มตามหาอยูค่ ือเจา้ ปลาสายยู ปลาสายยู (Ceratoglanis ประมาณจากขอ้ มอื ถงึ ขอ้ ศอกของผชู้ าย เปน็ หมอสมทิ (Hugh McCormick Smith) เจา้ กรม pachynema Ng, 1999) ปลาทเ่ี จอเฉพาะในแม่นำ้�บางปะกงเท่านั้น รกั ษาสตั วน์ �ำ้ (อธบิ ดกี รมประมง) คนแรกของ เซอราโตกลานิสพาชีนีมา เป็นปลาตระกูล ผมรู้จักปลาสายยูครั้งแรกตอนเรียน ไทย ตีพิมพห์ ลงั สงครามโลกคร้งั ท่ีสอง เมื่อ ปลาเน้ืออ่อน หน้าตาประหลาด ตาเล็กๆ วิชาปลาของคณะประมง มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2488 สมิทเขียนไว้ว่า ได้ตัวอย่าง มหี นวดขนาดเลก็ เปน็ ตุม่ เวลาว่ายหนวดจะ เกษตรศาสตร์ โดยเห็นชื่อจากหนังสือ The ปลาชนิดน้ีมาจากลูกเสือท่ีได้มาจากแม่น้ำ� กระดกิ รวั ๆ ดงิ๊ ๆ เหมอื นหนวดมนษุ ยต์ า่ งดาว Freshwater Fishes of Siam or Thailand เปน็ นครนายก (ได้ในย่านใกล้เคียงกับท่ีได้ปลา ขนาดตัวใหญ่สุดจากหัวถึงปลายหางยาว หนงั สอื ปลาน�้ำ จดื ของไทยเลม่ แรก เขยี นโดย หวเี กศแห่งบางปะกงที่สญู พันธุ์ไปแลว้ ) เขา ธนั วาคม 2563 ภาพปลาสายยูตัวเป็นๆ โดย นณณ์ ผาณิตวงศ์ 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook