Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการสอนกิจกรรมทางกาย สำหรับเด็กบกพร่องทางสติปัญญา (ฉบับผู้ปกครอง)

คู่มือการสอนกิจกรรมทางกาย สำหรับเด็กบกพร่องทางสติปัญญา (ฉบับผู้ปกครอง)

Published by Thalanglibrary, 2021-07-08 03:07:27

Description: คู่มือการสอนกิจกรรมทางกาย_สำหรับเด็กบกพร่องทางสติปัญญา_(ฉบับผู้ปกครอง)

Search

Read the Text Version

ค่มู ือการสอนกจิ กรรมทางกาย สำหรบั เดก็ บกพร่องทางสตปิ ัญญา (ฉบบั ผู้ปกครอง)

คำนำ คมู อื การสอนกจิ กรรมทางกายสำหรบั เดก็ บกพรอ งทางสตปิ ญ ญา (ฉบบั ผปู กครอง) ฉบบั น้ี จัดทำขึ้นเพื่อสรางความรูความเขาใจใหกับผูปกครองหรือผูที่ดูแลเด็กที่มีความบกพรอง ทางสติปญญาในการสรางเสริมสุขภาวะใหกับเด็กที่มีความบกพรองทางสติปญญาดวยการ เลือกใชกิจกรรมทางกายไดอยางถูกตองและเหมาะสมกับเด็กแตละคน เพื่อใหเกิดประโยชน ในการพัฒนาสุขภาวะไดอยางสูงสุด การสรางสุขภาวะของเด็กที่มีความตองการพิเศษถือวาเปนสิ่งที่มีความจำเปนอยางมาก เพื่อเปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กใหเกิดความเทาเทียมกัน และสงผลตอการพัฒนา ประเทศ โดยผานกิจกรรมทางกายเปนสื่อ ซึ่งกิจกรรมทางกายเปนการเคลื่อนไหวรางกาย ในอิริยาบถตางๆ ซึ่งกอใหเกิดการใชและเผาผลาญพลังงาน โดยกลามเนื้อทุกสวนขยับอยาง กระฉบั กระเฉงในชวี ติ ประจำวนั หากมกี ารจดั สรรเวลาใหก บั เดก็ ทม่ี คี วามบกพรอ งทางสตปิ ญ ญา ไดใชเวลาวางในการฝกฝนหรือปฏิบัติกิจกรรมทางกาย ก็จะสามารถสรางโอกาสที่ดีใหกับ เด็กเหลานี้มีสุขภาวะที่ดี มีพัฒนาการทางดานสมรรถภาพทางกายและจิตใจที่ดี คูมือฉบับนี้จะเสร็จสมบูรณไมไดเลย หากไมไดรับความรวมมือจากผูชวยศาสตราจารย ดร.มยุรี ศุภวิบูลย และศาสตราจารย ดร.เจริญ กระบวนรัตน ที่ปรึกษาโครงการสรางเสริม สุขภาวะใหกับเด็กที่มีความตองการพิเศษดวยการใชกิจกรรมทางกายเปนสื่อ หวังเปนอยางยิ่งวา คูมือการสอนกิจกรรมทางกายสำหรับเด็กบกพรองทางสติปญญา (ฉบับผูปกครอง) ฉบับนี้ จะเปนประโยชนใหกับผูปกครองและผูดูแลเด็กที่มีความบกพรอง ทางสติปญญาตอไป พฤษคภณาคะผมูจ2ัด5ท6ำ4

คำนยิ ามศพั ทท ่เี กย่ี วขŒอง สารบัญ 1. ความรูทŒ ่ัวไปเกี่ยวกบั ความบกพร‹องทางสตปิ ญ˜ ญา 1 ระดับความรุนแรง 1 สาเหตุความพิการ 1 ลกั ษณะของเดก็ ท่ีมคี วามตอ งการพเิ ศษประเภทบกพรองทางสตปิ ญ ญา 2 กเดลก็ มุ ทดี่มาีคววนาซ มินตโดองรกมา(รDพoิเศwษnปSรyะnเdภrทomบกeพ) รอ งทางสตปิ ญญา 2 คปวระามเภเกทย่ีบวกขพอ รงอ เชงทิงกางาสรแตพิปทญ ยญข าองเดก็ ทีม่ คี วามตองการพเิ ศษ 3 2. กิจกรรมทางกายสำหรับเด็กทวั่ ไปอายุ 6-12 ป‚ หรอื เดก็ ในระดับประถมศกึ ษา 4 หลกั การทวั่ ไป 4 กิจกรรมทางกายทป่ี รากฏในหลักสูตรแกนกลาง 2551 4 3. กทิจากงรสรตมปิ ทญ˜ าญงกาารยะสดำับหปรรับะเถดมก็ ศทึกม่ี ษีคาวามตŒองการพเิ ศษประเภทบกพร‹อง 5 การดำเนินการ 5 กจิ กรรมเสนอแนะ 5 กิจกรรมท่ีควรละเวน 5 ปขอระเทเภจ็ ทจรบงิกเกพ่ยีรอวกงทับากงาสรตสิปอนญ กญจิ ากรรมทางกาย สำหรบั เดก็ ท่มี ีความตองการพิเศษ 6 ทบที่มบีควาทามขตอองผงกูปากรคพรเิอศงษในปกราะรเเภปทนบผกูฝพก รสอองนทกาจิ งกสรตริปมญทญางากาย สำหรับเดก็ 6 4. ทกั ษะพน้ื ฐานการเคลอ่ื นไหวกับการพัฒนาสมอง 7 5. กจิ กรรมท่ีกระตนุŒ และพัฒนาการรับรเูŒ รียนรŒูของสมอง 8 อุปกรณท ีถ่ ูกออกแบบสรางข้นึ และนำมาใชประกอบในการฝกปฏบิ ัติการเคล่ือนไหว 10 ข้นั ตอนพัฒนาความสามารถในการเรยี นรทู กั ษะการเคลือ่ นไหว 11 ข้ันตอนการทำงานรวมกันของประสาทรับความรูสกึ กบั ประสาทควบคมุ การเคลอื่ นไหว 13

6. ทักษะพ้นื ฐานการเคล่ือนไหวและทกั ษะพน้ื ฐานกีฬา 16 7. สภาพแวดลอŒ ม 4 ประการทม่ี ผี ลตอ‹ การพฒั นาความสามารถในการเคลอ่ื นไหวรา‹ งกาย 17 พฒั นาการทเี่ กดิ จากการมที กั ษะพน้ื ฐานการเคลื่อนไหวท่ดี ี 19 8. รปู แบบพ้นื ฐานของการเคลือ่ นไหว 20 ทักษะการเคลื่อนไหวแบบไมเ คลอ่ื นท่ี 23 ทักษะการเคลอ่ื นไหวแบบเคลอื่ นท่ี 30 ทักษะการเคลอื่ นไหวประกอบอุปกรณโ ดยใชม อื หรอื เทาในการควบคมุ 38 เอกสารอาŒ งอิง 45

คำนยิ ามศพั ททเี่ กีย่ วขŒอง ผฝู ก สอน หมายถงึ บดิ า มารดา ผปู กครองหรอื ผทู ใ่ี หก ารดแู ลเดก็ ทม่ี คี วามตอ งการพเิ ศษ ระดบั ประถมศึกษา ประเภทความบกพรอ งทางสตปิ ญญา กิจกรรมทางกาย หมายถึง การทำกิจกรรมการเคลื่อนไหวสวนตางๆ ของรางกาย ซึ่งเกิดจากการทำงานของกลามเนื้อลาย (Skeletal muscles) ทำใหมีการเผาผลาญพลังงาน เพิ่มขึ้นจากภาวะปกติ ไดแก กิจกรรมการเคลื่อนไหว เชน การเดิน การวิ่ง การกระโดด การเลนเกมการเลนกีฬา การเตนรำ การออกกำลังกายเปนตน เด็กที่มีความตองการพิเศษ ระดับประถมศึกษา ประเภทความบกพรองทางสติปญญา หมายถงึ เดก็ ทม่ี อี ายจุ รงิ ระหวา ง 6-12 ป และศกึ ษาอยใู นระดบั ประถมศกึ ษา มคี วามบกพรอ ง ทางสติปญญาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กำหนดประเภทและหลักเกณฑ ของคนพิการทางการศึกษา พ.ศ.2552 (ราชกิจจานุเบกษา เลม 126 ตอนพิเศษ 80ง หนา 45-47) กลาวคือ จะมีลักษณะเฉพาะดังนี้ “… บคุ คลทม่ี คี วามพรอ‹ งทางสตปิ ญ˜ ญา ไดแŒ ก‹ บคุ คลทม่ี คี วามจำกดั อยา‹ งชดั เจนในการ ปฏบิ ตั ติ น (Functioning) ในปจ˜ จบุ นั มีลกั ษณะเฉพาะคือ ความสามารถทางสตปิ ˜ญญา ตำ่ กวา‹ เกณฑเ ฉลย่ี อยา‹ งมนี ยั สำคญั รว‹ มกบั ความจำกดั ของทกั ษะการปรบั ตวั อกี อยา‹ งนอŒ ย 2 ทกั ษะ จาก 10 ทกั ษะ ไดแŒ ก‹ การสอ่ื ความหมายการดแู ลตนเอง การดำรงชวี ติ ภายในบาŒ น ทักษะทางสังคม/การมีปฏิสัมพันธกับผูŒอื่น การรูŒจักใชŒทรัพยากรในชุมชน การรูŒจักดูแล ควบคมุ ตนเอง การนำความรมŒู าใชใŒ นชวี ติ ประจำวนั การทำงาน การใชเŒ วลาวา‹ ง การรกั ษา สุขภาพอนามัยและความปลอดภยั ท้งั น้ีไดแŒ สดงอาการดังกลา‹ วกอ‹ นอายุ 18 ป‚ …”

1. ความรŒทู ่ัวไปเก่ยี วกบั ความบกพรอ‹ งทางสตปิ ˜ญญา ผปู กครองหรอื ผูท่ีตองดแู ลเดก็ หรอื บคุ คลท่มี ีความบกพรองทางสตปิ ญ ญควรจะศกึ ษา และทำความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องดังตอไปนี้เพื่อที่จะปฏิบัติตนไดถูกตอง 1.1 ระดับความรุนแรง (ทวีศักดิ์ ศิริรัตนเรขา: 2560 ออนไลน) (1) ระดบั นอ ย (IQ 50-69) อาจไมแ สดงอาการ จนกระทง่ั วยั เขา เรยี น แตถ า สงั เกต อยา งละเอยี ด จะพบวา เดก็ เหลา นม้ี คี วามสามารถตำ่ กวา เกณฑอ ยา งเหน็ ไดช ดั ต้ังแตวัยอนุบาล (2) ระดบั ปานกลาง (IQ 35-49) ในขวบปแ รก จะมกี ารเคลอ่ื นไหวปกติ แตพ ฒั นาการ ทางการพดู และภาษาจะลา ชา (3) ระดบั รนุ แรง (IQ 20-34) มกั จะพบทกั ษะทางการเคลอ่ื นไหวลา ชา อยา งชดั เจน (4) ระดับรุนแรงมาก (IQ ต่ำกวา 20) มีการพัฒนาการลาชาในทุกดาน มีการ พฒั นาการทางการเคลื่อนไหวไดบ าง 1.2 สาเหตุความพิการ (ทวีศักดิ์ ศิริรัตนเรขา: 2560 ออนไลน) สวนใหญไมสามารถระบุหาสาเหตุไดอยางชัดเจน รอยละ 30-50 มักจะเกิดจาก หลายปจจัยรวมกัน ทั้งปจจัยทางชีวภาพ และปจจัยทางจิตวิทยาสังคม ปจจัยทางชีวภาพ เปนสาเหตุไดตั้งแตขณะตั้งครรภ ขณะคลอดและหลังคลอด มักพบมีความผิดปกติอื่น ๆ รวมดวย สาเหตุไดแก (1) โรคทางพันธุกรรม : ความผิดปกติของโครโมโซม ความผิดปกติของยีนส (2) การติดเชื้อ (3) การไดรับสารพิษ (4) ความผิดปกติของระบบประสาทสวนกลาง โดยไมทราบสาเหตุ (5) การบาดเจ็บของสมองตั้งแตกอนคลอด ขณะคลอด และหลังคลอด (6) การขาดออกซิเจน (7) การขาดสารอาหาร (8) การเกิดอุบัติเหตุตางๆ ปจจัยทางจิตวิทยาสังคม (1) การขาดการเลี้ยงดูที่เหมาะสม (2) การถูกทอดทิ้ง (3) ครอบครัวแตกแยก (4) ฐานะยากจนอยูในสภาพแวดลอมที่ไมอำนวยตอการเลี้ยงดู 1

1.3 ลักษณะของเด็กที่มีความตŒองการพิเศษประเภทบกพร‹องทางสติป˜ญญา 1) ดานสติปญญา/ลักษณะการเรียนรู (1) การเรียนรูชาและนอย (2) มีความยากลำบากในการคิด ตัดสินใจ (3) มีความสนใจสั้น 10-15 นาที (4) มีขอจำกัดความเปนนามธรรม (5) การเชื่อมโยงไปสูสิ่งตางๆ (generalization) นอย (6) การถายโยงการเรียนรู (transfer of learning) นอย 2) ลักษณะทางอารมณและสังคม (1) มีความรูสึกดอย คิดวาตนเองทำไมได “I can’t” (2) กลัวตอสิ่งใหม (3) กาวราว ซึม ทำรายตัวเอง 3) ลักษณะทางรางกายและการเคลื่อนไหว (1) สมรรถภาพทางกายต่ำกวาเกณฑเฉลี่ย (2) ความสามารถทางการเคลื่อนไหวต่ำ: การเดินไมปกติ กาวสั้น/ขากาง (3) สุขภาพไมคอยดี 1.4 (เดD็กoทwี่มnีคSวyาnมdตroŒอmงกeา)รพิเศษประเภทบกพร‹องทางสติป˜ญญา กลุ‹มดาวนซินโดรม ดาวนซินโดรม เปนความบกพรองทางสติปญญา ที่เกิดจากความผิดปกติ ของโครโมโซม ระดบั สตปิ ญ ญาของกลมุ ดาวนซ นิ โดรมมชี ว งกวา งมาก ตง้ั แตร ะดบั นอ ย จนถึงระดับมาก ลักษณะของดาวนซินโดรมมีลักษณะตอไปนี้ 1) ตัวเตี้ย 2) แขน ขาสั้น มือเทากวางและสั้น 3) ศีรษะแบน คอสั้น คอเปนหนอก 4) ชองปากเล็ก ลิ้นใหญ หายใจทางปาก 5) กลามเนื้อมีความตึงตัวนอย ตอนเด็กๆ อาจออกกำลังกายปกติได 6) ขอหลวม เอ็นยึด 7) มีความผิดปกติของระบบกระดูกและทรวดทรง เชนหลังแอน หลังโกง ขอสะโพกเคลื่อน อกไก เทาบิด เทาแบน 8) การพัฒนาการของการเคลื่อนไหวชา 9) ขาดการประสานกันของตาและมือ 2

10) สายตาไมดี การไดยินไมดี 11) การทรงตัวไมดี 12) หัวใจและปอดไมคอยปกติ 13) มีความไมมั่นคงของขอตอคอ (Atlantoaxial instability) 1.5 คทวาางมสเตกิปี่ย˜ญวขญŒอางเชิงการแพทยของเด็กที่มีความตŒองการพิเศษ ประเภทบกพร‹อง ถาระดับสติปญญาต่ำจะมีความสามารถทางการเคลื่อนไหวไมดี อาการที่ตองพึงระวัง (1) อาการชกั ประมาณ20% ของเดก็ บกพรอ งทางสตปิ ญ ญาระดบั นอ ยจะมอี าการชกั (2) การใชยา ที่มักมีผลตอความสนใจ การทรงตัว (3) การไมรูสึกเจ็บปวด ผูฝกสอนตองสังเกต (4) พฤติกรรมและอารมณ: กาวราว (5) ความพิการอื่นที่รวมดวย เชน พิการทางสมอง ออทิสติก 3

2. กในจิ กระรดรมบั ทปารงะกถามยศสกึ ำษหารบั เด็กทว่ั ไปอายุ 6-12 ป‚ หรอื เด็ก หลักการทั่วไป ในเดก็ วยั นก้ี จิ กรรมทจ่ี ำเปน ควรเนน : 1) การเคลอ่ื นไหว การวง่ิ กระโดด กระโดดเขยง การกระโจน การเดนิ การขวา ง การทุม การปา การยงิ การกระโดดเชือก การตี การเตะ การเดาะ 2) การทรงตัว การยืนขาเดยี ว 3) การวา ยน้ำ 4) การขจ่ี กั รยาน 5) เกม การเลน กีฬา 6) การออกกำลังกาย ทั้งนี้ ควรมีกิจกรรมทางกายปานกลางถึงหนักอยางนอย 60 นาที/วัน และควรมี การฝกความออนตัวและความแข็งแรงของกลามเนื้อ 3 วัน/สัปดาห กิจกรรมทางกายที่ปรากฏในหลักสูตรแกนกลาง 2551 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู กนกลาง ปรากฏดังน้:ี “… สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล‹น เกม กีฬาไทย และกฬี าสากล มาตราฐาน พ 3.1 เขŒาใจ มที กั ษะในการเคลื่อนไหวกจิ กรรม ทางกาย การเล‹นเกม กีฬา การเคลื่อนไหวร‹างกายในชีวิตประจำวัน แบบอยก‹ู ับที่ - น่งั ยืน กŒม เงย เอียงซาŒ ย/ขวา แบบเคล่อื นที่ - เดิน วิ่ง กระโดด แบบใชอŒ ปุ กรณป ระกอบ - รบั โยน เตะ เคาะ การเคลือ่ นไหวรว‹ มกบั ผอŒู นื่ - การเล‹นกีฬาไทย กฬี าสากล … สาระที่ 4 การสรŒางเสรมิ สุขภาพ สมรรถภาพและการป‡องกนั โรค มาตราฐาน พ 4.1 เหน็ คณุ คา‹ และมที กั ษะในการสราŒ งเสรมิ สขุ ภาพ การดำรง สขุ ภาพ การปอ‡ งกนั โรค และการสราŒ งเสรมิ สมรรถภาพเพอ่ื สขุ ภาพ การปรบั ปรงุ สมรรถภาพทางกาย ทดสอบสมรรถภาพ การสราŒ งเสรมิ และปรบั ปรงุ สมรรถภาพ ทางกาย…” (กระทรวงศึกษาธิการ: 2551) 4

3. กปจิรกะเรภรทมบทกางพกราอ‹ ยงสทำาหงสรบัตเิปดญ˜ ก็ ทญ่ีมาคี รวะาดมับตปŒอรงะกถามรพศิเกึ ศษษา 3.1 การดำเนินการ ในการดำเนนิ การเกีย่ วกับกิจกรรมทางกายสำหรบั เดก็ ที่มคี วามตองการพเิ ศษประเภท บกพรองทางสติปญญา ตองนำหลักการและขอกำหนดในหลักสูตรสำหรับเด็กทั่วไป ในวัยเดียวกันมาใช ทั้งนี้อาจตองมีการเลือกกิจกรรม วิเคราะหกิจกรรม และประยุกต กจิ กรรมใหเ หมาะสมและสอดคลอ งกบั สภาพของเดก็ ทม่ี คี วามตอ งการพเิ ศษกลมุ น้ี กลา วคอื 1) การเลือกกจิ กรรม ควรเลอื กกจิ กรรมที่เหมาะสมและสอดคลองกบั ศักยภาพของเด็ก ถา เปน ไปไดควรเลือกตามความตองการและความสนใจของเดก็ 2) การวเิ คราะหก จิ กรรม (Task Analysis) ถา กจิ กรรมนน้ั ยากหรอื ซบั ซอ น ผฝู ก สอนตอ ง สามารถแบง กจิ กรรมเปน สวนยอยๆ หรือเปน ขั้นๆ ไป 3) การประยกุ ตก จิ กรรม (Modified Activites) เปน ความจำเปน ทผ่ี ฝู ก สอนตอ งสามารถ ประยกุ ตป รบั เปลย่ี นกจิ กรรมนน้ั ใหเ ดก็ สามารถทำไดส ำเรจ็ เชน ลดความสงู ของแปน บาสเก็ตบอลใหต่ำลง ยอขนาดสนามใหเล็กลง เพิ่มขนาดลูกบอลใหใหญขึ้น ปรับกติกาใหงายลง ลดจำนวนผูเลนใหนอยลง เปนตน 3.2 กิจกรรมเสนอแนะ 1) ทักษะการเคลอื่ นไหวทุกชนดิ ทถ่ี ูกตองและมีประสิทธภิ าพ ไดแก - การเคล่ือนไหวแบบเคล่ือนท่ี เชนการเดนิ การว่งิ การกระโดด การกระโจน - การเคลื่อนไหวแบบอยูกบั ท่ี เชนการขวาง การตี การโยน - การเคลอ่ื นไหวกบั วัตถุ เชน การเลนกับบอล เชือก 2) การมีทรวดทรงและบุคลิกภาพที่ดี เชนการนั่ง การยืน การเดิน ผูฝกสอนตองแกไข ทรวดทรงทีผ่ ดิ ปกตติ ง้ั แตเด็ก 3) กิจกรรมสรางเสริมสมรรถภาพและสุขภาพ เชน การเดินตอเนื่อง การปนจักรยาน การวงิ่ เหยาะ เกมงายๆ 4) การออกกำลังเพื่อสุขภาพระดับปานกลางถึงหนักควรทำอยางนอย 20 นาที/ครั้ง จำนวน 3 ครง้ั /สัปดาห 3.3 กิจกรรมที่ควรละเวŒน 1) กีฬาปะทะรนุ แรง 2) กิจกรรมเส่ยี ง กจิ กรรมผาดโผน 3) กจิ กรรมยืดหยนุ /ยิมนาสตกิ (มว นหนา มว นหลัง ฯลฯ) 4) การ tackle ในรกั บ้ฟี ตุ บอล 5) กิจกรรมท่ตี อ งใชความอดทนสงู 5

3.4 ขปŒอรเะทเภ็จจทรบิงกเกพี่ยรว‹อกงทับากงาสรตสอิปน˜ญกญิจากรรมทางกาย สำหรับเด็กที่มีความตŒองการพิเศษ คผปูวรกทครราอบงวหา รอื ผูด ูแลเด็กท่ีมคี วามตอ งการพิเศษ ประเภทบกพรองทางสติปญญา 1) รกะาดรับเคสลตอ่ื ปิ นญ ไหญวารา(IงQก)ายมจคี ะวทามำไสดมั ไพมนั ดธี ก บั การเคลอ่ื นไหวรา งกาย ถา ระดบั สตปิ ญ ญาตำ่ 2) ภาษาที่ใชตอ งส้ัน งาย ชัดเจน เปนรูปธรรม 3) เลอื กกิจกรรมทเี่ หมาะสมกับอายจุ ริง 4) การเรียนรชู า ทักษะตองทำซำ้ ๆ 5) เมอื่ ปฏบิ ตั ิทักษะผดิ ตอ งแกไขทันที 6) ถากจิ กรรมยากจะสับสน 7) กจิ กรรมทย่ี ากหรือซับซอ นตองแบงเปน สวนยอ ย (Task Analysis) 8) ควรเรียงลำดับกิจกรรมจากงายไปหายาก เบาไปหาหนัก และนอยไปหามาก 9) เทดีพ่ ็กฒับกนพาสรอมงรทราถงภสาตพิปทญ างญกาาสยว นมาก มักมีสมรรถภาพทางกายต่ำ ควรเลือกกิจกรรม 10) ควรเลอื กกจิ กรรมทส่ี ามารถนำไปใชไ ดใ นชวี ติ ภายหนา (lifelong activity) เชน วา ยนำ้ 11) การใหผ ลยอ นกลบั เฉพาะเจาะจง (specific feedback) จะทำใหเ กดิ ผลดี 12) กกาารรใปหรรบามงือวลั ฯ(ลreฯwards) ยังจำเปนอยู เชน การชมเชย การใหด าว การสมั ผัส 3.5 บพทิเศบษาทปขรอะงเผภปŒู ทกบคกรพอรงใ‹อนงกทาารงเสปตนš ิปผ˜ญฝŒู กƒญสาอนกจิ กรรมทางกาย สำหรบั เดก็ ทม่ี คี วามตอŒ งการ 1) ประสานงานรว มมอื กบั ครพู ลศกึ ษา โคช หรอื นกั กายภาพบำบดั เพอ่ื จะดำเนนิ การฝก กจิ กรรมทางกายใหก บั เดก็ ในปกครองไดอ ยา งถูกตอ ง 2) อาจเปนผชู วยฝกระหวา งที่คร/ู โคชกำลังทำการฝก 3) มขี อ มูลของเด็กในปกครองทางดา นการแพทย เชน มีโรคประจำตัวอ่ืนๆ รวมกบั ความบกพรอ งทางสตปิ ญ ญา เชน โรคหวั ใจ การไดย นิ การมองเหน็ การชกั การใชย าท่ีอาจมีผลตอ การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทางกาย 4) ผูปกครองควรเรยี นรู และสามารถปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทางกายไดอ ยางถกู ตอง เขา ใจ หลักการของกิจกรรมน้นั ๆ 5) ผปู กครองควรมที ศั นคตทิ ด่ี ตี อ กจิ กรรมทางกายทม่ี ตี อ เดก็ ในปกครองของทา น เชอ่ื วา กิจกรรมทางกายนน้ั มีประโยชนต อ เดก็ 6

4. ทักษะพืน้ ฐานการเคลือ่ นไหวกับการพฒั นาสมอง อากัปกิริยาการเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของมนุษย เปนสิ่งที่สะทอนใหเห็นถึง การทำงานของสมองหรือระบบประสาทไดอยางชัดเจน (Keogh and Sugden, 1985) กิจกรรมทางกายที่มีสวนชวยในการพัฒนาและกระตุนสมอง คือ การสอนใหผูเรียนหรือ เด็กเกิดการเรียนรูทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (Motor Skill Learning) ดวยการปฏิบัติ (Practice) กิจกรรมการเคลื่อนไหวในรูปแบบตางๆ เพื่อเชื่อมโยงทักษะการเรียนรูและ ประสบการณ เปนกระบวนการในการสรางโปรแกรมหรือชุดขอมูลในการเคลื่อนไหว (Motor Program) หรือจัดสรางแผนที่ในการทำงานใหกับสมองหรือระบบประสาท ทไ่ี มส ามารถมองเหน็ ไดด ว ยตา แตส ามารถสงั เกตและตรวจสอบพฒั นาการความกา วหนา ในการเรียนรูของสมองไดจากการปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหวของผูเรียน ตลอดจน ความสามารถในการตดั สนิ ใจเลอื กใชท กั ษะไดอ ยา งถกู ตอ งเหมาะสม ในแตล ะเหตกุ ารณ หรอื ในแตละสถานการณ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงระดับความสามารถในการรับรูเรียนรูอยาง แทจ รงิ ของผเู รียน เนื่องจากกระบวนการรับรูเรียนรูเปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายในรางกายและจิตใจ ซึ่งเปน กระบวนการทำงานของระบบประสาท สมอง และหนวยความจำ ดังนั้น การที่เด็กไดมี โอกาสประกอบกิจกรรมทางกาย (Physical Activity) หรือเขารวมรับรูเรียนรูดวยการ ปฏิบัติทักษะการเคลื่อนไหว จะชวยกระตุนให หนวยประสาทที่ทำหนาที่ควบคุมการ เคลื่อนไหว (Motor Control) ประสาทรับรู (Sensory Neuron) และสั่งงาน (Motor Neuron) ตลอดจนหนว ยความจำของสมองเกดิ การจดจำขอ มลู ไดแ มน ยำ จากการยำ้ ทำ ยำ้ คดิ ยำ้ ปฏบิ ตั ดิ ว ยกจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวทห่ี ลากหลาย ยง่ิ การจดั ลำดบั ความยากงา ย ของกิจกรรมและ ลำดับขั้นตอนการเคลื่อนไหวหรือการสอน มีความสัมพันธตอเนื่อง สมบรู ณแ บบ และถกู ตอ งมากเทา ใด ทกั ษะความสามารถในการรบั รเู รยี นรแู ละการเรยี กใช ขอมูลของหนวยความจำของสมองผานกระบวนการปฏิบัติการเคลื่อนไหวก็จะยิ่งเปนไป อยา งถกู ตอ ง รวดเรว็ แมน ยำและสมบรู ณแ บบมากยง่ิ ขน้ึ เทา นน้ั ซง่ึ เปน การพฒั นาโปรแกรม การทำงานของสมอง ทเี่ รียกวา ชุดขอ มลู การเคลอ่ื นไหว (Motor Program) ซง่ึ สามารถ พัฒนาการเรียนรูหรือพัฒนาสมองไดโดยผานกิจกรรมทางกาย (Physical Activity) ดวยการฝก ปฏิบตั ทิ ักษะการเคลอ่ื นไหวทไี่ ดรบั การคัดสรรกลัน่ กรอง จัดเปน โปรแกรมให ผูเรียนหรือเด็กไดฝกปฏิบัติอยางเปนระเบียบ เพื่อกระตุนความสามารถ (Capability) ในการทำงานของรางกายและสมองใหมีคุณภาพและมีขีดความสามารถในการทำงาน มากยิ่งขึ้น สงผลใหเกิดแรงบันดาลใจหรือเกิดแรงจูงใจ (Motivation) และความมั่นใจ (Confidence) ในการแสดงออกซงึ่ ทักษะการเคล่อื นไหวรา งกายของผเู รยี นหรอื เดก็ 7

5. กจิ กรรมท่กี ระตŒนุ และพฒั นาการรับรูŒเรียนรŒขู องสมอง พฤติกรรมทเ่ี ด็กแตละคนไดแ สดงออกทางกาย วาจา และอารมณ คือ สิง่ ที่แสดง ใหเ หน็ ถงึ การทำงานของสมองในแตล ะดา นทไ่ี ดร บั การเรยี นรถู า ยทอดขอ มลู และประสบการณ จากพอแม ครู ผูปกครอง สภาพแวดลอมทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณี เปนการสื่อ ความหมายที่บงบอกใหทราบถึงกระบวนการเรียนรูวุฒิภาวะและประสบการณของเด็ก แตละคน นำไปสูการเรียกใชขอมูลของสมองที่แสดงออกมาในรูปของอากัปกิริยาการ เคลอ่ื นไหว พฤติกรรม บุคลกิ ภาพ ความสามารถในการคิด การตดั สินใจอยา งมีเหตุผล ดว ยความมัน่ ใจและภาคภมู ใิ จ กิจกรรมการเคลื่อนไหวที่จัดเปนทักษะพื้นฐานการเคลื่อนไหว (Fundamental Movement Skils) ไมว า จะเปน การหยบิ จบั หว้ิ ยก โยน ขวา ง เหวย่ี ง ปา เดนิ วง่ิ กลง้ิ คลาน กระโดด แกวงแขน โยกลำตัว งอตัว เหยียดตัว ปนปาย หอยโหน ฯลฯ ลว นเปน จดุ เรม่ิ ตน ของการสรา งแรงจงู ใจในการเรยี นรใู หก บั เดก็ ทจ่ี ะนำไปสกู ารพฒั นาความคดิ และการตดั สนิ ใจอยา งมเี หตผุ ล ตลอดจนการรจู กั ใชร า งกายในการเคลอ่ื นไหวไดอ ยา งฉลาด ซง่ึ สามารถออกแบบหรอื สรา งเงอ่ื นไขการเคลอ่ื นไหวเพอ่ื กำหนดเปน โครงสรา งการทำงาน ของสมองใหกับเด็กตั้งแตเยาววัยอยางเปนลำดับขั้นตอนและเปนรูปธรรม เปนพื้นฐาน สำคญั ทจี่ ะชว ยกระตุนและจดั ระเบยี บขั้นตอนการเคลื่อนไหวและการทำงานอยางมแี บบ แผนใหกับสมอง ขณะเดยี วกนั การเคล่อื นไหวข้นั พน้ื ฐานเปนทกั ษะสำคัญท่ีเด็กควรไดรับ การรบั รเู รยี นรผู า นกระบวนการในการฝก ปฏบิ ตั อิ ยา งถกู ตอ งเปน ลำดบั ขน้ั ตอนในแตล ะรปู แบบ ของการเคลอ่ื นไหวทถ่ี กู ออกแบบหรอื กำหนดไว เพอ่ื พฒั นาตอ ยอดเปน ทกั ษะการเคลอ่ื นไหว ขน้ั สงู ซง่ึ มผี ลตอ การพฒั นาความสมั พนั ธข องระบบประสาทและกลา มเนอ้ื ทม่ี คี วามซบั ซอ น ตอ การรบั รแู ละสง่ั งานของสมองซกี ซา ยและขวา ทจ่ี ะมสี ว นชว ยสง เสรมิ และพฒั นาปฏกิ ริ ยิ า ความเรว็ ในการคดิ การตดั สนิ ใจ การแสดงออกซง่ึ ทกั ษะความสามารถในการเคลอ่ื นไหว กระบวนการตดั สนิ ใจในการแกไ ขปญ หาเฉพาะหนา ไดอ ยา งถกู ตอ ง รวดเรว็ ฉบั ไว มสี มาธิ มีเหตุผล สอดคลอ งกบั สภาพแวดลอ มและเหตุการณใ นแตละสถานการณท เ่ี กดิ ขึ้น การพัฒนาประสาทรับรู (Sensory Neuron) มีความสำคัญและจำเปนอยางยิ่ง ตอ การพฒั นาการทำงานของระบบประสาท เพราะระบบประสาทรบั รู (Sensory System) เปน เครอื ขา ยพน้ื ฐานทส่ี ำคญั ในการทำงานของระบบประสาท (Neural Network) ทม่ี ผี ล โดยตรงตอ ระบบความสามารถในการรบั รกู ารเคลอ่ื นไหวของรา งกาย (Kinesthetic System) (Keogh and Sugden, 1985) เนื่องจากประสาทรับรูทำหนาที่จัดหาขอมูลสงใหระบบ ประสาทสง่ั งาน (Neuromotor System) ทท่ี ำหนา ทค่ี วบคมุ การเคลอ่ื นไหวโดยตรง ดงั นน้ั 8

หากการรบั รขู อ มลู จากการฝก ปฏบิ ตั ทิ กั ษะการเคลอ่ื นไหวมคี วามถกู ตอ ง ชดั เจน สมบรู ณ ยอ มสง ผลตอ ความสามารถในการรบั รเู รยี นรู และประสทิ ธภิ าพในการเคลอ่ื นไหวของผเู รยี น หรอื เด็กไดอ ยา งถูกตองสมบูรณและรวดเร็ว หลักการพื้นฐานของการนำไปสูการกระตุนและพัฒนาการรับรู เรียนรู ความคิด สรางสรรค และจินตนาการในการเคลื่อนไหวของผูเรียนหรือเด็กอยางมีเหตุผล มีองคประกอบที่เปนปจจัยพื้นฐานที่สำคัญ 3 ประการ คือ (เจริญ กระบวนรัตน. 2552) 1. การสรางแรงจงู ใจในการคดิ 2. การใหค วามรูและทักษะทั่วไป 3. การใหค วามรูและทักษะเฉพาะดาน ดังนั้น กิจกรรมทางกายที่ถูกออกแบบหรือสรางขึ้น เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐาน การเคลื่อนไหวที่สำคัญใหกับผูเรียนหรือเด็ก ที่จะนำไปสูการบูรณาการตอยอด ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู ที่จะชวยใหเกิดการประสานงานของระบบประสาทและ กลา มเนื้อทีม่ คี วามซับซอ น จึงเปนรากฐานสำคัญในการกระตุนใหเกิดแรงบันดาลใจหรอื แรงจูงใจที่ชวยผลักดันผูเรียนหรือเด็กใหเกิดความคิดสรางสรรค และจินตนาการ ในการเคลอ่ื นไหวทด่ี มี เี หตผุ ล ชว ยสง ผลใหเ กดิ การพฒั นาทางดา นรา งกาย สตปิ ญ ญา จติ ใจ อารมณและสังคม 9

อปุ กรณที่ถใูกนอกอากรฝแกƒบปบฏสบิรŒาัตงกิขา้นึ รแเคลละนื่อนำมไหาใวชŒประกอบ ตาราง 9 ชอง และอุปกรณท ่ถี กู ออกแบบสรางขึ้นและนำมาใชประกอบในการฝก ปฏบิ ตั กิ ารเคลอ่ื นไหวจงึ เปรยี บเสมอื น “สนามแหง ความคดิ และจนิ ตนาการ” ทถ่ี กู สรา ง และนำมาใชเปนเครื่องมือ ในการเพิ่มสุนทรียภาพและแรงบันดาลใจในการรับรูเรียนรู การเคลอ่ื นไหวของผเู รยี นหรอื เดก็ เพอ่ื กระตนุ และพฒั นาความสามารถในการใชร า งกาย และทักษะการเคลื่อนไหวในการประกอบกิจกรรมทางกายที่ทาทายศักยภาพ ความรู สตปิ ญ ญา วธิ คี ดิ และความมเี หตผุ ลของผเู รยี น ถา ยทอดออกมาในรปู แบบของพฤตกิ รรม การเคลอ่ื นไหวทถ่ี กู นำมาใชใ นการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั หรอื แสดงออกซง่ึ ทกั ษะความสามารถ ในการเคลอ่ื นไหวหรอื การใชร า งกายไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ กอ ใหเ กดิ แรงบนั ดาลใจและ ความมั่นใจในการแสดงออกซึ่งทักษะการเคลื่อนไหวในการประกอบกิจกรรมทางกาย ชวยขับเคลอ่ื นใหกระบวนการเรียนรู และการศึกษาของเด็ก มชี วี ิตชวี า สนกุ สนาน และ ทา ทายความสามารถในการคดิ สรา งสรรคข องผเู รยี นกอ ใหเ กดิ ความมน่ั ใจ กลา คดิ กลา ทำ กลา แสดงออกอยา งมเี หตุผล นำไปสกู ารพัฒนาทกั ษะชีวติ (Life Skils) และทกั ษะสังคม (Social Skills) ที่ทุกคนจำเปนตองใชในการดำเนินชีวิตและเผชิญกับเหตุการณตาง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชวี ติ ประจำวนั ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ เปน ทกั ษะและความสามารถทส่ี ามารถ พฒั นาขึน้ ไดด ว ยการฝก ปฏิบตั ิ (Practice) หรอื การกระทำซำ้ ๆ จนเกดิ เปนอัตโนมตั ิ หรอื เปน ลกั ษณะนสิ ยั ทด่ี ี กอ ใหเ กดิ การรจู กั คดิ การตดั สนิ ใจ และการแกไ ขปญ หาอยา งมี เหตุผล การจัดการกับอารมณและความเครียดของตนเอง การปรับตัว เขาใจและเห็น คุณคาของตนเอง รูจักใชทักษะความรูและแสวงหาขอมูลความรูในการวางแผน การตั้ง เปา หมายและการสรา งสมั พนั ธภ าพทด่ี กี บั ผอู น่ื ชว ยพฒั นาบคุ ลกิ ภาพรา งกาย สตปิ ญ ญา จิตใจ อารมณ และสังคมใหกับผูเรียนไดอยางเปนรูปธรรม สามารถวัดและประเมินผล ทางดานสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย ตลอดจนความกา วหนา ทางดา นทักษะพนื้ ฐาน การเคลื่อนไหวของผูเรยี นหรือเด็กไดอ ยางชัดเจน 10

ข้ันตอนพัฒนาความสามารถในการเรียนรูทŒ กั ษะการเคลื่อนไหว ขั้นก‹อนการเรยี นรูŒ ไมร‹ ูŒวา‹ ต(Uนnเcอoงมnsีคcวioามusส)ามารถ จึงทำใหŒ ไ(มInส‹ cาoมmารpถeปteฏnิบcตั eิไ)ดŒ ข้นั ของการเรยี นรูŒ รŒวู ‹าตน(เCองoมnคีscวiาoมuสs)ามารถ แตย‹ งั ไ(มIn‹สcาoมmารpถeปteฏnิบcัตeไิ )ดŒ ขัน้ ปฏิบตั ิจนเกิดทักษะ รŒวู ‹าตน(เCองoมnีคscวiาoมuสs)ามารถ และ ส(Cามoาmรpถeปtฏeิบnตัcิไeด) Œ ขนั้ เกดิ ทกั ษะเปนš อตั โนมัติ รูŒว‹าตน(เCองoมnีคscวiาoมuสs)ามารถ และ สามาร(ถUปnฎcoบิ nัตsิไcดioŒโดuยs)ไมร‹ ตŒู วั ประยุกตจากแหลงที่มา : เจริญ กระบวนรัตน, 2552 11

การรบั รสู ภาวะการเคลอ่ื นไหวในแตล ะอริ ยิ าบถของรา งกาย จะถกู ถา ยทอดและสง ผา น ขอมูลจากกลามเนื้อและขอตอไปยังสมอง เพื่อสื่อความหมายใหรูวาตำแหนงการเคลื่อนไหว รา งกายอยใู นลกั ษณะใด มที ศิ ทาง ความเรว็ และรปู แบบการเคลอ่ื นไหวอยา งไร กระบวนการ ดงั กลาวนี้ เรยี กวา ความสามารถในการรบั รูเก่ยี วกับการเคลอื่ นไหวของรางกาย (Kinesthesis Sense) ซง่ึ เปน การทำหนา ทข่ี องประสาทรบั รคู วามรสู กึ ของกลา มเนอ้ื เอน็ กลา มเนอ้ื และขอ ตอ ในการเคลื่อนไหวแตละอิริยาบถ หรือแตละตำแหนงของรางกาย ซึ่งมีสวนชวยกระตุนและ สง เสรมิ ใหเ กดิ การพฒั นาปฏกิ ริ ยิ าการรบั รเู รยี นรขู องสมองไดร วดเรว็ ยง่ิ ขน้ึ อกี ทางหนง่ึ นอกเหนอื จากการรับรูขอมูลผานทางตา ทางหู ทางจมูก และการสัมผัสทางกาย ดวยเหตุนี้การปฏิบัติ ทักษะการเคลื่อนไหว จึงสงผลใหเกิดการเชื่อมโยงวงจรการทำงานของประสาท (Neural Circuits) ในสมอง (Brain) และไขสนั หลงั (Spinal Cord) ทม่ี คี ณุ คา ตอ การเรยี นรู (Learning) มากยง่ิ กวา การพฒั นาเปลย่ี นแปลงของอวยั วะตา ง ๆ ภายในรา งกายไมว า จะเปน กระดกู (Bone) หรือกลา มเนื้อ (Muscle) (Hoffman, 2005) เดก็ นกั เรยี นหรอื ผทู ไ่ี ดร บั การฝก ปฏบิ ตั ิ (Practice) ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวอยา งถกู ตอ ง เปน ระบบจากงา ยไปยาก จากชา ไปเรว็ จากการเคลอ่ื นไหวรา งกายนอ ยสว นไปสกู ารเคลอ่ื นไหว รางกายหลายสวน จนเกิดทักษะและความสัมพันธในการเคลื่อนไหวที่ดี จะสามารถควบคุม และพจิ ารณาแยกแยะทกั ษะการเคลอ่ื นไหวหรอื เลอื กใชท กั ษะในการเคลอ่ื นไหวไดอ ยา งถกู ตอ ง และสอดคลองตรงกับความเปนจริงตามที่ตนเองตองการโดยไมมีความลังเลหรือสับสน ความสามารถในการพิจารณาแยกแยะหรือกลั่นกรองขอมูลในการตัดสินใจไดอยางถูกตอง รวดเรว็ น้ี เกดิ จากการไดร บั การฝก ปฏบิ ตั ทิ กั ษะการเคลอ่ื นไหวในแตล ะรปู แบบอยา งเปน ขน้ั ตอน หรือเปนระบบ มีผลตอการพัฒนาเวลาปฏิกิริยา (Reaction Time) ความเร็วและเวลาในการ ตอบสนองของรางกาย (Response Time) ชว ยลดภาระการทำงานหรือความสับสนของสมอง ในการเลอื กใชข อ มลู การเคลอ่ื นไหว ทำใหผ เู รยี นรหู รอื ผปู ฏบิ ตั เิ กดิ สมาธิ ความมน่ั ใจและสามารถ ควบคุมตนเองไดทุกสถานการณ ชวยปองกันมิใหสมองตองรับรูขอมูลมากเกินความจำเปน อันจะเปนการเพิ่มความเครียด ความกดดันที่เปนปญหาอุปสรรคสำคัญตอการรับรูเรียนรู ของสมอง ดวยเหตุนี้ การพัฒนาสมองดวยการเรียนรูผานการฝกปฏิบัติทักษะพื้นฐานการ เคลื่อนไหวและทักษะพื้นฐานทางกีฬาที่มีการจัดกระบวนการในการเรียนรูอยางเปนลำดับ ขน้ั ตอน มรี ปู แบบ และวธิ กี ารในการฝก ปฏบิ ตั อิ ยา งถกู ตอ งชดั เจน มเี หตผุ ลอธบิ ายได จะเปน แรงจูงใจที่ชวยกระตุน ใหผูเรียนเกิดพัฒนาการในการรับรูเรียนรูไดอยางรวดเร็วเปนระบบ การประสานงานของระบบประสาทและกลามเนื้อเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ โดยสามารถ ถายทอดเชื่อมโยงขอมูล ถึงกันไดอยางถูกตองรวดเร็ว แมนยำ ชวยใหเกิดความมั่นใจ ในการเคลื่อนไหวนำไปสูการพัฒนาบุคลิกภาพที่ดีมีความคิดสรางสรรคและจินตนาการ อยางมีเหตุผล 12

ขน้ั ตอนกกาบั รปทรำะงสานาทรว‹คมวกบันคขุมอกงาปรรเคะลส่อืาทนรไบัหคววามรูŒสกึ ประกอบดวย ขั้นตอนที่ 1 ประสาทรับความรูสึกรับรูขอมูล (Sensory Receptor) หรือสิ่งเราที่เขามากระตุน ขั้นตอนที่ 2 สงขอมูลผานประสาทความรูสึก (Sensory Neurons) ไปยังประสาทสวนกลาง (CNS) ขน้ั ตอนท่ี 3 ระบบประสาทสว นกลาง (CNS) แปลความหมายขอ มลู และ ตดั สนิ ใจโดยสง สญั ญาณตอ ไปยงั ประสาทตอบสนอง (Motor Response) ขัน้ ตอนท่ี 4 สัญญาณการตอบสนองจะถูกสงไปตามประสาทควบคุม การเคลอ่ื นไหว (Motor Neurons) เพอ่ื การตอบสนอง (Motor Response) ขั้นตอนที่ 5 ประสาทควบคุมการเคลื่อนไหวหรือประสาทสั่งงานจะสงกระแส ตอไปยังกลามเนื้อ เพื่อใหเกิดการเคลื่อนไหวตามที่สมองสวนกลางสั่งงาน ประยุกตจากแหลงที่มา : เจริญ กระบวนรัตน, 2552 13

ดังนั้น กิจกรรมทางกายที่มุงใหเด็กไดรับการพัฒนาทักษะพื้นฐานการเคลื่อนไหว อยางเปนระบบ จะชวยเปนสื่อในการเชื่อมโยงขอมูลการเรียนรูของสมอง เพื่อสงตอหรือ ประสานเขา กบั หนว ยความจำของสมอง ในการรบั รจู ดจำขอ มลู เดมิ หรอื ขอ มลู ใหมใ นโอกาสตอ ไป ขอ มลู รายละเอยี ดเกย่ี วกบั การรบั รเู รยี นรกู ารเคลอ่ื นไหวรา งกายในอรยิ าบถตา งๆ ทถ่ี กู บนั ทกึ จดจำ ไวในสมองกอนหนานี้ในแตละทักษะหรือแตละสถานการณแวดลอมจะถูกดึงกลับ (Recall) หรอื สามารถเรยี กใชไ ดอ ยา งรวดเรว็ ถกู ตอ ง แมน ยำ เมอ่ื มเี หตกุ ารณใ นลกั ษณะเดยี วกนั เกดิ ขน้ึ หรอื ผา นเขา มากระทบกบั กลไกของประสาทรบั รขู อ มลู นน้ั อกี ในการพัฒนาทักษะพื้นฐานการเคลื่อนไหวเบื้องตนที่มีความสำคัญและจำเปนตองใช ในการดำเนินชีวิตประจำวัน สามารถจำแนกรูปแบบหรือประเภทของทักษะการเคลื่อนไหว ออกไดเ ปน 3 รปู แบบ ดงั นค้ี อื 1. ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวแบบเคลอ่ื นท่ี (Locomotor Movement) 2. ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวแบบไมเ คลอ่ื นท่ี (Non-Locomotor Movement) 3. ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวแบบประกอบอปุ กรณ (Manipulative Movement) (Funรdูปaแmบeบnพtื้นalฐMานoกvาeรmเคeลntื่อนPaไtหtวerns) (Locomกoารtoเคr ลMอ่ื oนvทe่ีment) (Non-Lไoมcม‹ oกีmาoรtเoคrลMอ่ื oนvทem่ี ent) โกดา(ยMรใเaคชnลมŒ iอ่pือื นuหlไรaหอืtiวเvทปeาŒ รMใะนกoกอvาeบรmอคปุeวกบntรค)ณมุ  การเดนิ การวง่ิ การผลกั ดนั ดงึ การกระโดด การกมŒ ตวั เหยยี ดตวั การเตะ การตี การสไลด การโยกตวั ไกวตวั การทม‹ุ พง‹ุ ขวาŒ ง การสง‹ การรบั ความสามารถใน(กPาeรrcรeับpรtูŒขuอaงlรAะbบilบitปy)ระสาทกลŒามเนือ้ - การประสานงานของระบบประสาทกลา มเนอ้ื (Coordination) - ความมจี ติ ใจจดจอ และสมาธใิ นการควบคมุ การเคลอ่ื นไหว - ความงดงามและความสมั พนั ธใ นการเคลอ่ื นไหว (Kinesthetic) 14

ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวแบบเคลอ่ื นท่ี (Locomotor Movement) ประกอบดวŒ ย การเดิน การกระโดดสองขาไปขางหนาหรือถอยหลัง การวิ่ง การสไลด การวายน้ำ การขจ่ี กั รยาน การเดนิ กา วชดิ กา ว การกระโดดสลบั เทา ไปขา งหนา การเขยง กา ว การมว นหนา การกระโจน การกลง้ิ ตวั การคลาน ฯลฯ ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวแบบไมเ‹ คลอ่ื นท่ี (Non-Locomotor Movement) ประกอบดวŒ ย • สว นบนของรา งกาย ไดแ ก กม -เงยศรี ษะ หนั ศรี ษะซา ย-ขวา ยกั ไหล แกวง แขน กม ตวั เหยยี ดตวั งอตวั ดา นขา ง บดิ ลำตวั กางแขน-หบุ แขน ฯลฯ • สว นลา งของรา งกาย ไดแ ก ยนื งอขา เหยยี ดขา เตะขา ยำ่ เทา อยกู บั ท่ี ยนื กางขา-หบุ ขา ลกุ นง่ั เกา อ้ี เขยง เทา ยนื ยอ เขา กา วเทา ยอ เขา อยกู บั ท่ี กา วเทา ดา นขา งยอ เขา อยกู บั ท่ี ฯลฯ ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวแบบประกอบอปุ กรณ (Manipulative Movement) ประกอบดวŒ ย การตี การเตะ การชก การทมุ การพงุ การขวา ง การโยน การเหวย่ี ง การเลย้ี งลกู บอล การจบั การรบั การสง การผลกั การปะทะ การกระแทก ฯลฯ 15

6. ทกั ษะพน้ื ฐานการเคลอื่ นไหวและทกั ษะพืน้ ฐานกีฬา (Fundamental Movement Skils and Fundamental Sport Skils) การที่เด็ก ๆ จะสามารถเรยี นรูทกั ษะและปรับเปล่ียนพฤติกรรมจนกลายเปน ผทู ม่ี ที กั ษะและความสามารถในการใชร า งกายในการดำเนนิ ชวี ติ ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ มเี หตผุ ล กอ ใหเ กดิ แรงบนั ดาลใจและความมน่ั ใจ มสี มาธิ และปลอดภยั (Physicaly Literacy) ตองมีความรู ประสบการณและความเขาใจในวิธีการปฏิบัติทักษะการ เคลอ่ื นไหวในแตล ะขน้ั ตอนอยา งถกู ตอ ง โดยไดร บั การฝก ทกั ษะพน้ื ฐานการเคลอ่ื นไหว ดังตอไปนี้มาเปนอยางดี ทกั ษะในการเคลือ่ นท่ีและเคล่ือนไหวร‹างกาย (The Locomotor and Body Skils) 1) การเดิน (Walking) 2) การวิ่ง (Running) 3) การทรงตัวในขณะเคลื่อนไหวรางกายแตละอิริยาบถ (Balance) 4) การกาวเดินในแนวเฉียงหรือการสไลด (Skating/Slide) 5) การกระโดด (Jumping) 6) การวายน้ำ (Swimming) 7) การขี่จักรยาน (Cycling) 8) การกาวเดินแบบกาวชิดกาว (Skipping) 9) การกาวเทานำเทาตาม : การควบมา (Gollop) ทกั ษะการส‹ง (The Sending Skils) 1) การขวา งหรอื โยน (Throwing) 5324)))) กกกกาาาารรรรทตเเหตีมุ ะว(S่ยี t(งrKiki(ciSnklgiinn)ggi)ng) ทกั ษะการรับ (The Receiving Skils) 12)) กกาารรจดบัักหจับรือ/ตรบัะค(รCบุ atตcะhปinปg)(Trapping) ทักษะการหมนุ (The Rotation Skils) 321))) กกกาาารรรพหกมลลกิับนุ ตตรอัวัวบ(กT(าuSรrpnกiinลnn้ิงgin)(Rgo)ling) 16

7. สในภกาพารแเวคดลล่อื อŒ นมไห4วปรา‹ระงกกาารยทม่ี (ผีThลeตอ‹FoกuารrพEnฒั vนiroาคnวmาeมnสtาsม) ารถ ความสามารถในการเคลื่อนไหวรา‹ งกายไดอŒ ยา‹ งฉลาด (Physical Literacy) หมายถงึ ความสามารถ (Capability) ของแตล ะบคุ คลในการใชร า งกายเคลอ่ื นไหวหรอื ประกอบกจิ กรรมทางกาย ในการดำเนนิ ชวี ติ ไดอ ยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ มเี หตผุ ล และปลอดภยั กอใหเกิดแรงบันดาลใจหรือแรงจูงใจ (Motivation) และความมั่นใจ (Confidence) ในการใชทักษะการเคลื่อนไหวรางกาย (Whitehead, 2010) ซึ่งผูเรียนจะตองผาน ประสบการณใ นการเรยี นรกู ารเคลอ่ื นไหว และมคี วามรคู วามเขา ใจในหลกั การและวธิ กี าร ปฏบิ ตั ิ โดยไดร บั การฝก หรอื มปี ระสบการณจ ากการเรยี นรทู กั ษะกลไกการเคลอ่ื นไหวพน้ื ฐาน (Motor Skil Learning) ซง่ึ เรม่ิ จากการฝก ปฏบิ ตั ทิ กั ษะพน้ื ฐานการเคลอ่ื นไหวอยา งถกู ตอ ง (Fundamental Movement Skills) จากการศึกษาเรียนรูทางดานพลศึกษานำไปสู การสรางเสริมปฏิสัมพันธการเรียนรูและพัฒนาทักษะพื้นฐานทางกีฬา (Fundamental Sport Skils) โดยมสี ภาพแวดลอ ม (Environment) ซง่ึ เปน ปจ จยั สำคญั ทม่ี ผี ลตอ การเรยี นรู และการพฒั นาความสามารถในการเคลอื่ นไหวของรา งกาย 4 ดา น คอื 1) บนพื้นดิน (On the ground) ซึ่งเปนสภาพแวดลอมพื้นฐานที่ถูกนำมาใชเปน ปจจัยในการเคลื่อนไหวและการฝกปฏิบัติมากที่สุด ไมวาจะเปนการเลนเกมสหรือกีฬา การเตนรำ การออกกำลังกายหรือการประกอบกิจกรรมทางกายตาง ๆ 2) ในน้ำ (In the water) ซึ่งเปนสภาพแวดลอมที่ใชเปนพื้นฐานในการประกอบ กิจกรรมทางนำ้ ทุกประเภทไมว าจะเปนการลอยตวั ในน้ำ การวา ยน้ำ การดำนำ้ สกีน้ำ การเลนเกมสในน้ำ ฯลฯ 3) ในอากาศ (In the air) ซง่ึ เปน พน้ื ฐานทใ่ี ชใ นการประกอบกจิ กรรมการเคลอ่ื นไหว ประเภทยิมนาสติก กระโดดน้ำ กระโดดลอยตัวในอากาศ กระโดดหอ รมรอน ฯลฯ 4) บนพื้นนำ้ แข็งหรือหิมะ (On ice and snow) ซงึ่ เปน พนื้ ฐานท่ีใชในการประกอบ กจิ กรรม การเคลอ่ื นไหวในฤดหู นาว เชน การลน่ื ไถลตวั จากทส่ี งู โดยใชส กี การเคลอ่ื นตวั บนพื้นหรือลานน้ำแข็งโดยใสรองเทาสเก็ต เปนตน 17

18 ธรรมชาตขิ องการพัฒนากจิ กรรมทางกาย ขึ้นอยก‹ู ับประสบการณข องการปฎบิ ัตกิ จิ กรรมทางกายแต‹ละรปู แบบ คณุ ภาพของการเคลอ่ื นไหว การสรŒางประสบการณ ผลทีเ่ กดิ ข้ึน (Physical Activity Quality) (Type of Experince) (Effectl) ทักษะ ฝƒกปฏิบัติ การเรยี นรŒู (Skil ) (Practice) (Learning) ความสามารถทางกายภาพ การฝƒกซอŒ ม สมรรภภาพทางกาย (Physical Perfomance) (Training) (Conditioning)

พฒั นาการที่เกิดจากการมีทักษะพ้ืนฐานการเคล่ือนไหวที่ดี การเลนอยางสรางสรรค จะนำไปสูการพัฒนา ความตั้งใจ ความสนใจ ความเชื่อมั่น ความเอาใจใส ในตนเอง และกการารรับกรระูคตวุานมรูสึก การออกกำลังกาย การทรงตัว หรือการบริหารร‹างกาย นำไปสู‹การพัฒนา พื้นฐานเคลื่อนไหวที่ดี กอาารรแมสณดงไอดออกยทาางง คแวยากมแสยาะมแาลระถลในำดกับาร เหมาะสม ความสำคัญ การพัฒนา การเคลื่อนไหวขั้นสูง ประยุกตจากแหลงที่มา : เจริญ กระบวนรัตน, 2552 สรุป ความสามารถในการรับรูและการเรียนรูการฝกทักษะพื้นฐานการเคลื่อนไหวและ ทักษะพื้นฐานกีฬา จะนำไปสูการพัฒนาความสามารถทางกลไกการเคลื่อนไหว (Motor Performance) ซง่ึ จะทำใหเ กดิ ทกั ษะกลไกการเคลอ่ื นไหวรา งกาย (Motor Skils) ทจ่ี ะนำไปสู การแสดงออกซึ่งทักษะความสามารถในการใชรางกายเคลื่อนไหวและประกอบกิจกรรม ในการดำเนินชีวิตไดอยางมีประสิทธิภาพ มีสมาธิ มีเหตุผล กอใหเกิดแรงบันดาลใจและ ความมน่ั ใจ ทส่ี ามารถสงั เกตเหน็ ไดจ ากการแสดงออกซง่ึ บคุ ลกิ ภาพพฤตกิ รรม หรอื อากปั กริ ยิ า การเคลื่อนไหวที่สะทอนใหเห็นถึงความเปนผูมีวุฒิภาวะและความสามารถในการใชรางกาย และการแสดงออกซึ่งทักษะการเคลื่อนไหวอยางผูรูหรือผูมีประสบการณ นำไปสูการประกอบ กิจกรรมทางกายหรือการเลนกีฬาไดอยางมีความสุข ชวยพัฒนาสรางเสริมใหมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่สมบูรณแข็งแรง สอดคลองกับปรัชญาการเรียนการสอนพลศึกษาที่มุงพัฒนา สรางเสริมรางกาย สติ ปญญา จิตใจ อารมณ และสังคมใหกับผูเรียน 19

8. รปู แบบพน้ื ฐานการเคลอ่ื นไหว (fundamental movement patterns) ทกั ษะพน้ื ฐานการเคลอ่ื นไหวเบอ้ื งตน ทม่ี คี วามสำคญั และจำเปน ตอ งใชใ นการดำเนนิ ชีวิตประจำวัน สามารถจำแนกรูปแบบหรือประเภทของทักษะการเคลื่อนไหวออกเปน 3 ประเภท ดงั น้ีคือ 1) ทักษะการเคลอ่ื นไหวแบบไมเ คลอื่ นท่ี (Non-locomotor movement) 2) ทกั ษะการเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ (Locomotor movement) 3) ทกั ษะการเคลือ่ นไหวประกอบอปุ กรณ โดยใชมอื หรอื เทาในการควบคุม (Manipulative movement) รูปแบบพื้นฐานการเคลื่อนไหว (Fundamental Movement Patterns) (Non-Lไoมcม‹ oกีmาoรtเoคrลMอ่ื oนvทem่ี ent) (Locomกoารtoเคr ลMอ่ื oนvทe่ีment) โกดา(ยMรใเaคชnลมŒ iอ่pือื นuหlไรaหอืtiวเvทปeาŒ รMใะนกoกอvาeบรmอคปุeวกบntรค)ณมุ  - การผลกั ดนั ดงึ - การคลาน - การกมŒ ตวั เหยยี ดตวั - การเดนิ - การโยน - การโยกตวั ไกวตวั - การวง่ิ - การขวาŒ ง - การแกวง‹ แขน - การกระโดด - การทม‹ุ - การบดิ ลำตวั - การสไลด - การเตะ - การเขยง‹ เทาŒ - การกระโดดสลบั เทาŒ - การเหวย่ี งตี - การรบั ความสามารถในการรับรูŒของระบบประสาทกลŒามเนื้อ (Perceptual Ability) การประสานงานของระบบประสาทกลามเนื้อ (Coordination) ความมีจิตใจจดจอและสมาธิในการควบคุมการเคลื่อนไหว ความงดงามและความสัมพันธในการเคลื่อนไหว (Kinaesthetic) 20

ทกั ษะการเคลื่อนไหวแบบไม‹เคลื่อนที่ ( Non-Locomotor movement) ประกอบดว ย ส‹วนบนของร‹างกาย ไดแก กม-เงยศีรษะ หันศีรษะซาย-ขวา ยักไหล แกวงแขน กมตวั เหยยี ดตวั งอตัวดานขาง บดิ ลำตัว กางแขน-หบุ แขน ส‹วนล‹างของร‹างกาย ไดแก ยืนงอขา เหยียดขา เตะขาย่ำเทาอยูกับที่ ยืนกางขา- หุบขา ลุกนั่งเกาอี้ เขยงเทา ยืนยอเขา กาวเทายอเขาอยูกับที่ กาวเทาดานขางยอเขา อยกู บั ท่ี ทักษะการเคล่อื นไหวแบบเคลอ่ื นที่ ( Locomotor movement) ประกอบดวย การเดิน การกระโดดสองขาไปขางหนาหรือถอยหลัง การวิ่ง การสไลด การวายน้ำ การขจ่ี กั รยาน เดนิ กา วชดิ กา ว การกระโดดสลบั เทา ไปขา งหนา การเขยง กา ว การมว นหนา การกระโจน การกลิ้งตัว การคลาน ทกั ษะการเคลอ่ื นไหวประกอบอปุ กรณโดยใชมŒ อื หรอื เทาŒ ในการควบคมุ (Manipulative Movement) ประกอบดว ย การตี การเตะ การชก การทมุ การพงุ การขวา ง การโยน การเหวย่ี ง การเลย้ี งลกู บอล การจบั การรบั การสง การผลกั บอล 21

22

ทกั ษะการเคลื่อนไหวแบบไม่เคล่ือนท่ี Non-Locomotor Movement การดึง การพยายามทำใหวตั ถุเขา มาหารา งกายโดยการใชมือ การดงึ โดยหันหนา้ เขา้ หาวัตถุ จุดเรมิ่ ต้น จุดสิน้ สดุ วิธกี ารปฏิบตั ิ ใหผ ูปฏบิ ัติยืนหันหนา เขา หาวตั ถุ ระยะหา งพอประมาณ ใชม อื ท้ังสองขา งจบั ยึดวตั ถุ จากนนั้ คอยๆ เอนตวั ไปดา นหลงั โดยกาวเทา ไป ทางดา นหลงั เล็กนอย และใชแ รงดึงเขาหาตัวหรอื แรงถีบเทา ชวยออกแรง 23

















การเดิน การเดนิ ไปดา้ นหน้า จุดเริ่มต้น ระหว่างการเคลือ่ นท่ี วิธีการปฏบิ ตั ิ ผปู ฏิบตั ยิ ืนตรงเหยยี ดแขนลงขา งลาํ ตัว ปลายเทา ช้ตี รงไปดา นหนา จากนัน้ ยกเทาขางใดขางหนง่ึ ขน้ึ งอเขา เล็กนอย แขนตรงกันขา มแกวง ไปดา นหนา เดินสลบั เทาและแขนตอ เน่ือง 32