Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20200511-dinosaur4

20200511-dinosaur4

Published by Thalanglibrary, 2020-05-13 00:48:48

Description: 20200511-dinosaur4

Search

Read the Text Version

แหล่งหอยหินคู่มือผู้เล่าเร่ืองธรณี ที่ ห น อ ง บั ว ล� ำ ภู

คู่มือผู้เล่าเรื่องธรณี หอยหินห้วยเดื่อ แ ห ล ่ ง ห อ ย หิ น ท่ีหนองบัวล�ำภู กรมทรพั ยากรธรณเี ปน็ องคก์ รทม่ี หี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบโดยตรงในดา้ นซากดกึ ดำ� บรรพ์ ทวั่ ประเทศไทย ตามทกี่ ำ� หนดไวใ้ น พรบ. คมุ้ ครองซากดกึ ดำ� บรรพ์ พ.ศ. 2551 โดยมอี งคก์ ร อธบิ ดีกรมทรพั ยากรธรณ ี นายสมหมาย เตชวาล ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทกุ แหง่ เปน็ “เจา้ พนกั งานทอ้ งถนิ่ ” รว่ มปฏบิ ตั หิ นา้ ทตี่ าม พรบ. ดงั กลา่ ว รองอธบิ ดกี รมทรัพยากรธรณี นายนิวัติ มณีขัติย์ แตพ่ ิพธิ ภณั ฑ์หอยหินทีบ่ า้ นเด่อื ต.โนนทัน อ.เมอื ง จ.หนองบัวลำ� ภู เกิดขึน้ ก่อนที่ รองอธบิ ดีกรมทรพั ยากรธรณี นายมนตรี เหลอื งองิ คะสตุ จะมีการประกาศใช้ พรบ. คุ้มครองซากดึกดำ� บรรพ์ พ.ศ. 2551 พพิ ธิ ภณั ฑ์หอยหนิ แห่งนี้ ผู้อำ� นวยการกองธรณีวทิ ยา นายสุรชยั ศริ พิ งษเ์ สถียร เกดิ จากสำ� นกึ อนรุ กั ษท์ น่ี า่ ยกยอ่ ง และควรถอื เปน็ แบบอยา่ งของทอ้ งถนิ่ หากวนั นนั้ เจา้ หนา้ ที่ ผู้อำ� นวยการส�ำนกั งานทรพั ยากรธรณี เขต 2 นายทินกร ทาทอง ทเี่ กยี่ วขอ้ งจากตำ� บลโนนทนั จากอำ� เภอเมอื ง และจงั หวดั หนองบวั ลำ� ภไู มไ่ ดด้ ำ� เนนิ การควบคมุ เขยี นเร่ือง นายประชา คุตติกุล จัดการบริหารพื้นท่ีได้ทันท่วงที ซากดึกด�ำบรรพ์หอยสองฝาตัวโตเหล่านี้คงกระจัดกระจาย สนบั สนุนข้อมลู นางสาวโชติมา ยามี สูญหายไปคนละทศิ คนละทาง และเหลอื ไว้แต่เพียงความเสยี ดายส�ำหรบั ทกุ ฝ่าย นายประดษิ ฐ์ นูเล ความรว่ มมอื ในการจดั การแหล่งซากดึกดำ� บรรพ์ ระหว่างองคก์ ารบริหารส่วนต�ำบล นายปรีชา สายทอง โนนทนั กบั กรมทรัพยากรธรณี และทกุ องคก์ รทเี่ ก่ียวข้องปรากฏให้เหน็ เป็นรูปธรรม และ ยังประโยชนใ์ ห้กับสงั คมทุกระดบั อย่างกวา้ งขวาง วันน้ีจึงเปน็ โอกาสของทกุ คนทจี่ ะไดช้ ว่ ยกัน ¾ÔÁ¾ì¤ÃÑ駷Õè 1 ¨Ó¹Ç¹ 200 เล่ม เดือน สิงหาคม 2562 คนละไมค้ นละมอื ในการสง่ เสรมิ ใหพ้ พิ ธิ ภณั ฑ์ และแหลง่ ซากดกึ ดำ� บรรพแ์ หง่ นไี้ ดอ้ ยคู่ กู่ บั ทอ้ งถนิ่ ¨Ñ´¾ÔÁ¾ìâ´Â สำ� นักงานทรัพยากรธรณี เขต 2 ¡ÃÁ·ÃѾÂÒ¡Ã¸Ã³Õ เพื่ออ�ำนวยประโยชน์ดา้ นบรรพชวี ินวทิ ยา ด้านการท่องเท่ยี ว และการอนุรักษ์ ใหก้ บั ชาวไทย ภายใน ส�ำนกั งานทรพั ยากรน้� ำบาดาล เขต 4 และมนษุ ยชาตโิ ดยรวม 178 ม.27 ถ.มติ รภาพ ต.ศิลา อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000 กรมทรพั ยากรธรณีหวังวา่ คมู่ ือผเู้ ลา่ เร่อื งธรณี “แหล่งหอยหิน ทีห่ นองบวั ล�ำภู” โทรÈѾ·ì 0  4324  3960 โทรสาร 0  4324  3961 ทไ่ี ดร้ วบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั ซากดกึ ดำ� บรรพห์ อยสองฝาน�้ำจดื กบั ไดโนเสารแ์ หง่ บา้ นหว้ ยเดอ่ื ไว้ จะเปน็ สว่ นหนึ่งของการต่อยอด และเป็นประโยชนส์ �ำหรบั เจ้าหนา้ ทีม่ คั คเุ ทศก์ท้องถ่นิ ในการ ขอ้ มลู ทางºÃóҹءÃÁ ศกึ ษาเพื่อน�ำเสนอต่อผมู้ าเยือนจากทั่วทิศ รวมถึงจะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน นักศึกษา ¡ÃÁ·ÃѾÂҡøóÕ, 2562, และนกั ทอ่ งเที่ยวทกุ ท่าน ¤ÙèÁ×ͼÙéàÅèÒàÃ×èͧ¸Ã³Õ แหลง่ หอยหนิ ทห่ี นองบวั ลำ� ภ,ู 42 ˹éÒ 1.¸Ã³ÕÇÔ·ÂÒ 2.ซาก´¡Ö ´ÓºÃþì 3.ไดโนเสาร์ 4.หอยสองฝา 5.หอยหนิ (นายสมหมาย เตชวาล) อธิบดกี รมทรพั ยากรธรณี พิมพ์ที่ ขอนแก่นการพิมพ์ 64-66 ถ.ร่นื รมย์ ต.ในเมอื ง อ.เมอื ง จ.ขอนแกน่ 40000 โทรศัพท์ 0  4322  1938

สารบัญ พบหอยในแหล่งหิน พบหอยในแหล่งหิน 1 ในอดีตเมอ่ื ครั้งทต่ี ำ� บลโนนทนั ยังข้ึนอย่กู ับ อ�ำเภอหนองบัวล�ำภ ู จงั หวดั อุดรธานี กำ� เนดิ พิพิธภณั ฑ์หอยหิน 2 มีการทำ� เหมืองหนิ ทรายจากเนนิ เขา บริเวณบ้านห้วยเดือ่ ซึ่งภายหลังไดเ้ ลิกกิจการไปและ ธรณวี ิทยาหนองบัวลำ� ภ ู ถกู ทิ้งให้เป็นเหมอื งร้างแหง้ แลง้ เรอ่ื ยมา 4 เศษหินท่ีหลงเหลือจากการท�ำเหมืองถูกปล่อยให้ผุพงั ไปตามกาลเวลา เม่ือเน้อื หิน • ธรณวี ิทยาโนนทัน 6 สลายตัวลง เมด็ กรวด-ทรายในเน้ือหนิ ก็หลดุ รว่ ง และถูกพัดพาลงสลู่ ำ� หว้ ยเดอื่ ทีอ่ ยใู่ นทีต่ ำ�่ เรื่องของหอย 8 วนั แล้ววันเลา่ ในกลุ่มเม็ดกรวดเหล่านน้ั มีก้อนหินรูปรา่ งแปลกตา คล้ายๆ กบั หอยตัวโต  14 ขนาดพอๆ กับกำ� ปั้นเดก็ ปะปนอยทู่ ั่วไป • หอยหินทห่ี ว้ ยเดื่อ 18 วันเวลาล่วงเลยไปเน่ินนาน อ�ำเภอหนองบัวล�ำภูก็วัฒนาเจริญรุ่งเรืองต่อเนื่อง • หอยหนิ ทั่วไทย 20 จนได้รบั การยกฐานะข้ึนเป็น จงั หวดั หนองบัวล�ำภู เช่นเดยี วกันกับพ้ืนท่เี หมอื งรา้ งท่ีกลบั ฟน้ื • หอยหินทว่ั เอเชยี 22 คืนสภาพธรรมชาติสมบูรณด์ ง่ั เดิม กลายเป็นแหลง่ อาหาร และแหลง่ วัสดสุ �ำหรบั ใชใ้ นชีวติ เร่อื งของไดโนเสาร์ 26 ประจำ� วนั ของชาวบา้ นห้วยเด่ืออกี คร้ัง และกอ้ นหินรปู ร่างแปลกๆ เหลา่ นี้ก็ไม่ไดห้ ลุดรอด • ไดโนเสารค์ อยาวที่ห้วยเด่อื 30 สายตาของชาวบา้ นหว้ ยเดือ่ ซ่งึ ต่างพากนั เรยี กขานวา่ หอยหิน ผงั พพิ ธิ ภณั ฑห์ อยหิน 32 ผงั แหลง่ ซากดึกดำ� บรรพ์บ้านห้วยเดื่อ 34 พพิ ิธภัณฑ์หอยหนิ 38 เอกสารอ้างอิง 1

หอยหิน ท่ี ต.โนนทัน ถูกค้นพบคร้ังแรกในราวปี พ.ศ. 2537 โดยชาวบ้าน ก�ำเนิดพิพิธภัณฑ์หอยหิน ทเ่ี ขา้ ไปหาของปา่ บรเิ วณเหมอื งหนิ รา้ งหา่ งจากหมบู่ า้ นหว้ ยเดอื่ ไปประมาณ 1.5 กม. พบกอ้ นหนิ แปลกตาทมี่ ีลักษณะคล้ายหอยสองฝามากมาย จึงเกบ็ มาวางขายตามรมิ ถนน กก. ละ  2 บาท ในชว่ งปี พ.ศ. 2543-2544 มีการขดุ คน้ สำ� รวจซากดกึ ดำ� บรรพ์บรเิ วนดา้ นเหนอื เมอ่ื มผี ้สู นใจซ้อื มากข้นึ และค้นหาหอยหนิ ไดย้ ากขึ้นราคากพ็ งุ่ สงู ขนึ้ ไปถึง กก. ละ 20 บาท ของอาคารพิพิธภัณฑ์หอยหินโบราณ โดยเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น ร่วมกับนักธรณีวิทยาจาก สำ� หรบั ตวั ทมี่ ลี กั ษณะชดั เจนสวยงามราคากระโดดสงู ขน้ึ ไปถงึ ตวั ละพนั กวา่ บาท และเปน็ เหตใุ ห้ กรมทรพั ยากรธรณี ทำ� ใหพ้ บซากดกึ ดำ� บรรพส์ ตั วอ์ นื่ ๆ อกี หลายชนดิ รวมถงึ กระดกู ไดโนเสาร์ การคน้ หาหอยหนิ มคี วามเข้มข้นข้ึน ถงึ ขน้ั ต้องขดุ ค้นจากหนา้ ผาชัน้ หนิ ทราย และในปตี อ่ มาจงั หวดั หนองบวั ลำ� ภพู จิ ารณาเหน็ วา่ พนื้ ทบ่ี รเิ วณนเี้ ปน็ มรดกล�้ำคา่ ทางธรรมชาติ เวลานนั้ นิคมสรา้ งตนเองเชยี งพณิ ผู้ถอื กรรมสิทธใิ์ นพน้ื ทบ่ี ริเวณบา้ นห้วยเด่อื และ ที่มคี วามหลากหลายของสัตวด์ กึ ดำ� บรรพ์ รวมถึงพืชพันธุไ์ มก้ ว่า 30 ชนดิ สามารถพัฒนา อ�ำเภอเมืองหนองบัวลำ� ภู เกรงวา่ จะมกี ารทำ� ลายธรรมชาติ และอาจเกิดอันตรายแก่ชาวบ้าน เปน็ สถานทที่ อ่ งเทยี่ วทางธรรมชาติ ตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารทอ่ งเทยี่ วของจงั หวดั หนองบวั ลำ� ภู ทพี่ ากันหลั่งไหลเขา้ ไปขุดเจาะหาหอยหินกนั อยา่ งล้นหลาม จึงได้สงั่ หา้ มไมใ่ หผ้ ู้ใดเข้าไปขดุ หา จึงไดอ้ นมุ ัตงิ บประมาณผา่ นองคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลโนนทันอีกก้อนหนงึ่ เพอื่ สรา้ งอาคาร แสดงซากดึกด�ำบรรพ์ไดโนเสาร์ ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาเป็นพิพิธภัณฑ์ทางธรรมชาติ ซากหอยหนิ แต.่ .กย็ งั มผี ลู้ กั ลอบเขา้ ไปขดุ คน้ จนกระทง่ั เกดิ เหตหุ นิ ถลม่ ทบั คนบาดเจบ็ ลม้ ตาย และธรณีวิทยาท่ีทันสมัยแห่งหนึ่งของเมืองไทย ในที่สุดผู้ว่าราชการจังหวัดหนองบัวล�ำภูจึงได้มีค�ำส่ังห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปขุดหาซากหอยหิน ในพ้ืนทบ่ี ้านห้วยเดือ่ โดยเดด็ ขาด และปีต่อมาจังหวัดหนองบัวล�ำภูก็ได้ท�ำการพัฒนาบริเวณที่ค้นพบซากดึกด�ำบรรพ์ หอยหินให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยอนุมัติงบประมาณก่อสร้างพิพิธภัณฑ์หอยหินโบราณ ผ่านองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลโนนทัน 23

ธรณีวิทยาหนองบัวล�ำภู ภาพรวมโครงสรา้ งหลกั ทางธรณวี ทิ ยาวางตวั อยใู่ นแนวเกอื บ เหนอื -ใต้ เอยี งไปทาง ตะวนั ตกเล็กน้อย แผนทธี่ รณีวทิ ยาจังหวดั หนองบัวลำ� ภู (ภายในกรอบสีขาว) ดดั แปลงจากแผนที่ บริเวณปลายด้านตะวันตกเฉียงเหนือเนื้อที่ประมาณ 1/4 ของจังหวัดรองรับด้วย ธรณีวิทยาประเทศไทย มาตราสว่ น 1:1,000,000 กรมทรพั ยากรธรณี พ.ศ. 2556 “กลุ่มแนวชั้นหินคดโค้งเลย” ซึ่งประกอบด้วยหินตะกอนท่ีสะสมตัวในทะเล ในช่วงมหายุค พาลโิ อโซอกิ กอ่ นเกดิ กลมุ่ หนิ โคราชทสี่ ะสมตวั ในแอง่ น�้ำจดื บนภาคพน้ื ทวปี ในมหายคุ มโี ซโซอกิ Kms หมวดหินมหาสารคาม ซึ่งประกอบด้วยหมวดหนิ หว้ ยหนิ ลาด น�้ำพอง ภกู ระดงึ พระวหิ าร เสาขวั ภพู าน โคกกรวด Kkk หมวดหินโคกกรวด มหาสารคาม และภูทอก รวม 9 หมวดหิน เรียงลำ� ดับจากลา่ งข้นึ บน Kpp หมวดหนิ ภพู าน พน้ื ทสี่ ว่ นทเ่ี หลอื ทงั้ หมดรองรบั ดว้ ยกลมุ่ หนิ โคราช ตงั้ แตห่ มวดหนิ น้� ำพองซง่ึ อยลู่ า่ งสดุ Ksk หมวดหินเสาขวั จนถงึ หมวดหนิ มหาสารคามซึ่งอยู่เกอื บบนสุด โดยพนื้ ที่สว่ นใหญต่ อนกลางของจังหวดั รองรบั Kpw หมวดหนิ พระวหิ าร ด้วยหมวดหินน�้ำพอง ส่วนตัวอ�ำเภอเมืองตั้งอยู่ค่อนไปทางขอบด้านตะวันออก ตัวจังหวัด Jpk หมวดหินภูกระดึง ตั้งอยู่บนหมวดหินภูกระดึง เลยออกไปทางตะวันออกสุดเป็นต�ำบลโนนทันซ่ึงอยู่ติดกับ Trnp หมวดหินนำ้ พอง เขตจังหวัดอุดรธานี โครงสรา้ งทางธรณวี ทิ ยาทพี่ บไดม้ ากทส่ี ดุ คอื แนวชนั้ หนิ ทถ่ี กู บบี อดั จนเกดิ การคดโคง้ เปน็ รปู คลนื่ เหมอื นรอยยน่ ของผา้ มลี กั ษณะคลา้ ยกบั ประทนุ ของเรอื ซงึ่ มที ง้ั แบบทว่ี างควำ่� ปกติ เรียกว่า ชั้นหินรูปประทุน-ในแผนท่ีใช้สัญลักษณ์ลูกศรชี้ออกจากกัน กับแบบที่หงายข้ึน เรียกวา่ ช้ันหินรปู ประทนุ หงาย-ใชส้ ญั ลักษณ์ลูกศรชเี้ ข้าหากัน ซง่ึ ปลายลูกศรเปรยี บเทยี บ ได้กบั ทิศทางท่ีช้นั หินเอียงลงไป ภเู ขาท่ีอย่ทู างตอนใตส้ ุดของจังหวัดหนองบวั ลำ� ภูคือ ภูเกา้ ที่มีโครงสรา้ งเป็นชัน้ หนิ รปู ประทนุ หงายทถี่ กู กดั เซาะจนมลี กั ษณะแยกเปน็ อสิ ระ โดยวางตัวอยู่บนหมวดหินภูกระดงึ เปน็ ภเู ขาทม่ี ดี า้ นขา้ งชนั และมชี นั้ หนิ เอยี งตวั เขา้ สบู่ รเิ วณกลางภู ปรากฏใหเ้ หน็ การซอ้ นทบั กนั ของหมวดหนิ พระวหิ าร เสาขวั ภพู าน และปดิ ทบั ดา้ นบนสดุ ดว้ ยหมวดหนิ โคกกรวด สว่ นหมวดหนิ ที่อยเู่ หนอื ขน้ึ ไปถูกกัดเซาะทำ� ลาย กลายเป็นตะกอน และถกู พัดพาลงสทู่ ีต่ ่�ำกว่าแลว้ 4 หินตะกอนหมวดหินเสาขวั  วางตัวในแนวค่อนข้างราบ ทางฝง่ั ทิศใต้ของทางหลวงสาย 210 บริเวณช่วงหลักกิโลเมตรท่ี 86 5

ธรณีวิทยาโนนทัน สธุ ี จงอจั ฉรยิ กลุ (2545) สำ� รวจธรณวี ทิ ยาบรเิ วณพพิ ธิ ภณั ฑห์ อยหนิ พบวา่ รองรบั ดว้ ย ชน้ั หนิ ตะกอนหมวดหนิ เสาขวั หนาประมาณ 17 เมตรเศษ ประกอบดว้ ยหนิ ทรายเปน็ สว่ นใหญ่ พน้ื ทตี่ ำ� บลโนนทนั ตง้ั อยบู่ รเิ วณรอยตอ่ จงั หวดั อดุ รธานี ซงึ่ เปน็ ขอบดา้ นตะวนั ตก สลับกับหินทรายแป้ง และแทรกด้วยหินกรวดมนเล็กน้อย โดยช่วงบนของล�ำดับชั้นหิน ของโครงสรา้ งรปู ประทุนหงายทม่ี ีแนวแกนอยใู่ นแนว เหนือ-ใต้ และเอียงลงทางทศิ เหนือ พบชั้นซากดึกด�ำบรรพ์หอยสองฝาน�้ำจืดตัวโตมากมาย และช้ันบนสุดพบซากดึกด�ำบรรพ์ รองรบั ด้วยหมวดหนิ พระวิหาร เสาขัว ภูพาน โคกกรวด และมหาสารคาม เรยี งลำ� ดบั ไป กระดูกไดโนเสาร์กินพืชคอยาว หรือ ซอโรพอด ทางทิศตะวนั ออก เข้าสู่โครงสรา้ งรปู ประทุนอันถดั ไปที่มขี นาดใหญ่กว่า โดยมีแนวแกนชนั้ หิน รปู ประทุนอยบู่ นภูฝอยลม เมตร ชน้ั ซากดึกดำบรรพ กระดกู ไดโนเสาร 17 15 ช้นั ซากดึกดำบรรพ หอยหนิ ตะวนั ตก ตะวนั ออก รูปจำ� ลองแสดงการเรียงซ้อนกันของหมวดหนิ ท้ัง 5 ทร่ี องรบั ต�ำบลโนนทัน ซ่งึ ถกู 10 แรงบีบจากดา้ นข้างท�ำใหเ้ กดิ การงอโกง่ โค้งตัวเปน็ รูปประทุนหงาย และประทนุ ควำ่� ต่อเนื่อง กนั ไปในดา้ นขา้ ง หนิ กรวดมน ภายหลงั การยกตวั และถกู บบี อดั แลว้ ดว้ ยแรงภายในโลกแลว้ กระบวนการกดั เซาะทำ� ลาย มหีินชทั้นรเาฉยียงระดบั ไดท้ ำ� หน้าท่ีปรบั ภูมปิ ระเทศลดลงเร่อื ยๆ จนปรากฏเปน็ พ้นื ท่ีสงู ตำ�่ ตา่ งกันตามความคงทน 5 หไมินมที รชา้ันยเฉยี งระดบั ของหมวดหนิ ตา่ งๆ ทเี่ กดิ จากการทบั ถมของตะกอนตา่ งชนดิ กนั ในสภาวะแวดลอ้ มทตี่ า่ งกนั ช้นั ซากดกึ ดำบรรพ พพิ ธิ ภณั ฑห์ อยหนิ ภฝู อยลม หินทรายแปง 6 พพิ ธิ ภณั ฑห์ อยหนิ ภฝู อยลม 0 7 ชน้ั หนิ ในพน้ื ทโี่ ดยรวมสามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 วฏั จกั ร ซ�้ำๆ กนั ในแตล่ ะวฏั จกั ร ประกอบดว้ ยหนิ ทรายทไี่ มแ่ สดงชนั้ เฉยี งระดบั ในสว่ นลา่ ง และมชี น้ั เฉยี งระดบั ในสว่ นบน

เรื่องของหอย (4) Gastropoda หอยฝาเดยี ว ช้ันแกสโทรโพดา อยูไ่ ด้ท้งั ในน�้ำจดื และทะเลรวมถึงบนบก หอยเปน็ สตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั ลำ� ตวั นม่ิ ไมแ่ บง่ เปน็ ขอ้ ปลอ้ ง ทว่ั ไปมกั พบวา่ เปน็ แบบ บนตน้ ไม้ หรอื แม้กระท่งั ในทะเลทรายอีกด้วย ฝาเดียว กับสองฝา จัดตามอนุกรมวิธานอยู่ในไฟลัม มอลลัสกา (Mollusca) ที่หมายถึง มีกลา้ มเน้อื บริเวณเท้าแขง็ แรงและหนาแนน่ พบกระจาย ผมู้ เี นอื้ ออ่ นนมุ่ มอลลสั ก์ (สตั วใ์ นไฟลมั มอลลสั กา) ทพี่ บในปจั จบุ นั มอี ยปู่ ระมาณ 85,000 ชนดิ พันธ์อุ ยทู่ วั่ โลก มเี ปลือกเป็นหนิ ปูน ลกั ษณะตอนท้าย วนเป็นเกลียว สว่ นมอลลัสกท์ พ่ี บเปน็ ซากดึกด�ำบรรพ์ คาดว่ามมี ากถงึ 60,000-100,000 ชนิด เช่น หอยทาก หอยโขง่ หอยเชอร่ี มอลลสั กท์ วั่ ไปมกั มเี ปลอื กแขง็ หมุ้ เนอ้ื ทอี่ อ่ นนมุ่ แตบ่ างกลมุ่ มแี กนแขง็ ภายในชว่ ยพยงุ (5) Bivalvia หอยสองฝา ชน้ั ไบวาลเวยี มอลลสั กท์ เี่ ปน็ ทร่ี จู้ กั กนั ดี และมรี สชาดอรอ่ ย ร่างกาย มอลลัสก์ทผ่ี ูค้ นท่ัวไปรูจ้ กั คนุ้ เคยพบได้ในแหลง่ น้� ำทัว่ ไป และตลาดสด คือ พวกหมกึ อาศัยอยู่ได้ทั้งในน้� ำทะเล น�้ำกร่อย และน�้ำจืด ได้แก่ หอยนางรม หอยแมลงภู่ หอยลาย ในช้ัน (Class) เซฟาโรโพดา กบั หอยอีก 2 ชั้น คอื หอยฝาเดยี ว ในชั้นแกสโทรโพดา กับ หอยมือเสือ หอยคราง หอยหลอด และหอยตลบั เปน็ ตน้ หอยสองฝา ในชัน้ ไบวาลเวยี มอลลัสก์ถูกจ�ำแนกเปน็ 7 ช้ัน ดงั นี้ (6) Scaphopoda ชน้ั สแคปโฟโพดา ทกุ ชนดิ จะอาศยั อยภู่ ายใตพ้ นื้ ทรายใตท้ ะเล (1) Monoplacophora ชนั้ โมโนพลาโคฟอรา มลี กั ษณะเรยี วยาว โคง้ ตรงกลางเลก็ นอ้ ย หนา้ ตดั เปน็ ทรงคอ่ นขา้ งกลม มชี อ่ งเปดิ เปน็ มอลลัสก์ที่มเี ปลือกเพียงช้นิ เดียว รปู รา่ งคลา้ ยฝาชี ทปี่ ลายสดุ ของทงั้ สองดา้ นซง่ึ ดา้ นหนง่ึ จะใหญก่ วา่ อกี ดา้ นเสมอ พบหลกั ฐาน แตป่ ลายยอดเอนมาด้านหน้า เท้าเป็นแผน่ กลมแบนอยู่ทท่ี ้อง ซากดกึ ดำ� บรรพอ์ ายกุ วา่ 240 ลา้ นปี ปจั จบุ นั พบแลว้ กวา่ 1,000 ชนดิ ไม่มหี นวด ไม่มตี า เช่น หอยฝาละมีโบราณ เรยี กกนั ทวั่ ไปวา่ หอยงาชา้ ง หรอื หอยฟนั ชา้ ง (7) Cephalopoda ชน้ั เซฟาโลโพดา มลี กั ษณะเดน่ ตรงทร่ี า่ งกายสมมาตรซา้ ย-ขวา (2) Polyplacophora ช้นั พอลพิ ลาโคฟอรา มสี ว่ นหวั โดดเดน่ และมกี ารดดั แปลงสว่ นเทา้ ของมอลลสั กาไปเปน็ แขนหรอื หนวด เชน่ หอยงวงชา้ ง จดั เปน็ มอลลัสกจ์ ำ� พวกหนึ่งท่มี ีลกั ษณะแตกต่างไปจาก และหมึกสายพนั ธ์ตุ ่างๆ มอลลสั กช์ ้ันอ่ืน ๆ กล่าวคือ แทนทีจ่ ะเปลอื กหรือฝาเดียว หรือสองฝา แตก่ ลับมีมากถึง 7-8 ชน้ิ ท่แี ยกออกจากกนั 9 แตก่ ็ยึดเข้าไวด้ ้วยกนั ทางดา้ นบนลำ� ตวั เหมือนชดุ เกราะ เชน่ ล่นิ ทะเล หรือหอยแปดเกล็ด (3) Aplacophora ชน้ั อะพลาโคฟอรา เป็นมอลลัสก์ ทีโ่ บราณ ตัวคลา้ ยหนอน ไม่มีเปลอื ก อาศยั อยู่ตามโคลนใตท้ ะเล หรอื ตามผวิ ของฟองน�้ำ ตวั ยาวประมาณ 1-40 มิลลเิ มตร ไม่มเี ทา้ หรือถา้ มจี ะมขี นาดเลก็ มาก เชน่ หอยหนอน 8

สมาชิกทั้งหมดของมอลลัสก์ช้ันไบวาลเวีย (Bivalvia) เป็นสัตวน์ �้ำ สืบทอดเผ่าพันธ์ุ จากยคุ แคมเบรียนเมอ่ื กวา่ 500 ล้านปกี อ่ น ต่อมาในยุคดีโวเนยี นพบหลักฐานวิวัฒนาการให้ สามารถอยไู่ ดใ้ นน�้ำกร่อย และในน�้ำจืด ตอ่ เนือ่ งมาจนถึงปจั จุบัน หอยสองฝา หอยสองฝาสว่ นใหญอ่ าศยั ตามพน้ื ทะเล แตบ่ างชนดิ วา่ ยน�้ำ บางชนดิ เกาะตดิ บางชนดิ ขดุ รู ปจั จุบนั พบวา่ หอยฝาเดียวมมี ากชนดิ (Species) กว่าหอยสองฝา ถงึ 3 เทา่ บางชนดิ ยดึ ตดิ เปลอื กขา้ งหนง่ึ ไวก้ บั พนื้ ผวิ ทแี่ ขง็ เชน่ หอยนางรม ถึงจะมีจ�ำนวนชนิดเป็นรองแต่ปริมาณมวลรวม (Biomass) ของหอยสองฝา กลับมสี ูงกวา่ ของหอยฝาเดียวหลายเท่า หอยสองฝาโดยทว่ั ไปใชแ้ ผน่ เนอื้ เยอ่ื ทม่ี ี กลา มเน้อื ยดึ ฝา กลามเนื้อยดึ ตีน รปู รา่ งคลา้ ยใบขวานขดุ แซะเพ่อื แทรกตัวลงไป โบรกะยอาางหคา ร ปาก ดา นหนา หอยสองฝา มีฝาหอยเปน็ แคลเซียมคาร์บอเนต ใตพ้ ื้นทราย บางชนิดฝังตัวใต้ซากไมท้ ผ่ี ุพงั สามารถเปิด-ปดิ ได้ มคี วามสมมาตรกัน และบางชนิดกซ็ มุ่ ซ่อนตวั เพ่อื ล่าเหย่อื ขณะ คอื ฝาหอยทงั้ สองฝาจะมรี ปู รา่ งเหมอื นกนั ท่บี างกล่มุ สามารถเปดิ -ปดิ ฝาเป็นจงั หวะ ขนาดใกล้เคียงกนั แตก่ ลับซ้าย-ขวา เพือ่ พน่ ขบั แรงดนั น�้ำจนเสมอื นกบั ว่าได้ ฟนและรอง ส่วนภายในแตล่ ะฝาไมม่ ีสมมาตร วา่ ยน้� ำได้ กระเพาะ หน้า-หลัง ขนาดของหอยสองฝา ตีน จะงอย ดานลา ง มตี ้ังแตเ่ ท่าหวั เข็มหมดุ จนถงึ 2 ม. ฝาซายดานบน ลำไส ฝาหอยสองฝายึดตดิ กนั ด้วย อวัยวะเพศ เอน็ ยึดฝา หอยสองฝามลี ำ� ตวั สนั้ ดา้ นหนา้ เนอ้ื หอย ไต หัวใจ เป็นส่วนหัวที่ไม่แสดงวิวัฒนาการ หอยสองฝาไมม่ ตี า ไม่มีหนวด แต่ม ี กลยรา ึดอมฝยเานดอื้ านหลงั กลา้ มเนอื้ ยดึ ฝา (Adductor muscle) ระยางค์สว่ นปาก 2 คู่ สำ� หรับพัด และเอน็ ยดึ ฝา หรอื บานพบั (Hinge อาหารเขา้ ปาก มแี ผน่ เน้ือเย่อื สำ� หรับ เหงอื ก ligament) ซงึ่ บานพบั จะยดึ เปลือกทาง ดา้ นหลังบริเวณใตบ้ านพับ ประกอบด้วย เคลื่อนท่ี และว่ายน�้ำ มีเนอื้ แมนเทลิ ที่ ท�ำหน้าทีส่ รา้ งเปลือกแข็ง ฟันเรยี กวา่ hinge teeth ซึ่งสว่ นมากเป็น หอยสองฝามรี ะบบอวยั วะภายในทีซ่ ับซอ้ น ทวาร ลกั ษณะฟนั -รอ่ ง รับกนั เพ่อื ชว่ ยยึดเปลอื กไว้ด้วยกนั ทอ นำ้ เขา และ ออก และปอ้ งกนั การเล่อื นบดิ ไปจากแนว มรี ะบบหมนุ เวยี นเลือดประกอบด้วยหวั ใจและเส้นเลือด และระบบหายใจด้วยเหงอื ก ส�ำหรับการปดิ และเปิดของฝา เมือ่ กลา้ มเนอ้ื ยึดฝาหดตวั ลงจะทำ� ให้ ซง่ึ เหงอื กของหอยสองฝานนี้ อกจากทำ� หนา้ ทหี่ ายใจแลว้ ยงั ทำ� หนา้ ทกี่ รองอาหารจากน�้ำทดี่ ดู ผา่ น ทอ่ น�้ำเขา้ ดว้ ย ซงึ่ อาหารของหอยสองฝา คอื จลุ นิ ทรยี ์ พชื ขนาดเลก็ เชน่ สาหรา่ ยเซลลเ์ ดยี ว ฝาหอยปิด โดยเอ็นยึดฝาทีบ่ านพับจะถกู กดเหมอื นสปรงิ และเมื่อกลา้ มเน้อื ยึดฝาคลายตัวลง เอน็ ยดึ ฝาจะเป็นตวั สปรงิ ดนั ใหฝ้ าเปิดโดยอตั โนมตั ิ สัตวข์ นาดเลก็ และสารอนิ ทรยี ์ทีล่ อยตัวอยู่ในน�้ำ 10 11

เปลือกของหอยสองฝามีรูปร่างสณั ฐานหลายลกั ษณะ เชน่ เป็น รูปสามเหลยี่ ม รูปสเี่ หล่ยี มด้านไมเ่ ทา่ รปู กลม รปู ไข่ และรูปรี เป็นสง่ิ ส�ำคัญส�ำหรบั ใชใ้ นการจำ� แนก สายพันธุ์หอยสองฝาโดยเฉพาะลกั ษณะของวงศ์  (Family) และสกลุ   (Genus) หอยสองฝา ผิวดา้ นนอกของเปลือกหอยบางพวกเรียบเปน็ มัน หอยสองฝาเป็นสัตว์แยกเพศ ไข่มีขนาดเล็กและไม่ค่อยมีไข่แดง ส่วนใหญ่มีการ ผสมพันธุ์แบบภายนอกโดยการปล่อยไข่และสเปิร์มออกไปผสมกันในน�้ำ บางส่วนท่ีมีการ บางพวกมีหนาม สนั และรอ่ ง ซึ่งมีลกั ษณะเปน็ แนว ผสมพันธุ์ภายใน ซ่ีึงจะเกิดขึ้นบริเวณช่องว่างในเนื้อแมนเทิล โดยตัวเมียดูดสเปิร์มท่ีตัวผู้ รศั มหี รอื แนวขนานกับขอบเปลอื ก นอกจากการดู ปล่อยออกมาในน�้ำเข้าไปทางท่อดูดน�้ำเข้า แล้วเจริญเติมโตภายในตัวแม่ก่อนปล่อยออก รูปร่างของเปลือกภายนอกแล้วลักษณะของฟนั ดานหนา เม่ือเป็นตัวอ่อนหรือเม่ือเจริญสมบูรณ์ หอยกส็ ามารถใชป้ ระกอบในการจำ� แนกชนดิ ส�ำหรับหอยสองฝาน�้ำจืด ในอันดับ Unionoida จะปล่อยตัวอ่อนท่ีมีอวัยวะ เช่นกนั หอยสองฝาบางชนดิ อาจมีรูปรา่ ง เสนการเจรญิ เตบิ โต เป็นรูปตะขอ หรือเป็นรูปหัวขวาน ออกไปเกาะติดเป็นปรสิตปลา เพ่ือการกระจายพันธุ์ ภายนอกคลา้ ยกัน แต่ลกั ษณะฟนั ของ จนกระทั่งเติบโตสมบูรณ์แล้วจึงหลุดออกจากตัวปลา ตกลงสู่พื้นแหล่งน�้ำเพ่ืออาศัยหากิน หอยตา่ งกัน ย่อมต่างชนิดกัน อิสระตามปกติต่อไป สว่ นท่ีถกู สรา้ งขึน้ ก่อน และ ดานบ(uอนmมั โbบo) แก่ท่ีสดุ เรยี กว่า อัมโบ (Umbo) ฝาซายดานลา ง ปลาน้ำจืด ปลานำ้ จืดเปนผูพาหอยตวั ออ น การเพ่ิมขนาดของเปลือกท�ำโดยการ กระจายพันธุอ อกไปไดไกลๆ สรา้ งเปลือกใหมร่ อบอัมโบเป็นวงๆ เมอ่ื หอยตวั ออนเตบิ โต เปนหอยวัยเยาวจ ะหลุดออก จากปลาเหพอือ่ หยาวกัยนิ เอยิสารวะตอไป ซ้อนขยายออกไปเร่อื ยๆ ท�ำให้เกดิ หอยตวั ออน เขหเาอหขไยปงออืตงเกกปัวาอลหะอาตรนนือิด้ำถคอจกู รยืดดีบูกูดบั เสน้ ลายบนเปลือกรอบอมั โบออกเป็นชนั้ ๆ ดา นหลัง หอยตัวออ น หอยอตอวั กผสูปแู ลหอ ลยง สนเ้ำปร ม หอยวัยเยาวเ จริญ เรยี กว่าเสน้ การเจรญิ เตบิ โต (Growth line) ไปเปนหอยโตเตม็ วัย การกำ� หนดเปลอื กซา้ ยหรอื ขวาของหอยสองฝา หอยตัวออนมอี วยั วะรูปตะขอ หอยตัวเมียปลอย สเปรม ท�ำไดโ้ ดยถอื เปลอื กหอยให้ด้านอัมโบ ตั้งขนึ้ และให้ดา้ น หรอื หัวขวาน ทำหนา ทเ่ี กาะ หอยตวั ออ น บานพับของเปลอื กหันเข้าหาตวั ผสู้ ังเกต โดยปลายจะงอยแหลม ออกสแู หลงน้ำ หอยตัวเมยี ดูดสเปร ม จะชี้ออกจากตวั ผ้สู ังเกตไปทางดา้ นหน้าของหอย และเปลอื กหอยท้งั สองฝาจะอย่ตู ามต�ำแหนง่ ติดกบั ตวั ปลาน้ำจดื เขา ทางทอ ดดู นำ้ เขา ซ้าย-ขวา ของผู้สงั เกต สำ� หรับจะงอยเปลอื กของหอยเสยี บ จะตา่ งจากหอยสองฝาทว่ั ไปคอื ชีก้ ลบั ไปดา้ นหลัง สแเลปะรเจม รเขญิ า ภเผตาสิบยมใโกนตับเเปนไขนือ้ ภแตมาัวยอนใอเนทนหิลใอนยชตอ ัวงเวมายีงหอยตัวเมีย หอยตวั ผู 12 วงจรการขยายพันธ์ุของหอยสองฝาน�้ำจดื ในอนั ดับ Unionoida 13 คดั ลอก และดดั แปลงจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Unionida

หอยหินท่ีห้วยเดื่อ จากการศึกษาของอัศนี มีสุข (Meesook, 2014) พบว่าซากดึกด�ำบรรพ์ หอยสองฝาน�้ำจืดหลายชนิดท่ีพบในชั้นหินยุคครีเทเชียส สามารถจัดจ�ำแนกออกได้เป็น หอยหินทห่ี ้วยเดื่อ ถูกจดั อย่ใู น สองกลมุ่ ชวี นิ (Assemblage) ตามชว่ งอายุซ่ึงสอดคล้องกบั • อาณาจักร สตั ว์ (Kingdom: Animalia) ล6า6น.0ป อายขุ องหมวดหินโคกกรวด และหมวดหินเสาขัว ดงั นี้ คอื • ไฟลัม มอลลัสกา (Phylum: Mollusca) Maastrichtian 72.1 • ชน้ั ไบวาลเวยี (Class: Bivalvia) ทีถ่ ูกแบง่ ออกไดเ้ ป็น 6 ชน้ั ยอ่ ย Campanian • ชนั้ ย่อย พาลโี อเฮเทอโรดอนตา (Subclass: Palaeoheterodonta) ทถี่ กู แยก ตอนปลาย 83.6 กลุม่ ชวี ินท่ี 1 สมยั Albian (เรม่ิ มาจากสมยั Aptian) Santonian 86.3 • Trigonioides (Diversitrigonioides) diversicostatus ออกเปน็ 2 อนั ดบั คอื ไทรโกนอิ อยดา (Trigonioida) ซง่ึ ลว้ นอาศยั อยใู่ นน�้ำทะเล และ ครีเทเ ีชยส Coniacian 89.8 • Pseudohyria subovalis อนั ดบั ยนู โิ อนอยดา (Unionoida) ซงึ่ เปน็ หอยน�้ำจืดทง้ั หมด Turonian Cenomanian 93.9 • อนั ดบั ยนู ิโอนอยดา (Order: Unionoida) ท่ถี ูกแบ่งออกได้เปน็ 5 เหนือวงศ์ • เหนอื วงศ์ ไทรโกนอิ อยดอยเดยี (Superfamily: Trigonioidoidea) ทแ่ี บง่ ออกเปน็ 100.5 6 วงศ์ โดยพบเปน็ ซากดกึ ดำ� บรรพอ์ ยใู่ นหมวดหนิ เสาขวั และหมวดหนิ โคกกรวด รวม 4 วงศ์ 1. วงศ์ นากามูระนายอิเด (Family: Nakamuranaiidae) Albian 113.0 ตอน ตน Aptian 125.0 กลุ่มชวี ินท่ี 2 สมัย Aptian (ขยายถงึ สมยั Albian) 2. วงศ์ ไทรโกนิออยดเิ ด (Family: Trigonioididae) 2 ซม. มาตราสว่ น 129.4 • Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii Barremian 132.9 • Trigonioides (Trigonioides) kobayashii Hauterivian Valanginian 139.8 Berriasian 145.0 3. วงศ์ พลิคาโตยูนโิ อนิเด (Family: Plicatounionidae) Trigonioides (Trigonioides) kobayashii Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii 4. วงศ์ ซโู ดไฮรอิ ิเด (Family: Pseudohyriidae) หอยหนิ 2 สาุล 2 ชนิด คดั ลอกจาก Meesook, 2014 15 14 หอยหนิ 4 วงศ์ คดั ลอก และดดั แปลงจาก Sha Jin-geng, 2010

หอยหินท่ีห้วยเด่ือ ตัวอย่างหอยหินสองชนิด คือ Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii และ Trigonioides (Trigonioides) kobayashii พบในหมวดหินเสาขัว บริเวณภูเก้า อ�ำเภอ หอยหนิ ที่ห้วยเด่ือ ถกู ค้นพบโดยชาวบา้ นมาชา้ นานแล้ว จากการส�ำรวจธรณีวทิ ยา โนนสัง จังหวัดหนองบัวล�ำภู ซ่ึงอยู่ไม่ไกลจากพิพิธภัณฑ์หอยหินแห่งบ้านห้วยเด่ือ ในภายหลงั ปรากฏเป็นทแ่ี นช่ ัดวา่ หอยหินเหลา่ นเ้ี ป็นซากดึกด�ำบรรพห์ อยสองฝาน้� ำจดื สะสมตัวในยุคครีเทเชียสตอนต้น อยู่ในชั้นหนิ ทรายแป้งสีน้� ำตาลแดง ซง่ึ เป็นสว่ นหน่งึ ของ Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii Trigonioides (Trigonioides) kobayashii หมวดหินเสาขวั หอยหินท่ีพบทั้งหมดในหมวดหินเสาขัวมีหลายสายพันธุ์ จากผลการศึกษา ซ่ึงรายงานโดย สธุ ี จงอจั ฉรยิ กลุ , 2545 และ Meesook, 2014 สรุปได้ว่ามีอยอู่ ยา่ งนอ้ ย 2 สกุล 4 ชนิด ประกอบด้วย • Trigoniodes (s.s.) Trigonus • Trigoniodes cf. guangxiensis • Trigonioides (Trigonioides) kobayashii • Plicatounio (Guanxiconcha) suzukii จากหลักฐานทางด้านธรณีวิทยา และตะกอนวิทยา ท�ำให้สามารถระบุได้ว่า หอยสองฝาน�้ำจืดเหล่านี้มีชีวิตอยู่ในสภาวะแวดล้อมท่ีเป็น หนองน�้ำตื้น กระจายตัวอยู่ ในท่ีราบน�้ำท่วมถึง สองฟากฝั่งของล�ำน�้ำโค้งตวัด 16 17

หอยหินทั่วไทย หินตะกอนในหมวดหนิ พระวหิ ารขึน้ มามีการสะสมตัวในชว่ งยุคครเี ทเชียสซ่งึ เปน็ ยุค ทีห่ อยน�้ำจืดใน ระดับเหนือวงศ์ ไทรโกนิออยดอยเดยี (Superfamily Trigonioidoidea) มคี วามสมบรู ณ์ และมกี ารแพรพ่ นั ธอ์ุ ยา่ งกวา้ งขวาง รวมถงึ ในประเทศไทย โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในหมวดหนิ เสาขวั และหมวดหนิ โคกกรวด ซงึ่ จากการศกึ ษาของอศั นี มสี ขุ (Meesook, 2014) พบวา่ มกี ารสะสมตวั ในสภาวะแวดลอ้ มของทางน�้ำแบบโคง้ ตวดั ในสภาพภมู อิ ากาศทรี่ อ้ น และ คอ่ นข้างแห้งแลง้ หมวดหินเสาขัว และโคกกรวด มีการกระจายตวั เป็นวงรอบแอ่งโคราช และเชิงเขา ด้านเหนือของ เทือกเขาภูพาน รวมถึงบริเวณแอ่งนครไทย จังหวัดพิษณโุ ลก การกระจายตวั ของหมวดหนิ เสาขวั และโคกกรวด (เน้นด้วยสฟี ้า และเขียวอ่อน) นอกจากบริเวณภาคอีสานแล้วยังพบหินตะกอนที่มี บนทรี่ าบสูงโคราช ดดั แปลงจาก แผนท่ธี รณวี ิทยาประเทศไทย กรมทรพั ยากรธรณ,ี 2556 การสะสมตวั ในยคุ ครเี ทเชยี สพรอ้ มซากดกึ ดำ� บรรพห์ อยหนิ ในภาคใต้ มาตราส่วน 1 : 1,000,000 และ เปน็ สัญลักษณแ์ สดงต�ำแหน่งที่พบหอยหินในหมวดหนิ เสาขวั และ บรเิ วณจงั หวดั กระบี่ ในหมวดหนิ ลำ� ทบั ซงึ่ มลี กั ษณะของตะกอน โคกกรวด ในจงั หวดั หนองบวั ลำ� ภู ขอนแก่น ชยั ภูมิ กาฬสนิ ธ์ุ และรอ้ ยเอด็ เทียบไดก้ บั หมวดหินเสาขัว ของกลมุ่ หนิ โคราช กล่มุ หินโคราชเกิดจากการสะสมของตะกอนจากแหลง่ น้� ำจดื ต้ังแต่ช่วงปลายยุค ไทรแอสซิก เรอ่ื ยมาจนถงึ ปลายยคุ ครีเทเชียส จำ� แนกไดเ้ ปน็ 9 หมวดหิน เรียงล�ำดับจาก ล่างข้ึนบน ดงั นี้คอื หว้ ยหนิ ลาด น�้ำพอง ภูกระดงึ พระวหิ าร เสาขัว ภูพาน โคกกรวด แผนท่ีแสดงการกระจายตวั ของหนิ ตะกอน มหาสารคาม และปิดทบั บนสุดด้วยหมวดหินภูทอก มหายุคมีโซโซอิกในภาคใตข้ องไทย คดั ลอก และ 18 ดดั แปลงจาก Teerarungsigul et al., 1999 19

หอยหินท่ัวเอเชีย Maastrichtian ล6า 6น.0ป หอยหินทห่ี ้วยเดอ่ื เปน็ หอยน้� ำจดื สองฝา ตอนปลาย Campanian 72.1 หลงั จาก 93.9 ลา้ นปี ที่มีชวี ติ อยใู่ นยุคครเี ทเชียส ขอ้ มูลจากการ Santonian ศึกษาทางดา้ นบรรพชีวนิ วทิ ยาทั่วโลก ค ีรเทเ ีชยส Coniacian 83.6 100.5-93.9 ลา้ นปี ซ่ึงได้รวบรวมโดย Sha Jin-geng และ Turonian 86.3 113-100.5 ลา้ นปี สรุปเป็นแผนทแ่ี สดงรูปแบบการกระจาย ตอนตน Cenomanian 89.8 125-113 ลา้ นปี ตัวของหอยหนิ Trigonioidae 93.9 135-125 ลา้ นปี ในภมู ภิ าคเอเชีย (แสดงดว้ ยจุดสีดำ� ) ูจแรส ิซก Albian 100.5 ท่เี ปลยี่ นแปลงไปตามธรณกี าล คดั ลอก และ ดดั แปลง จาก Sha Jin-geng, 2010 และสามารถจดั แบง่ ไดเ้ ปน็ 5 ช่วงเวลา ตอน ตน ตอนกลาง ตอนปลาย Aptian 113.0 แผนท่โี ลกในหน้าขวา แสดงตำ� แหนง่ ของ Barremian 21 ทวปี ตา่ งๆ ทวั่ โลกในช่วงยคุ ครีเทเชยี ส ไทรแอส ิซก Hauterivian 125.0 บริเวณทร่ี ะบายสีแดงคือ ต�ำแหนง่ ของ Valanginian 129.4 ประเทศไทย ตอนปลาย Berriasian 132.9 พบหอยหนิ กระจายตวั เขา้ มาในภูมิภาค ตอนกลาง Tithonian 139.8 ของประเทศไทย เกือบตลอดชว่ ง ตอนตน Kimmeridgian 145.0 ยุคครเี ทเชียสตอนตน้ หรอื ประมาณ Oxfordian 152.1 135-100 ล้านปที ผี่ า่ นมา BCABaaaatlhjlloeoocnvniiiaaaiannnn 157.3 สมยั Aptian หอยหินแพรห่ ลายมาก Toarcian 163.5 ในภาคใตข้ องจีนตลอดเร่ือยไป Pliensbachian 166.1 จนถึงเกาหลี และญป่ี ุ่น Sinemurian 168.3 หลงั จากสมยั Albian ไม่พบหอยหนิ Hettangian 170.3 ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใตเ้ ลย Rhaetian 174.1 แต่กลบั มีการแพร่กระจายมากขน้ึ ไปทาง 182.7 ทิศเหนือ ขึ้นไปทางจนี มองโกลเลยี Norian และเลยขึน้ ไปถึงธเิ บต และรัสเซีย 190.8 20 Carnian 199.3 Ladinian 201.3 OAIlnendnisueikaainnan 208.2 237.0 237.0 242.0 247.2 251.2 251.9

ก่อนจะไปต่อกันท่ีเรื่องของซากดึกด�ำบรรพ์ “ไดโนเสาร์คอยาว ท่ีบ้านห้วยเดื่อ” เรื่องของไดโนเสาร์ เรามาท�ำความรจู้ กั ไดโนเสารต์ ามแบบฉบบั ของนักบรรพชวี ินวิทยากนั ก่อน นกั บรรพชวี นิ วทิ ยาจดั แบง่ ไดโนเสารเ์ ปน็ 2 กลมุ่ ใหญต่ ามลกั ษณะของกระดกู สะโพก • ออร์นธิ ิสเชยี (Ornithischia) มีสะโพกเหมือนของนก จะมีกระดูกหวั หนา่ วอยูต่ ดิ กับกระดกู กน้ โดยช้ไี ปดา้ นหลังทัง้ คู่ • ซอริสเชีย (Saurischia) มสี ะโพกเหมือนของสตั วเ์ ลือ้ ยคลาน จะมีกระดูกหวั หน่าว กบั กระดกู ก้นอย่แู ยกจากกนั โดยกระดูกหัวหน่าวช้ไี ปดา้ นหนา้ ไดโนเสารซ์ อรสิ เชยี น (Saurischians) แบง่ เปน็  2   ก  ลมุ่ คอื  พวกกนิ เนอื้  ก  บั พวกกนิ พชื ไดโนเสารอ์ อร์นิธสิ เชยี น (Ornithischians) เปน็ ไดโนเสาร์พวกกนิ พืชทง้ั หมด 1. เทอโรพอดส์ (Theropods) เป็นไดโนเสาร์ พวกกนิ เนอื้ เดินสองขา แบง่ เปน็ 5 กลุ่มย่อย คือ แบง่ ดว้ ยขนาด เป็น 2 กลมุ่ ยอ่ ย คอื 1. สเตโกซอร์ (Stegosaurs) เป็นไดโนเสาร์ มีครีบหลัง เดนิ สี่ขา • คาร์โนซอร์ (Carnosaurs) มีขนาดใหญ่ 2. ออรน์ ิโธพอดส์ (Ornithopods) เปน็ ไดโนเสาร์ ปากเป็ด เดินสองขา • ซลี ูโรซอร์ (Coelurosaurs) มขี นาดเล็ก 3. เซอราทอปเชียน (Ceratopsians) เปน็ ไดโนเสาร์ มีเขา เดนิ สีข่ า 2. ไดโนเสารค์ อยาว พวกกินพชื ขนาดใหญ่ เดนิ สข่ี า 2 กลมุ่ ใหญ่ คือ 4. แองคโี ลซอร์ (Ankylosaurs) เป็นไดโนเสาร์ หมุ้ เกราะ เดินสข่ี า • โปรซอโรพอดส์ (Prosauropods) เช่ือว่ากินเนอ้ื ไดด้ ว้ ย สูญพนั ธไ์ุ ปกอ่ น 5. พาคเี ซปฟาโลซอร์ (Pachycephalosaurs) เปน็ ไดโนเสาร์ หวั แขง็ เดนิ สองขา ตั้งแต่ยคุ จูแรสซกิ ตอนตน้ * แองคโี ลซอร์ และ พาคเี ซปฟาโลซอร์ เป็นไดโนเสาร์ 2 กลุ่มทย่ี ังไม่พบในประเทศไทย • ซอโรพอดส ์(Sauropods) มกี ารพฒั นาขนาดใหญข่ นึ้ กวา่ ญาตใิ นยคุ ตน้ ๆ มาก ลา นป 66.0 Kinnareemimus Argentinosaurus Ratchasimasaurus Psittacosaurus ครีเทเชียส Siamodon Hypsilophodontid โคกกรวด SiamosaurusCarnosaursSiamotyrannusCompsognathus Phuwiangosaurus 145.0 เสาขัว Coelurosaurs ภกู ระดึง SauropodsEuhelopodid ูจแรสซิก ProsauropodsBrachiosaurus มหายุค ีมโซโซ ิอก StegosaursStegosaur Ornithopods 201.3 Ceratopsians น้ำพอง Isanosaurus ไทรแอส ิซก กระดกู กน THEROPODS กระดกู กน กระดกู หวั หนา ว 251.9 กระดูกหวั หนาว SAURISCHIANS ORNITHISCHIANS สะโพกแบบนก สะโพกแบบสัตวเ ลื้อยคลาน DINO SAURS 22 การจดั กลมุ ไดโนเสาร ตามลักษณะของกระดูกสะโพก พรอมตัวอยา ง ไดโนเสารข องไทย ท่ีพบในหมวดหินอายุตา งๆ กนั ของกลุม หนิ โคราช 23

ไดโนเสาร์คอยาว แผนผงั แสดงสรปุ อนกุ รมวธิ านอยา่ งยอ่ ของไดโนเสาร์คอยาว สกุลต่างๆ ท่ีพบใน พ้ืนทีต่ า่ งๆ ทวั่ โลก โดยสัญลกั ษณ์สีบง่ บอกทวปี ที่พบ ตำ� แหนง่ และความยาวของแถบสีแสดง ไดโนเสาร์ทัง้ หมด ถกู จัดอย่ใู น ชว่ งอายุที่เจา้ คอยาวแต่ละสกลุ มชี ีวติ อยู่ โดยไดโนเสาร์สกลุ  ภเู วยี งโกซอรสั  มชี ีวติ ร่วมสมยั กับ • อาณาจักร สัตว์ (Kingdom: Animalia) หอยหินบา้ นหว้ ยเดอ่ื ซ่งึ เป็นช่วงการสะสมตะกอนของหมวดหนิ เสาขัว และโคกกรวด • ไฟลมั คอร์ดาตา (Phylum: Chordata) • ช้นั ซอรอปซิดา (Class: Sauropsida) จูแรสซิก ครเี ทเชยี ส ยุค • อนั ดบั ใหญ่ ไดโนซอเรีย (Superorder: Dinosauria) ตอนตน ตอนกลาง ตอนปลาย ตอนตน ตอนปลาย ซง่ึ ถกู แยกออกเปน็ อนั ดบั ซอรสิ เชยี (Saurischia) ทมี่ สี ะโพกคลา้ ยสตั วเ์ ลอื้ ยคลาน และ ออรน์ ธิ สิ เชยี (Ornithischia) ทม่ี สี ะโพกคลา้ ยนกโบราณ สำ� หรบั ไดโนเสารค์ อยาว จดั อยใู่ น Hettangian สมัย Sinemurian • อันดับ ซอริสเชยี (Order: Saurischia) Pliensbachian ซงึ่ แยกออกเปน็ 2 อนั ดับยอ่ ยคือพวกกินเนอ้ื และพวกกนิ พชื ส�ำหรับเจา้ คอยาว Toarcian เป็นพวกกนิ พชื จดั อยู่ใน BCABaaatalljlheooocniviniiaaaannnn Oxfordian • อันดบั ยอ่ ย ซอโรโพโดโมฟา (Suborder: Sauropodomorpha) Kimmeridgian ซง่ึ แยกออกเปน็ 2 อนั ดบั ฐาน (Infraorder) ประกอบดว้ ย โปรซอโรโพดา Tithonian (Prosauropoda) และซอโรโพดา (Sauropoda) Berriasian โปรซอโรโพดา เปน็ ไดโนเสารร์ ุ่นแรกๆ ท่ีเช่อื ว่าเป็นไดโนเสาร์คอยาวทกี่ ินทัง้ พชื Valanginian และกินทัง้ เนือ้ ซึ่งสญู พันธุ์ไปตงั้ แต่ช่วงปลายของยคุ จแู รสซิกตอนต้นแล้ว Hauterivian ส่วนซอโรโพดาเป็นกลุ่มไดโนเสาร์กินพืช ท่มี ีวิวัฒนาการทั้งรูปร่าง และขนาด Barremian ตอ่ เน่ืองไปจนส้ินสดุ ยคุ ไดโนเสาร์ ซอโรโพดา มวี วิ ัฒนาการแยกเปน็ หลายสาขา (Clade) เชน่ Eusauropoda, Aptian Neosauropoda, Macronaria และ Titanosauriforms ฯลฯ Albian ในแตล่ ะสาขาของเหลา่ ไดโนเสาร์คอยาว มกี ารแตกแขนงสายพันธ์ลุ งไปสรู่ ะดับ Cenomanian วงศ์ (Famiy), สกุล (Genus) และชนดิ (Species) ตา่ งๆ มากมาย จากช่วงปลายยุค Turonian ไทรแอสซิก จนถึงปลายยุคครเี ทเชียส Coniacian Santonian 24 Campanian Maastrichtian 219019..33 อายุ (ลา นป) 190.8 182.7 174.1 117680..33 166.1 163.5 157.3 152.1 145.0 139.8 132.9 129.4 125.0 113.0 100.5 93.9 89.8 86.3 83.6 72.1 66.0 เสาขัว ภูพาน โคกกรวด แสหกลุลงทต่ีพา งบๆไดทโนัว่ โเสลากร Shunosaurus OMmameiesanuchruissaurus แอฟริกา Diplodocus เอเชยี Apatosaurus ออสเตรเลีย Camarasaurus Euhelopus ยุโรป Europasaurus อินเดีย Giraffititan Cedarosaurus มาดากสั การ Brachiosaurus Venenosaurus อเมริกาเหนอื อเมรกิ าใต Chubutisaurus Wintonotitan Ligabuesaurus PhuwianAgnodseasuaururuss สกลุ ภเู วียงโกซอรสั Argentinosaurus Epachthosaurus Malawisaurus Dreadnoughtus Notocolossus Tapuiasaurus Futalognkosaurus Mendozasaurus Isisaurus Diamantinasaurus Rapitosaurus Alamosaurus Opisthocoelicaudia Trigonosaurus ดดั แปลงจาก Bernardo et al. (2016) Saltasaurus Neuquensaurus 25

ไดโนเสาร์คอยาวท่ีห้วยเด่ือ จากการสำ� รวจธรณีวิทยาบรเิ วณพิพิธภณั ฑห์ อยหินบา้ นหว้ ยเดือ่ ท�ำให้ทราบ ได้ว่าซากดกึ ดำ� บรรพ์หอยหินสะสมตวั อยใู่ นชน้ั หนิ ทรายแป้ง และนอกจากน้ียงั พบ กระดูกไดโนเสารใ์ นชัน้ หินเหนอื ข้ึนไปประมาณสองเมตรเศษ ซากดกึ ดำ� บรรพ์กระดกู ไดโนเสารท์ ี่พบสว่ นใหญ่เปน็ เศษกระดูกขนาดเลก็ ท่ีเปน็ ส่วนประกอบของกระดกู ซโี่ ครง กระดกู หาง และกระดูกนิ้วขาหนา้ ส่วนที่เปน็ ชน้ิ ใหญค่ อ่ นขา้ งสมบรู ณเ์ ปน็ กระดกู ขาหนา้ ทอ่ นบนทงั้ สองขา้ ง และกระดกู แขง้ หลงั ซา้ ย เมตร ช้ันซากดึกดำบรรพ กระดกู ไดโนเส าร จากการศึกษาของนักบรรพชวี ินวิทยาท�ำให้ทราบในเบ้อื งตน้ วา่ กระดูกเหล่านี้ 17 15 เปน็ ของไดโนเสาร์คอยาว หรือซอโรพอด (Sauropod) ซึ่งคาดว่าเปน็ ไดโนเสาร์สกุล ชนั้ ซากดึกดำบรรพ หอยหิน “ภเู วียงโกซอรัส” ซึง่ มีความสอดคลอ้ งกันทงั้ ลกั ษณะของกระดกู เทา่ ท่ีค้นพบ และ หมวดหินเสาขวั ท่ีเกบ็ รกั ษาซากดกึ ดำ� บรรพ์กระดกู เหลา่ นี้ แตย่ ังไม่มีรายงานการวจิ ัย ยนื ยันอย่างชดั เจน 10 27 หนิ กรวดมน หมีนิ ชทั้นรเาฉยยี งระดับ 5 ไหมนิ มที รชา้ันยเฉยี งระดับ ชัน้ ซากดกึ ดำบรรพ หนิ ทรายแปง 0 แทง่ ลำ� ดบั ชนั้ หนิ ดดั แปลงจาก สธุ ี จงอจั ฉรยิ กลุ , 2545 26

โครงเจ้าคอยาวบ้านห้วยเดื่อ โครงกระดกู ไดโนเสาร์คอยาวซอโรพอด แสดงชนิ้ ส่วนหลักๆ พร้อมกับช้นิ สว่ น ท่ีขุดค้นพบ (ชิ้นที่ระบายสีเหลือง) จากชั้นหินตะกอนหมวดหินเสาขัว บริเวณแหล่ง กะโหลก รวมถงึ ขากรรไกรบน ซากดกึ ดำ� บรรพบ์ า้ นห้วยเด่ือ กระดูกสนั หลงั สว่ นคอ กระดูกซี่โครง กระดูกสันหลงั ใตก้ ระเบนเหนบ็ กระดกู สนั หลังสว่ นล�ำตัว กระดูกปกี สะโพก กระดูกเชงิ กราน ขากรรไกรล่าง กระดกู สันหลังสว่ นหาง กระดกู ซโ่ี ครงส่วนคอ กระดกู ปกี สะโพก กระดกู สะบักไหล่ กระดูกแผน่ รอง-อก กระดูกหัวหน่าว กระดกู เชิงกราน กระดูกขาหน้าทอ่ นบน กระดูกปลายขาหนา้ ทอ่ นนอก เจา้ คอยาวเป็นไดโนเสาร์กินพืช กระดูกปลายขาหน้าทอ่ นใน กระดกู หัวหนา่ ว กระดูกขาหลังท่อนบน ทถ่ี ูกจดั อยู่ในกลมุ่ ซอรสิ เชีย (Saurischia) กระดกู แข้ง กระดกู แกนเลบ็ กระดูกนอ่ ง กระดูกเชฟรอน เป็นพวกที่มีสะโพกเหมอื นกบั ของสัตว์ ทำ� หนา้ ท่รี บั น�้ำหนกั หาง เลือ้ ยคลาน คือมกี ระดูกหัวหนา่ ว กบั กระดกู ก้นหรอื กระดกู เชิงกราน กระดกู นิ้วขาหนา้ แยกออกจากกนั โดยกระดูกหวั หนา่ ว ชีไ้ ปดา้ นหนา้ สว่ นกระดูก เชงิ กรานชีไ้ ปด้านหลงั 28 29

ผังพิพิธภัณฑ์หอยหิน จังหวัดหนองบัวล�ำภู พพิ ิธภณั ฑ์หอยหนิ 150 ล้านปี สะพพพิ านธิ ภทณัางฑเข์ า้ รา้ นคา้ ชมุ ชน ทางแยกไปชมแหล่งหอยหิน สมอเดาค็จาพรรปะนระเวรศัตวิ ร บจัต�ำรหเขนา้ ่าชยม ชุมนมุ ปา้ ยชี้ทาง ทางเดินสู่แหล่งหอยหิน ลานจอดรถ 30 เจา้ คอยาวเจ้า ไทรเซอราทอปส์ และท-ี เร็กซ์ จอมโหด ห(ดนรู า้ าผยาลหะินเอทียรดาหยในนา้ ตถ�ำดั นไปาน) อาคารหอยหิน 150 ล้านปี 31

ล�ำดับชั้นหินท่ีหน้าผา ผังซากกระดูกไดโนเสาร์ ¤ÑÊÅÇÓÞÒÑ´ ÑÅÁº¡ËªÑéɹ¹ÒËÔ³ª(¹ÁÔ¹.)´ Ô˹ Êѹ´Í¹·ÃÒ ¢Í§¡ÊÒÀÃҵǡÐáµÇд¡ÍŌ͹Á 13 19 ¤Ó͸ºÔ ÒÂÅ¡Ñ É³Ðà¹Í×é ËÔ¹ ซากดกึ ดำ� บรรพ์ 12 àáËÁÊ¹Ô ´ç ´·µ§ÃЪҡé¹Ñ ÂÍàÊ©¹¹ÕÂÕࡧÓé ×ÍõºÐÒ´ÁÅѺ¹á´Ê§¡-ÐÒʹÃÁ¤Óé µµ´Ñ ¢ÒÇÑ Åã¹¹ÍÒÊ´‹Í´¹Ñ¹Õ»´àÒ͹¹¹×Íé ¡·ÅÅÃÐÒÒà§ÍÂÂÕ¢´Í¶§·Ö§»Ò§Ò¹¹éÓ¡âŤҧŒ §µÇÑ´ กระดูกไดโนเสาร์บรเิ วณ บ้านหว้ ยเดือ่ ถูกคน้ พบใน 11 18 ËÔ¹â¤Å¹ÊÁÕ ‹Ç§á´§ ÊÐÊÁµÑÇã¹áÍ‹§¹Óé ËÃÍ× ã¹·ÕèÃÒº¹éÓ·‹ÇÁ¶Ö§ ชนั้ หินทรายหมวดหนิ เสาขัว ชว่ งบนสดุ ของหนา้ ผาหนิ ทราย 10 è·ÕÃÒº é¹Ó·‹ÇÁ¶Ö§ ท่มี ีความหนาประมาณ 17 เมตร 17 ËÊ¢ÍÅ¹Ô §ºÑ·Ë´Ã¹Ô ÒÇŒ ·ÂÂÃà˹ÒÔ¹ÂÍ×é ·»á»ÃÙ¹Ò§‡ ʪÁÕá¹éÑ »‹Ç˧‡§Áá´Ò¾Â§ºàÅà«Á¢Ò´ç ¡µ1´4Ð¡Ö ¡´ÍÓ¹ºÅÃÐÃà¾ÍÂÕˏ ´Í¶ÂÖ§ÊÅÍЧà½ÍÂÕÒÁ´ÒÁ¡Òª¡‹Ç§º¹ โดยมกี าร กระจายตวั เป็นแถบกว้าง ËÔ¹·ÃÒÂà¹×éÍÅÐàÍÂÕ ´ÊÕ¹éÓµÒÅá´§ ÊÐÊÁµÇÑ ã¹áͧ‹ ¹éÓ ËÃÍ× ã¹·ÃÕè Òº¹éÓ·Ç‹ Á¶Ö§ ·Ò§ é¹Ó⤌§µÇÑ´ ประมาณ 7.5 เมตร ยาวประมาณ 9 13 14.5 เมตร อยใู่ นแนวเกอื บเหนอื -ใต้ 11 ªØ´¢Í§ªéѹËÔ¹·ÃÒÂÊÕà·Ò-à·Òá´§ áÊ´§ª¹éÑ à©ÂÕ §ÃдºÑ ÃÇÁ 10 ªéѹ เอยี งไปทางตะวันออกเล็กนอ้ ย ÁÊ¡ÕÇ‹ ¹ÒÃŤ‹Ò´Ñ§¢¢¹Í§Òá´µ´Å‹Õ ÐÁªàÕ ÈÑé¹ÉàËÁÔ¹´ç ·µÃСÒÂÍá¹»Á‡§Õ¢Ê¹ÕáÒ´´§ËÂáÒźÐËàÔ¹¡âÍ× ¤ºÅÁ¹¹»Ð»¹ ซากดึกดำ� บรรพก์ ระดูกไดโนเสาร์คอยาว 8 ÊÇ‹ ¹º¹àÁ´ç µÐ¡Í¹ÅÐàÍÂÕ ´¢é¹Ö à¡×ͺÁ¹ ÁÕ¡Òä´Ñ ¢¹Ò´´»Õ Ò¹¡ÅÒ§ ทพ่ี บสว่ นใหญเ่ ป็นเศษกระดกู ขนาดเล็ก 10 ท่เี ป็นส่วนประกอบของกระดกู ซี่โครง กระดกู หาง และกระดกู นิว้ ขาหนา้ 7 ส่วนท่เี ป็นช้ินใหญค่ ่อนข้างสมบูรณ์ 9 เป็นกระดกู ขาหนา้ ท่อนบน ทั้งสองขา้ ง และกระดูก 6 แข้งหลงั ซา้ ย 58 47 36 ¢ÊÁÍÕàÇ‹ ȧ¹ÉàÈ¢ËÍɧ¹Ô ËË·Ô¹¹Ô ÷¡ÒÕèàÂêÇáè×Í´»ÁÁ§‡»¹Ãá»ÐÅÊÃÐÐÒË¡¹Ô¹Í´âºÇŒ¤Â´Å¹ÇŒ ¹ÂÓé à»Åá¡çÙ¹¤¹àÅ»ŒÍ¤¹šÂÃÊÕµ‹Ç¹(cãËaÞlc‹rete) «è§Ö ໹š ªé¹Ñ 5 Ë¹Ô â¤Å¹ 24 Ë¹Ô ·ÃÒÂệ§ Ë¹Ô ·ÃÒ 13 หินกรวดมน 2 1 (แท่งลำ� ดบั ช้นั หิน ดัดแปลงจากตน้ ฉบบั ของ ดร.ประดิษฐ์ นเู ล, 2562 สนง. ทรัพยากรธรณีเขต 2 ขอนแก่น) ลำ� ดบั ชนั้ หนิ ตะกอนหมวดหนิ เสาขวั บรเิ วณหนา้ ผาสงู ประมาณ 13 เมตร สว่ นบนสดุ 0 1.0 2.5 เมตร 33 เปน็ หนิ ทรายสนี �้ำตาลแดง ปดิ ทบั อยบู่ นหนิ โคลนสมี ว่ งแดงชน้ั หนาประมาณ 2 เมตรเศษ ถดั ลงไปเปน็ การสลบั ช้ันของหินทรายเนอ้ื ปนู กับหนิ ทรายแปง้ พบซากดกึ ด�ำบรรพ์ (ภาพผงั ซากกระดูกไดโนเสาร์ จากพิพิธภัณฑ์หอยหิน 150 ลา้ นปี จ.หนองบัวล�ำภ)ู หอยหนิ น้� ำจดื ตวั โต อยู่ในชนั้ หนิ ทรายแปง้ ชัน้ ท่ี 14 ทร่ี ะดบั สงู ประมาณ 9 เมตร สว่ นลา่ งของหนา้ ผาหนิ ทงั้ หมดประกอบดว้ ย ชดุ ของชนั้ หนิ ทรายทแี่ สดงชน้ั เฉียงระดบั บง่ บอกทศิ ทางการไหลของทางน�้ำโคง้ ตวดั โบราณ รวม 10 ชนั้ ตอ่ เนอ่ื งกนั โดยมหี นิ กรวดมน 32 ช้นั บางรองรบั ส่วนลา่ งของชัน้ หินทรายเกือบทุกชนั้

พิพิธภัณฑ์หอยหิน 35 ภายในพิพิธภณั ฑแ์ บง่ การจัดแสดงออกเปน็ 5 โซน เร่ิมจากจุดท่ีไกลโพ้นในจักรวาล น�ำเข้าสู่โลกของเราที่เป็น แหล่งก�ำเนิดชีวิต และเร่ืองราวพื้นฐาน รวมถึงวิธีการส�ำรวจ ศกึ ษาทางดา้ นธรณวี ทิ ยา และบรรพชวี นิ วทิ ยา ทท่ี ำ� ใหม้ นษุ ยเ์ รา รู้จกั โลกใบนี้ดียง่ิ ขึ้น ซ่งึ จะท�ำให้ผชู้ มฉงน แต่กลบั เปน็ การเปดิ โลกทศั น์ไดก้ ว้างขวาง ชัดเจน ต่ืนตากบั มหัศจรรยแ์ หง่ การคน้ พบ ทีบ่ ้านหว้ ยเด่อื ซ่ึีงเปน็ หลกั ฐานน�ำไปสู่พัฒนาการศึกษาด้านธรณวี ิทยาของไทย ท่ีใชอ้ ้างองิ ไดท้ ัว่ โลก 34

พิพิธภัณฑ์หอยหิน 37 นอกจากการถ่ายทอดเรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ความเป็นมา ธรณีวิทยา ซากฟอสซลิ หอยหนิ และกระดกู ไดโนเสารท์ ค่ี น้ พบ รวมถึงผลการศกึ ษาวจิ ัยแล้ว เรอ่ื งราวเบ้อื งหลงั ของความสำ� เร็จ ยังถกู น�ำเสนออย่างเป็นระบบ ต้งั แตพ่ ้ืนฐานการสำ� รวจ ศึกษา ดา้ นธรณวี ิทยา และโบราณชีววิทยา รวมถงึ เคร่ืองมืออุปกรณ์ แผนที่ เขม็ ทิศ ขนั้ ตอนการท�ำงาน ตลอดจนถงึ เครือ่ งมอื ด้าน กฎหมายท่เี ป็นตัวชว่ ยในการอนรุ กั ษ์ซากดกึ ดำ� บรรพ์ และแหลง่ ซากดกึ ด�ำบรรพ์ ให้อยู่อยา่ งยั่งยนื และยงั ประโยชน์สงู สดุ ใหก้ บั ทอ้ งถิน่ และสังคมโดยรวม 36

เอกสารอ้างอิง Bernardo J. Gonzalez Riga, Matthew C. Lamanna, Leonardo D. Ortiz David, Jorge O. Calvoand Juan P. Coria, 2016, A gigantic new dinosaur from Argentina and กรมทรัพยากรธรณี, 2550, ธรณวี ทิ ยาประเทศไทย, พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2 ส�ำนักธรณีวิทยา, the evolution of the sauropod hind foot, Scientific Reports 6, Article number 19165. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พด์ อกเบ้ยี Fang Zong-jie, Chen Jin-hua, Chen Chu-zhen, Sha Jin-geng, Lan Xiu, and Wen จฑุ ามาศ จวิ าลกั ษณ,์ พชิ ติ พรหมประศร,ี อรภา นาคจนิ ดา, 2550, หอยกาบน�้ำจดื ของไทย, Shi-xuan, 2009, Supraspecific Taxa of the Bivalvia First Named, กลมุ่ งานวจิ ยั ความหลากหลายทางชวี ภาพสตั วน์ �้ำจดื , สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาทรพั ยากร Described, and Published in China (1927–2007), Paleontological ประมงน้� ำจดื , สำ� นกั วจิ ยั และพฒั นาประมงน้� ำจดื , กรมประมง: โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์ Contributions, NEW SERIES Number 17, The University of Kansas การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั Paleontological Institute. ประดษิ ฐ์ นเู ล, 2562, ลำ� ดบั ชนั้ หนิ บรเิ วณพพิ ธิ ภณั ฑห์ อยหนิ 150 ลา้ นป ี จ.หนองบวั ลำ� ภ,ู Meesook, A. 2014, Lithostratigraphy and faunal assemblage of the non-marine สำ� นกั งานทรพั ยากรธรณี เขต 2 (เอกสารไมต่ พี มิ พเ์ ผยแพร)่ Cretaceous bivalves Trigonioides and Plicatounio from the Khok Kruat ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2544, พจนานกุ รมศพั ทธ์ รณวี ทิ ยา ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน, พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1 Formation in the Phu Kao A  rea, Non Sang and Si Bun Rueang Districts, กรงุ เทพฯ: 384 หนา้ , กรงุ เทพฯ: อรณุ การพมิ พ์ Nong Bua Lam Phu Province, Northeastern Thailand, Technical Report No. สมศกั ดิ์ ปญั หา, หอยน�้ำจืดของไทย คณะวิทยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย จาก BFP 4  /2013, Division of Fossil Protection, Department of Mineral Resources. https://www.mwa.co.th/ewt_dl_link.php?nid=515 Sha Jin-geng, 2010, Historical distribution patterns of trigonioidids (non-marine สธุ ี จงอจั ฉรยิ กลุ , 2545, รายงานผลการสำ� รวจ ฉบบั ที่ 1 สสุ านหอยหนิ ลา้ นปบี า้ นหว้ ยเดอ่ื Cretaceopus bivalves) in Asia and their palaeogeographic significance. ตำ� บลโนนทนั จงั หวดั หนองบวั ลำ� ภ,ู ฝา่ ยโบราณชวี วทิ ยา กองธรณวี ทิ ยา กรมทรพั ยากรธรณี Proceedings of the Royal Society B, 277: 277-283 https://en.wikipedia.org/wiki/มอลลัสกา Teerarungsigul N, Raksaskulwong L & Khantaprab C. 1999., Reconsideration of the https://en.wikipedia.org/wiki/Unionida lithostratigraphy of non-marine Mesozoic rocks in Thung Yai-Khlong Thom area, southern Thailand. Proceedings of Symposium on Mineral, Energy, 38 and Water resources of Thailand: Towards the year 2000, October 28-29, 1999, Bangkok, Thailand. 98-114


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook