Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เพราะเลี้ยงV2

เพราะเลี้ยงV2

Published by Thalanglibrary, 2020-06-12 23:03:28

Description: เพราะเลี้ยงV2

Search

Read the Text Version

คูม่ อื ส่งเสรมิ การเรียนรดู้ า้ นพืช “การเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยือ่ ไม้ดอกไมป้ ระดับ” บ้านวิทยาศาสตรส์ ิรินธร

คู่มือสง่ เสริมการเรียนรดู้ า้ นพืช “การเพาะเลยี้ งเนื้อเยอื่ ไม้ดอกไมป้ ระดบั ” ดร.ธราธร ทรี ฆฐิติ ดร.อรนชุ ลลี าพร ดร.ยนิ ดี ชาญววิ ฒั นา ศูนย์พันธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหง่ ชาติ (ไบโอเทค) ลิขิต มณีสินธ์ุ นกั วชิ าการอสิ ระ รว่ มกับ ฝ่ายบรหิ ารคา่ ยวทิ ยาศาสตร์ ส�ำ นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คมู่ ือสง่ เสรมิ การเรยี นรดู้ ้านพืช “การเพาะเล้ยี งเน้อื เย่อื ไมด้ อกไม้ประดบั ” ISBN: 978-616-12-0371-9 จ�ำ นวน 2,000 เลม่ (พิมพ์ครงั้ ท่ี 2 มนี าคม พ.ศ. 2559) สงวนลิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. 2558 ตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537 โดย ดร.ธราธร ทรี ฆฐิติ ดร.อรนุช ลีลาพร ดร.ยินดี ชาญววิ ฒั นา ศนู ยพ์ ันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ลขิ ิต มณีสินธ์ุ นักวชิ าการอิสระ ร่วมกับ ฝา่ ยบริหารค่ายวิทยาศาสตร์ สำ�นกั งานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวทิ ยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ต�ำ บลคลองหนึง่ อ�ำ เภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศัพท์ 0-2529-7100 โทรสาร 0-2529-7147 ไม่่อนุญุ าตให้้คัดั ลอก ทำำ�ซ้ำำ�� และดััดแปลง ส่่วนใดส่่วนหนึ่�งของหนังั สือื ฉบับั นี้� นอกจากได้รับอนุญาตเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรจากเจา้ ของลขิ สทิ ธเ์ิ ท่านนั้ Copyright©2015 by: National Science and Technology Development Agency (NSTDA) 111 Thailand Science Park, Phahonyothin Rd. Klong Nueng, Klong Luang, Pathumthani 12120, Thailand Tel. +66 2529 7100 Fax. +66 2529 7147 คมู่ อื สง่ เสริมการเรียนร้ดู า้ นพชื “การเพาะเล้ียงเน้ือเยอ่ื ไม้ดอกไมป้ ระดับ”/โดย ธราธร ทรี ฆฐิต ... [และคนอน่ื ๆ]. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2. ปทุมธานี : ส�ำ นกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาต,ิ 2558. 56 หน้า : ภาพประกอบ ISBN : 978-161-12-0371-9 1. การเพาะเล้ียง (ชีววทิ ยา) 2. การเพาะเล้ียงเนือ้ เยอ่ื พืช 3. พืช -- การขยายพนั ธ์ุ I. ส�ำ นักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแห่งชาติ II. ศนู ย์พันธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแหง่ ชาติ III. ช่ือเร่อื ง QK725 581.538 ประสานงาน วิชชานนั ท์ งามถ่ิน จดิ ากาญจน์ สีหาราช พิรุณรตั น์ ปุณยลิขิต ออกแบบและสรา้ งสรรค์ โดย งานออกแบบ ฝ่ายส่ือวิทยาศาสตร์ ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ

บทนำ� ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความหลากหลาย ทางชวี ภาพ มีวถิ ีชีวติ ความเปน็ อยูแ่ ละวัฒนธรรมท่ีมี สว่ นเกยี่ วข้องกบั พืชพรรณตา่ งๆ มากมาย การปลูกฝงั เยาวชนรุ่นใหม่ให้เห็นถึงคุณค่าและความงดงามของ พชื พรรณ จนเกดิ ความสนใจที่จะทำ�การศึกษาทดลอง อย่างง่าย ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวิทยาศาสตรใ์ นโรงเรียน เป็นแนวทางหน่ึงในการบ่มเพาะให้เยาวชนมีจิตสำ�นึก ในการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื คณะผจู้ ดั ท�ำ ไดน้ �ำ พรรณไม้ ดอกปทุมมาและหงส์เหินที่อยู่ในวิถีการดำ�รงชีวิต ของไทย และมกี ารน�ำ ไปใชป้ ระโยชนเ์ ชงิ ธรุ กจิ ทม่ี มี าตรฐาน การยอมรบั ในระดบั สากล มาเปน็ ตวั อยา่ งพชื พรรณไมด้ อก ในการสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั หลกั การพน้ื ฐาน ของการเพาะเลยี้ งเนอื้ เย่ือเบอ้ื งตน้           คูม่ ือส่งเสรมิ การเรียนรู้ดา้ นพืช “การเพาะเลี้ยง เน้อื เย่อื ไม้ดอกไมป้ ระดับ” ประกอบดว้ ย 3 ส่วน คอื ความรู้ทว่ั ไป ข้ันตอนการลงมือฝึกปฏบิ ตั กิ ารเพาะเล้ียง เนอ้ื เยอ่ื พชื และแนะน�ำ แหลง่ เรยี นรปู้ ทมุ มาและหงสเ์ หนิ ทจ่ี ะเปน็ ตน้ แบบของการศกึ ษาวชิ าการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื และเซลลพ์ ชื เพอ่ื ใหเ้ ยาวชนตระหนกั ในการใชป้ ระโยชน์ จากธรรมชาติอยา่ งเหมาะสม ตลอดจนการสงวนรกั ษา ไว้เพ่ือการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนของประเทศชาติสืบ ต่อไป

สารบัญ 5 ตอนท่ี 1 14 ไมด้ อกไม้ประดบั กับการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เย่อื 39 • ปทมุ มา หงสเ์ หิน..........ไมด้ อกแหง่ สวุ รรณภูมิ 47 • ปทมุ มา (Curcuma) 53 • หงสเ์ หนิ (Globba) 54 55 ตอนท่ี 2 เรอ่ื งนา่ ร.ู้ ... การเพาะเล้ยี งเนอ้ื เย่อื • ท�ำ ไม..ต้องมีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ่ • แนะนำ�อปุ กรณท์ ่จี ำ�เปน็ ตอ้ งใช้ • หอ้ งเพาะเลย้ี งเน้ือเยือ่ • ข้นั ตอนการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยื่อ o การเตรยี มอาหาร o การฟอกฆา่ เช้อื ชน้ิ สว่ นของพืช o การเพ่ิมจำ�นวน o การชกั น�ำ รากพชื o การย้ายออกปลกู ตอนท่ี 3 บทบาทในสงั คมไทย กับงานวิจยั เพอ่ื เพ่มิ ศักยภาพ ของปทมุ มา และหงส์เหนิ ในตลาดโลก • เทคโนโลยีการผลิตต้นพันธ์ุปทุมมาและหงสเ์ หินเพ่ือการสง่ ออก • ปทุมมา หงส์เหิน..........บทบาทในตลาดโลก ตอนท่ี 4 แหล่งเรียนรู้ปทมุ มาและหงส์เหิน เกมทบทวนความรู้ เอกสารอา้ งองิ สูตู รอาหารเพาะเลี้้�ยงเนื้้�อเยื่�อพืชื

ตอนที่ 1 ตอนที่ 1 ไมด้ อกไม้ประดับ กับการเพาะเลย้ี งเน้อื เยือ่ ม่วงเทพรัตน์ (Exacum affine Balf.f. ex Regel) หรอื Persian Violet เปน็ ไม้ล้มลกุ ซ่ึ งเปน็ พชื ท้องถ่ินของเกาะโซโคตรา้ ประเทศเยเมน ในมหาสมทุ รอินเดีย ใบมสี เี ขียวเข้ม รูปไข่ ยาวไมเ่ กิน 4 เซนตเิ มตร ความสูงในสภาพธรรมชาตปิ ระมาณ 60 เซนตเิ มตร ออกดอกในชว่ งหนา้ รอ้ น และฤดใู บไมผ้ ลิ กลีบดอกมสี มี ว่ งอมฟ้า รปู ร่างของดอกเม่อื บานเตม็ ท่ี แลว้ มรี ูปทรงคลา้ ยดาว มเี กสรตัวผ้สู เี หลือง มกี ลนิ่ หอมออ่ นๆ โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจาก เรอ่ื งนา่ รู้ พระราชดำ�ริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ได้รบั พระราชทาน ต้นม่วงเทพรัตน์สามารถขยายพันธุ์โดยการ เนอ้ื เยอ่ื พนั ธพุ์ ชื ตา่ งๆ จากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ เพาะเล้ียงเน้ือเย่ือและออกดอกสวยงามในขวด สยามบรมราชกมุ ารี ใหข้ ยายพนั ธุ์ และเกบ็ รกั ษาพนั ธไุ์ ว้ และสามารถน�ำ ออกปลกู ในสภาพธรรมชาตเิ พอ่ื เปน็ โดยการเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพืชที่ได้จากการทูลเกล้าฯ ไม้ประดบั ต่อไป ถวายในวันท่ที รงเปิดงานนิทรรศการเทิดพระเกียรติฯ ณ ศนู ยป์ ระชมุ อทุ ยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย เมื่อ วันท่ี 27 มนี าคม พ.ศ. 2551 และในพชื หลายชนดิ นนั้ พบวา่ มีพชื ชนดิ หน่ึงท่ีสามารถขยายพันธุ์ตอ่ ไดด้ ี และสามารถออกดอกในสภาพเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ ทาง อพ.สธ. จึงได้ขอพระราชทานชื่อ exacum จากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และทรงพระราชทานนามว่า“ม่วงเทพรตั น”์ ในวนั ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2552 ทีม่ า : www.rspg.or.th, ดร.ปิยรษั ฎ์ เจริญทรัพย์ “ดอกไม้งาม ม่วงเทพรตั น์” คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 5

ปทมุ มา หงส์เหนิ ไม้ดอกแห่งสวุ รรณภูมิ ประเทศไทยเป็นแหล่งพันธุกรรมและความ เปน็ ไมด้ อกพน้ื เมอื งของไทย ประเทศไทยเปน็ ประเทศ หลากหลายทีส่ �ำ คัญของพชื กลุ่มปทุมมา (Curcuma เดียวในโลก ที่มีศักยภาพในการผลิตหัวพันธ์ุ และ sp.) และ หงสเ์ หนิ (Globba sp.) ซง่ึ พบกระจายพนั ธุ์ คัดเลอื กพนั ธุเ์ พ่อื การส่งออก อยทู่ ว่ั ทกุ ภาคของประเทศ กลา่ วไดว้ า่ พชื ทง้ั สองกลมุ่ น้ี หนองคาย ชยั ภมู ิ ฉะเชงิ เทรา แหล่งธรรมชาติทีพ่ บ ตน้ ปทมุ มา (คณะผจู้ ัดท�ำ พ.ศ. 2545 – 2555) คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 6 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

ปทุมมา ตอนที่ 1 (Curcuma sp.) พื ช ก ลุ่ ม ป ทุ ม ม า จั ด อ ยู่ ใ น ว ง ศ์ ขิ ง ส่วนลา่ งเลก็ นอ้ ย และไมม่ ดี อกจรงิ ทซ่ี อกกลบี ประดบั (Zingiberaceae) สกุลขม้ิน (Curcuma) เปน็ พชื และกลบี ประดับสว่ นบนน้ีมีชือ่ ว่า Coma bract ซงึ่ มี ใบเลย้ี งเดย่ี ว มลี �ำ ตน้ ใตด้ นิ ท�ำ หนา้ ทส่ี ะสมอาหารทเ่ี รยี ก สีสันหลากหลายและสวยงาม เช่น ขาว ชมพูอ่อน วา่ เหงา้ (Rhizome) สว่ นล�ำ ตน้ เหนอื ดนิ หรอื ล�ำ ตน้ เทยี ม ชมพูแก่ ชมพูอมม่วง และมว่ งเขม้ ปทมุ มาสว่ นใหญ่ (Pseudostem) เกิดจากการอัดเรียงตัวกันของ มกี า้ นชอ่ ดอก (Flower stalk) ยาวกว่าความสงู ของ กาบใบ ลำ�ต้นเทยี มท่ีมตี ้นกำ�เนดิ เกิดจากตาขา้ งของ ทรงพมุ่ เหงา้ นน้ั ใบเปน็ ใบเดย่ี วรปู หอกหรอื รูปไข่ รากเปน็ ฝอย ความสูงู ของลำ�ำ ต้น้ เทียี มตั้�งแต่่ 20-100 เซนติเิ มตร โดยมีรากจำ�นวนหนึ่งสะสมอาหารใกล้ปลายราก ขึ้�นอยู่่�กัับสายพันั ธ์ุ� ส่ว่ นดอกจริิง (Flower) เป็น็ ดอกที่� ทำ�ใหร้ ากบวมเป็นต้มุ ขนาดใหญส่ ขี าว การออกดอก ไม่่มีกี ้้านดอก กลีบี ดอกและกลีีบเลี้�ยงสีขี าวแต่ป่ ากมีี เปน็ ชอ่ ดอก (Inflorescence) ทป่ี ลายของล�ำ ตน้ เทยี ม สีมี ่ว่ งน้ำำ��เงินิ โดยช่อดอกประกอบด้วยกลีบของกลีบประดับ ประโยชน์ของปทมุ มา หรอื เป็นที่รจู้ กั ในนาม (Bract) เวยี นซอ้ นกนั เกดิ เปน็ ชอ่ กลีบประดับมสี เี ขียว “กระเจยี ว” นิยมใช้เป็นไม้ดอกจดั แจกนั และตกแตง่ เฉพาะส่วนล่างของช่อและมีสีอ่ืนในส่วนบนของช่อ สถานทต่ี า่ งๆ เนอ่ื งจากดอกปทมุ มาอยไู่ ดน้ านหลายวนั ซง่ึ ในสสี ว่ นบนนจ้ี ะตา่ งกนั ไปตามชนดิ และพนั ธุ์ ส�ำ หรบั นอกจากนย้ี งั นยิ มใชเ้ ปน็ ไมก้ ระถางและประดับสวน กลีบประดับส่วนบนของช่อน้ันยาวกว่ากลีบประดับ คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 7

สว่ นประกอบของตน้ ปทุมมา (Curcuma alismatifolia) ช่อดอก (Inflorescence) กลีบประดบั (Coma Bract) กลบี ประดับ (Bract) ดอกจริง ใบ (Leaf) (Flower) ก้านชอ่ ดอก (Flower Stalk) รากสะสมอาหารเริม่ ต้น ขอ้ สงั เกต : (Tuberous Root) เมื่ � อต้้นปทุุมมาเจริิญเติิบโตจน รากฝอย ออกดอก รากสะสมอาหารเริ่�มต้น้ (Fibrous Root) ที่ �ใช้้ปลููกจะเปลี่ �ยนเป็็นสีีคล้ำำ��ขึ้้�น และฝ่่อไป ขณะเดียี วกันั จะเกิดิ ราก คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช สะสมอาหารที่�เกิิดขึ้�นใหม่่ เมื่�อทำำ� การตัดั ดอก ลำ�ำ ต้้นเทีียมจะค่่อยๆ 8 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” แห้้งลง เหลือื แต่่เหง้้าพร้้อมตุ้�มราก สำำ�หรับั ใช้เ้ ก็็บเป็น็ หัวั พัันธ์ุุ�ต่่อไป ล�ำ ตน้ เทยี ม (Pseudostem) รากสะสมอาหารทเ่ี กิดขนึ้ ใหม่ หรอื รากตุม้ เหง้า (Rhizome)

ตอนที่ 1 แปลงผลิตหวั พนั ธ์ปุ ทุมมาพันธุก์ ารคา้ กลุ่มเชยี งใหมพ่ ิงค์ (Curcuma alismatifolia) ในจังหวัดเชียงใหม่ ปทุุมมามีีความสำำ�คััญในการผลิติ เชิงิ พาณิชิ ย์์ มีีการส่ง่ ออกในรููปหัวั พัันธ์ุ�สู่�ต่างประเทศ ปีลี ะไม่ต่ ่ำ�ำ �กว่า่ 2 ล้้านหัวั ต่่อปีี มููลค่า่ 15-30 ล้า้ นบาทตอ่ ปีี พื้�นที่�ปลูกู ปทุมุ มา เพื่�อผลิติ หัวั พันั ธ์ุ�เพื่�อการส่ง่ ออกมีีประมาณ 200 ไร่่ ในเขตจัังหวััดเชีียงใหม่่ ปััจจุุบัันพัันธ์ุ�ที่�เหมาะสมในการผลิิตเชิิงการค้้ามากที่่�สุุด คืือ ปทุุมมาเชียี งใหม่่พิิงค์์ 12 34 5 ปทมุ มาสายพนั ธกุ์ ารคา้ (กลมุ่ เชยี งใหมพ่ งิ ค)์ เรยี งตามล�ำ ดบั หมายเลข ดงั น้ี 1. พนั ธ์ุขาวปลายแดง (White Red Tip) 2. พนั ธ์ุเพลพิงค์ (Pale Pink) 3. พันธ์ุเชียงใหม่พงิ ค์ (Chiang mai Pink) 4. พันธุ์เชยี งใหมเ่ รด (Chiang mai Red) 5. พันธบ์ุ กิ๊ เรด (Big Red) คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 9

การผลิตปทุมมาเปน็ ไม้ดอกไมป้ ระดบั ในประเทศไทยสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ การผลิตหวั พันธุ์ การผลิตปทุมมาตดั ดอก และปทมุ มาถุง ซึง่ มีการผลิตจากเกษตรกร ดงั นี้ การผลิตหัวพันธ์ุ การผลติ ปทุมมาตัดดอก พันธุ์ที่สำ�คัญท่ีผลิตหัวพันธ์ุจะยึดหลักผลิต ปทุมมาตัดดอกที่มีจำ�หน่ายในประเทศได้มา พันธทุ์ สี่ ามารถส่งออกไปต่างประเทศได้ เช่น กลุ่ม จากผลพลอยไดข้ องการผลติ หวั พนั ธุ์ เกษตรกรผผู้ ลติ เชียงใหม่พิงค์ ซึ่งยังคงมีการผลิตเป็นอันดับหนึ่ง หัวพันธุ์จะเป็นผู้ส่งปทุมมาตัดดอกไปยังตลาดค้าส่ง ประมาณ 60-70% ของการผลิตทั้งหมดเน่อื งจาก ไมด้ อกในกรุงเทพ เชน่ ตลาดไท ปากคลองตลาด ยงั คงเปน็ พันธทุ์ น่ี ิยมท่ีสดุ ในต่างประเทศ หรือมีพ่อค้าคนกลางมารับปทุมมาตัดดอกส่งไป จ�ำ หนา่ ยในจงั หวดั อืน่ ๆ พันธ์ุปทุมมาตัดดอก ที่เป็นที่นิยมในตลาด ในประเทศ มักเป็นพันธ์ุใหม่ๆ ซึ่งกลุ่มสีที่นิยมคือ สขี าว สชี มพู เช่น ปทมุ รัตน์ มองบลังค์ หัวพนั ธ์ปุ ทมุ มา หัวพนั ธทุ์ เ่ี กษตรกรผลติ ไดจ้ ะคดั เกรดออกเปน็ 2 เกรดหลัก คอื เกรดสง่ ออก และหัวพนั ธุต์ กเกรด สง่ ออกไมไ่ ด้ ซง่ึ เกษตรกรใชเ้ ปน็ แมพ่ นั ธสุ์ �ำ หรบั ผลติ ในปตี อ่ ไป และจ�ำ หนา่ ยใหก้ บั ผผู้ ลติ ปทมุ มาถงุ (ไมก้ ระถาง) ในประเทศ ประเทศทเ่ี ปน็ ผนู้ �ำ เขา้ ไดแ้ ก่ เนเธอรแ์ ลนด์ สหรฐั อเมริกา ญป่ี ่นุ จีน อติ าลี เปน็ ตน้ ปทมุ มาตัดดอกในตลาดเชยี งใหม่ คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 10 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

ตอนที่ 1 การผลติ ปทุมมาถุง ฤดููปลููกปีีแรก ไม้ด้ อกกลุ่�มนี้�จะพักั ตัวั โดยใบและลำ�ำ ต้น้ เทีียมจะค่่อยๆ แห้้งลง และยุุบหายไปเหลืือแต่่เหง้้า กลมุ่ ผผู้ ลติ รายใหญอ่ ยทู่ ่ี อ�ำ เภอภเู รอื จงั หวดั เลย พร้อ้ มตุ้�มรากฝังั อยู่�ใต้้ดินิ สามารถนำ�ำ มาปลูกู ใหม่่ใน ซง่ึ พนั ธเุ์ ชยี งใหมพ่ งิ ค์ เปน็ พนั ธทุ์ น่ี ยิ มมากทส่ี ดุ ประมาณ ฤดูปู ลูกู ปีีถัดั ไปในช่่วงปลายเดืือนมีีนาคม ปกติผิู้�ปลูกู 80% ของการผลติ (ข้อมูลปี 2553) โดยฤดูการผลติ เลี้ �ยงไม้้ดอกมัักจะเริ่ �มปลููกราวกลางเดืือนเมษายนถึึง เริม่ ปลกู ในเดือนเมษายน และจ�ำ หนา่ ยผลผลิตต้ังแต่ ต้น้ เดือื นมถุุนายน ขึ้�นอยู่่�กัับความสามารถในการจััด เดอื นกรกฎาคมเป็นตน้ ไปจนถงึ เดือนกนั ยายน การน้ำำ��เพื่�อนำำ�มาใช้ใ้ นแปลงของเกษตรกรแต่่ละราย ตามธรรมชาติิไม้้ดอกกลุ่�มปทุุมมาเป็็นไม้้หััว ที่่�มีีการพัักตััวในช่่วงวัันสั้�น โดยไม้้ดอกเหล่า่ นี้�จะเริ่�ม พักั ตัวั หลังั ช่ว่ งปลายเดืือนกัันยายนของทุุกปีี เมื่�อสิ้�น การผลติ ปทุมมาในรอบการผลติ หน่งึ ปี เมษายน เริ่มปลูกหวั พนั ธ์ุ พฤษภาคม ปทุมมาจะเริม่ ออกดอก มถิ นุ ายน ถงึ กนั ยายน เกบ็ และตัดดอก ตลุ าคม ถึง พฤศจิกายน ลำ�ตน้ เทียมจะเร่มิ แห้งและเฉาลง ธนั วาคม เก็บหวั พนั ธ์ุ (ตุ้มราก) สำ�หรับปลูกในรอบต่อไปหรือนำ�ไปจำ�หนา่ ย มกราคม-มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มถิ ุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กนั ยายน ตุลาคม พฤศจิกายน ธนั วาคม คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 11

หงส์เหิน (Globba sp.) หงสเ์ หนิ เปน็ พชื ทอ่ี ยใู่ นวงศ์ Zingiberaceae หงส์เ์ หินิ เป็น็ พืชื ที่่�มีลำ�ำ ต้น้ เป็น็ หัวั ใต้ด้ ินิ ประเภท และอยู่ในสกุล Globba เป็นไม้พื้นเมืองของไทย เหง้า้ แบบ Rhizome มีรี ากสะสมอาหารลักั ษณะอวบน้ำ�ำ � ท่ีเกิดในปา่ ร้อนช้นื ขนึ้ กระจายอยทู่ กุ ภาค แต่บริเวณ คล้า้ ยรากกระชายเรีียงอยู่�โดยรอบหััว และส่ว่ นของ ภาคเหนือและภาคกลาง มีความหลากหลายของพนั ธ์ุ ล�ำ ต้น้ เหนือื ดินิ คือื กาบใบที่�เรียี งตัวั กันั แน่น่ ทำ�ำ หน้า้ ที่� มากกวา่ ภาคอืน่ ๆ เป็น็ ต้น้ เทียี มเหนือื ดินิ มักั เกิดิ เป็น็ กลุ่�มกอสูงู ประมาณ 30-70 เซนติเิ มตร ใบเป็็นใบเดี่�ยวเรียี วยาว รูปู ใบหอก คล้้ายใบกระชาย แต่่มีีขนาดเล็็กกว่่า ออกเรีียงสลัับ ซ้า้ ยขวาเป็น็ สองแถวในระนาบเดียี วกันั ดอกออกเป็็น ช่อ่ แทงออกมาจากยอดของลำ�ำ ต้้นเทียี ม ช่่อจะโค้้ง และห้้อยตััวลงอย่่างอ่่อนช้้อยสวยงาม มีีก้้านดอก ยอ่ ยเรียี งอยู่�โดยรอบประกอบด้ว้ ยดอกจริงิ 1-3 ดอก มีีกลีีบประดัับ (bract) ที่�แตกต่า่ งกัันหลายรููปทรง และหลายสีี หนึ่�งปีีจะออกดอกเพีียงครั้�งเดีียวช่่วง เทศกาลวันั เข้า้ พรรษา จึงึ มีชีื่�อเรียี กว่า่ ดอกเข้า้ พรรษา คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 12 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

หงส์เหนิ สายพันธต์ุ ่างๆ และดอกเขา้ พรรษาทใ่ี ชต้ ักบาตรดอกไม้ ตอนที่ 1 ส�ำ หรบั หงสเ์ หนิ ปจั จบุ นั มกี ารสง่ ออกหวั พนั ธุ์ ไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะสง่ ออก ทง้ั ทต่ี ลาดตา่ งประเทศมคี วาม ไปยงั ต่างประเทศ เชน่ ญี่ปนุ่ เนเธอรแ์ ลนด์ เหตุผลที่ ตอ้ งการมาก การสง่ ออกยงั มไี มม่ ากนกั เนอ่ื งจากผลผลติ ยงั มปี รมิ าณ เรื่องน่ารู้ เกี่ยวกบั หงส์เหนิ งานประเพณีตี ักั บาตรดอกเข้า้ พรรษา จังั หวัดั สระบุรุ ีี ถือื เป็น็ ประเพณีทีี่่�มีแห่ง่ เดียี วในโลก ที่�เป็น็ เอกลักั ษณ์์ ของจัังหวััดสระบุุรีีโดยถืือเอาวัันเข้้าพรรษาในวััน แรม 15 ค่ำ�ำ � เดือื น 8 ของทุกุ ปีี ประชาชนจะนำ�ำ ดอกไม้้ ชนิิดหนึ่ �งที่่�มีีดอกหลากสีีและพบในช่่วงเข้้าพรรษา เรีียกว่่า “ดอกเข้้าพรรษา” มารอใส่่บาตรพระสงฆ์์ เพื่�อนำ�ำขึ้้�นไปสักั การะรอยพระพุทุ ธบาทที่�ประดิษิ ฐาน บนพระมณฑปภายในวัดั พระพุุทธบาท คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 13

ตอนที่ 2 เรอ่ื งนา่ ร้.ู ... การเพาะเลี้ยงเนอ้ื เยือ่ การเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื พชื เปน็ วธิ กี ารขยายพนั ธ์ุ พชื วิธีหนง่ึ โดยนำ�ช้นิ สว่ นของพชื ได้แก่ ล�ำ ต้น ยอด ตาข้าง ดอก ใบ มาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ ภายใต้สภาวะท่ีควบคุมในเรื่องของความสะอาดแบบ ปลอดเชือ้ อุณหภมู ิ และแสง เพือ่ ใหช้ ้ินส่วนเหลา่ นน้ั สามารถเจรญิ และพฒั นาเปน็ ตน้ พชื ทส่ี มบรู ณ์ สามารถ น�ำ ออกปลูกในสภาพธรรมชาตไิ ด้ ทำ�ไม... ต้องมี การเพาะเลย้ี งเนือ้ เยื้อ ประโยชนข์ องการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื • การขยายพันธพุ์ ืช (Micropropagation) - ผลิตต้นพันธ์ปุ ลอดโรคปริมาณมากในระยะ เวลาอนั รวดเรว็ ตวั อยา่ งเชน่ เพม่ิ ปรมิ าณได้ 10 เทา่ ตอ่ การยา้ ยเนือ้ เยือ่ ลงอาหารใหมท่ กุ เดือน เม่ือเวลา 2 เดอื นสามารถผลติ ตน้ พนั ธุ์ พชื ได้ถึง 100 ต้น - ต้นพันธ์ุท่ีได้มีลักษณะตรงตามพันธ์ุเหมือน ตน้ แม่ คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 14 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

1 เดือน 2 เดือน ตอนที่ 2 • การปรบั ปรงุ พนั ธพ์ุ ชื (Plant improvement) • การผลติ สารทตุ ยิ ภมู ิ (secondary metabolite - การเพาะเลี้ยงเอม็ บรโิ อ (Embryo culture) production) เป็นการสร้างลูกผสมโดยช่วยชีวิตเอ็มบริโอ - การผลิตสารต่างๆ ที่ใช้ทางด้านการแพทย์ ซึง่ รอดชวี ติ ได้ยากในสภาพธรรมชาติ และการเกษตร - การเพาะเลย้ี งอบั ละอองเรณแู ละละอองเรณู (Pollen and anther culture) เปน็ การสรา้ ง ขอ้ จำ�กัดของ ต้น Haploid plant เพื่อลดระยะเวลาใน การเพาะเล้ียงเนอื้ เยือ่ พชื การสร้างพันธุแ์ ท้ - การชกั น�ำ การกลายพนั ธ์ุ (Induced mutation) ดา้ นการลงทนุ โดยใชส้ ารเคมี หรอื รงั สี เพอ่ื ใหไ้ ดพ้ ชื กลายพนั ธ์ุ - การใช้เทคโนโลยีชีวภาพ เช่น การรวม 1. การสรา้ งหอ้ งปฏบิ ตั งิ าน เนอ่ื งจากการปฏบิ ตั งิ าน โปรโตพลาสต์ (Protoplast fusion) และ ต้องมกี ารจดั การพน้ื ทท่ี �ำ งาน และการใชเ้ ครอ่ื งมอื เทคโนโลยพี นั ธวุ ศิ วกรรม (Genetic engineering) และสารเคมที ่ีมรี าคาค่อนข้างสูง • การอนรุ กั ษเ์ ชอ้ื พนั ธกุ รรมพชื (Germplasm conservation, Gene bank) 2. การอบรมและฝึกฝนผู้ปฏิบัติงาน เนื่องจากการ - การเกบ็ รกั ษาพนั ธพ์ุ ชื หายาก โดยชกั น�ำ ใหพ้ ชื ทำ�งานการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมีการทำ�งานด้วย ในขวดเพาะเล้ียงมีอัตราการเจริญอย่างช้าๆ เทคนิคปลอดเช้ือและทำ�งานตามลำ�ดับขั้นตอน สามารถคงสภาพและมีชีวิตได้ในเวลาที่ยาว ตง้ั แตก่ ารฟอกฆา่ เชอ้ื วธิ กี ารตดั และวางเนอ้ื เยอ่ื พชื นาน เป็นการประหยัดพน้ื ที่และแรงงาน การเพิ่มปริมาณต้น การชักนำ�ราก รวมถึงการ - การเก็บรวบรวมพันธุ์พืชในขวดเพาะเลี้ยง ฆา่ เช้ือเพือ่ ทำ�ความสะอาดของเครอ่ื งมือท่ใี ช้  เพ่ือเป็นแหล่งพันธุกรรมที่มีสำ�รองตลอด เวลา 3. การค้นคว้าวิจัยในการค้นหาเทคนิคและสูตร • การแลกเปลี่ยนพันธุ์พืชระหว่างประเทศ อาหารเพาะเลี้ยงพชื ทเี่ หมาะสม รวมถงึ การเลือก (International transfer) ชนิดและปริมาณสารควบคุมการเจริญเติบโตท่ี - การแลกเปลย่ี นพนั ธพ์ุ ชื ทอ่ี ยใู่ นสภาพปลอดเชอ้ื เหมาะสม เพื่อให้ต้นพืชมีการเจริญเติบโตและ ช่วยลดความเส่ียงของการแพร่กระจายโรค พัฒนาพร้อมกนั และลดการเกิดลักษณะของต้น พชื พชื ทแ่ี ตกตา่ งไปจากเดมิ (Somaclonal variation)       คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 15

การเจรญิ ของชิน้ ส่วนพืชท่นี ำ�มาเพาะเลย้ี งบนอาหารสงั เคราะห์ เพอ่ื ใหเ้ กิดเป็นตน้ พืชทส่ี มบรู ณ์ มีกระบวนการเปลย่ี นแปลงของเนอ้ื เยอ่ื 3 แบบ คอื แคลลัส คอื กลุ่มเซลล์ทย่ี ังไมพ่ ัฒนาเป็นยอดและราก ยอดหรือราก โดยเกิดเป็นอิสระต่อกัน เรียกกระบวนการน้วี า่ organogenesis เอ็มบรอิ อยด์ (embryoid) มขี ั้นตอนการพฒั นาเหมือนเอม็ บรโิ อจนเปน็ ต้น แตม่ จี ดุ ก�ำ เนดิ จากเซลล์ รา่ งกาย เรยี กกระบวนการนว้ี า่ embryogenesis คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 16 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

Totipotency (any part of the plant can give rise to an entire ตอนที่ 2 new plant given the right conditions) ความสามารถของเซลลพ์ ืชท่พี ร้อมจะพฒั นากลบั ไปเป็นต้นพชื ที่สมบูรณใ์ หมไ่ ดเ้ ม่อื ไดร้ ับสภาวะแวดล้อมท่เี หมาะสม ปี พ.ศ. 2477 ปี พ.ศ. 2482 (ค.ศ. 1934) (ค.ศ. 1939) Philip Rodney White Roger-Jean Gautheret รายงานความสำเรจ็ ของการเพาะเลยี้ ง รายงานการเพาะเลย้ี งเนื้อเยอ่ื แคมเบียม ปลายรากมะเขอื เทศใหเ จรญิ ไดใ นอาหาร (cambium) ของไมพ ุมและไมเนอื้ แข็ง ใหเ ติบโตบนอาหารสตู ร Knop ที่น้ำตาลกลโู คส ที่มีเกลืออนินทรยี  นำ้ ตาลซูโครส วิตามินบี 1 และ cystein hydrochloride และสารสกัดจากยีสต (yeast extract) และเนือ้ เยื่อแคมเบยี มมีชวี ติ รอด 2-3 เดอื น ปี พ.ศ. 2445 http://cbnbp.mnhn.fr (ค.ศ. 1902) ปี พ.ศ. 2465 Gottlieb Haberlandt (ค.ศ. 1922) ทดลองเล้ียงเซลลท่ีแยกจากใบพืช Lewis Knudson ในสารละลายสูตร Knop พบวา สามารถเพาะเมล็ดกลวยไมใน เซลลมกี ารเปล่ยี นแปลงขนาด สภาพปลอดเชอื้ ไดเปนครั้งแรก และรปู รา ง แตย งั ไมมีการแบงตัว http://www.tc.umn.edu http://en.wikipedia.org ปี พ.ศ. 2445 ปี พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1902) (ค.ศ. 1893) Gottlieb Haberlandt Schleiden และ Schwann เสนอทฤษฎี Totipotency หมายถึง เสนอทฤษฎีเซลลของส่งิ มีชวี ิตทกุ ชนิดวา ความสามารถเซลลของส่ิงมชี ีวติ ท่ีจะ ส่งิ มชี วี ิตประกอบข้นึ ดว ยเซลล พฒั นาเปนสงิ่ มชี วี ิตใหมไ ดถาไดร บั และตอ งมาจากเซลลท่มี อี ยูเดิม สภาพแวดลอ มที่เหมาะสม http://bankofbiology.blogspot.com นับจากนั้นมา มีรายงานความก้าวหน้าของงานเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชตลอดมา และแม้ว่าเทคนิค การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชและเซลล์จะไม่ใช่เทคโนโลยีใหม่ แต่มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาทั้งในเรื่องเทคโนโลยี เพาะเลย้ี งเองและการใชส้ ารควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตใหมๆ่ เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพการเจรญิ และพฒั นาจากชน้ิ สว่ นพชื ไปเปน็ ตน้ พันธ์ทุ สี่ มบรู ณ์ คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 17

แนะนำ�อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในหอ้ งเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยอ้ื เครอ่ื งกรองนำ�้ สารเคมี ชอ นตักสาร เครอื่ งช่งั สารเคมี จขัดววดาใสงส ใานร ตู้หรือบนชั้นวางของอย่างเป็น หมวดหมู่หรอื เรยี งตามอักษร ควรอยบู่ รเิ วณเดียวกับ เครื่�องกรองน้ำำ�� ทวี่ างเครือ่ งช่ัง เครือ่ งแกว้ ขวดปรับปริมาตร บกี เกอรแ ละแทง แกว ขวดปรับปรมิ าตร กระบอกตวง ชอนตกั สาร ปเิ ปต ดดู จ่ายสารละลาย ฟลาสคห์ รอื ขวดรูปชมพู่ ขวดใสส าร เครอื่ งช่ัง บีกบเกกี อเกรอแรล์ แะลแะทแง ทแง่ กแวกว้ ขวดปรบั ปรมิ าตร ชอชน้อตนตกั ักสสาารร คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช เครอื่ งช่ัง18 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

123 ตอนที่ 2 123 เตาแกส และหมอ ตม เคร่อื งช่ัง หมอนง่ึ ความดนั ไอนำ้ 123 เตาแ 45 6 ตูถ า ย เครอ่ื งกวนหรอื คนสารละลาย (Mag07 n8 e9 tic stirrer) ใช้สำ�หรับขกณาระกเเตตวานรไียหมมรโอือคาครหเนวาสฟรารละลาย ตางๆ ใบมีดผา ตดั พรอ มดา มมีด หมอ น่งึ ความดันไอนำ้ ใบมดี ผา่ ตดั พร้อมดา้ มมดี ารเคมี เคร่อื งวดั เคควรา่อื มงเวปัด็นคกวราดม-เดปา่ น งก(รpดH-ด-mา งeter) ใช้วดั คา่ ความเปน็ กรด-ดา่ ง ของอาหารเพาะเลย้ี ง ปากคบี แบบต่างๆ ตเู ยน็ เก็บสารเคมี งๆ ใบมดี ผาตัดพรอมดา มมดี ตถู ายเน้ือเยื่อพชื ตะเกียงแอลกอฮอล์ 123 123 ชอ นตกั สาร เตาแกส และหมอ ตม เคร่ืองชงั่ เครอ่ื งชง่ั - เครอ่ื งชง่ั อยา่ งละเเคอยีรดอ่ื สงาชมาั่งรถชง่ั ไดเ้ ปน็ มลิ ลกิ รมั เตาแกสและหมอ ตม 123 45 6 78 9 หรอื หทมศอนนยิ ึง่ มคว4าตมำ�ดแันหไอนนง่ ้ำ 123 หมอนง่ึ ความดนั ไอน้ำ ขวดใสส าร0 4 5 6 78 9 - เครอ่ื งชง่ั อยา่ งหยาบ ชง่ั ไดเ้ ปน็ กรมั หรอื ทศนยิ ม 0 เตาต้มอาหาร อาจเป็นเตาไเฟตาฟไา้ มหโครอืรเวตฟาแกส๊ เตาไมโครเวฟ 2 ต�ำ แหน่ง ปากคีบแบบตา งๆ ใหบรือมเตีดาผไมา โตครัดเวพฟรอมดา มมีด คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 19 ตูเย็นเกบ็ สารเคมี

หมอ น่งึ ความดนั ไอ ตอู้ บความร้อนแหง้ (Hot air oven) ตเู้ ยต็นูเ ยเก็น็บเสกา็บรเสคามรี เคมี ใชใ้ นการอบฆ่าเช้อื อุปกรณท์ ่ีอุณหภูมิ 180 องศาเซลเซยี ส เปน็ เวลา 2-3 ช่ัวโมง 123 หม้อนึ่งควหามมดอันไนอ งึ่(Aคuวtoาcมlaดveัน) ใไชอ้นึน่งฆ้ำ่าเชื้อ เตาแกสและหมอตม เครือ่ งชงั่ จุลนิ ทรยี ใ์ นอาหารเพาะเลย้ี ง โดยใชค้ วามรอ้ นทอ่ี ณุ หภมู ิ ปากคบี แบบตา งๆ ใบมดี ผาตดั พรอมดาม 121 องศาเซลเซียส ความดัน 15 ปอนดต์ ่อตารางน้วิ เป็นเวลา 15-20 นาที ตู้ถา่ ยเนอ้ื เยอ้ื กบ็ สารเคมี คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 20 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

ห้องเพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือ อปุ กรณแ์ ละเคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นงานเพาะเล้ยี งเนื้อเยอ่ื ตอนที่ 2 การจัดวางเคร่ืองมือและอุปกรณ์ต้องคำ�นึงถึง หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื ความสะดวกในการใชง้ านภายในหอ้ งตา่ งๆ ดังน้ี แบง่ ออกเปน็ 3 หอ้ งหลัก คือ 1. หอ้ งเตรียมอาหารและเกบ็ สารเคมี 2. หอ้ งย้ายเนื้อเย่อื 3. ห้องเพาะเลีย้ งเน้อื เยื่อ คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 21

1. หอ้ งเตรยี มอาหารและเก็บสารเคมี เป็นห้องที่ใช้เก็บสารเคมีและวัสดุอุปกรณ์เพ่ือการ - เครื่�องชั่�งอย่่างหยาบ ชั่�งได้้เป็็นกรััม หรืือ ชั่งสาร หรอื ผสมอาหารเพาะเล้ยี ง ประกอบไปดว้ ย ทศนิิยม 2 ตำ�ำ แหน่ง่ ใช้้สำำ�หรัับชั่�งสารเคมีีที่� 1. บริเวณเตรียมอาหาร ควรเป็นโต๊ะหรือพื้นที่ที่มี ใช้้ปริิมาณมาก เช่่น วุ้�น และน้ำ�ำ �ตาล ความสูงและมีพื้นท่ใี นการท�ำ งาน 7. เครอ่ื งกวนหรอื คนสารละลาย (Magnetic stirrer) 2. เครื่�องกรองน้ำำ�� สำำ�หรัับเตรีียมน้ำำ��สะอาดในการ ใช้สำ�หรับการกวนหรือคนสารละลายเม่ือใส่แท่ง แมเ่ หล็ก (Magnetic bar) ขณะเตรียมอาหาร เตรียี มอาหาร อาจใช้เ้ ครื่�องกรองน้ำ�ำ ดื่�มตามบ้า้ นได้้ 3. บริเิ วณล้า้ งทำ�ำ ความสะอาดและอ่า่ งน้ำ�ำ � ใช้ส้ ำ�ำ หรับั 8. เครอ่ื งวดั ความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH-meter) ใชว้ ดั คา่ ความเป็นกรด-ดา่ ง ของอาหารเพาะเลี้ยง ล้า้ งทำ�ำ ความสะอาดเครื่�องมืือต่่างๆ 4. สารเคมี จดั วางในต้หู รอื บนชัน้ วางของอย่างเปน็ 9. เตาตม้ อาหาร อาจเปน็ เตาไฟฟา้ หรอื เตาแกส๊ หรอื ไมโครเวฟ ใชส้ �ำ หรับตม้ อาหารเพ่ือใหว้ นุ้ ละลาย หมวดหมหู่ รอื เรยี งตามอกั ษร ควรอยบู่ รเิ วณเดยี ว กบั ท่วี างเครอื่ งชั่ง 10. ตอู้ บความรอ้ นแหง้ (Hot air oven) ใชใ้ นการอบ 5. เครื่องแก้ว ปัจจุบันนิยมใช้เป็นพลาสติกเพราะ ฆ่าเช้ือเคร่ืองแก้วและอุปกรณ์ในการตัดย้าย ลดความเสยี หายจากการแตกรา้ ว ควรมที เ่ี กบ็ มดิ ชดิ เนื้อเยื่อ โดยใช้อุณหภูมิ 180 องศาเซลเซียส - ฟลาสค์หรือขวดรูปชมพู่ ขนาด 50-1,000 เป็นเวลา 2-3 ชวั่ โมง มลิ ลิลิตร 11. หม้อนึ่งความดันไอ (Autoclave) ใช้นึ่งฆ่าเชื้อ - บีกเกอร์ ใช้ปรับปริมาตรของอาหาร ขนาด จลุ ินทรีย์ในอาหารเพาะเลี้ยง โดยใช้ความร้อน ทอ่ี ณุ หภมู ิ 121 องศาเซลเซยี ส ความดนั 15 ปอนด์ 20-1,000 มิลลลิ ติ ร ตอ่ ตารางน้วิ เปน็ เวลา 15-20 นาที อาจเป็น - กระบอกตวง ขนาด 5-1,000 มิลลลิ ติ ร แบบหมอ้ ไฟฟา้ อตั โนมตั ิ หรอื เปน็ แบบทใ่ี ชค้ วามรอ้ น - ปเิ ปต ใช้ดดู สารละลายปริมาณนอ้ ย ขนาด จากเตาแกส๊ มที ง้ั แบบแนวตง้ั และแนวนอน และมี ราคาค่อนขา้ งสงู 0.1-10 มิลลิลติ ร - หม้้อนึ่�งความดัันไอน้ำำ��แบบใช้้ไฟฟ้้าแนวตั้�ง 6. เครื่องชง่ั มี 2 แบบ คอื เคร่ืองชัง่ อยา่ งละเอียด เป็น็ แบบที่�ได้ร้ ับั ความนิยิ มใช้ใ้ นห้อ้ งปฏิบิ ัตั ิกิ าร เพาะเลี้ �ยงเนื้ �อเยื่ �อ และเคร่ืองชั่งอยา่ งหยาบ - หม้อ้ นึ่�งความดันั ไอน้ำ�ำ � แบบใช้ไ้ ฟฟ้า้ แนวนอน - เครื่องชั่งอย่างละเอียด สามารถชั่งได้เป็น สามารถนึ่ �งอาหารได้้ปริิมาณมากกว่่าหม้้อ แบบแนวตั้ �ง มิลลกิ รัม หรอื ทศนิยม 4 ตำ�แหน่ง ใช้สำ�หรับ - หม้อ้ นึ่�งความดันั ไอน้ำ�ำ � แบบใช้แ้ ก๊ส๊ ใช้ห้ ลักั การ ช่ังสารเคมี วิตามิน และสารควบคุมการ เดีียวกัับหม้้อนึ่�งเชื้�อเห็็ด สามารถควบคุุม เจริญเติบโต ซง่ึ ใชป้ ริมาณท่ีนอ้ ยมาก อุุณหภูมู ิแิ ละความดันั ให้้คงที่� คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 22 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

การเตรียมอาหารเพาะเล้ียง ตอนที่ 2 เริม่ ต้นจากการชั่งสารตามสูตรอาหารทต่ี ้องการเป็นสารละลายเข้มขน้ (Stock solution) เน่อื งจากเปน็ สาร ที่ใชใ้ นปริมาณนอ้ ย เพอื่ ใชใ้ นการเตรยี มอาหารเพาะเล้ยี ง ที่มีขน้ั ตอนสำ�หรบั อาหาร 1 ลิตรดังน้ี 1. ชั่�งสารเคมีทีี่�ใช้ป้ ริมิ าณมาก ด้้วย เครื่�องชั่�งอย่่างหยาบ (ทศนิยิ ม 2 ตำ�ำ แหน่ง่ ) เช่น่ น้ำ�ำ �ตาล หรือื วุ้�น 2. ใส่น่ ้ำ�ำ �สะอาดปริมิ าตร 500 มิลิ ลิลิ ิติ ร และตวง 3. วดั ความเปน็ กรด-ดา่ ง (pH) ทร่ี ะดบั 5.8 สต็อ็ กสารละลายเข้ม้ ข้น้ ตามปริมิ าตรที่่�กำ�ำ หนด ซ่งึ เหมาะต่อการนำ�ธาตุอาหารไปใช้ใน ไว้้ เติมิ สารควบคุมุ การเจริญิ เติบิ โต เติมิ น้ำ�ำ �ตาล การเจริญเติบโตของพืช ยกเว้นอาหาร ซโครส ปรัับปริิมาตรด้้วยน้ำำ��จนได้้ปริิมาตร บางสตู ร เชน่ อาหารกล้วยไม้ ที่ใช้ระดับ ที่่�ต้อ้ งการ 1 ลิติ ร ผสมส่ว่ นประกอบต่า่ งๆ pH 5.2 ให้เ้ ข้า้ กันั ได้ห้ มด ควรใช้เ้ ครื่�องคนหรือื กวนสาร ละลายร่ว่ มกับั แท่ง่ คนแม่เ่ หล็ก็ 4. เติมวุ้น หลอมอาหารจน เขา้ กนั ดี โดยใชเ้ ตาแกส๊ หรอื ไมโครเวฟ 5. เทอาหารใส่ขวดเพาะเล้ียง เช่น ขวด กล่องพลาสตกิ หรอื ถุงที่ทนความร้อน ปิดฝาให้ สนทิ แลว้ น�ำ ไปนึ่งฆ่าเช้ือ 6. การนึ่งฆ่าเชื้ออาหารเพาะเลี้ยง ด้วยหม้อนึ่งความดันไอที่ อณุ หภมู ิ121องศาเซลเซยี สความดนั 15ปอนดต์ อ่ ตารางนว้ิ เป็นเวลา 15-20 นาที (ระยะเวลาปรับตามขนาดของ ภาชนะ และปรมิ าตรของอาหาร) เมื่อน�ำ อาหารออกจาก หม้อนึ่งความดัน ควรปิดฝาให้แน่นเนื่องจากฝาขวดอาจ ขยายตัวขณะนึ่งฆ่าเชื้อ ควรเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงและ นึ่งฆา่ เชอื้ ภายในวนั เดยี วกัน คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 23

2. หอ้ งยา้ ยเน้อื เย่อื เป็นห้องท่มี ีกจิ กรรมเพาะเลย้ี งเน้อื เยอ่ื ควรเปน็ ห้องทมี่ ีระบบป้องกันการปนเปอ้ื นของเชอ้ื ผวิ พื้นหอ้ ง ทกุ ด้านทั้งฝาผนัง พ้ืนหอ้ ง ควรมผี ิวเรยี บมนั ไม่เปน็ ทส่ี ะสมของฝุน่ ละออง ท�ำ ความสะอาดง่าย วสั ดอุ ุปกรณ์ ที่อยู่ในหอ้ งนจี้ ะประกอบดว้ ย ตู้ปลอดเชื้อที่ใช้กับงานตัดย้ายชิ้นพืช มีระบบการหมุนเวียนของอากาศภายในตู้ที่สะอาด ปราศจากเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ต์ ลอดเวลาของการปฏบิ ตั งิ าน ดว้ ยระบบการถา่ ยเทอากาศผา่ นแผน่ กรอง ทีม่ ีรพู รนุ ขนาดเล็กประมาณ 0.3 ไมครอน ซึง่ เชื้อจุลินทรีย์ไม่สามารถผ่านได้ ทั้งนี้ควรเช็ด ทำ�ความสะอาดตูท้ ้งั กอ่ นปฏิบัตงิ านและหลังเลกิ งานในแตล่ ะวัน โดยการเชด็ ดว้ ยแอลกอฮอล์ 70 เปอรเ์ ซน็ ต์ รวมทง้ั การเปลย่ี นแผน่ กรองเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ต์ ามก�ำ หนดเวลา เพอ่ื รกั ษาประสทิ ธภิ าพ ของตู้ปลอดเชือ้ วัสดุหรือเคร่ืองมือท่ีใช้ตัดเน้ือเยื่อภายในตู้ ปลอดเชื้อ - มดี ผ่าตัด นิยมใช้ด้ามมีดเบอร์ 3 กับใบมีด เบอร์ 10 หรอื 11 - ปากคีบ (forcep) ใช้คบี จับชน้ิ พืช มีขนาด ตา่ งกันไปขึน้ กับความสะดวกในการใช้งาน - ตะแกรงสำ�หรับวางมดี และปากคบี - ตะเกียงแอลกอฮอล์ (แอลกอฮอล์ 95 เปอร์เซ็นต)์ - จานรองหรือกระดาษ ที่ผ่านการนึ่งฆ่าเชื้อ แล้วใช้รองตัดช้นิ เน้อื เย่อื วััสดุุเหล่่านี้้�ก่่อนนำำ�มาตััดเนื้ �อเยื่ �อต้้องผ่่านการ นึ่ �งฆ่่าเชื้ �อด้้วยหม้้อนึ่ �งความดัันไอหรืือการอบ ความร้อ้ นแห้ง้ และภายหลังั สิ้�นสุดุ การปฏิบิ ัตั ิงิ าน ทุุกครั้ �งต้้องนำำ�เครื่ �องมืือเหล่่านั้ �นมาล้้างทำำ�ความ สะอาดด้้วยน้ำ�ำ �ยาล้้างจาน ผึ่�งให้้แห้ง้ ห่่อด้้วย กระดาษ แล้ว้ นำ�ำ ไปนึ่�งฆ่า่ เชื้�อเพื่�อการนำ�ำ มาใช้ใ้ หม่่ ในครั้�งต่อ่ ไป อุปกรณใ์ นการทำ�งานอืน่ ๆ ได้แก่ 1. เก้าอี้มีพนกั สำ�หรบั พนกั งานตดั ยา้ ยเน้อื เย่อื 2. รถเข็นสำ�หรบั วางขวดอาหารเพาะเลยี้ ง อุปกรณ์ดับเพลิง เนื่องจากขณะปฏิบัติงานมีการลนไฟฆ่าเชื้อวัสดุ อปุ กรณต์ ลอดเวลา อาจเกิดอบุ ัติเหตุไฟลกุ ไหมภ้ ายในตู้ คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 24 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

กจิ กรรมภายในห้องย้ายเน้ือเยอื่ ตอนที่ 2 การปฏิบตั ติ ัวเมือ่ ท�ำ งานในสภาพปลอดเช้อื 1. การรกั ษาความสะอาดดว้ ยการลา้ งมอื ใหส้ ะอาด 7. เรม่ิ ตัดเนอื้ เยื่อ ด้วยสบู่ และสวมชุดปฏิบตั ิการ ประกอบดว้ ย ถงุ มอื ผา้ คลมุ ผม ผา้ ปดิ ปากปดิ จมกู และเปลย่ี น รองเทา้ กอ่ นเขา้ ห้องปฏบิ ัติการทุกคร้งั 2. ไม่สวมเคร่อื งประดับ ได้แก่ แหวน นาฬกิ า และสร้อยขอ้ มอื เมอื่ ทำ�งานในตูถ้ ่ายเน้อื เยือ่ 3. เชด็ ท�ำ ความสะอาดตปู้ ลอดเชอ้ื กอ่ นใชง้ านดว้ ย แอลกอฮอลล์ 70 เปอร์เซน็ ต์ และควรเปดิ สวิทช์ตู้ให้ระบบต่างๆ ภายในตู้ทำ�งานก่อน ปฏิบตั ิงาน 15-30 นาที 4. ฉดี พ่นมือหรือเช็ดมือจนถึงข้อศอก ด้วย แอลกอฮอลล์ 70 เปอร์เซ็นต์ ทุกคร้งั เมอ่ื น�ำ มอื เขา้ ตยู้ า้ ยเนือ้ เย่ือ 8. น�ำ ชน้ิ พชื ทต่ี ดั แบง่ วางบนอาหารในขวดกอ่ นปดิ ฝา 5. วางอุปกรณ์ท่ีใช้ตัดเน้ือเยื่อในตำ�แหน่งที่ เหมาะสมและสะดวกต่อการปฏิบัติงาน 9. ลนไฟบริเวณปากภาชนะ 6. ลนไฟเคร่ืองมอื (แอลกอฮอลล์ 95 เปอร์เซ็นต)์ ที่ใช้ปฏิบัติงานเพ่ือฆ่าเช้ือจุลินทรีย์ก่อนเริ่ม ตัดเนือ้ เยือ่ คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 25

10. ลงบนั ทกึ ชนดิ พชื และ 12. ทำ�ความสะอาดตู้ย้ายเนื้อเย่ือโดยการฉีดพ่น วัน/เดือน/ปี ที่ตัดย้าย ดว้ ยแอลกอฮอลล์ 70 เปอร์เซ็นต์และเช็ด เนื้อเยื่อ ทำ�ความสะอาดทกุ ครงั้ และเปิดหลอดไฟ UV 11. น�ำ ขวดเนอ้ื เยอ่ื วางบนชน้ั ก่อนและหลังปฏบิ ัตงิ าน ในห้องเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อที่ควบคุมแสงและ อุณหภมู ิ 3. ห้องเพาะเลย้ี งเน้อื เยอ่ื โดยติดตั้งให้หลอดอยู่ห่างจากชั้นวางเนื้อเย่ือในระยะ ประมาณ 20 เซนตเิ มตรและแตล่ ะหลอดอยหู่ ่างกัน เป็นห้องปลอดเช้อื ควบคุมอุณหภูมิประมาณ ประมาณ 30 เซนติเมตร เพื่อให้ได้ความเข้มแสง 25-28 องศาเซลเซียส เป็นสถานที่ที่ใช้วางขวด 2,000-3,000 ลกั ซ์ นิยมใช้หลอดไฟฟลอู อเรสเซนต์ เนอ้ื เยอ่ื พชื เปน็ หอ้ งทไ่ี มอ่ นญุ าตใหผ้ ทู้ ไ่ี มม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ชนิดธรรมดาทใ่ี ชก้ ับอาคารบ้านเรอื นก็ได้ โดยเปิดไฟ เข้าออก เนื่องจากจะทำ�ให้เกิดการปนเปื้อนของเชื้อ ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลา 16 ชว่ั โมงตอ่ วนั มกั มรี ะบบตง้ั เวลา จลุ นิ ทรยี ์ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายกบั ตน้ พชื ได้ อปุ กรณ์ การควบคมุ การปดิ -เปิดไฟฟา้ (timer) ทส่ี �ำ คญั ทต่ี ดิ ตง้ั อยใู่ นห้อง ไดแ้ ก่ 2. เครอ่ื งเขยา่ ใชส้ �ำ หรบั เนอ้ื เยอ่ื พชื ทเ่ี ลย้ี งใน 1. ชน้ั วางเนอ้ื เยอ่ื พชื ใชว้ สั ดทุ ท่ี �ำ ดว้ ยไม้ เหลก็ ฉาก อาหารเหลว เป็นการเพิ่มออกซิเจนลงไปในอาหาร สแตนเลส หรอื อลมู ิเนยี ม เป็นต้น ขนาดกวา้ ง x ยาว เพื่อให้เนื้อเย่ือพืชได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอต่อ x สงู ประมาณ 60 x 125 x 200 เซนติเมตร มีชนั้ วาง การเจริญเตบิ โต นยิ มใช้ความเรว็ รอบ 100-150 รอบ 5 ชั้น แต่ละชั้นห่างกันประมาณ 30 เซนติเมตร ต่อนาที โดยสว่ นทท่ี �ำ เปน็ พน้ื อาจเปน็ กระจกหรอื ฟอรไ์ มกา้ สขี าว หรอื เปน็ ตาขา่ ยโปรง่ มหี ลอดไฟฟา้ ทใ่ี หค้ วามสวา่ งแกพ่ ชื คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 26 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

กจิ กรรมภายในห้องเพาะเลย้ี งเน้ือเยอ่ื ตอนที่ 2 1. ทำ�ความสะอาดชั้นวางขวดเนื้อเยื่อพืชด้วย แอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ กอ่ นการจดั วาง ขวดเนอื้ เยื่อทกุ ครัง้ 2. ตรวจสอบการปนเป้ือนเชื้อจุลินทรีย์ทุกวัน เมื่อพบตอ้ งเกบ็ ทันที และน�ำ ไปนง่ึ ฆ่าเชอื้ ก่อน ลา้ งท�ำ ความสะอาดภาชนะใสอ่ าหารเพาะเลย้ี ง ในกรณีพบเช้ือราหากปล่อยท้ิงไว้จะทำ�ให้ สปอร์ของเช้ือราแพร่กระจายออกจากขวดสู่ บรรยากาศของห้องได้ 3. บันทึกรายละเอยี ดและลกั ษณะของช้ินพืช 4. จัดเตรียมส่งต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์เพ่ือย้ายออก ปลกู ในสภาพโรงเรอื น คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 27

ปัจจยั สำ�คญั ท่มี ผี ลตอ่ ความสำ�เร็จของ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยอ่ื พชื • ช้นิ ส่วนพชื - ชนิด อายุของพืช และระยะเวลาทเี่ กบ็ ช้ินสว่ นพืช – ชนดิ อายุของพชื • การฟอกฆ่าเช้ือช้นิ สว่ นของพืช และระยะเวลาท่เี ก็บ • อาหารที่เพาะเลย้ี ง ทุกส่วนของพืชท่ีประกอบดว้ ย - น้ำำ�� - สารอนนิ ทรีย์ เซลล์ทีม่ ชี วี ติ สามารถนำ�มาทำ� - ธาตุอาหารหลกั (Macroelements) การเพาะเลี้ยงเนือ้ เยอื่ ได้ พืชต้องการในปรมิ าณมาก ยอดเกสรตวั เมีย - ธาตอุ าหารรอง (Microelements) เกสรตวั ผู้ อับเรณู กลบี ดอก พชื ตอ้ งการในปรมิ าณน้อย กา้ นเกสรตวั ผู้ กา้ นเกสรตัวเมีย - สารอิินทรียี ์์ ได้้แก่่ น้ำ�ำ �ตาล กรดอะมิโน และวิตะมิน • สารควบคุมการเจรญิ เติบโต เกสรตวั เมยี กลีบเล้ยี ง รังไข่ ฐานรองดอก ดอก (flower) ลำ�ตน้ สว่ นของดอกส่วนใหญ่ - สว่ นของเปลือกชั้นใน (inner bark) ประกอบดว้ ยเซลล์ประเภท ประกอบด้วยเนอ้ื เย่อื ของชัน้ phloem และ cortex parenchyma - ส่วนไส้ (pith) เปน็ ส่วนใน ใจกลางสุดของลำ�ตน้ ซงึ่ ใบ (leaf) ประกอบด้วยเซลลป์ ระเภท parenchyma ในสว่ นของใบมีเซลลข์ องแผน่ ใบท่เี รียกวา่ palisade parenchyma และ spongy ราก (root) parenchyma อยจู่ �ำ นวนมาก ส่วนของปลายราก ผล (fruit) เนือ้ เยื่อของผลสว่ นใหญป่ ระกอบดว้ ย เซลล์ประเภท parenchyma คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 28 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

เมล็ด (seed) ตอนที่ 2 ในสว่ นของเมล็ดซ่งึ ประกอบด้วยเอ็มบรโิ อ (embryo) ใบเล้ียง (cotyledon) และเอนโดสเปริ ม์ endosperm Freshy fruit Dry fruit Aggregate fruit Achene Berry Acorn Drupe Multiple fruit Capsule Pome Folicle ทีม่ า : www.biologyreference.com (ดดั แปลง) Grain Legume คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 29

ล�ำ ตน้ ชนดิ อ่นื ๆ ได้แก่ 1. Stolon หรอื Runner เป็นลำ�ต้นทท่ี อดเลอ้ื ยขนานกับพ้ืน มรี ากเกิดข้ึนบรเิ วณขอ้ และตาบรเิ วณ สว่ นขอ้ มกี ารแตกเปน็ แขนงยาวไปตามพน้ื เกดิ เป็นต้นใหม่ทีป่ ลายแขนง Stolon 2. หัวแบบ Tuber เปน็ ล�ำ ต้นใตด้ ินขนาดใหญ่ทีม่ ี 3. เหง้า (Rhizome) เป็น 3-4 ปลอ้ ง เน่ืองจากมีการสะสมอาหาร สว่ นของ ลำ�ต้นใต้ดินท่ีขนานกับพื้น ตา (bud) เจรญิ เปน็ ล�ำ ตน้ เหนอื ดนิ เพอ่ื สงั เคราะห์ มีข้อและปล้องชดั เจน ตา อาหาร อาจแตกเป็นลำ�ต้นเหนือดนิ หรอื เป็นแขนงใต้ดนิ Rhizome 4. หวั แบบ Corm เปน็ ล�ำ ตน้ m ใต้ดินทีม่ ีลกั ษณะคล้าย bulb แต่มีข้อและตาทำ�หน้าท่ีสะสม อาหารในล�ำ Corm Tuber คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 30 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

5. หัวแบบ Bulb เป็นล�ำ ตน้ ใตด้ นิ ที่มีขนาดเลก็ 6. Cladophyll เปน็ ล�ำ ตน้ ทเ่ี ปลย่ี นรปู เปน็ แผน่ แบบ ตอนที่ 2 คล้ายใบ หรอื เปน็ เส้น เพอ่ื ทำ�หน้าทส่ี งั เคราะห์ ต้ังตรงมีปล้องสั้นจำ�นวนมากบริเวณปล้อง มี แสง เชน่ ล�ำ ต้นกระบองเพชร ลักษณะเป็นกาบซ้อนกันเป็นช้ันห่อหุ้มลำ�ต้นไว้ จนเกิดเปน็ หัวท�ำ หน้าทส่ี ะสมอาหาร Pwaarteenr cshtoyrmagaefor Flbelaeassvehesysof Vcyalsincudlearr Bulb Cladophyll rAodovtesntitious Stem ท่มี า : The Molecular Life of Plants (2013) (modified) เนื้�อเยื่�อพืืชส่่วนที่่�มีีเซลล์์ที่่�มีีความสามารถในการเจริิญเติิบโตและพััฒนามากที่่�สุุดคืือเนื้�อเยื่�อเจริิญที่�พบ ได้้ในส่่วนของปลายยอดของลำำ�ต้้น (shoot apex) และปลายราก (root apex) เป็น็ บริิเวณที่�เซลล์์มีกี ารแบ่่งตัวั มากที่่�สุุด และเนื้�อเยื่�อเจริญิ ในท่่อลำ�ำ เลีียง (vascular cambium) ซึ่�งอยู่�ระหว่่างกลุ่�มของท่่ออาหาร และท่่อน้ำำ�� meristem KEY Zmoantueroatfion Zone of cell division pleraimf ordium Epidermal Ground epidermis Vascular TGPmMrErHoeoRRrItuESioEsTndtEPdeMeRmISrM:mARY eZloonnegaotfion Zone of elongation bvausncdullear Procambium dmZaniovednirsieispotroneimfm(caasepr)lyilcal Zone of differentiation Permanent tissues mApeirciastlem cortex Qceunietescr ent Root cap Copyright © Pearson Education,Inc.,publishing as Benjamin Cummings. pith คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 31

Growth PPirtimh ary xylem Vascular cambium CProimrteaxry phloem Growth Primary xylem SCVSeeaoccsrckoounnclddaamaar rrcyybalxpmuyhmblleolmuemm Growth SecPorinmdaarryy xxyyllPieethmm S(SVteeawccsocoounnylddeaaaar rrrcyysaopxmyfhblpleolrmuoemmduction) Vascular camblum Cork camblum SecPorinmdaarryy pphhllooeemm Cork ชนดิ ของเนื้อเยอ่ื พชื ที่มา : The Molecular Life of Plants (2013) (modified) 1. เน้ือเยอ่ื เจริญ (meristematic tissue) แบ่งเปน็ 3 ชนดิ คอื 2.1 เนอ้ื เยอ่ื ถาวรเชงิ เดย่ี ว (simple permanent 1.1 เนอ้ื เยอ่ื เจรญิ สว่ นปลาย (apical meristem) tissue) แบ่งได้หลายชนิดตามหน้าที่และ บริเวณปลายยอดและปลายรากเม่ือแบ่ง สว่ นประกอบภายในเซลล์ ไดแ้ ก่ เอพเิ ดอรม์ สิ เซลลท์ �ำ ใหล้ �ำ ต้นและรากยดื ยาว (epidermis) พาเรนไคมา (parenchyma) 1.2 เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ (intercalary คอลเลนไคมา (collenchyma) และ meristem) อย่บู ริเวณเหนอื ขอ้ สเกลอเรนไคมา (sclerenchyma) 1.3 เนอ้ื เยอ่ื เจรญิ ดา้ นขา้ ง (lateral meristem) แบ่งตัวออกทางด้านข้าง ทำ�ให้ลำ�ต้นและ 2.2 เนอ้ื เยอ่ื ถาวรเชงิ ซอ้ น (complex permanent รากขยายขนาด tissue) ประกอบด้วยกลุ่มเซลลห์ ลายชนิด มาทำ�งานร่วมกนั ได้แก่ เน้อื เย่ือทอ่ ล�ำ เลยี ง 2. เนอ้ื เยอ่ื ถาวร (permanent tissue) เปน็ เนอ้ื เยอ่ื (vascular tissue) ซง่ึ ประกอบดว้ ย ที่ เ จ ริ ญ เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ม า จ า ก เ นื้ อ เ ยื่ อ เ จ ริ ญ 1. ไซเลม (xylem) ทำำ�หน้้าที่่�ลำำ�เลีียงน้ำำ�� แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ และแร่ธ่ าตุุ 2. โฟลเอม (phloem) ท�ำ หนา้ ที่ล�ำ เลียง คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช สารอาหาร 32 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

ขน้ั ตอนการเพาะเลย้ี งเนือ้ เยื่อ ตอนที่ 2 การเตรียี มอาหาร คือื การนำ�ำ ธาตุอุ าหารหลักั และธาตุุอาหารรองที่่�พืืชต้อ้ งการในการเจริิญเติบิ โต มาผสม กับั วิติ ามินิ น้ำ�ำ �ตาล ฮอร์โ์ มนและน้ำ�ำ �ในอัตั ราส่ว่ นที่�เหมาะสม แล้้วนำ�ำ ไปฆ่า่ เชื้�อ สตู รอาหารสงั เคราะห์แตล่ ะสตู ร ประกอบดว้ ยสารประกอบต่างๆ เปน็ จ�ำ นวนมาก และมีปริมาณน้อย จึงเตรยี มเปน็ สารละลายเขม้ ขน้ (stock solution) แล้วจงึ ตวงมาใช้เตรียมอาหารตอ่ ไป 1. การเตรยี มอาหาร อาหารแข็ง (Solid medium) – 2. การฟอกฆ่าเชื้อ เติมวุน้ ลงในอาหาร 7-10 กรมั ตอ่ 3. การเพิ่มจ�ำ นวน อาหาร 1 ลิตร เพ่อื ชว่ ยพยุงชิ้นพืช 4. การชกั นำ�รากพืช ใหส้ ามารถเจรญิ เตบิ โตอยบู่ นอาหาร 5. การยา้ ยออกปลกู ได้ 1. การเตรียมอาหาร อาหารเหลว (Liquid medium) - ไมม่ สี ว่ นผสมของวนุ้ แต่ต้องเลี้ยงบนเครื่องเขย่า (Shaker) เพื่อช่วยให้ อาหารเพาะเล้ยี งเนื้อเยอ่ื ประกอบด้วย ออกซเิ จนละลายลงในอาหาร สง่ ผลดตี อ่ การเจรญิ เตบิ โต ของเนือ้ เยือ่ พืช - น้ำ�ำ � - สารอนนิ ทรีย์ อาหารเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื - ธาตุอาหารหลกั (Macroelements) พืช ตอ้ งการในปรมิ าณมากเพอ่ื ใชส้ รา้ งโครงสรา้ ง • VW (Vacin and Went, 1949) ใช้ ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) เพาะเลีย้ งเน้ือเยอื่ กล้วยไม้ โปแตสเซยี ม(K) แคลเซยี ม(Ca) แมกนีเซยี ม (Mg) กำ�มะถัน (S) • MS (Murashige and Skoog, 1962) - ธาตอุ าหารรอง (Microelements) พชื ตอ้ งการ เปน็ สูตรมาตรฐานท่ใี ช้โดยท่ัวไป ในปริมาณน้อย ได้แก่ สังกะสี (Zn) เหลก็ (Fe) โบรอน (B) แมงกานีส (Mn) ทองแดง • Hidebrandt (1962) ใชเ้ พาะเลย้ี งแคลลสั (Cu) คลอรนี (Cl) โคบอล (Co) นเิ กิล (Ni) ยาสบู โมลิบดนี ัม (Mo) • White (1963) ใช้เพาะเลยี้ งสว่ นราก • Miller (1963) ใช้เพาะเลีย้ งอับละออง เกสรของข้าว - สารอนิ ทรีย์ • Y3 (Eeuwens, 1967) ใช้เพาะเลี้ยง - น้ำำ��ตาล ใช้เ้ ป็น็ แหล่ง่ พลัังงาน เนอ้ื เย่ือตระกลู ปาล์ม - กรดอะมิโน - วิตะมิน • B5 (Gamborg, 1970) • WPM (Lloyd and McCown, 1980) อาหารเพาะเลี้�ยงเนื้�อเยื่�อ แบ่ง่ ตามการเติมิ วัสั ดุคุ ้ำ�ำ �จุนุ ใชเ้ พาะเลย้ี งพชื ทเ่ี ปน็ ไมเ้ นอ้ื แขง็ (Woody เช่่น วุ้�น แบ่่งเป็น็ อาหารแข็ง็ และอาหารเหลว species) คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 33

สารละลายเขม้ ขน้ เป็นสารละลายความเขม้ ขน้ สูงกวา่ ความเขม้ ข้นจรงิ 10-200 เทา่ เรยี กวา่ Stock solution เมื่อเตรยี ม เสร็จเรยี บรอ้ ยแล้วมกั แช่ไวใ้ นตเู้ ยน็ เพ่ือให้เกบ็ ไว้ใชไ้ ดน้ าน Stock solution สตู รอาหาร MS (Murashige and Skoog Medium, 1962) ชือ่ สารเคมี สตู รทางเคมี จำ�นวน ปรมิ าณสารตอ่ ปริมาณสารทใ่ี ช้ เทา่ ลิตร (กรัม) (มิลลลิ ิตรตอ่ ลิตร) 1 MS-major salts โปตสั เซยี มไนเตรท NCKNaHCO4Nl32O.23H2O 50 95.0 20 อมั โมเนยี มไนเตรท MS-minor salts 100 82.5 10 แคลเซียมคลอไรด์ KKHIH3B2POO3 4 22.0 NCoa2CMl2o.6OH4.22OH2O 100 0.62 10 2 MS-minor salts 100 17.0 10 บอริคแอซดิ MZCMunngSSSSOOOO4444....577HHHH2O222OOO 100 0.083 10 โปตัสเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟท Iron Chelate Solution 0.025 โปตัสเซยี มไอโอไดด์ FNeaS2EOD4.T7AH.22OH2O 0.0025 โซเดยี มโมลิบเดท MS-vitamins 37.0 โคบอลต์คลอไรด์ Glycine 1.69 Nicotinic acid 0.86 3 Thiamine-HCI 0.0025 แมกนเี ซียมซลั เฟท Pyridoxine-HCI 3.725 แมงกานสี ซัลเฟท Myo-Inositol 2.785 ซงิ คซ์ ลั เฟท 0.2 คอปเปอรซ์ ลั เฟท 0.05 0.01 4 0.05 เอททลี นี ไดอามีนเตตราอาซิเตท 10.0 เฟอรสั ซัลเฟท 5 ไกลซีน นิโคทินคิ แอซิด ไทอามนี ไฮโดรคลอริคแอซิด ไพรดิ อ็ กซินไฮโดรคลอรคิ แอซิด ไมโอ-อิโนซทิ อล น้ำำ�� 87.62 % วิตามนิ 0.01 % (น้ำำ��ตาล 20-30 %) ธาตุอาหารหลัก (macroelements 11.65 % ธาตุอาหารรอง (microelements) 0.72 % คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 34 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

ฮอรโ์ มนพชื เปน็ สารประกอบอนิ ทรยี ท์ พ่ี ชื สงั เคราะหใ์ นปรมิ าณทน่ี อ้ ยมาก จากบรเิ วณหนง่ึ แลว้ เคลอ่ื นยา้ ย ตอนที่ 2 ไปยังบริเวณอืน่ มผี ลกระทบต่อการเจรญิ เติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับ ฮอรโ์ มนนัน้ ฮอร์โมนพืช ได้แก่ เอทธิลนี จิบเบอเรลลนิ สารควบคุมการเจริญเติบโต (Plant Growth (Ethylene) (Gibberellin) Regulator) เป็นสารสงั เคราะห์ที่มีคณุ สมบัติเหมอื น ไซโตไคนิน ฮอรโ์ มนพืช (Cytokinin) กรดแอบซิสิค ออกซิน (Abscisic Acid) สารควบคมุ การเจรญิ เตบิ โต ทน่ี ยิ มใชใ้ นการเพาะเลย้ี ง (Auxin) เนอ้ื เยอ่ื ไดแ้ ก่ กลมุ่ ออกซนิ (Auxin) และ ไซโตไคนนิ หรือ ABA (Cytokinin) การเคลอื่ นทีข่ องออกซนิ ออกซิน (auxins) เป็นกลุ่มของสารที่มี หน้าที่เกี่ยวข้องกับการขยายขนาดของเซลล์ (cell Auxin enlargement) การเกิดแคลลัส ยับยั้งการเกิดยอด แต่สง่ เสรมิ การเกดิ ราก สร้างบริเวณสว่ นยอด ไซโตไคนิน (cytokinins)  เกี่ยวข้องกับ การแบ่งเซลล์ของพืช กระตุ้นการเกิดยอด ยับยั้ง การเกดิ ราก และกระตุน้ ให้เกิดแคลลสั เมอื่ ใช้รว่ มกับ ออกซนิ สรา้ งบรเิ วณปลายรากและใบอ่อน Cytokinin Auxin AUXIN > CYTOKININ ---------root differentiation CYTOKININ > AUXIN ---------shoot formation Cytokinin การเคลือ่ นทีข่ องไซโตไคนิน คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 35

สารควบคุมการเจรญิ เตบิ โต (Plant growth regulators) Auxin dissolved in dilute NaOH or aqueous ethanol 4-chlorophenoxyacetic acid 4-CPA 2,4-Dichlorophenoxyacetic acid 2,4-D Indole-3-acetic acid IAA Indole-3-butyric acid IBA α-Naphthaleneacetic acid NAA β-Naphthoxyacetic acid NOA Cytokinin dissolved in dilute NaOH or aqueous ethanol 6-Benzylaminopurine BA 6-(g,g-Dimethylallylamino) purine 2iP 6-Furfurylaminopurine (Kinetin) Kinetin Zeatin Zeatin Thiadiazuron TDZ Gibberellin dissolved in water or aqueous ethanol Gibberellic acid GA3 Abscisic acid dissolved in dilute NaOH or aqueous ethanol Abscisic acid ABA ท่มี า : www.sigma-aldrich.com คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 36 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

2. การฟอกฆ่าเชื้อช้ินสว่ นของพืช ตอนที่ 2 การท�ำ ใหช้ น้ิ สว่ นของพชื ปลอดเชอ้ื โดยการใชส้ ารเคมหี รอื ความรอ้ น ซง่ึ ท�ำ หนา้ ทใ่ี หส้ ว่ นประกอบทส่ี �ำ คญั ของจุลินทรีย์เสียไปก่อนทจ่ี ะน�ำ มาเพาะเลี้ยงในอาหารเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ สารเคมที ใ่ี ช้ในการฟอกฆ่าเชือ้ เน้อื เยือ่ พชื • แอลกอฮอล์ (Alcohol) • สารโซเดยี ม/แคลเซยี มไฮโปคลอไรท์ (Sodium/Calcium hypochlorite) เชน่ Clorox ท่มี ี โซเดียมไฮโปคลอไรต์ 5.25 % ปริมาณที่ใช้ คอื 10-20 % • เมอรค์ ิวรกิ คลอไรด์ (Mercuric chloride) • ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ (Hydrogen peroxide) • ซิลเวอร์ ไนเตรท (Silver nitrate) • ยาปฏิชวี นะ (Antibiotic) ตัดใบและกิง่ แก่ ล้า้ งด้้วยน้ำ�ำ � คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 37

วิธีการฟอกฆ่าเชื้อพืชด้วยสารเคมี   • ลา้ งช้ินสว่ นพืชใหส้ ะอาดหรอื เช็ดทำ�ความสะอาด • แชช่ ้ินสว่ นพืชในแอลกอฮอล์เข้มขน้ 70 % • แชช่ ิ้นส่วนพืชในสารละลายคลอรอกซ์ 10-20 % เป็นเวลา 5-20 นาที • ล้า้ งด้้วยน้ำำ��สะอาดที่�นึ่�งฆ่า่ เชื้�อแล้้ว ต• ัดใบตแัดลชิน้ะสก่วง่ิ นแพกชื ใหม้ ีส่วนท่ตี ้องการเพาะเลล้ียา งงอดยวู่ ยนำ้ ตัดใบและก่งิ แก ลางดว ยน้ำ ฟอกฆา เฟชออ้ื กดฆวา่ เยชสอื้ ดาว้รยลสะาลรลาะยลคาลยคอลรออรกอซกซห ห์ รรืออื สสาารรออนื่ น่ื ๆๆ วิธีการฟอกฆา่ เช้อื พชื ด้วยความรอ้ น   • ลา้ งชิน้ ส่วนพืชใหส้ ะอาดหรอื เช็ดทำ�ความสะอาด • จุ่มชิ้นส่วนพชื ในแอลฟอกกอฆฮาเอชอ้ืลดเ์ วขยม้ สาขร้นละล9า5ยค%ลอรอเกปซหน็ รเือวสลาราอื่น1ๆ-2 นาที แลว้ น�ำ มาลนไฟ • ตัดชิ้นส่วนพืชให้มีสว่ นทต่ี อ้ งการเพาะเลยี้ งอยู่ ลางดวยน้ำ จมุ แอลกอฮอล 95% เผาไฟ นำสวนของเมล็ดมาเพาะเลี้ยง ดว ยนำ้ จมุ แอลกอฮอล 95% เผาไฟ นำสว นของเมล็ดมาเพาะเล้ยี ง คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 38 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

3. การเพม่ิ จำ�นวน ตอนที่ 2 เป็นการน�ำ ตน้ พชื ทีไ่ ด้จากการฟอกฆ่าเช้ือมาชักนำ�ให้เพ่มิ ขยายต้นจ�ำ นวนมาก โดยทำ�การเพาะเล้ยี งใน อาหารที่มสี ารควบคมุ การเจริญเตบิ โตกลุม่ ไซโตไคนิน นำมาตดั แบง เพาะเลยี งบนอาหารแข็ง ตน พชื ในสภาพปลอดเชอื 4. การชกั นำ�รากพืช เป็นการนำ�ต้นพืชที่ได้จากการเพิ่มนจำำ�มนาวตนัดตแ้นบง มาชักนำ�ให้เกิดรากในอาหเพาาระทเี่มลียีสงาบรคนวอบาหคาุมรกแาขรง็ เจริญ เตติบนโพตืชกใลนุ่มสอภอากพซปินลอดเชอื ชักนำใหตเนกพดิ ชืรใานกสภาพปลอดเชือ ยา ยพชื ออนกำมจาาตกัดขแวดบง ลา งเวพนุ าอะอเลกยี ใหงบหนมอดาหารแข็ง ชักนำใหเกดิ ราก ยา ยพืชออกจากขวด ลางวนุ ออกใหหมด 5. การย้ายออกปลูก ใ ห้ทนต่อเสปภน็ ากชพาักแรนวยำดา้ ใยลหต้อเนก้ มดิพภรชื าาอยกอนกอจกาเกพขื่อวลดดเพกาาะรเตลาย้ี ยงขสอสู่ยงภา ตยาน้พพพแชื วอชื ดอเนลกอื่อ้จมงาจภกาขากยวกดนาอรกย้าจย�ำ ปเปลน็กู ตอ้ งมกี ารปรลบั าสงวภุนาอพอขกอใงหตห น้ มพดชื ยา ยลงเลยี งในวสั ดุเพาะชำ ยายลงปลกู ในกระถางใหญแ ลว และปดดวยถุงพลาสตกิ นำไปเลยี งในโรงเรือน ยา ยลงเลยี งในวสั ดุเพาะชำ ยายลงปลูกในกระถางใหญแ ลว และปด ดว ยถงุ พลาสตกิ นำไปเลียงในโรงเรือน ยา ยลงเลีย งในวัสดุเพาะชำ ยายลงปลูกในกระถางใหญแลว และปดดว ยถุงพลาสติก นำไปเลีย งในโรงเรือน คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 39 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

ตอนท่ี 3 บทบาทในสังคมไทย กบั งานวิจยั เพอ่ื เพิ่มศกั ยภาพของ ปทมุ มา และหงสเ์ หินในตลาดโลก ประโยชน์ของการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือและ ไม่ใช่เทคโนโลยีใหม่ แต่ก็มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา ท้ังในเร่ืองเทคโนโลยีเพาะเล้ียงเองและสารควบคุม เซลล์ นอกจากเพอ่ื การผลิตต้นพันธ์ุปทมุ มาปริมาณ การเจริญเติบโตใหม่ๆ เพ่ือเพม่ิ ศกั ยภาพการเจริญและ มากในระยะเวลาท่รี วดเร็ว ตน้ พชื ที่ผลิตไดป้ ลอดโรค พฒั นาจากชนิ้ สว่ นพืชไปเป็นตน้ พนั ธุท์ สี่ มบูรณ์ ดงั นั้น และมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกับต้นแม่แล้ว ในปัจจุบันเทคนิคการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือและเซลล์ ยั ง เ ป็ น ก า ร เ ก็ บ รั ก ษ า พั น ธ์ุ พื ช ทั้ ง ใ น เ ชิ ง อ นุ รั ก ษ์ จงึ ถูกนำ�มาประยุกต์ใชก้ บั การพัฒนาพนั ธ์ุปทมุ มาดงั นี้ ฐานพันธุกรรม และเชิงการผลิตต้นพันธ์ุได้ตลอดปี 4. การเพม่ิ จ�ำ นวนโครโมโซม (Polyploidization) แม้ว่าเทคนิคการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือพืชและเซลล์จะ เพ่อื แก้ความเปน็ หมนั ของปทมุ มาลกู ผสม 1. การเพิม่ จ�ำ นวนของสายพันธ์ุปทุมมา เพอื่ 5. การรวมโปรโตพลาสต์ (Protoplast เป็นแหล่งพันธุกรรมที่สามารถหาได้และมี fusion หรอื somatic hybridization) ส�ำ รองตลอดปสี �ำ หรบั งานปรบั ปรงุ พนั ธุ์ ทง้ั น้ี เป็นแนวทางหน่ึงในการสร้างลูกผสม สืบเน่ืองมาจากการท่ีพืชสกุลนี้มีการพักตัว จากพชื ทม่ี คี วามแตกตา่ งทางพนั ธกุ รรม ตง้ั แตเ่ ดอื นตลุ าคมถงึ เดอื นมนี าคมในปถี ดั ไป เข้าด้วยกัน ซึ่งไม่สามารถทำ�ได้จาก การผสมพันธ์ุพืชโดยวิธปี กติ 2. การเพิ่มปริมาณต้นพันธ์ุสำ�หรับ ใช้เพื่อการชักนำ�ให้เกิดการ กลายพันธ์ุ 3. การเพาะเลี้ยงเอ็มบริโอ (embryo culture) และการช่วยชีวิตเอ็มบริโอ (embryo rescue) จากการผสมข้ามชนิด (interspecific hybridization) หรือผสมข้ามกลุ่ม (intergeneric hybridization) ทีโ่ ดยปกติไม่สามารถพฒั นาเป็นเอ็มบรโิ อและเมล็ดท่ีสมบูรณ์ได้ ท�ำ ใหเ้ อม็ บริโอ ลกู ผสมท่ีมีความแตกตา่ งทางพนั ธกุ รรมสามารถมชี ีวติ รอดได้ ทงั้ ยังเปน็ การลดเวลาท่ีเมล็ดสุกแก่ และเขา้ สูก่ ารพกั ตัวอกี หนงึ่ ฤดปู ลูก จึงช่วยรน่ ระยะเวลาในการปรับปรงุ พนั ธ์ปุ ทมุ มา คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 40 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

เทคโนโลยีการผลิตต้นพันธ์ุปทุมมาและหงส์เหินเพ่ือ ตอนที่ 3 การสง่ ออก ขั้นตอนท่ี 1 การผลติ ตน้ พันธุป์ ทมุ มาและตน้ หงสเ์ หินปลอดโรค ส�ำ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และหงส์เหนิ ปลอดโรค (พ.ศ. 2548-2553) เพอ่ื เพิม่ แห่งชาติ (สวทช.) ได้พัฒนาเทคนิคการเพาะเลี้ยง ขีดความสามารถในการผลิตหวั พันธุ์ เพอ่ื เปน็ การลด เน้ือเย่ือในการเพ่ิมปริมาณการผลิตต้นพันธุ์ปทุมมา ขอ้ จำ�กดั ของฤดกู าลในการผลติ หัวพันธุ์ คือ เหง้าที่มีรากสะสมอาหาร เพอ่ื ใช้ในการเจรญิ เปน็ ต้นตอ่ ไป ต้นพันธุ์ คือ ตน้ ปทุมมา หรือหงส์เหินท่ยี ัง ไม่มกี ารพัฒนาหัวพนั ธท์ุ ี่สมบรู ณ์ การผลติ ตน้ พันธห์ุ งสเ์ หนิ ปลอดโรค การผลติ ตน้ พันธ์ปุ ทมุ มาปลอดโรค คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 41

ขัน้ ตอนท่ี 2 การผลิตหัวพนั ธปุ์ ทมุ มาและหงส์เหิน สวทช. มคี วามรว่ มมอื กบั บรษิ ทั รลี ซดี จ�ำ กดั (5-8 เดือน) จากเดิมต้องใชเ้ วลาประมาณ 10 เดอื น (พ.ศ. 2548-2553) ในการพัฒนาระบบการผลิต (ขึน้ อยูก่ ับสายพนั ธุ์) ซง่ึ เป็นการเพิ่มความสามารถใน หวั พนั ธปุ์ ทมุ มาและหงส์เหินเพื่อการส่งออก สามารถ การกำ�หนดระยะเวลาการผลิตหัวพันธ์ุให้สอดคล้อง ผลิตหัวพันธ์ุคุณภาพได้ในระยะเวลา 1 ฤดูปลูก กับความต้องการของตลาดต่างประเทศ 1 2 34 ลักษณะของต้นปทุมมาที่ปลูกจากต้นท่ีได้จากการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือ เปรียบเทียบกบั ต้นที่ปลูกจากหัวพันธ์ุ 11 ปลกู จากตน้ ทไ่ี ดจ้ ากการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื โดยไมช่ กั น�ำ ใหเ้ กดิ รากสะสมอาหาร 22 - 33 ปลูกจากต้นที่ได้จากการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อโดยชักนำ�ให้เกิด รากสะสมอาหาร 44 ปลูกจากหวั พันธปุ์ กติ ผลกระทบเชงิ เศรษฐกิจ 1. ลดต้นทนุ การผลติ หวั พันธ์ุ มีีต้้นทุนุ การผลิิตต่ำ�ำ �กว่า่ เนื่�องจากใช้เ้ วลาเพีียง 1 ฤดููปลูกู เปรีียบเทีียบกับั การปลูกู เลี้�ยงปกติิที่่�ต้้องใช้้ เวลา 2 ฤดููปลูกู 2. เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลิตหัวพนั ธุ์ หวั พนั ธ์ปุ เี ดียวมคี ณุ ภาพที่ดีเทยี บเทา่ กบั หัวพันธ์ทุ ผี่ ลิตในระยะปกติ ทำ�ให้เกษตรกรสามารถผลิต หัวพันธ์ุได้อย่างตอ่ เนือ่ งตลอดปี 3. หวั พนั ธุ์มีคุณภาพสูง เน่ืองจากผลติ จากตน้ พนั ธ์ุปลอดโรค คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 42 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

ปทุมมา หงสเ์ หิน.......... ตอนที่ 3 บทบาทในตลาดโลก “สยามทวิ ลปิ ” (Siam tulip) เปน็ สมญานาม หรือที่เรียกว่าสหภาพยุโรป ซึ่งมีระบบการผลิต ของปทุมมาเมื่อนำ�เข้าสู่ตลาดยุโรป ด้วยลักษณะ การตลาด การขนสง่ ครอบคลุมทัว่ ยโุ รป อาจกลา่ ว คลา้ ยกับดอกทวิ ลิป แต่เน่ืองดว้ ยมถี ่นิ ฐานกำ�เนิดใน ได้ว่าหัวพันธ์ุปทุมมาที่ส่งออกจากไทย 70-80% มี ประเทศไทย จงึ ใชค้ �ำ วา่ “สยาม” น�ำ หนา้ อยา่ งสงา่ ผา่ เผย เปา้ หมายไปทเ่ี นเธอร์แลนด์ ปทุมมาพันธ์ุแรก ที่นำ�เข้าสู่ตลาดต่างประเทศคือ พันธุป์ ทุมมาท่นี ิยมมากท่สี ุดในเนเธอร์แลนด์ พนั ธเุ์ ชยี งใหมพ่ งิ ค์ (CMP : Curcuma alismatifolia) คือเชียงใหม่พิงค์ และพันธ์ุในกลุ่มของ Curcuma ตลาดใหญ่ท่ีสุดของหัวพันธุ์ปทุมมาคือ alismatifolia เชน่ สโนไวท์ เชียงใหม่เรด และขาว เนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางการค้าขายไม้ดอก ปลายแดง เป็นต้น นอกจากนนั้ ยงั มีพันธุ์ลกู ผสม เชน่ ไมป้ ระดับในกลุ่มประเทศ EU (European Union) ชอ็ กโกแลต ขาวมะลิ มองบลังค์ เปน็ ตน้ เชยี งใหม่พิงค์ มองบลังค์ คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 43

ขาวมะลิ ขาวปลายแดง สโนไวท์ ช็อกโกแลต คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 44 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

เกษตรกรในประเทศไทย ตอนที่ 3 ดอกปทุมมา ผสู ง ออกหวั พนั ธุ ไปตา งประเทศ ปทุมมาไมถ ุง อกไม ับ ตลาดไมดอก ตลาดไมด อกไมประดบั ส่วนมากเป็นท้งั เกษตรกรผ้ผู ลิตหรือเป็นคนกลางขาย หัวพนั ธุ์อกี ต่อหนงึ่ พันธทุ์ น่ี �ำ เขา้ จงึ เปน็ พันธ์ุซง่ึ ทกุ คน เส้นทางปทมุ มาสตู่ ลาดโลก หาซ้ือได้ในรูปหัวพันธุ์จากระบบการตลาดดังกล่าว ทำ�ให้ไมม่ ีพนั ธ์พุ เิ ศษในตลาดยโุ รป ผู้นำ�เข้าหัวพันธ์ุในประเทศเนเธอร์แลนด์มี พันธุ์ปทุมมาท่ีเป็นที่นิยมในเนเธอร์แลนด์ 4-5 ราย ซึ่งมีการค้าขายกันมานานแล้ว ผู้นำ�เข้า นอกเหนอื จากพนั ธเุ์ ชยี งใหมพ่ งิ ค์ เปน็ พนั ธทุ์ ป่ี รบั ปรงุ พนั ธโ์ุ ดยบรษิ ทั ผคู้ า้ ปทมุ มาชอ่ื บรษิ ทั K.P. Holland. B.V. ซึ่งน�ำ เสนอพนั ธ์ุในกลมุ่ SiamTM โดยต้งั ช่ือเป็น Siam series ดังน้ี Solo Siam Sunset Siam Suzy alismatifolia Siam Sunrise Snow White Siam Sparkling คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 45 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

Siam Shadow Siam Scarlet Siam Silver Siam Solo Siam Samba Siam Silk alismatifolia ท่มี า : (http://www.kpholland.nl/en/kwekercurcuma) พนั ธุป์ ทุมมา SiamTM series การใช้ปทุมมาในตลาดยุโรปแบ่งออกเป็น ไมต้ ัดดอกปทุมมาผ่านตลาดประมูลคือ 3.4 ลา้ นดอก 2 ประเภท คอื ไมต้ ดั ดอกและไมก้ ระถาง การผลิต กลมุ่ พนั ธุ์ SiamTM (8 พันธุ์) มจี �ำ นวนประมาณ ไมต้ ดั ดอก เกษตรกรจะผลติ ในกระถางขนาดเสน้ ผา่ น 900,000 ดอก และเชียงใหม่พิงค์ประมาณ 2 ศนู ยก์ ลาง 18 เซนติเมตร เมือ่ ตัดดอก 1-2 ดอกแล้ว ล้านดอก และทเ่ี หลอื เปน็ พนั ธอ์ุ น่ื ๆ ส�ำ หรบั ไมก้ ระถาง จะจำ�หน่ายเป็นไม้กระถาง เมื่อคุณภาพดอกลดลง ตวั เลขจากตลาดประมลู Flora Holland รวม 1.46 เกษตรกรผผู้ ลติ ปทมุ มาจะผลติ แลว้ จ�ำ หนา่ ยใหแ้ กล่ กู คา้ ล้านกระถาง เปน็ พันธุใ์ นกลมุ่ SiamTM (14 พันธ์ุ) ของตนเองหรือผ่านตลาดประมูล Flora Holland ประมาณ 945,000 กระถาง และเชียงใหมพ่ ิงค์ (www.floraholland.com) ในปี 2011 จ�ำ นวน ประมาณ 4 แสนกระถาง และทีเ่ หลอื เปน็ พันธอ์ุ นื่ ๆ คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 46 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

ตอนที่ 31 โรงเรือนปทมุ มาในประเทศเนเธอแลนด์ ส�ำ หรับหงสเ์ หนิ มีการคดั เลอื กพันธุแ์ ละตง้ั ชื่อพนั ธ์ุโดยบรษิ ัทผู้ค้าไมด้ อกในเนเธอร์แลนด์ และสามารถ ศึกษาขอ้ มูลหงสเ์ หินในตลาดประมลู ไม้ดอก ได้จาก http://www.vanzelderen.nl/Globba/Globba.html ภาพหงส์เหนิ ในตลาดประมูลไม้ดอกในประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ” 47

ตอนท่ี 4 แหล่งเรียนรู้ปทุมมาและหงส์เหนิ อทุ ยานแห่งชาตปิ ่าหนิ งาม ทมี่ าภาพ : ส�ำ นกั งานประชาสัมพนั ธ์ จังหวดั ชัยภมู ิ ต้ังอยู่บริเวณเทือกเขาพังเหยในเขตตำ�บล บา้ นไร่ อ�ำ เภอเทพสถติ จงั หวดั ชยั ภมู ิ “ทงุ่ ดอกกระเจียว” เกิดจากดอกปทุมมาป่า หลากหลายสายพนั ธทุ์ ข่ี น้ึ อยา่ งหนาแนน่ จนกลายเปน็ ทุง่ รายรอบบริเวณอทุ ยานแหง่ ชาตปิ า่ หนิ งาม มองเหน็ ดอกสีชมพูปนขาวก้านใบและลำ�ต้นเป็นสีเขียวสด แซมกับสีเขียวขจีของหญ้าที่ขึ้นมา ต้นกระเจียวจะ ออกดอกสวยงามตระการตาไปท่วั ผืนป่าในช่วงฤดูฝน เดือนมิถนุ ายน จนถึงเดือนกรกฎาคมของทกุ ปี คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช 48 “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”

ตอนที่ 41 ศูนยส์ ่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร (ศนู ย์พันธุ์พืชเพาะเลีย้ ง) สำ�นักงานสุพรรณบรุ ี ทงุ่ ดอกกระเจยี วบานส่อื รักวันแม่ 49 ณ ศูนย์พันธ์ุพืชเพาะเลี้ยง อำ�เภออู่ทอง จงั หวัดสุพรรณบุรี ในชว่ งเดือนสงิ หาคม ชมดอกกระเจียวหลากหลายสีและหลาย สายพันธ์ุในรูปแบบสวนภูเขาป่าและตระการตากับ “ปทุมมา” หลากหลายสายพันธ์ุ พบกับการจัด นิทรรศการเก่ียวกับความรู้ทางวิชาการเกษตรและ การจ�ำ หนา่ ยสินค้า OTOP เป็นการส่งเสริมแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงเกษตรของจังหวดั สุพรรณบุรี สอบถามรายละเอยี ดเพมิ่ เติมได้ท่ี ศูนย์สง่ เสริมและพัฒนาอาชพี การเกษตร (ศูนย์พันธพุ์ ชื เพาะเลี้ยง) โทรศัพท์ : 0 3543 7704 5 โทรสาร : 0 3543 7705 ต่อ 9 ที่มาขอ้ มลู : การทอ่ งเทยี่ วแหง่ ประเทศไทย (ททท.) ส�ำ นักงานสพุ รรณบรุ ี คู่มือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพืช “การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ดอกไม้ประดับ”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook