Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ_จัดการแข่งขันวิ่งบนถนน_และมาตรการจัดการแข่งขันภายใต้การแพร่ระบาด_COVID-19

คู่มือ_จัดการแข่งขันวิ่งบนถนน_และมาตรการจัดการแข่งขันภายใต้การแพร่ระบาด_COVID-19

Published by Thalanglibrary, 2020-08-17 03:20:42

Description: คู่มือ_จัดการแข่งขันวิ่งบนถนน_และมาตรการจัดการแข่งขันภายใต้การแพร่ระบาด_COVID-19

Search

Read the Text Version

คู่มือจดั การแข่งขนั วง่ิ บนถนน และมาตรการจัดการแข่งขนั ภายใตก้ ารแพร่ระบาด COVID-19   1  



ค�ำ น�ำ สมาคมกฬี ากรฑี าแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ รว่ มกบั สมาพนั ธช์ มรมเดนิ -วง่ิ เพอ่ื สขุ ภาพไทย ส�ำ นักงานกองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) และสมาคมวง่ิ เทรล แหง่ ประเทศไทย ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของการกฬี าแหง่ ประเทศไทย และกระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า เลง็ เหน็ ถงึ ความส�ำ คญั ของการออกก�ำ ลงั กายและเลน่ กฬี าของประชาชนทกุ กลมุ่ โดยเฉพาะการวง่ิ ท่ไี ด้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย แต่ด้วยการแพร่ระบาดของ COVID – 19 ได้ส่งผลกระทบ ตอ่ การด�ำ เนนิ การจดั แขง่ ขนั เปน็ อยา่ งมาก อยา่ งไรกต็ าม สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดไดม้ แี นวโนม้ ไปในทศิ ทางทด่ี ขี น้ึ มมี าตรการผอ่ นปรนการจดั กจิ กรรม คณะท�ำ งานจงึ ไดจ้ ดั ท�ำ คมู่ อื การจดั การแขง่ ขนั วง่ิ เทรลและวง่ิ บนถนน ภายใตก้ ารแพรร่ ะบาด COVID – 19 เพอ่ื น�ำ เสนอใหก้ ระทรวงการทอ่ งเทย่ี ว และกฬี าพจิ ารณาประกาศใชแ้ ละเผยแพร่ ขณะเดยี วกนั จงึ ไดใ้ ชโ้ อกาสน้ี น�ำ \"คมู่ อื การจดั กจิ กรรมวง่ิ เทรลและวง่ิ บนถนน\" ทก่ี ระทรวงการทอ่ งเทย่ี วและกฬี า ส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) และสมาพันธ์ชมรมเดิน-ว่งิ เพ่อื สุขภาพไทย ได้เคยเผยแพร่ นำ�มารวบรวม ปรบั ปรงุ และเผยแพรอ่ กี ครง้ั โดยหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การน�ำ ไปอา้ งองิ และปฏบิ ตั ิ ในโอกาสตอ่ ไป คณะท�ำ งานจดั ท�ำ คมู่ อื จดั การแขง่ ขนั วง่ิ บนถนน และมาตรการจดั การแขง่ ขนั ภายใตก้ ารแพรร่ ะบาด COVID-19 -ค- 3    



สารบัญ คำ�นำ� ก ค I สารบัญ คมู่ อื การจดั กิจกรรมวงิ่ บนถนนของประเทศไทย 1 1. แนวคดิ การจดั กจิ กรรมวง่ิ บนถนน 5 2. การบรหิ ารจัดการ 9 3. การวางแผนเส้นทางการจัดกิจกรรมวงิ่ บนถนนและองคป์ ระกอบเสน้ ทาง 15 4. การจดั กจิ กรรมวิง่ บนถนน 23 II มาตรการจดั การแขง่ ขนั ภายใตก้ ารระบาดโควิด - 19 29 แนวคดิ 30 ลักษณะของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม 31 มาตรการควบคุมของ ศบค. (ฉบบั ท่ี 4) 32 จดั การแข่งขนั วงิ่ อยา่ งปลอดภยั ไรโ้ ควิด - 19 37 1. การเตรียมสถานที่การแข่งขัน 38 40 2. การเตรียมความพร้อมในการจัดแข่งขัน 40 40 2.1 มาตรการคัดกรองอาการป่วย 45 46 2.2 มาตรการในการป้องกันโรค 47 48 2.3 มาตรการในการทำ�ความสะอาด 48 50 แนวทางการปฏบิ ตั ิสำ�หรบั ผู้ออกบูธร้านค้า 51 วิ่งอยา่ งปลอดภยั ไรโ้ ควิด - 19 1. การเตรียมตัวก่อนการแข่งขัน 2. ระหว่าง และหลังการใช้บริการ แนวทางปฏบิ ตั ิใหมส่ ำ�หรบั นักวิง่ แนวทางการกำ�กับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ภาคผนวก 55 - คำ�สั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ที่ 5/2563 เรื่อง แนวปฏิบัติตามข้อกำ�หนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำ�หนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 4) -ค-



คมู่ ือ การจัดกจิ กรรมว่งิ บนถนนของประเทศไทย 1. 1.1 วัตถุประสงคก์ ารจดั กิจกรรมว่ิงบนถนน แนวคิด ผู้จัดกิจกรรมวิ่งบนถนนต้องกำ�หนดวัตถุประสงค์ในการจัดงานให้ชัดเจน การจัดกจิ กรรมวงิ่ ซ่งึ วัตถปุ ระสงค์อาจมเี พยี งประการเดียวหรือหลายประการประกอบกนั ได้แก่ บนถนน (1) วัตถุประสงคเ์ พอ่ื การแข่งขัน โดยจะตอ้ งมกี ารระบใุ หช้ ดั เจนวา่ การแขง่ ขนั นน้ั มเี จตนาทจ่ี ะใหบ้ งั เกดิ ผลจากการแขง่ ขนั ในลกั ษณะใด กลา่ วคอื (1.1) มกี ารรบั รองระยะทางและผลการแขง่ ขนั อยา่ งเปน็ ทางการ ซง่ึ จะเปน็ การรบั รองส�ำ หรบั ใช้ประโยชนใ์ นการบนั ทึกขอ้ มูลสถติ ิ อนั ประกอบด้วย ระยะทาง เวลา ผลการแข่งขัน หรอื สถติ ิอื่นๆ เพอ่ื รบั รองผล การแข่งขันในระดับต่างๆ ในรายการแข่งขันท่ีเป็นทางการหรือเป็นสากล ซ่ึงจะเป็นสถิติของประเทศที่ซึ่งรับรอง โดยสมาคมกฬี ากรฑี าแหง่ ประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ (1.2) ไมม่ กี ารรบั รองระยะทางและผลการแขง่ ขนั อยา่ งเปน็ ทางการ ซงึ่ ไมม่ กี ารรบั รองระยะทาง และผลการแขง่ ขนั ในลกั ษณะเปน็ ทางการ อยา่ งไรกต็ าม อาจมกี ารบนั ทกึ สถติ ดิ ว้ ยแตเ่ ปน็ การบนั ทกึ เพอ่ื ใชป้ ระโยชนอ์ น่ื อาทิ สถิตสิ ่วนตัว สถติ ขิ องการแข่งขนั (2) วัตถุประสงค์เพื่อความสนุกสนาน ควรระบุให้ชัดเจนว่าการจัดกิจกรรมว่ิงนั้นเพื่อการสร้าง ความสนกุ สนาน หรือเพือ่ กจิ กรรมนนั ทนาการ (Recreation) หรือเพอื่ กจิ กรรมความบนั เทงิ อื่น ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ส�ำ หรบั ประชาชนในพ้นื ที่หรือประชาชนในพน้ื ทตี่ า่ งๆ หรอื ประชาชนท่วั ไป (3) วัตถุประสงค์เพื่อการกุศล ควรระบุให้ชัดเจนว่าการจัดกิจกรรมว่ิงน้ันเพื่อนำ�รายได้ที่ได้รับไป ใช้ในการสรา้ งสาธารณกศุ ล หรือสาธารณประโยชน์ หรอื กิจสาธารณะอนื่ (4) วัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยว ควรระบุให้ชัดเจนว่าการจัดกิจกรรมว่ิงนั้นจัดทำ�ข้ึน เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมการท่องเท่ียวของพ้ืนที่ หรือการประชาสัมพันธ์สถานที่ท่องเท่ียวในพื้นที่ หรือการ ประชาสัมพันธ์สถานทท่ี ่องเทยี่ วอ่นื   1  

(5) วัตถุประสงค์เพ่ือการส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ ควรระบุให้ชัดเจนว่าการจัดกิจกรรมวิ่งน้ัน จัดทำ�เพื่อประโยชน์ในการประชาสัมพันธ์ หรือการส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อ สรรพคุณ และรายละเอียด ของผลติ ภัณฑ์ ทง้ั นี้ ผลติ ภณั ฑด์ ังกล่าวจะตอ้ งไมม่ ีเจตนารมณ์ท่ีขัดต่อกฎหมาย หรือไมข่ ัดตอ่ ความสงบเรยี บร้อย หรือไม่ขัดตอ่ ศลี ธรรมอันดีของประชาชนและภาคประชาสงั คม (6) วตั ถุประสงคอ์ ่นื ๆ ควรระบใุ ห้ชดั เจนว่าการจัดกิจกรรมน้นั จดั ท�ำ ขน้ึ เพอ่ื ประโยชน์อน่ื 1.2 ประเภทของการจดั กิจกรรมวิ่งท่ีนิยมในประเทศไทย ประกอบด้วย 4 ประเภท ดังนี้ 1) การวง่ิ เพอ่ื ความสนกุ สนาน หรอื ฟนั รนั (Fun Run) หรอื ทเ่ี รยี กกนั วา่ “เดนิ -วง่ิ เพอ่ื การกศุ ล” ระยะทาง ไม่เกนิ 5 กิโลเมตร 2) การวิ่งมินิมาราธอน (Mini Marathon) ส่วนใหญ่ในประเทศไทยมักนิยมใช้ระยะทาง 10 กโิ ลเมตร 3) การวงิ่ ครึ่งมาราธอน (Half Marathon) ระยะทาง 21.1 กโิ ลเมตร 4) การวง่ิ มาราธอน (Marathon) ระยะทาง 42.195 กโิ ลเมตร เป็นการจัดกจิ กรรมวิ่งทางถนน ระยะไกลที่เป็นมาตรฐานและไดร้ ับความนิยมท่ัวโลก 1.3 การก�ำ หนดกลุ่มนักวง่ิ เปา้ หมาย ผจู้ ดั กจิ กรรมวง่ิ บนถนนควรก�ำ หนดกลมุ่ นกั วงิ่ เปา้ หมาย เชน่ นกั วงิ่ ชน้ั น�ำ ของโลก นกั วงิ่ แนวหนา้ ระดบั ชาตขิ องไทย นกั วง่ิ ทมี่ คี วามสามารถในระดบั แขง่ ขนั ของกลมุ่ อายตุ า่ งๆ นกั วง่ิ ของชมรมตา่ งๆ นกั วงิ่ เพอื่ การกศุ ล นกั วง่ิ ทเี่ ปน็ นกั ทอ่ งเทยี่ วตา่ งชาติ นกั เดนิ (ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมวง่ิ แตจ่ ะเปน็ การเดนิ แทนการวงิ่ ) นกั วงิ่ ทวั่ ไปและ/ หรือนักว่งิ มวลชน เป็นต้น 2     

1.4 ปริมาณของนักวงิ่ ท่เี ข้ารว่ มงาน ผู้จัดกิจกรรมว่ิงบนถนนควรจะมีการจำ�กัดปริมาณนักว่ิงท่ีเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเหมาะสม โดยคำ�นึงถึง ความสามารถในการรองรับของระบบสาธารณูปโภคเชิงพื้นที่ สภาพการจราจร ตลอดจนการอำ�นวยความสะดวก และการรักษาความปลอดภัยในชีวติ และทรพั ยส์ ินของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมเป็นสำ�คัญ 1.5 การวดั ผลการแข่งขันและการมอบรางวัล ผ้จู ัดกิจกรรมว่งิ บนถนนต้องตัดสินใจเลอื กรปู แบบการจดั งาน โดยพจิ ารณาปัจจัยสำ�คญั ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) การจดั กจิ กรรมวง่ิ บนถนนสว่ นใหญ่ ผจู้ ดั จะจดั กจิ กรรมวง่ิ หลายประเภทในการจดั งานครง้ั เดยี ว จึงท�ำ ให้มกี ลมุ่ นกั วง่ิ ประเภทต่างๆ หลายกล่มุ ผสมผสานรวมกนั 2) มเี พยี งนกั วง่ิ 3 ประเภท คอื นกั วงิ่ ทว่ั ไปและ/หรอื นกั วงิ่ มวลชน นกั วง่ิ เพอ่ื การกศุ ลและนกั เดนิ ที่อาจเหมาะกับการว่ิงเพ่ือความสนุกสนาน (Fun Run) ซ่ึงไม่เน้นเรื่องการได้รับรางวัล และอาจไม่จำ�เป็นต้อง มีสถติ ิอย่างเป็นทางการก็ได้ 3) นักวิง่ ประเภทอื่นๆ เช่น นกั ว่ิงชน้ั น�ำ ของโลก นกั วิ่งแนวหน้าระดบั ชาติของไทย นกั ว่งิ ที่มคี วาม สามารถในระดับแขง่ ขันของกล่มุ อายตุ ่างๆ นักวงิ่ ของชมรมตา่ งๆ นักว่งิ ทเ่ี ปน็ นกั ทอ่ งเท่ียวต่างชาตเิ ป็นต้น จะเน้น การเข้าร่วมงานวิ่งที่มีการแข่งขันอย่างแท้จริง มีการวัดระยะทางอย่างถูกต้อง มีการจับเวลาอย่างเป็นทางการ และมรี างวัลมอบให้ 4) รางวัลที่มอบให้ผู้ชนะการแข่งขันไม่จำ�เป็นต้องมีมูลค่าสูง ผู้จัดกิจกรรมวิ่งทุกคนต้องระลึก ไว้ว่า มูลค่าของรางวัลเป็นเพียงปัจจัยท่ีใช้ดึงดูดนักวิ่งที่เร็วท่ีสุดและนักวิ่งในกลุ่มอายุเท่าน้ัน ยิ่งรางวัลมี มูลค่าสูงเท่าใด ย่ิงมีโอกาสดึงดูดนักวิ่งท่ีดีท่ีสุดของโลกได้มากขึ้นเท่าน้ัน แต่การได้รับความสนใจจากนักวิ่งชั้นนำ� ระดบั โลกอาจเปน็ ไปไมไ่ ด้ ในทางปฏิบตั ิ หรอื กระทงั่ ไมใ่ ชเ่ รือ่ งทส่ี �ำ คญั เลยกไ็ ด้ 1.6 คุณภาพ/มาตรฐานของการจัดงานหรอื การจัดกิจกรรมวงิ่ ผู้จดั กจิ กรรมว่งิ บนถนน ควรให้ความส�ำ คัญกับประเดน็ ต่างๆ ดังต่อไปน้ี 1) มาตรฐานการจัดกิจกรรมว่ิงบนถนน ควรเป็นไปตามคู่มือการจัดกิจกรรมวิ่งบนถนนของ ประเทศไทย ตามประกาศของกระทรวงการท่องเท่ียวและกฬี า 2) คู่มือการจัดกิจกรรมว่ิงบนถนนของประเทศไทย ถือเป็นเอกสารประกอบการพิจารณาและ ก�ำ กับดูแลรว่ มของผจู้ ัดกิจกรรมวิง่ บนถนน หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนท่เี กยี่ วขอ้ ง 3) ในกรณที ตี่ อ้ งการใหม้ กี ารรบั รองมาตรฐานในระดบั ประเทศหรอื ระดบั นานาชาติ ตอ้ งเปน็ ไปตาม ข้อกำ�หนดของสมาคมกฬี ากรีฑาแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ และ WORLD ATHLETICS จะช่วยสร้าง ความเชอื่ มนั่ ใหก้ บั สาธารณชนว่า การจดั กิจกรรมวงิ่ จะด�ำ เนนิ ไปตามมาตรฐานท่ีก�ำ หนดไว้   3  

4) ไดร้ บั การประชาสมั พนั ธใ์ นปฏทิ นิ การจดั กจิ กรรมวง่ิ ประจ�ำ ปอี ยา่ งเปน็ ทางการ ตามประกาศของ กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า รวมทั้งภาคเี ครือข่ายท่เี ก่ยี วข้อง 5) ได้รับความเช่ือมั่นต่อกติกาการแข่งขันซึ่งเป็นที่ยอมรับกันท่ัวไป ตามข้อกำ�หนดของ WORLD ATHLETICS หรือสมาคมกีฬากรีฑาแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือกติกาที่เป็นไปตามประกาศของ ผูจ้ ัดงานเฉพาะกจิ กรรมในพื้นทน่ี น้ั (local rules) 1.7 ชว่ งวันและเวลาของการจดั กจิ กรรมวงิ่ ผจู้ ดั กจิ กรรมวงิ่ บนถนนควรค�ำ นงึ ถงึ กบั สภาพอากาศในแตล่ ะพน้ื ที่ (เชน่ อณุ หภมู ิ ความชน้ื สมั พทั ธ์ เปน็ ตน้ ) ช่วงเวลาของวันที่ทำ�ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับอันตรายจากความร้อนน้อยท่ีสุด สภาพการจราจร ความสะดวก ของทอ้ งถิน่ เทศกาลของท้องถ่นิ ความสามารถในการบรกิ ารด้านทพี่ ัก งานว่งิ อนื่ ๆ ที่จัดในพน้ื ทใี่ กล้กนั หรอื มีกลุ่ม นักว่งิ เปา้ หมายคล้ายกนั 1.8 การเลือกพนื้ ที่เพ่ือจัดงานว่งิ ผจู้ ดั กจิ กรรมวงิ่ บนถนนควรค�ำ นงึ ถงึ ขนาดของพน้ื ทใ่ี หเ้ หมาะสมตอ่ จ�ำ นวนผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม และสงิ่ อ�ำ นวย ความสะดวกต่างๆ ในบริเวณจุดปล่อยตัวและเส้นชัย รวมท้ังควรเลือกจุดบริเวณจุดปล่อยตัว และเส้นชัยที่ช่วย ส่งเสรมิ ภาพลักษณ์ของการจดั กิจกรรม ท้ังน้ี ทิศทางการเคล่ือนท่ีของมวลชนควรมีลักษณะเป็นการเคลื่อนที่ในทิศทางเดียวกัน โดยไม่กีดขวาง ซึ่งกนั และกัน 1.9 ความปลอดภัยของผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย รวมไปถึงประชาชนท่ีจะได้รับผลกระทบจากการจัด กจิ กรรม ผู้จัดกิจกรรมวิ่งบนถนนจำ�เป็นต้องติดต่อกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพ่ือกำ�หนดระดับ รกั ษาความปลอดภัยที่เหมาะสมสำ�หรบั การจดั กจิ กรรมว่ิง 4     

1.10 ความรบั ผิดชอบตามกฎหมายและขอ้ บังคบั ท้องถ่ิน ผจู้ ดั กิจกรรมวิ่งบนถนน ควรด�ำ เนนิ การดังนี้ 1) จัดทำ�ประกันภัยท่ีคุ้มครองผู้เข้าร่วมกิจกรรมและ/หรือเจ้าหน้าที่จัดกิจกรรมตามรายชื่อที่ฝ่าย จัดกิจกรรมแจง้ 2) มีการจัดการข้อมูลและเอกสารการรับสมัครอย่างรอบคอบ เนื่องจากเป็นข้อมูลส่วนบุคคลท่ี สามารถนำ�ไปใช้เป็นการเฉพาะตามวัตถุประสงค์ในกิจกรรมนั้นๆ ดังนั้นผู้จัดกิจกรรมควรปฏิบัติตามกฎหมายท่ี เกยี่ วข้องกับการปกปอ้ งและรักษาความปลอดภัยขอ้ มลู สว่ นบุคคล 2. การบรหิ ารจัดการ 2.1 การจดั องค์กร ผู้จัดกิจกรรมวิ่งบนถนนควรมีบุคลากรและหน่วยงานรับผิดชอบดูแลงาน ด้านตา่ งๆ ประกอบด้วย 1) ผอู้ �ำ นวยการการแข่งขนั 2) ฝา่ ยออกแบบและจัดการเสน้ ทาง/สนามแข่งขนั 3) ฝ่ายการแพทย์และพยาบาล 4) ฝา่ ยทะเบยี น รบั สมคั ร ประสานงานกบั ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ทง้ั ระหวา่ งการรบั สมคั รและในวนั รบั อุปกรณ์ (Race Kit) 5) ฝา่ ยดแู ลบรเิ วณปลอ่ ยตวั และเสน้ ชยั การสรา้ ง ประกอบ ตดิ ตง้ั วสั ดตุ า่ งๆ อนั ไดแ้ ก่ หอ้ งน�ำ้ สถานท่ี เปลย่ี นชดุ จุดรับฝากสมั ภาระ จดุ บริการเครอ่ื งดืม่ อปุ กรณก์ ้ันคมุ ฝงู ชน โครงสร้างเพื่อตดิ ต้ังระบบจบั เวลา เปน็ ต้น ทง้ั นี้ รวมถึงการรือ้ ถอนและขนยา้ ยออกเม่อื กิจกรรมวงิ่ เสรจ็ สิน้ 6) ฝ่ายดูแลจุดบริการน�ำ้ และจุดบริการ 7) ฝา่ ยควบคุมการจดั กิจกรรมว่งิ 8) ฝ่ายประสานงานกับเจ้าหนา้ ที่ของรฐั ในพ้นื ท่ี ต�ำ รวจ รถพยาบาล 9) กล่มุ อาสาสมคั ร 10) ฝ่ายดูแลการคมนาคมโดยรอบและทจี่ อดรถ 11) ฝา่ ยรักษาความปลอดภยั   5  

12) ฝา่ ยส่ือสารทางสือ่ ออนไลน์ เชน่ เวบ็ ไซต์ อีเมล เฟสบุ๊คแฟนเพจ เปน็ ต้น 13) ฝ่ายสอื่ สาร วทิ ยสุ ือ่ สาร โทรศัพท์ ทุกชอ่ งทางในวนั จดั กิจกรรมวง่ิ 14) ฝ่ายรักษาความสะอาด และดแู ลการกลับคนื สภาพ 15) ฝ่ายจดั ซ้ือจดั จ้าง เสอื้ ของท่รี ะลกึ เหรียญ รางวัล อุปกรณ์จบั เวลา และอ่ืนๆ 16) ฝา่ ยสิทธิประโยชน์ การคัดเลือกสปอนเซอร์ 17) การเงิน การควบคุมรายรบั และรายจา่ ย 18) ฝา่ ยประสานงานสื่อ การโฆษณา 19) ฝา่ ยกจิ กรรมพเิ ศษ เชน่ งานเอก็ ซโ์ ป และการแสดงต่างๆ เปน็ ตน้ 20) ฝา่ ยอ�ำ นวยความสะดวก พธิ กี าร พธิ เี ปดิ ตลอดจนพธิ มี อบรางวลั ตอนจบ การรบั รอง ผสู้ นบั สนนุ และบคุ คลส�ำ คญั ทม่ี ารว่ มงาน 2.2 การประชาสัมพันธก์ ่อนการรบั สมัคร ผ้จู ดั กิจกรรมวิ่งบนถนน ควรใหข้ อ้ มูลเก่ยี วกับงานแกผ่ ู้ท่จี ะสมคั รรว่ มกิจกรรม ซง่ึ ควรมรี ายละเอยี ดตาม นีเ้ ปน็ อย่างนอ้ ย 1) ช่ือองค์กร นิติบุคคล บุคคล หรือชมรมของผู้จัดกิจกรรมว่ิง หน่วยงานร่วมจัด และรายชื่อ หน่วยงานร่วมสนบั สนุน 2) วัตถปุ ระสงคก์ ารจัดงานวง่ิ 3) วัน เวลา และสถานทข่ี องการจดั งาน 4) ระยะทางการจดั การแขง่ ขนั การรบั รองระยะทาง และผลการแขง่ ขนั อยา่ งเปน็ ทางการ 5) รปู แบบของเสน้ ทางการแขง่ ขนั 6) การบริการทางการแพทย์ 7) โครงสรา้ งรางวัล (อายุ เพศ ระยะ หรืออน่ื ๆ) 8) ข้อจ�ำ กดั ด้านอายุสำ�หรับเด็ก 9) การแข่งขนั จะยดึ กตกิ าขององค์กรวิ่งใด หรือมีกติกาพิเศษของการแขง่ ขันอย่างไร 10) เวลาปลอ่ ยตวั และตดั ตัวของการแข่งขนั แตล่ ะระยะ 11) นักว่ิงกำ�กบั เวลา (Pacer) (ถา้ ม)ี 12) การประเมนิ ความเสย่ี งของเสน้ ทาง 13) จ�ำ นวนสงู สดุ ของนกั วง่ิ ทจี่ ะรบั สมคั รในการแขง่ ขนั แตล่ ะระยะ และเงอื่ นไขตา่ งๆ ในการรบั สมคั ร 14) วิธีรบั สมคั ร ค่าสมัคร วิธกี ารชำ�ระเงิน การขอคืนคา่ สมคั ร การเปล่ียนแปลงการสมัคร 15) คณุ สมบตั ผิ สู้ มคั ร 6     

16) กำ�หนดการ 17) สิ่งทีผ่ ู้สมัครจะได้รับ และข้อมูลการรบั อุปกรณ์การแขง่ ขัน 18) เครอ่ื งดืม่ และจุดบริการระหวา่ งเสน้ ทาง รวมทง้ั อาหารและเคร่ืองดม่ื เมื่อเขา้ เสน้ ชยั 19) ขอ้ มลู การเดินทางส่งู านวงิ่ จดุ จอดรถ และปริมาณรถทจ่ี อดได้ในแตล่ ะจดุ การรบั ฝากสัมภาระ สถานทก่ี างเตน็ ท์ และอ่ืนๆ 20) ขอ้ มลู การจราจรบนเสน้ ทางวง่ิ แสดงลกั ษณะการปดิ กน้ั การจราจรบนเสน้ ทางวง่ิ ทอ่ี าจแตกตา่ งกนั ในเสน้ ทางวง่ิ ชว่ งต่างๆ 21) เงื่อนไขในการเลื่อนและ/หรอื ยกเลิกการจัดกิจกรรมว่งิ 2.3 การจัดเตรียมระบบรบั สมคั ร (Online/On site) ผู้จัดกิจกรรมว่ิงบนถนนต้องมีการจัดทำ�ระบบรับสมัครผ่านระบบออนไลน์ (Online) หรือระบบสมัคร ดว้ ยตนเอง (On site) รวมทง้ั จดั เตรยี มเจา้ หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในแตล่ ะกจิ กรรมของการรบั สมคั ร เพอ่ื เปน็ การอ�ำ นวย ความสะดวกให้กับผู้ท่ีต้องการเข้าร่วมกิจกรรม ทั้งน้ี ผู้จัดต้องคำ�นึงถึงช่วงระยะเวลาและสถานท่ีท่ีเปิดบริการรับ สมคั รให้เหมาะสม 2.4 ก�ำ หนดการ ผ้จู ัดกิจกรรมว่งิ บนถนนต้องมีการจัดทำ�กำ�หนดการ (Timelines) เพ่อื ทำ�ให้การดำ�เนินการจัดกิจกรรม วง่ิ ประสบความสำ�เร็จ จึงต้องมีกำ�หนดการรายละเอียดต่างๆ ในช่วงเวลาตั้งแต่ 24 ช่ัวโมงก่อนการจัดกิจกรรม จะเรม่ิ ขนึ้ จนถึงเวลาส้ินสุดการจดั กิจกรรม 2.5 การลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้จัดกิจกรรมว่ิงบนถนน อาจใช้วิธีการหลายรูปแบบในการลงทะเบียนผู้เข้าร่วมกิจกรรมว่ิงบนถนน ขึ้นอยู่กับขนาดของการจัดกิจกรรมว่ิง ซ่ึงอาจจะมีทั้งการสมัครผ่านระบบออนไลน์ และสมัครโดยใช้ใบสมัครท่ีเป็น เอกสาร และใช้ระบบจับฉลาก (Lottery System) เพื่อกำ�หนดว่าใครได้รับสิทธ์ิในการเข้าร่วมกิจกรรมวิ่ง สำ�หรับกจิ กรรมวง่ิ บนถนนขนาดกลาง และขนาดเล็กอาจจะให้มกี ารสมัครในวันจัดกิจกรรมได้ ส�ำ หรับการจัดกิจกรรมวิ่งบนถนนขนาดใหญจ่ ะแจกจ่ายหมายเลขวงิ่ (Bib) รว่ มกบั งานจัดแสดงและขาย สินค้า (Expo) และไม่อนุญาตให้ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมรับหมายเลขว่งิ ในวันจัดกิจกรรม วิธีการแจกจ่ายหมายเลขว่งิ และของทีร่ ะลึก เช่น เส้ือ เหรียญรางวลั เปน็ ตน้ ขน้ึ อยกู่ บั จ�ำ นวนผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม ขนาดของพ้ืนที่ ระยะเวลาท่ีมี และจ�ำ นวนเจา้ หนา้ ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน จ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารวางแผนอยา่ งรดั กมุ เพอ่ื เตรยี มพนื้ ทใ่ี หเ้ พยี งพอกบั การแจกจา่ ย อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ   7  

2.6 กติกาการแข่งขัน ผู้จัดกจิ กรรมวิ่งบนถนน สามารถสืบค้นศึกษากตกิ าการแขง่ ขันมาตรฐานสากลของ WORLD ATHLETICS ไดจ้ าก https://www.iaaf.org/about-iaaf/documents/rules-regulations ควรก�ำ หนดกตกิ าการแขง่ ขนั (Rules) ท่ีเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมว่ิงบนถนน ถือเป็นส่ิงสำ�คัญ นอกจากนี้ การจัดกิจกรรมว่ิงบนถนน ควรประกาศ กติกาการแข่งขันกอ่ นถึงวันจัดกจิ กรรม 2.7 อาสาสมัคร ผ้จู ัดกจิ กรรมว่งิ บนถนน ควรมอี าสาสมัคร (Volunteers) เพ่อื ชว่ ยงานในดา้ นต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การจัดกิจกรรมว่ิงบนถนนท่ีไม่ใช่รายการใหญ่ส่วนมากจะจัดโดยอาสาสมัคร และมีการใช้ผู้รับจ้างเพียงในด้านทาง เทคนคิ เท่านั้น เชน่ การจับเวลา ระบบเคร่อื งเสยี ง เป็นต้น จงึ ควรดำ�เนินการ ดงั น้ี 1) แตง่ ตง้ั ผปู้ ระสานงานอาสาสมคั รต้ังแตก่ ระบวนการวางแผน 2) ผู้ประสานงานอาสาสมัครควรพบปะกับหัวหน้าทีม ผู้จัดการทีมทุกคน เพื่อกำ�หนดจำ�นวน และประเภทของอาสาสมคั รทตี่ อ้ งการในการด�ำ เนนิ งานแต่ละคร้ัง 3) ควรฝึกอบรมอาสาสมัครให้เข้าใจหน้าที่และความรับผิดชอบในตำ�แหน่งด้านต่างๆ ในการจัด กจิ กรรม เพอ่ื ลดความเสยี หายตอ่ การบรหิ ารจดั กจิ กรรมวิง่ บนถนน 4) จดั เตรียมรายชอื่ เจ้าหนา้ ทอี่ าสาสมคั รทกุ คน พรอ้ มรายละเอยี ดสำ�หรบั ตดิ ต่ออยา่ งครบถ้วน 8     

2.8 แผนการประกอบตดิ ตง้ั และรอ้ื ถอนอปุ กรณส์ นามและสง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกตา่ งๆ ควรค�ำ นงึ ถงึ ความ ปลอดภยั ประสทิ ธภิ าพของการใชง้ าน และระยะเวลาในการประกอบและจดั เกบ็ อปุ กรณต์ ่างๆ 2.9 ข้อมูลสรปุ สดุ ทา้ ยเกีย่ วกับการจัดกิจกรรม ผจู้ ดั กจิ กรรมวง่ิ บนถนน ควรใหข้ อ้ มลู “ขอ้ มลู สรปุ สดุ ทา้ ยเกย่ี วกบั การจดั กจิ กรรม” (Final Details) ใหก้ ับ ผทู้ สี่ มคั รเขา้ รว่ มกจิ กรรมในวนั สมคั ร หรอื ภายในวนั ทก่ี �ำ หนดไวก้ อ่ นวนั จดั กจิ กรรมไมต่ �ำ่ กวา่ 7 วนั ซง่ึ ควรมรี ายละเอยี ด ตามนี้เปน็ อยา่ งน้อย 1) การเดนิ ทางส่จู ดุ ปลอ่ ยตวั หรือกองอำ�นวยการจดั กิจกรรมวง่ิ 2) รายละเอยี ดกระบวนการปลอ่ ยตวั (เชน่ ระบชุ อ่ งทางเดนิ เขา้ คอก ปลอ่ ยตวั ระบกุ ารจดั ล�ำ ดบั การปลอ่ ยตัว เป็นต้น) 3) กระบวนการตา่ งๆ หลงั เขา้ เสน้ ชยั (เชน่ การรบั ปา้ ยอนั ดบั รบั เหรยี ญ รบั ของทร่ี ะลกึ น�ำ้ ดม่ื อาหาร เปน็ ตน้ ) 4) ขน้ั ตอนการประท้วงผลการแข่งขัน 5) ส่ิงอำ�นวยความสะดวกในบริเวณงาน เชน่ สุขา ห้องอาบน�ำ้ การฝากสัมภาระ เปน็ ต้น 6) กำ�หนดการของพิธกี ารตา่ งๆ 7) บรกิ ารแจง้ ผลการแขง่ ขัน 8) แผนที่แสดงกองอ�ำ นวยการและสิ่งอ�ำ นวยความสะดวกตา่ งๆ 9) ระยะทางและลกั ษณะของเส้นทางว่ิงท่ชี ดั เจน 10) แผนทเ่ี ส้นทางวิ่งฉบับลา่ สุด ระบกุ ารปดิ การจราจรตามท่ปี รบั แกล้ า่ สุดแลว้ 11) ระบุชว่ งระยะทีจ่ ะตง้ั จดุ บริการน�ำ้ 3. 3.1 การขออนญุ าตและประสานแจง้ หนว่ ยงานตา่ งๆ การวางแผนเสน้ ทาง ผู้จัดกิจกรรมว่ิงบนถนน ต้องได้รับอนุญาตจากหน่วยงานต่างๆ การจดั กิจกรรมว่งิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งตามกฎหมาย และประสานแจง้ ใหส้ ว่ นตา่ งๆ ทราบลว่ งหนา้ ดงั น้ี 1) สว่ นราชการทมี่ หี นา้ ที่รบั ผดิ ชอบการอนุญาตให้ใชพ้ ้ืนท่ี บนถนนและ 2) แจ้งโรงพยาบาลและสถานพยาบาลในพ้ืนท่ี และพ้ืนที่ องค์ประกอบเส้นทาง ใกลเ้ คยี งทราบล่วงหนา้ ว่าจะมีการจดั กิจกรรมวงิ่ 3) แจง้ ใหผ้ อู้ ยอู่ าศัยในพ้ืนทแ่ี ละโดยรอบเส้นทางวิง่ ทราบลว่ งหนา้ ว่าจะมกี ารจัดกิจกรรมวิ่ง 4) หน่วยงานจราจร/ทางหลวง/ตำ�รวจในพื้นที่   9  

3.2 การออกแบบและวดั เสน้ ทางการจัดกิจกรรมว่ิงบนถนน ผูจ้ ัดกิจกรรมวิง่ บนถนน ควรค�ำ นึงถงึ 1) ความปลอดภยั ของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมวงิ่ โดยพจิ ารณาความเสย่ี งตา่ งๆ ทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ และวางแผน ปอ้ งกนั เพอื่ ลดความเส่ยี งน้นั ๆ 2) บริเวณท่ีเหมาะสมสำ�หรับเป็นจุดปล่อยตัวและเส้นชัย โดยต้องมีพื้นที่กว้างขวางเพียงพอต่อ ปรมิ าณผเู้ ขา้ รว่ มงาน และการจดั วางจดุ อ�ำ นวยความสะดวกตา่ งๆ 3) พยายามใหช้ มุ ชนในบรเิ วณทจ่ี ดั กจิ กรรมไดร้ บั ผลกระทบนอ้ ยทส่ี ดุ เทา่ ทเ่ี ปน็ ไปได้ เชน่ เลอื กเสน้ ทางวง่ิ ทีค่ นในชมุ ชนสามารถหลบเลี่ยงได้หากมกี ารปิดการจราจร เส้นทางวิง่ ต้องไม่ปดิ กั้นการเขา้ ถงึ สถานทีท่ เ่ี กี่ยวขอ้ งกับ ความช่วยเหลือฉกุ เฉนิ เชน่ สถานพยาบาล สถานีดบั เพลิง เปน็ ต้น 4) เส้นทางวิ่งมีแสงสว่างเพียงพอ 5) เส้นทางวิ่งกวา้ งเพยี งพอกบั จำ�นวนผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม 6) พ้นื ผิวของเส้นทางว่งิ มีความเรียบแข็งตลอดเส้นทาง หากมีช่วงใดของเส้นทางว่งิ ท่ผี ิดไปจากนี้ ตอ้ งแจ้ง ให้ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมว่งิ ทราบล่วงหน้า 7) กรณีไม่สามารถปิดการจราจรได้ทั้งหมด ต้องมีอุปกรณ์ก้ันแบ่งเส้นทางว่ิงกับเส้นทางจราจร เพอื่ ความปลอดภยั 8) ประสานงานกบั ผใู้ หบ้ รกิ ารโทรคมนาคม เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารในเรอ่ื งสญั ญาณโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทไ่ี ดอ้ ยา่ ง เพยี งพอ 9) รายการแข่งขันท่ีต้องการรับรองสถิติ ควรได้รับการวัดระยะทางและรับรองจากสมาคมกีฬา กรีฑาแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือผู้ได้รับการอนุญาตจากสมาคมกีฬากรีฑาฯ โดยใช้การวัดระยะ ทางดว้ ยจกั รยานทส่ี อบเทยี บแลว้ (Calibrated Bicycle) หากผจู้ ดั กจิ กรรมวง่ิ ท�ำ การวดั ระยะเอง ตอ้ งระบเุ ครอื่ งมอื และวิธีการวัดระยะด้วย 3.3 การวางผงั งาน การคำ�นวณและการประเมนิ ทรพั ยากรในบริเวณงานและจดุ บริการ ระบุรายละเอียดของการจัดเตรียมการวางผังงานและการพิจารณาความเหมาะสมของการใช้ทรัพยากร ตลอดทง้ั ในบรเิ วณทจ่ี ดั กจิ กรรมวง่ิ เสน้ ทางวง่ิ จดุ ปลอ่ ยตวั เสน้ ชยั และจดุ บรกิ าร โดยมแี นวทางการพจิ ารณา ดงั นี้ 1) การวางแผนเสน้ ทางวิง่ วางแผนเส้นทางวิ่งเพ่ือความปลอดภัยของผู้เข้าร่วมกิจกรรม โดยพิจารณาความเส่ียงต่างๆ ที่อาจ เกิดข้ึน และวางแผนปอ้ งกนั เพอื่ ลดความเส่ยี งนัน้ ๆ โดยบรเิ วณท่เี หมาะสมส�ำ หรบั เป็นจดุ ปลอ่ ยตัวและเสน้ ชยั ต้อง มีพ้ืนท่ีกว้างขวางเพียงพอต่อปริมาณผู้เข้าร่วมงานและการจัดวางจุดอำ�นวยความสะดวกต่างๆ ท้ังน้ี พึงตระหนัก ในเรื่องต่อไปน้ี 10     

ก) การจัดระบบบริเวณจุดปล่อยตัวควรคำ�นึงถึงความปลอดภัยและรองรับกับจำ�นวนผู้เข้า ร่วมกจิ กรรมวิง่ และผู้ชม ข) การจัดทิศทางและผังบริเวณจุดปล่อยตัว ควรคำ�นึงถึงกระแสการเคล่ือนที่ของผู้เข้าร่วม กจิ กรรมทจ่ี ะเข้าสบู่ ริเวณปลอ่ ยตวั ไม่ใหเ้ กดิ การตดิ ขัด และไมใ่ หม้ กี ารตดั หรือลัดคิวบริเวณปลอ่ ยตวั การกำ�หนดเส้นทางควรตระหนักว่าพยายามให้ชุมชนในบริเวณท่ีจัดงานได้รับผลกระทบน้อยที่สุด เท่าที่เป็นไปได้ อาทิ การเลือกเส้นทางวิ่งท่ีคนในชุมชนสามารถหลบเลี่ยงได้หากมีการปิดการจราจร เส้นทางว่ิง ต้องไม่ปิดก้นั การเข้าถึงสถานท่ที ่เี ก่ยี วข้องกับความช่วยเหลือฉุกเฉิน เช่น สถานพยาบาล สถานีดับเพลิง เป็นต้น อยา่ งไรกต็ าม เสน้ ทางการวิ่งควรมีการสำ�รวจ ตรวจสอบ และวางแผนดำ�เนนิ การโดยพิจารณาจาก 1.1) ความสว่างของเส้นทางว่ิงทีม่ เี พียงพอ 1.2) เสน้ ทางวิ่งกวา้ งเพียงพอกบั จำ�นวนผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม 1.3) พน้ื ผวิ ของเสน้ ทางวง่ิ มคี วามเรยี บแขง็ ตลอดเสน้ ทาง หากมชี ว่ งใดของเสน้ ทางวง่ิ ทผ่ี ดิ ไป จากนต้ี อ้ งแจ้งให้ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมว่งิ ทราบลว่ งหน้า 1.4) กรณีไม่สามารถปิดการจราจรได้ท้ังหมด ต้องมีอุปกรณ์กั้นแบ่งเส้นทางวิ่งกับเส้นทาง จราจรเพือ่ ความปลอดภยั 1.5) การประสานงานกับผู้ให้บริการโทรคมนาคม เพ่อื ให้บริการในเร่ืองสัญญาณโทรศัพท์ เคลอ่ื นทไ่ี ดอ้ ยา่ งเพยี งพอ 7 59 4 6 8 3 1 2   11  

2) การจัดการและควบคุมดูแลเส้นทางว่งิ ผจู้ ัดควรจัดให้มีการวางแผนในการควบคมุ ดูแลเสน้ ทางวิ่งอย่างเหมาะสมและปลอดภัย ดังนี้ 2.1) การแต่งต้งั หัวหน้ามาร์แชล (Marshal) เพ่อื ควบคุมดูแลและส่งั การกิจกรรมต่างๆ ใน เสน้ ทางวง่ิ 2.2) จ�ำ นวนมารแ์ ชลเพียงพอท่วั พน้ื ที่จดั กจิ กรรมว่ิง คณะมารแ์ ชลต้องมีวุฒภิ าวะเพียงพอใน การควบคมุ ดแู ลผมู้ สี ว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรม ดแู ลตลอดเสน้ ทางวง่ิ โดยเฉพาะจดุ เสย่ี งตา่ งๆ เชน่ ทางรว่ มทางแยก จุดตัดต่างๆ เปน็ ตน้ 2.3) มาร์แชลตอ้ งแต่งกายหรือตดิ แสดงอุปกรณท์ ที่ ำ�ให้ผพู้ บเห็นแยกแยะได้ 2.4) มวี ทิ ยสุ อ่ื สารระหวา่ งหวั หนา้ มารแ์ ชล และมารแ์ ชลทร่ี บั ผดิ ชอบดา้ นตา่ งๆ 2.5) กอ่ นวนั จดั กจิ กรรมวง่ิ มารแ์ ชลจะตอ้ งไดร้ บั การแจง้ บทบาท หนา้ ท่ี ต�ำ แหนง่ ทป่ี ระจ�ำ การ และขั้นตอนการปฏิบัติ หากเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน (แผนสำ�รองเพ่ือรับเหตุฉุกเฉิน) รวมทั้งมีรายชื่อ หมายเลข โทรศพั ท์ฉุกเฉิน และข้อมูลตา่ งๆ 2.6) การจัดกิจกรรมวง่ิ จะมีรถน�ำ ทำ�หนา้ ทนี่ �ำ นักวง่ิ โดยขับหรือข่ีไปตามเส้นทางว่งิ นำ�หน้า นกั ว่ิงคนแรก ประมาณ 50-100 เมตร 2.7) เสน้ ทางวงิ่ ตอ้ งไมม่ สี ง่ิ กดี ขวางทที่ �ำ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมจ�ำ นวนมากตอ้ งเบยี่ งเสน้ ทางและ แออัด หากไม่สามารถเคล่ือนย้ายส่ิงกดี ขวางได้ จะต้องท�ำ เครอื่ งหมายว่ามีสิง่ กดี ขวางใหช้ ดั เจน และควรมีมาร์แชล ประจ�ำ จดุ นน้ั ดว้ ย 2.8) มารแ์ ชลจะอยู่ประจำ�ในตำ�แหน่งท่ีไดร้ ับมอบหมายจนกว่าจะได้รับแจง้ ยุติภารกจิ 2.9) เกบ็ ปา้ ยบอกเสน้ ทาง อปุ กรณใ์ นการจดั กจิ กรรม และขยะตา่ งๆ ทเ่ี กดิ จากการจดั กจิ กรรม ออกจากพื้นท่ที ั้งหมดโดยเรว็ หลงั จากจบกจิ กรรม 3) จดุ ปลอ่ ยตวั และการปล่อยตวั ผูจ้ ัดควรพจิ ารณาใหม้ ีองคป์ ระกอบของจดุ ปล่อยตวั และการปล่อยตวั ดงั นี้ 3.1) แตง่ ตง้ั ผอู้ �ำ นวยการจดุ ปลอ่ ยตวั และคณะท�ำ งานดา้ นการปลอ่ ยตวั มหี นา้ ทค่ี วบคมุ การ ปลอ่ ยตวั 3.2) มีแนวเส้นปล่อยตัวซ่ึงมีขนาดท่ีผู้เข้าร่วมกิจกรรมและกรรมการทุกคนมองเห็นได้ ชดั เจน 3.3) กนั พน้ื ทป่ี ลอ่ ยตวั ใหเ้ ปน็ พน้ื ทส่ี �ำ หรบั ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยเฉพาะแบง่ แยกจากผตู้ ดิ ตาม ผชู้ ม และบคุ คลอน่ื ๆ ทไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ ง โดยแบง่ กน้ั กอ่ นผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมเขา้ สบู่ รเิ วณจดุ ปลอ่ ยตวั พน้ื ทส่ี �ำ หรบั จดุ ปลอ่ ยตวั ค�ำ นวณโดยประมาณไมค่ วรเกนิ 3 คน ตอ่ ตารางเมตร กนั้ จดุ ปล่อยตวั เป็นช่อง โดยมคี วามยาวข้ึนกบั ปรมิ าณนักว่งิ 12     

3.4) ก่อนการปล่อยตัว 10-30 นาที เส้นทางวิ่งหน้าจุดปล่อยตัวต้องปลอดการกีดขวาง จากผู้แข่งขนั ที่เดนิ สู่จุดปล่อยตัวลา่ ช้า ช่างภาพ และผทู้ ่ีไมม่ ีสว่ นเก่ยี วข้องท้งั หมด 3.5) การออกแบบจุดปล่อยตวั ควรมลี ักษณะดังน้ี 3.5.1) มีพ้ืนท่สี ำ�หรบั นกั ว่ิงช้ันนำ�โดยเฉพาะ โดยอยู่ลำ�ดบั แรกจากเส้นปลอ่ ยตัว 3.5.2) หลงั จากพน้ื ทสี่ �ำ หรบั นกั วง่ิ ชนั้ น�ำ จะมพี น้ื ทซี่ งึ่ ปลอดจากผแู้ ขง่ ขนั อยรู่ ะยะหนง่ึ 3-5 เมตร เพอ่ื กนั มใิ หผ้ ูแ้ ขง่ ขันกลมุ่ ตอ่ ไปมาผลักดนั นกั ว่ิงชนั้ นำ�จนนกั ว่ิงชั้นน�ำ อาจล�ำ้ เสน้ ปล่อยตัวได้ 3.5.3) หลังจากน้นั จะแบ่งล�ำ ดับกลมุ่ ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมออกเปน็ ชว่ งๆ ตามความเร็ว ลดหลน่ั จากเรว็ ไปชา้ ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทม่ี คี วามเรว็ สงู อยดู่ า้ นหนา้ เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หผ้ เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทม่ี คี วามเรว็ ต�่ำ กดี ขวางทางวิ่งของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทีม่ คี วามเร็วสงู กว่า 3.6) มีกระบวนการปล่อยตัวที่เห็นและได้ยินชัดเจนโดยต้องมีระดับเสียงท่ีดังกว่าระบบ กระจายเสยี งประชาสัมพนั ธ์ เพอ่ื ให้การปลอ่ ยตัวราบรื่น 3.7) ผู้ตัดสิน ผู้ปล่อยตัว และผู้จับเวลา จะต้องอยู่ในตำ�แหน่งท่ีเห็นเส้นปล่อยตัวได้อย่าง ชดั เจน 3.8) ผปู้ ระกาศควรบอกเวลาถอยหลงั กอ่ นถงึ การปลอ่ ยตวั ควรบอกทเ่ี วลา 5, 3 และ 1 นาที กอ่ นการปลอ่ ยตวั 3.9) จัดตำ�แหน่งของรถนำ�ขบวนนักวิ่งให้ออกตัวได้สะดวกและไม่เป็นอันตรายต่อผู้เข้าร่วม กิจกรรมกลมุ่ น�ำ 4) เสน้ ชัย ผจู้ ดั จะตอ้ งมีความร้แู ละความเขา้ ใจเกย่ี วกบั เสน้ ชัย ดงั นี้ 4.1) เส้นชัยเป็นบริเวณที่มีความสำ�คัญเทียบเท่ากับจุดปล่อยตัว ซ่ึงจะต้องทำ�ทุกวิถีทาง เพื่อให้บริเวณทั้งสองน้ีปลอดจากบุคคลผู้ไม่มีส่วนเก่ียวข้อง และมีเพียงเจ้าหน้าที่ถือริบบิ้นเส้นชัยเท่านั้นท่ียืนอยู่ เมื่อนักวิ่งคนแรกว่ิงเข้ามา ส่วนบริเวณข้างเส้นชัยให้เป็นท่ีของเจ้าหน้าท่ีและผู้จับเวลา ควรออกแบบเส้นทางว่ิง ระยะ 200 เมตร กอ่ นถึงเส้นชยั เปน็ ทางตรงและราบ และตอ้ งมปี า้ ยบอกระยะ 400 เมตร และ 200 เมตร กอ่ นถงึ เสน้ ชยั มกี ารตดิ ตง้ั นาฬกิ าจบั เวลา นอกจากนั้น อาจกนั พ้นื ที่อย่างนอ้ ย 20 เมตรหลงั เสน้ ชัย เพ่อื เป็นพนื้ ทีห่ ลัง วิ่งสำ�หรับนักว่ิงช้ันนำ� และควรมีพื้นที่สงวนไว้สำ�หรับผู้สื่อข่าวโทรทัศน์ ช่างภาพ หน่วยแพทย์ หน่วยตรวจสาร กระตุน้ และอ่ืนๆ 4.2) เสน้ ชยั สว่ นใหญเ่ ปน็ แบบมซี มุ้ เหนอื ศรี ษะ เพอ่ื ตดิ ปา้ ยและนาฬกิ าสนาม ซง่ึ โครงสร้าง ของซุ้มจะต้องแข็งแรงและทนต่อแรงลม และต้องสามารถวางเครื่องส่งและรับสัญญาณของอุปกรณ์จับเวลาแบบ ไร้สายและอปุ กรณถ์ า่ ยรปู ขณะเขา้ เสน้ ชยั การจดั กจิ กรรมวง่ิ บางรายการอาจมกี ารจดั เสน้ ชยั หลายชอ่ งทาง จะตดิ ตง้ั   13  

ซมุ้ หลงั เสน้ ชยั ประมาณหน่ึงเมตร เพ่ือให้จุดที่เป็นเส้นชัยจริงๆ มีทัศนะวิสัยปลอดโปร่งสำ�หรับการถ่ายรูปนักกีฬา ขณะเข้าเส้นชัย 4.3) เสน้ ชยั ควรใชร้ ะบบจับเวลาส�ำ รองแบบบนั ทกึ วดิ ีโอ เพอื่ ใหส้ ามารถเรียงอนั ดบั การเข้า เส้นชัยไดแ้ มน่ ยำ� และสามารถตรวจสอบไดก้ รณีท่มี ีการประทว้ งผลตัดสิน ถา้ บันทกึ เวลาด้วย chip อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ตอ้ งมรี ะบบส�ำ รองเพอื่ เกบ็ ขอ้ มลู เวลาและขอ้ มลู ล�ำ ดบั การแขง่ ขนั ในกรณที รี่ ะบบหลกั ไมส่ ามารถใชง้ านได้ ผจู้ ดั ควรมี วิธีการเพ่ือยืนยันลำ�ดับการเข้าเส้นชัยแบบทันท่วงทีสำ�หรับนักว่ิงท่ีได้รับรางวัลจนถึงอันดับสำ�รอง โดยที่การ จับเวลาด้วยมอื และการจดั อนั ดบั ดว้ ยคณะกรรมการซึ่งมีความชำ�นาญ และมที มี ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ได้แก่ ผู้จบั เวลา และผบู้ นั ทกึ เวลา ผจู้ ดั อนั ดบั ผชู้ ข้ี าดอนั ดบั เปน็ ตน้ สว่ นอปุ กรณจ์ บั เวลาแบบไรส้ าย (Transponder) จะถกู ตดิ ตงั้ ให้ กบั นกั วงิ่ ทกุ คน เพอื่ ใหเ้ กดิ การบนั ทกึ สถติ เิ ขา้ ไปยงั คอมพวิ เตอร์ โดยอตั โนมตั เิ มอ่ื นกั วง่ิ แตล่ ะคนวง่ิ ขา้ มเสน้ ชยั วธิ นี เี้ ปน็ วิธีบันทึกเวลาการแข่งขันท่ีมีประสิทธิภาพสูงสุด ผลการแข่งขันสามารถแสดงผลได้ทันที แต่จะต้องหมายเหตุว่า “ผลการแข่งขันอย่างไม่เป็นทางการ” จนกว่าจะมีการตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ทง้ั น้ี งานวง่ิ ทใ่ี ชร้ ะบบจบั เวลาดว้ ย อปุ กรณไ์ รส้ ายและมจี ดุ ตรวจสอบเวลาทจ่ี ดุ ปลอ่ ยตวั ท�ำ ใหผ้ ู้เข้าร่วมกิจกรรมวง่ิ ไดร้ เู้ วลาเฉพาะบุคคล “net time” ของแตล่ ะคนได้ คา่ นีห้ มายถงึ ระยะเวลนับตัง้ แต่ผ้เู ข้าร่วมกจิ กรรมคนนั้นข้ามเส้นปลอ่ ยตัวจนถึงข้ามเสน้ ชัยซง่ึ คา่ น้ี แตกต่างจากเวลาสนาม “gun time” ซ่ึงจะเร่ิมจับเวลาต้ังแต่สิ้นเสียงปืนปล่อยตัวเวลาเฉพาะบุคคลน้ีให้ข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ส�ำ หรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีเข้าแข่งขันในงานว่ิงขนาดใหญ่ ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละคนอาจข้ามเส้น ปล่อยตัวด้วยเวลาท่ีต่างกันหลายนาที (ตามกติกาของ WORLD ATHLETICS เวลา อย่างเป็นทางการจะยึด ตามเวลาสนาม) แตใ่ นงานวง่ิ ขนาดใหญห่ ลายงานทไี่ มใ่ ชร่ ะดบั ชงิ ชนะเลศิ จะบอกเวลาเฉพาะบคุ คลดว้ ย และใชเ้ วลาน้ี เพอ่ื หาผู้ชนะในประเภทกลุ่มอายุ 5) จดุ บรกิ าร ผจู้ ดั ควรพจิ ารณาถงึ รายละเอยี ดในการก�ำ หนดจดุ บรกิ ารตา่ งๆ อาทิ จดุ อ�ำ นวยการและแจกอปุ กรณ์ ตา่ งๆ จุดบริการระหวา่ งเสน้ ทาง จุดประมวลผลการแข่งขัน จุดบริการอาหาร จดุ แจกรางวลั และจดุ บรกิ ารอนื่ ๆ ใหเ้ กิดความพรอ้ ม โดยจะพิจารณารายละเอียดของจุดบริการในหมวดต่อไป 14     

ทั้งน้ี การพิจารณาของผู้จัดควรจะต้องพิจารณาท้ังในภาพรวมและรายละเอียดของการวางแผน ด�ำ เนินการ การประเมินการใช้ทรพั ยากร การจัดสรรทรัพยากร การพิจารณางบประมาณ และการวางแผนเผชญิ เหตุในกรณีฉุกเฉินหรือในกรณีที่เกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากร โดยจะต้อง พิจารณาบนพื้นฐานของความปลอดภัย ความสะดวกในการให้บริการแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ความเหมาะสมของ พื้นที่ กฎกติกาการแข่งขันที่ได้รับการยอมรับโดยท่ัวไป และความสุขที่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมพึงได้รับซ่ึงจะนำ�มาสู่ ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมในรายการอื่นต่อไป โดยระบุให้ชัดเจนว่าได้มีการดำ�เนินการเรียบร้อยแล้วในทุกเรื่องที่ สำ�คัญ หรือหากไม่เรยี บรอ้ ยน้นั เกิดจากปญั หาอปุ สรรคใดและมีการแกไ้ ขในเบ้ืองตน้ อยา่ งไร ท้งั น้ี สามารถจัดท�ำ พร้อมแนบเอกสารและ/หรอื รายละเอยี ด รวมท้งั ภาพถ่ายในสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ งได้ ตามความเหมาะสม 3.4 การให้ขอ้ มูลบรเิ วณงาน ผ้จู ดั กจิ กรรมวิ่งบนถนน ควรใหข้ อ้ มลู บรเิ วณการจดั งาน ดังนี้ 1) ควรมีแผนผังและป้ายแสดงท่ีตั้งของจุดอำ�นวยความสะดวกของงานอย่างชัดเจนทุกด้านของ ทางเข้า เชน่ ทีจ่ อดรถ จุดประชาสมั พันธ์ จดุ รับฝากสัมภาระ จดุ พยาบาล ห้องสุขา/ห้องอาบน�ำ้ จุดปลอ่ ยตัว/ เสน้ ชยั จุดบรกิ ารอาหาร/เครอ่ื งดมื่ เปน็ ตน้ 2) ควรค�ำ นงึ ถึงจำ�นวนหอ้ งสุขาทสี่ มั พนั ธ์กบั ปริมาณผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม ควรมีผรู้ บั ผดิ ชอบดแู ลท�ำ ความสะอาดห้องสุขาอย่างต่อเนื่อง ห้องสุขาควรถูกสุขอนามัย กรณีการจัดกิจกรรมว่ิงท่ีมีระยะเกินคร่ึงมาราธอน ควรพจิ ารณาเพิม่ ห้องสุขาระหว่างเสน้ ทางว่ิงด้วย   15  

3) ควรมีป้ายแสดงเสน้ ทางไปยังจุดจอดรถก่อนถงึ บรเิ วณงานให้เพยี งพอทกุ จุด โดยคำ�นงึ วา่ ผู้เข้า ร่วมงานอาจเดินทางมาจากหลายเส้นทาง 4) ควรมีป้ายแสดงผังเส้นทางว่งิ เลขกิโลเมตร จุดบริการนำ�้ และจุดอำ�นวยความสะดวกต่างๆ ตลอดเสน้ ทาง หากเสน้ ทางว่ิงไมใ่ ช่ทางราบ ต้องมีกราฟแสดงระดบั ความสงู ของพนื้ ทดี่ ้วย 5) ควรมกี องอ�ำ นวยการ โตะ๊ หรอื เตน็ ทป์ ระชาสมั พนั ธอ์ ยบู่ รเิ วณศนู ยก์ ลางของงาน โดยมเี จา้ หนา้ ท่ี ประชาสมั พนั ธป์ ระจ�ำ อยตู่ ลอดเวลาการจัดงาน 6) ควรมพี ื้นท่ใี ห้นักวง่ิ กรอกข้อมูลตดิ ตอ่ ฉกุ เฉินและข้อมูลสขุ ภาพบนหมายเลขตดิ หน้าอก 3.5 องค์ประกอบของจดุ ปล่อยตวั และการปล่อยตวั ผจู้ ัดกจิ กรรมว่งิ บนถนน ควรพิจารณาใหม้ ีองค์ประกอบของจุดปล่อยตัวและการปลอ่ ยตัว ดังนี้ 1) มคี ณะทำ�งานดา้ นการปล่อยตวั มีหน้าที่ควบคุมการปลอ่ ยตวั 2) เส้นแสดงจดุ เริม่ วง่ิ จะต้องมแี นวเสน้ ปลอ่ ยตัว ความกว้างไม่เกิน 1 ฟตุ หรอื 30 เซนติเมตร และมีสีตัดกับพื้นถนนชัดเจน (อ้างตามกติกา WORLD ATHLETICS ข้อ 162) ซึ่งมีขนาดท่ีผู้เข้าร่วม กจิ กรรมและกรรมการทกุ คนมองเหน็ ได้ชัดเจน 3) ก�ำ หนดใหม้ พี น้ื ทน่ี กั วง่ิ ชน้ั น�ำ พน้ื ทส่ี �ำ หรบั ผแู้ ขง่ ขนั โดยเฉพาะ แบง่ แยกจากผตู้ ดิ ตาม ผชู้ มและ บคุ คลอน่ื ๆ ท่ีไม่เก่ียวข้อง โดยแบ่งกั้นก่อนผู้แข่งขันเข้าสู่บริเวณจุดปล่อยตัว พ้ืนที่สำ�หรับจุดปล่อยตัวคำ�นวณโดย ประมาณ ไม่ควรเกนิ 3 คนต่อตารางเมตร กั้นจดุ ปลอ่ ยตัวเปน็ ช่องโดยมคี วามยาวข้ึนกับปรมิ าณนักวง่ิ 4) ก่อนการปล่อยตัว 10-30 นาที เส้นทางว่ิงหน้าจุดปล่อยตัวต้องปลอดการกีดขวางจาก ผแู้ ขง่ ขนั ท่ีเดนิ สูจ่ ดุ ปล่อยตัวล่าช้า ชา่ งภาพ และผู้ทไ่ี ม่มสี ่วนเกยี่ วข้องท้งั หมด 5) การออกแบบจดุ ปลอ่ ยตวั ควรมลี ักษณะดังนี้ 5.1) มพี น้ื ท่สี �ำ หรบั นกั ว่ิงชั้นน�ำ โดยเฉพาะ โดยอยู่ลำ�ดับแรกจากเสน้ ปลอ่ ยตัว 5.2) หลงั จากพน้ื ทส่ี �ำ หรบั นกั วง่ิ ชน้ั น�ำ จะมพี น้ื ทซ่ี ง่ึ ปลอดจากผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมอยรู่ ะยะหนง่ึ 3-5 เมตร เพื่อกันมิให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มต่อไปมาผลักดันผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิ่งช้ันนำ�จนผู้เข้าร่วมกิจกรรมวิ่ง ชั้นน�ำ อาจล�ำ้ เส้นปล่อยตวั ได้ 5.3) หลงั จากน้นั จะแบ่งลำ�ดับกลุ่มนกั ว่งิ ออกเปน็ ช่วงๆ ตามความเร็วลดหลั่นจากเร็วไปชา้ กลุม่ นกั ว่ิงความเร็วสงู อยูด่ า้ นหน้า เพื่อป้องกนั ไม่ใหน้ ักวงิ่ ความเรว็ ต�ำ่ กดี ขวางทางว่ิงของนักว่งิ ท่มี คี วามเร็วสงู กวา่ 6) มีข้ันตอนการปล่อยตัวท่ีเห็นและได้ยินชัดเจนโดยต้องมีระดับเสียงท่ีดังกว่าระบบกระจายเสียง ประชาสมั พันธ์ เพอ่ื ใหก้ ารปลอ่ ยตัวราบรนื่ 7) ผตู้ ดั สิน ผู้ปล่อยตวั และผจู้ ับเวลา จะตอ้ งอยใู่ นต�ำ แหน่งที่เหน็ เส้นปลอ่ ยตวั ได้อย่างชัดเจน 16     

8) ผปู้ ระกาศควรบอกเวลาถอยหลงั กอ่ นถงึ การปลอ่ ยตวั ควรบอกทเ่ี วลา 5, 3 และ 1 นาทกี อ่ น การปลอ่ ยตวั 9) จัดตำ�แหน่งของรถนำ�ขบวนนักวิ่งใหอ้ อกตัวไดส้ ะดวกและไมเ่ ป็นอนั ตรายตอ่ นักวงิ่ กลุ่มน�ำ 3.6 ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมท่มี ีความพกิ ารหรือน่งั วีลแชร์ และประเภทอื่นๆ 1) งานวง่ิ หลายงานจดั ใหม้ กี จิ กรรมวงิ่ ส�ำ หรบั ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทม่ี คี วามพกิ ารหรอื นงั่ วลี แชรด์ ว้ ย จะต้องมกี ารเตรียมปลอ่ ยตัวผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมวิง่ ประเภทนี้แยกต่างหาก เพอื่ ใหแ้ นใ่ จวา่ ผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทกุ คนจะ ไดร้ บั ความปลอดภัย 2) ปล่อยตวั ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมวลี แชร์ก่อนผู้เข้ารว่ มกิจกรรมประเภทอ่นื 5 นาทขี ้นึ ไป 3) ผู้เข้าร่วมกิจกรรมประเภทอื่นมักต้องใช้เวลาในการวิ่ง และต้องการความช่วยเหลือมากกว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ัวไป ผู้จัดงานจึงมักให้สิทธ์ิในการปล่อยตัวก่อน และอนุญาตให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเหล่านี้พา ผู้ช่วยประจ�ำ ตวั วง่ิ ไปดว้ ยตลอดเสน้ ทาง 3.7 การจดั การและควบคมุ ดูแลเส้นทางการจดั กจิ กรรมวงิ่ บนถนน ผจู้ ัดกิจกรรมว่งิ บนถนน ควรจัดใหม้ ีการควบคุมดูแลเสน้ ทางวิ่งอย่างเหมาะสมและปลอดภัย ดังน้ี 1) มกี ารแตง่ ตง้ั หวั หนา้ มารแ์ ชล เพอ่ื ควบคมุ ดแู ลและสง่ั การกจิ กรรมตา่ งๆ ในเสน้ ทางวง่ิ 2) มีมาร์แชลเพียงพอท่วั พ้นื ท่กี ารจัดกิจกรรมว่งิ และต้องมีวุฒิภาวะเพียงพอในการควบคุมดูแล ผมู้ สี ว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรม ดแู ลตลอดเสน้ ทางวง่ิ โดยเฉพาะจดุ เสย่ี งตา่ งๆ เชน่ ทางรว่ มทางแยก จดุ ตดั ตา่ งๆ เปน็ ตน้ 3) มารแ์ ชลตอ้ งแตง่ กายหรอื ตดิ อปุ กรณท์ ท่ี �ำ ใหผ้ พู้ บเหน็ แยกแยะไดว้ า่ เปน็ มารแ์ ชล 4) มีวทิ ยสุ ื่อสารระหว่างหัวหนา้ มารแ์ ชล และมารแ์ ชล ทีร่ บั ผิดชอบดา้ นตา่ งๆ 5) ก่อนการปล่อยตัว มาร์แชลจะต้องได้รับการแจ้งบทบาท หน้าที่ ตำ�แหน่งที่ประจำ�การ และ ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิหากเกดิ เหตุการณ์ฉกุ เฉิน (แผนสำ�รองเพื่อรบั เหตฉุ ุกเฉนิ ) รวมทัง้ มรี ายชื่อ หมายเลขโทรศพั ท์ ฉุกเฉิน และขอ้ มลู ต่างๆ   17  

6) ในการจัดกจิ กรรมวิ่งจะมีรถนำ�ท�ำ หนา้ ท่นี ำ�นกั วง่ิ โดยขบั หรือขไ่ี ปตามเสน้ ทางวิ่ง นำ�หน้านกั วงิ่ คนแรกประมาณ 50-100 เมตร 7) เสน้ ทางวง่ิ ตอ้ งไมม่ สี ง่ิ กดี ขวางทที่ �ำ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมจ�ำ นวนมากตอ้ งเบย่ี งเสน้ ทางและแออดั หากไม่สามารถเคลื่อนย้ายสิ่งกีดขวางได้ จะต้องทำ�เคร่ืองหมายว่ามีส่ิงกีดขวางให้ชัดเจน และควรมีมาร์แชล ประจ�ำ จดุ นน้ั ดว้ ย 8) มารแ์ ชลจะอยปู่ ระจ�ำ ในต�ำ แหนง่ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจนกวา่ จะไดร้ บั แจง้ ยตุ ภิ ารกจิ 9) การจดั กจิ กรรมวงิ่ ทดี่ คี วรจะก�ำ หนดระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั กจิ กรรมดว้ ย ทงั้ ระยะเวลาทเ่ี สน้ ชยั และหรือระยะเวลาท่ีจุดใดจุดหน่ึงหรือหลายจุดระหว่างเส้นทาง เน่ืองจากอาจมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนหน่ึงอาจใช้ เวลามากเกินกวา่ ทีว่ างแผนไวส้ ำ�หรับการจัดการเสน้ ทาง ซ่งึ จดุ เหลา่ น้ีเรยี กว่าจดุ ตัดตวั หรือ cut off 10) เกบ็ ปา้ ยบอกเส้นทาง อปุ กรณ์ในการจัดกจิ กรรม และขยะต่างๆ ท่ีเกิดจากการจดั กิจกรรมว่งิ ออกจากพน้ื ท่ีจัดกิจกรรมทั้งหมดโดยเรว็ หลังจากจบการจดั กจิ กรรมวงิ่ 3.8 จุดบรกิ ารน้ำ�และเคร่ืองบริโภคเพอื่ ความสดชื่น ผ้จู ัดกจิ กรรมวิง่ บนถนน ตอ้ งจดั จดุ บรกิ ารน�ำ้ ให้มคี วามเพียงพอ ตอ่ เนอื่ ง และไมต่ ิดขัด ซงึ่ ต้องคำ�นงึ ถึง จำ�นวนของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมและสภาพอากาศ ดังนี้ 1) การจัดกจิ กรรมวิ่งบนถนน ต้องจดั ให้มนี �ำ้ ดม่ื และเครือ่ งบริโภคเพอ่ื ความสดชืน่ ท่ีเหมาะสมเมื่อ เขา้ เส้นชัยของทุกรายการจัดกิจกรรมวิง่ บนถนน 2) การจัดกิจกรรมวิ่งบนถนนทุกรายการ ต้องมีจุดบริการนำ�้ ด่ืมก่อนการปล่อยตัว ท่ีเส้นชัย และมีจุดบริการน�ำ้ ดื่มตลอดเส้นทางว่ิง ทุกระยะ 2-3 กิโลเมตร ในกรณีท่ีอากาศร้อน ต้องจัดจุดบริการน�ำ้ หรือ เครอื่ งบรโิ ภคเพอื่ ความสดชนื่ ทกุ 2 กโิ ลเมตร ส�ำ หรบั การวง่ิ ทมี่ รี ะยะทางมากกวา่ 10 กโิ ลเมตร ในจดุ บรกิ ารดงั กลา่ ว อาจจดั ให้มีเครือ่ งบรโิ ภคเพื่อใหค้ วามสดช่นื อ่ืนๆ นอกเหนือจากน�ำ้ ดม่ื ด้วยก็ได้ 3) เคร่ืองบริโภคเพื่อความสดช่ืน อาจเป็นเครื่องดื่มหรืออาหารเสริมให้พลังงาน เช่น เคร่ืองดื่ม เกลือแร่ หรือน�ำ้ หวาน หรืออาจมีผลไม้ทานงา่ ย เช่น แตงโม เป็นตน้ ผจู้ ดั กจิ กรรมวง่ิ ควรก�ำ หนดว่าสง่ิ ใดเหมาะสม โดยพจิ ารณาจากสถานการณแ์ วดลอ้ มประกอบการตดั สนิ ใจ ทง้ั นี้ กรณมี เี ครอ่ื งดมื่ หลายประเภท ควรวางไวแ้ ยกโตะ๊ มีปา้ ยบอกชัดเจน และจะตอ้ งมนี �ำ้ เปล่าไว้โตะ๊ สุดทา้ ยของจดุ บรกิ ารน�ำ้ 4) การจดั กจิ กรรมวง่ิ บนถนนทม่ี เี สน้ ทางแบบไป-กลบั อาจแยกจดุ ใหน้ �ำ้ เปน็ สองฝง่ั แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม สามารถตั้งจุดบริการตรงกลางถนนเพ่ือใช้แจกจ่ายนำ�้ หรือเครื่องบริโภคฯ ให้กับนักกีฬาท้ังขาไปและขากลับได้ ทง้ั น้ี จดุ บรกิ ารน�ำ้ และเครอ่ื งบรโิ ภคฯ ตอ้ งไมก่ ดี ขวางเสน้ ทางวง่ิ และไมต่ ง้ั จดุ บรกิ ารน�ำ้ ตรงกบั จดุ บนั ทกึ เวลาระหว่าง เสน้ ทาง (Check point) มปี า้ ยแจง้ เตอื นอยา่ งชดั เจนอยา่ งนอ้ ย 100 เมตรกอ่ นถงึ จดุ บรกิ ารน�ำ้ 18     

5) มรี ะบบการจดั เตรยี มและขนสง่ น�ำ้ ดม่ื และ/หรอื น�ำ้ แขง็ รวมถงึ อปุ กรณก์ ารบรกิ ารสอดคลอ้ งตาม หลกั สขุ อนามยั หากให้บริการน�ำ้ ดื่มเย็น ไม่ควรมีน�ำ้ แข็งในแก้ว เพราะก้อนน�ำ้ แข็งอาจทำ�ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมล่ืน และเปน็ อันตรายตอ่ การก้าววิง่ หรอื หากมจี ะต้องไมม่ ีน�ำ้ แขง็ มากเกนิ ไป 6) ผู้จัดกิจกรรมควรเตรียมภาชนะและปริมาณนำ�้ ให้เพียงพอสำ�หรับผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมว่งิ ทุกคน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมว่ิง 1 คน จะใช้นำ�้ มากกว่า 1 แก้ว โดยเฉล่ียควรเตรียมนำ�้ ด่ืมแต่ละจุดบริการ ไม่น้อยกว่า 250-330 มิลลิลิตรต่อคน และกรณีเส้นทางเป็นแบบไป-กลับ แต่ละจุดบริการควรเตรียมน�ำ้ ปริมาณสองเท่า ทง้ั น้ี ควรพจิ ารณาจากสภาพอากาศ โดยพน้ื ทท่ี ม่ี อี ณุ หภมู สิ งู ตอ้ งมกี ารเพม่ิ ปรมิ าณน�ำ้ ดม่ื ใหม้ ากกวา่ ปกติ โดยเฉพาะ ตอ้ งมกี ารจดั เตรยี ม ในกรณที ผ่ี เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมบางคนอาจใช้ราดตัวหรือลา้ งหน้าดว้ ย 7) ขนาดของจุดบริการนำ�้ และเครื่องบริโภคเพ่ือความสดชื่น ควรออกแบบให้สอดคล้องหรือ เหมาะสมกับจำ�นวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมและระยะทางระหว่างจุดบริการ โดยให้เข้าถึงง่าย ซ่ึงทำ�ได้ในลักษณะของ การจัดโต๊ะแจกจ่ายน�ำ้ และเคร่ืองบริโภคเพื่อความสดช่ืนให้กระจายตัวไปตามระยะทางท่ียาวขน้ึ ใหห้ ลกี เลย่ี งการตง้ั จดุ บรกิ ารไว้ ตรงทางเลย้ี ว โดยต�ำ แหนง่ ทเ่ี หมาะสมทส่ี ดุ คอื บนเสน้ ทางวง่ิ ซึง่ ถนนกอ่ นหนา้ และหลังจากต�ำ แหนง่ นัน้ เป็นทางตรงระยะทางมากกว่า 200 เมตร และบริเวณจุดบริการควรมถี งั ขยะ อปุ กรณท์ �ำ ความสะอาด และถงุ มอื ใหอ้ าสาสมคั ร เพอ่ื เกบ็ แกว้ น�ำ้ และขวดทถ่ี กู ทง้ิ ในชว่ งทจ่ี ำ�นวนของผู้เข้าร่วมกิจกรรมเบาบางลง การทำ�เช่นน้ีก็เพื่อ ลดอนั ตรายท่จี ะเกดิ ขนึ้ หากผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมเหยียบแก้วน�ำ้ หรอื ขวด 8) ผู้จัดกิจกรรมวิ่งบนถนนควรแสดงพื้นที่สำ�หรับแจกจ่ายเคร่ืองบริโภคเพ่ือความสดชื่นให้เห็น ชดั เจน ดว้ ยแผงกัน้ โต๊ะ หรือการทำ�เครอื่ งหมายบนพืน้ โดยวางเครือ่ งบรโิ ภคฯ ใหน้ กั วง่ิ เข้าถึงไดง้ า่ ย หรอื อาจให้ บุคคลผไู้ ด้รบั อนุญาตหยิบสง่ ให้นักว่ิงก็ได้ โดยบุคคลดงั กล่าวควรอยู่ในบรเิ วณท่จี ัดไวส้ ำ�หรับแจกจา่ ยเครื่องบริโภคฯ ตลอดเวลา ไม่ล้ำ�เข้าไปในเส้นทางวิ่งและไม่กีดขวางผู้เข้าร่วมกิจกรรม อีกทั้ง ไม่ควรมีเจ้าหน้าท่ีคนใดวิ่งเคียงข้าง นักกฬี าเพือ่ แจกจ่ายเคร่อื งบริโภคฯ หรอื น�ำ้ ดมื่ 9) ผู้จัดกิจกรรมจะเป็นผู้เตรียมเคร่ืองบริโภคเพ่ือความสดช่ืน ซ่ึงผู้จัดอาจอนุญาตให้ผู้เข้าร่วม กจิ กรรม นำ�เครื่องบรโิ ภคเพ่ือความสดชืน่ ของตนเองมาได้ ซงึ่ ถา้ เป็นเชน่ นี้ จะตอ้ งแจง้ นักกฬี าว่าจดุ บริการใดเปน็ จุดท่ีสามารถรบั เครอ่ื งบรโิ ภคฯ ทต่ี นเองเตรยี มไว้ เครอ่ื งบรโิ ภคฯ ควรถกู เกบ็ รกั ษาภายใตก้ ารควบคมุ ของเจา้ หนา้ ท่ี ผไู้ ดร้ บั มอบหมาย จากผูจ้ ัดกจิ กรรมว่งิ บนถนน 10) ในการแข่งขันทย่ี ดึ ถอื กตกิ าสากล WORLD ATHLETICS จะอนุญาตใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมถือน�ำ้ หรือเครื่องบริโภคเพ่ือความสดชื่น ด้วยมือหรือพกพาติดไว้กับร่างกายได้ ก็ต่อเม่ือได้พกส่ิงเหล่านี้ออกมา จากจดุ ปลอ่ ยตวั หรอื รบั มาจากจดุ บรกิ ารทจี่ ดั ไวข้ องการแขง่ ขนั เทา่ นน้ั (เวน้ แตจ่ ะรบั มาเนอื่ งจากเหตผุ ลดา้ นการแพทย์ จากเจ้าหน้าทีข่ องการแขง่ ขัน หรอื ภายใตค้ �ำ สั่งของเจ้าหน้าทจ่ี ดั กจิ กรรมว่งิ )   19  

11) นักกีฬาช้ันนำ�จะมีเคร่ืองดื่มส่วนตัววางบนโต๊ะ พร้อมให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละคนหยิบไปด่ืม ได้ทุกๆ 5 กิโลเมตร ตามเส้นทางวิ่ง ควรประกาศเร่ืองการจัดเตรียมเครื่องดื่มดังกล่าวในการประชุมทางเทคนิค ควรแจ้งให้นักว่ิงช้ันนำ�/ผู้ฝึกสอน/ผู้จัดการของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทราบว่า จะต้องนำ�เครื่องดื่มส่วนตัวของ นักวิ่งชน้ั น�ำ ไปมอบให้ผ้จู ัดกิจกรรมที่ใด เมื่อใด โดยจะต้องเตรียมเคร่อื งดมื่ ดงั กล่าวจุดบรกิ ารละหนึ่งขวด ผจู้ ัดอาจ เตรียมขวดไว้ให้ มิฉะนั้นก็ควรแนะนำ�ผู้เข้าร่วมกิจกรรมล่วงหน้าว่าพวกเขาต้องเตรียมขวดมาเอง ซ่ึงต้องไม่เป็น ขวดท่ีทำ�จากแก้วหรือโลหะ จะต้องมีช่ือของผู้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีเป็นเจ้าของเขียนไว้บนขวดอย่างชัดเจน รวมทั้ง หมายเลขผู้เข้าร่วมกิจกรรมและต้องระบุว่าจะให้วางขวดนไ้ี วท้ ก่ี ิโลเมตรท่เี ท่าใด โตะ๊ สำ�หรับวางขวดเหล่าน้คี วรถูก ท�ำ เครอ่ื งหมายอยา่ งชดั เจน แยกออกมาจากจดุ ใหน้ �ำ้ ปกติ ทง้ั นี้ควรจะตอ้ งมปี ้ายสัญลักษณ์แยกออกจากกนั ด้วย 12) เคร่ืองบริโภคท่ีนักวิ่งช้ันนำ�เตรียมมาเองควรถูกเก็บรักษาภายใต้การดูแลของเจ้าหน้าท่ีที่ได้รับ มอบหมายจากผู้จัดกิจกรรมว่ิง จึงควรทำ�ให้แน่ใจว่าเครื่องบริโภคฯ จะไม่ถูกเปลี่ยนแปลงหรือเจือปนในทุกกรณี เนือ่ งจากน�ำ้ ดืม่ และเครื่องบรโิ ภคฯ เปน็ สงิ่ สำ�คัญของการจดั กิจกรรมวิ่งระยะไกลทุกประเภท 13) ควรจดั เตรยี มถงั ขยะ/ภาชนะรองรบั ขยะหลังจดุ บรกิ ารน�ำ้ ให้เพยี งพอกับปรมิ าณแกว้ น�ำ้ ท้ังน้ี หากขาดจุดบริการนำ�้ หรือเคร่ืองบริโภคฯ หรือมีจุดบริการไม่เพียงพอ จะทำ�ให้เกิดปัญหา ทางการแพทยท์ ร่ี า้ ยแรงจนถงึ ขน้ั เสยี ชวี ติ ได้ ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งมกี ารวางแผนทล่ี งลกึ ถงึ รายละเอยี ด เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จวา่ จดุ บรกิ าร เครอ่ื งบรโิ ภคฯ ทุกจดุ มนี �ำ้ ด่ืมและเครอ่ื งบรโิ ภคฯ เพยี งพอ 3.9 ระบบการส่ือสารภายในสนามท่จี ดั กิจกรรมวิง่ ผู้จัดกิจกรรมว่ิงบนถนน ต้องจัดให้มีระบบการสื่อสารให้เพียงพอ ทั่วถึงและต่อเน่ืองระหว่างเจ้าหน้าท่ี ตา่ งๆ ในบริเวณเสน้ ทางวิ่งตลอดเวลาทีจ่ ดั กิจกรรมวิ่ง โดยอย่างน้อยมรี ะบบการสอ่ื สารดังต่อไปน้ี 1) มีบคุ ลากรท่ีมปี ระสบการณท์ ำ�หน้าทีเ่ ป็นผปู้ ระสานงานการส่ือสาร 2) มีศูนย์กลางการส่ือสาร ท่ีเป็นจุดรวมการส่ือสารทุกรูปแบบท่ีใช้งาน เช่น อาจใช้วิทยุสื่อสาร สองทางหลายชว่ งความถสี่ �ำ หรบั แตล่ ะภารกจิ โดยศนู ยก์ ลางการสอื่ สารจะสามารถตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั เจา้ หนา้ ทแี่ พทย์ และพยาบาลและเจ้าหน้าทต่ี �ำ รวจได้ 3) มรี ะบบกระจายเสียง เพือ่ ใหข้ อ้ มลู ตา่ งๆ และใช้ในการบรรยายการจดั กจิ กรรมวิ่ง 4) ควรจดั เตรยี มฐานขอ้ มลู รายชอื่ หมายเลขของผรู้ ว่ มกจิ กรรมวง่ิ ทงั้ หมด รายชอ่ื ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ทนี่ า่ ตดิ ตาม ขอ้ มลู จ�ำ นวนผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ขอ้ มลู ในการปลอ่ ยตวั และสถติ อิ น่ื ๆ ทนี่ า่ สนใจ เพอ่ื มอบใหก้ บั ผปู้ ระกาศ หรอื ผู้บรรยาย ท้ังน้ใี หพ้ ิจารณาตามความเหมาะสมของการจดั กิจกรรมวิ่ง 3.10 หน่วยแพทย์และพยาบาล และการเตรียมรับเหตฉุ กุ เฉิน ผู้จัดกิจกรรมวิ่งบนถนน ควรขอความร่วมมือจากหน่วยงานทางการแพทย์ เพื่อให้บริการและกำ�ลังคน ส�ำ หรบั จดุ บรกิ ารปฐมพยาบาลตลอดเสน้ ทางวง่ิ จดุ บรกิ ารปฐมพยาบาลหลกั ควรตง้ั อยใู่ นต�ำ แหนง่ ทมี่ คี วามเสย่ี งสงู 2 0   

ว่าอาจมผี บู้ าดเจ็บ หรอื ต�ำ แหนง่ ท่กี ารเขา้ ถึงเพอ่ื นำ�ผู้บาดเจบ็ ส่งโรงพยาบาลเปน็ ไปไดย้ าก จุดบรกิ ารปฐมพยาบาล หลักควรมีเคร่ืองมือและบุคลากรเทียบเท่ากับจุดให้บริการทางการแพทย์หลังเส้นชัย โดยปกติควรมีจุดบริการ ปฐมพยาบาลทกุ 5 กิโลเมตร และตงั้ อยู่ในระยะประมาณ 100 เมตรหลงั จากจดุ ให้น�ำ้ รวมทัง้ ควรจดั ใหม้ จี ดุ บรกิ าร ได้แก่ เต็นท์พยาบาลใกล้เส้นชัย จุดจอดรถพยาบาลและทีมงานท่จี อดได้สะดวก แพทย์ผ้รู ับผิดชอบ ทีมแพทย์ และผชู้ ว่ ยเวชกรรมทผี่ า่ นการฝกึ อบรมหลกั สตู รการชว่ ยชวี ติ ฉกุ เฉนิ (Sport Medicine) การสอ่ื สารระหวา่ งทมี แพทย์ น�ำ้ แขง็ น�ำ้ เย็นและ น�ำ้ รอ้ น ผ้าห่ม เตยี งผปู้ ่วย เวชภัณฑท์ ่ีจำ�เปน็ รถบรกิ ารการแพทย์ฉกุ เฉินหรอื รถพยาบาลฉกุ เฉนิ ประจ�ำ จดุ ในเสน้ ทาง เครอ่ื งกระตกุ หวั ใจ (AED)/อปุ กรณก์ ารแพทยฉ์ กุ เฉนิ อน่ื ๆ โรงพยาบาลใกลเ้ คยี ง และอนื่ ๆ รวมถงึ ควรก�ำ หนดให้มีการด�ำ เนนิ งานท่เี กีย่ วขอ้ ง ดงั นี้ 1) ตอ้ งมหี ัวหนา้ แพทย์สนามท�ำ หน้าทสี่ ่ังการบุคลากรทางการแพทยไ์ ด้ 2) มแี ผนปฏบิ ตั กิ ารทางการแพทยแ์ ละพยาบาล และเอกสารการประเมนิ ความเสยี่ งทางการแพทย์ และพยาบาล ทว่ี างแผนรว่ มกนั ระหวา่ งผอู้ �ำ นวยการการแขง่ ขนั และหวั หนา้ แพทยส์ นาม เพอ่ื ก�ำ หนดระดบั การบรกิ าร ทางการแพทย์ 3) มีหนว่ ยแพทยแ์ ละพยาบาล และหนว่ ยปฐมพยาบาล ตามจุดตา่ งๆ ทง้ั ในเส้นทางวง่ิ บริเวณ จดุ ปลอ่ ยตวั และบริเวณเสน้ ชัย ตามความเหมาะสมของพนื้ ท่ี 4) ผู้จัดกิจกรรมวิ่งควรหาความร่วมมือจากหน่วยงานทางการแพทย์ เพื่อให้บริการท่ีจุดบริการ พยาบาลตลอดเสน้ ทางวงิ่ 5) มที มี กชู้ พี ฉกุ เฉินท่สี ามารถช่วยฟ้นื คืนชพี (นวดหวั ใจและผายปอดก้ชู พี - Cardiopulmonary resuscitation: CPR) และมเี ครอ่ื งกระตกุ หวั ใจดว้ ยไฟฟา้ (AED/Defibrillator) ประจ�ำ ทมี ทม่ี พี าหนะเคลอ่ื นทเ่ี รว็ เชน่ จกั รยาน หรือจักรยานยนต์ เนื่องจากสามารถเข้าถึงเหตุฉุกเฉินในทุกตำ�แหน่งในสนามท่ีจัดกิจกรรมวิ่งได้ภายใน 4 นาที 6) มีรถพยาบาลทม่ี อี ปุ กรณท์ างการแพทยส์ �ำ หรบั ชุดปฏบิ ัตกิ ารแพทยช์ ัน้ สงู ประจ�ำ รถ เพื่อรบั ชว่ ง ดูแลผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน และส่งต่อสถานพยาบาล โดยให้มีจำ�นวนรถพยาบาลท่ีสัมพันธ์กับท้ังจำ�นวนผู้เข้าร่วม กจิ กรรมว่งิ และระยะทาง ดงั นี้ เงอื่ นไขดา้ นจ�ำ นวนผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมวิง่ ถา้ มผี เู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมไมเ่ กิน 2,000 คน ใหม้ รี ถพยาบาล 2 คนั (เพ่อื ใหม้ ีคนั หน่งึ ประจ�ำ ท่สี นาม ในกรณีท่ีอีกคันหน่ึงต้องขนย้ายผู้ป่วย) ท้ังน้ี ให้มีรถพยาบาลเพ่ิมหนึ่งคัน เม่ือมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้นทุก 2,000 คน   21  

เงือ่ นไขด้านระยะทางของการจัดกิจกรรม มรี ถพยาบาลจอดเตรยี มพรอ้ มปฏบิ ตั งิ านทสี่ ามารถเขา้ ถงึ เหตฉุ กุ เฉนิ ภายใน 4 นาที คดิ เปน็ ระยะหา่ ง ของการจอดรถพยาบาลทกุ 5 กโิ ลเมตร และหากมเี ศษทไ่ี มถ่ งึ 5 กโิ ลเมตร ตอ้ งเพม่ิ รถอกี 1 คนั ตวั อยา่ งเชน่ หากระยะทางการวิง่ เป็น 6 กิโลเมตร จะต้องมีรถพยาบาล 2 คัน เพือ่ จอดทห่ี ัวและทา้ ยสนามตำ�แหนง่ ละคัน ท้ังน้ี เม่ือพิจารณาทั้งสองเงื่อนไขประกอบกันแล้ว ให้ยึดจำ�นวนรถพยาบาลตามเง่ือนไขที่จะมี มากกว่าเปน็ หลกั 3.11 การกชู้ ีพในการจดั กจิ กรรมว่งิ และการชว่ ยชวี ิตฉุกเฉนิ 3.11.1 การจัดเตรียมการกู้ชีพและปฐมพยาบาลในเบ้ืองต้นสำ�หรับกรณีฉุกเฉินหรือวิกฤติตาม มาตรฐานของสถาบนั การแพทยฉ์ ุกเฉินแหง่ ชาติ (สพฉ.) และมาตรฐานทางการแพทยอ์ น่ื ที่เกีย่ วข้อง 3.11.2 การจดั ใหม้ เี ครอ่ื งกระตกุ หวั ใจไฟฟา้ แบบอตั โนมตั ิ (Automated External Defibrillator: AED) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ระบบปฏิบัติการแบบอิเล็กทรอนิกส์พกพาตามแนวทางและมาตรฐานของสถาบันการ แพทยฉ์ กุ เฉินแหง่ ชาติ (สพฉ.) ทั้งน้ี เคร่อื ง AED เป็นอปุ กรณ์ท่ปี ระชาชนทั่วไปสามารถใช้งานได้ หากไดร้ ับการ อบรม โดยหลังจากผู้ใช้งานกดปุ่มเปิดสวิทช์การทำ�งาน ระบบอิเล็กทรอนิกส์ในเคร่ืองจะออกคำ�ส่ังให้ปฏิบัติตาม อยา่ งง่ายดาย (บางยีห่ อ้ ออกค�ำ สงั่ เปน็ ภาษาไทย) โดยทวั่ ไปมีข้ันตอนดังน้ี 1. ผทู้ ่ีท�ำ การช่วยเหลอื จะต้องเปิดฝาเครื่อง AED และฉีกซองบรรจุอิเลก็ โทรด โดยแผ่นอเิ ล็กโทรด จะมีอยู่ 2 ชนิ้ 1.1 ชิ้นแรกจะตอ้ งน�ำ ไปตดิ บนทรวงอกตอนบนของผูป้ ว่ ย 1.2 แผ่นทส่ี องจะต้องติดบนผิวทรวงอกตอนล่างของผปู้ ่วย 2. จากนั้นเคร่ือง AED จะทำ�การวิเคราะห์จังหวะการเต้นของหัวใจ ซ่ึงขณะน้ีห้ามผู้ท่ีช่วยเหลือ สมั ผัสตวั ผู้ปว่ ยเดด็ ขาด 3. เมื่อเครื่องวินิจฉัยเสร็จแล้วจะข้ึนสัญญาณให้ทำ�การช็อคไฟฟ้า ให้ผู้ช่วยเหลือกดที่ปุ่มช็อคตาม สญั ญาณ ทป่ี รากฏอยบู่ นตวั เครอ่ื ง สลบั กบั การนวดหวั ใจผายปอดกชู้ พี อยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนกวา่ เจา้ หนา้ ทก่ี ชู้ พี จะมาถงึ 4. การชว่ ยเหลอื ควรท�ำ ภายใน 3-5 นาที จะชว่ ยเพมิ่ โอกาสการรอดชวี ติ ของผปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ไดม้ ากขน้ึ 2 2   

4. 4.1 เจ้าหน้าที่ส�ำ หรับการจดั กิจกรรมวิ่งบนถนน ประกอบด้วย การจดั กจิ กรรมว่งิ 1) ผู้ตดั สิน 2) ผูช้ ขี้ าดอันดับ (อยทู่ เ่ี สน้ ชัย) บนถนน 3) ผู้ชขี้ าดด้านการตดั สินดว้ ยภาพ (Photo-Finish Judge) 4) ผชู้ ้ีขาดสำ�หรับอุปกรณ์จับเวลาแบบไร้สาย (Transponder Judge) 5) ผชู้ ้ขี าดประจ�ำ หอ้ งเรยี ก (Call Room Judges) สำ�หรับนักวิ่งชัน้ น�ำ 6) ผู้จับเวลาและผู้บันทึกเวลาด้วยมือ (อยู่ท่ีเส้นชัยและจุดตรวจสอบอุปกรณ์จับเวลาระหว่าง เสน้ ทาง) 7) กรรมการปล่อยตวั 8) เจ้าหน้าท่ปี ระจ�ำ จุดบริการน�ำ้ (ต้องมเี พียงพอกับจ�ำ นวนจุดบริการน�ำ้ ) 9) ผู้วดั ระยะทาง (รับผิดชอบการวดั ระยะทางและการออกใบรับรองเส้นทางวง่ิ ) 10) มารแ์ ชล 11) ผพู้ จิ ารณาค�ำ ร้อง (กรณที ี่เป็นการแขง่ ขนั ระดับชงิ ชนะเลิศเท่าน้นั ) การจัดกิจกรรมว่ิงบนถนนจะต้องมีเจ้าหน้าที่ที่ผ่านการอบรมและมีจำ�นวนท่ีเพียงพอ เพ่ือให้ แนใ่ จวา่ การจดั กจิ กรรมวง่ิ จะเปน็ ไปอยา่ งถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ บางรายการจะมอบหมายงานใหอ้ าสาสมคั รท�ำ หนา้ ทแ่ี ทน เจ้าหน้าท่ีจัดกิจกรรมวิ่งบนถนน การทำ�เช่นนี้จะถือว่าการจัดกิจกรรมครั้งน้ันไม่สามารถบริหารจัดการให้เป็นไป ตามกฎ การแข่งขันได้ และผลการแข่งขันครงั้ นน้ั อาจไม่ถูกยอมรับอยา่ งเปน็ ทางการ 4.2 การจัดเตรยี มรถน�ำ /รถปดิ ทา้ ย ผู้จัดกิจกรรมวงิ่ บนถนนจะต้องดำ�เนินการ ดงั น้ี 1) รถน�ำ ตอ้ งท�ำ หนา้ ทนี่ �ำ ทางนกั วงิ่ คนแรกตลอดเสน้ ทางวง่ิ ดว้ ยการขบั ไปบนเสน้ ทางวงิ่ และน�ำ หนา้ นักวิ่งคนแรกประมาณ 50-100 เมตร การจัดกิจกรรมวิ่งขนาดเล็ก อาจใช้จักรยานยนต์หรือจักรยานเป็นรถนำ� ผู้ขับข่ีต้องสวมใส่เสื้อผ้าที่มองเห็นได้เด่นชัด และต้องขี่โดยเจ้าหน้าที่จัดกิจกรรมว่ิงซึ่งจะต้องคุ้นเคยกับเสน้ ทางวง่ิ กรณีใช้รถจักรยาน ผ้ขู ่ตี ้องมีความสามารถท่จี ะข่ใี ห้เร็วและนานพอท่จี ะนำ�นักว่งิ คนแรกได้ตลอดเส้นทาง ส่วนการ จัดกิจกรรมวิ่งขนาดใหญ่จะใช้รถยนต์หรือรถยนต์ไฟฟ้าเป็นรถนำ� และมีมาร์แชล นั่งบนรถนำ�ด้วย มีการติดตั้ง นาฬิกาดิจิตอลไว้บนหลังคารถโดยให้นาฬิกาหันมาทางนักวิ่ง บางรายการอาจมีรถเบิกทาง (Pilot Vehicle) ซ่ึงจะขับล่วงหน้ากลุ่มนักว่ิงด้วยระยะไกลมาก เพ่ือตรวจสอบว่าเส้นทางได้ถูกจัดการอย่างเหมาะสมเรียบร้อยแล้ว   23  

นอกจากนน้ั ทางผจู้ ดั กจิ กรรมควรมแี ผนสำ�รองกรณเี กดิ เหตุไม่คาดคดิ กับรถนำ� เช่น เคร่ืองยนต์ขัดขอ้ ง การจราจร คับค่ัง 2) การจัดกิจกรรมวิ่งบนถนนท่ีแยกปล่อยตัวกลุ่มนักวิ่งช้ันนำ�หญิงและชายต่างเวลากัน ก็ควร จัดรถนำ�นักวิ่งแยกเป็นสองชุดด้วย (ยกเว้นรถเบิกทาง) ถ้ากลุ่มนักวิ่งช้ันนำ�หญิงถูกกำ�หนดให้ปล่อยตัวพร้อม นักวง่ิ มวลชนท้ังหมด รถนำ�กลุ่มทแี่ ยกมากย็ ังคงต้องท�ำ หนา้ ทนี่ ำ�นักวง่ิ ช้นั นำ�หญงิ คนแรก ซึง่ คนขบั จะตอ้ งใช้ความ ระมัดระวัง เป็นอย่างสูง เพราะอาจมีนักว่ิงชายในกลุ่มมวลชนวิ่งด้วยความเร็วใกล้เคียงกับนักวิ่งหญิงคนแรก ในกรณนี กี้ ารใช้รถจกั รยานยนตห์ รือรถยนต์จะเหมาะสมกว่ารถยนตข์ นาดใหญ่ 3) รถปดิ ทา้ ย ตอ้ งมีมาร์แชล ปดิ ท้ายขบวน (Sweep Marshal) ควบคมุ เพ่ือคอยใหส้ ญั ญาณ ยกเลิกการใช้เสน้ ทางวง่ิ และยตุ ิการประจำ�ตำ�แหนง่ ของบุคลากรต่างๆ ในเสน้ ทางวง่ิ 3.1) กรณีการจดั กิจกรรมวิง่ ขนาดเลก็ รถปิดทา้ ยจะท�ำ หนา้ ทเี่ ก็บนกั วิ่งทไี่ ม่สามารถวิง่ จนจบ การจัดกจิ กรรมได้ แต่ในกรณกี ารจดั กจิ กรรมวงิ่ ขนาดใหญ่จะไมส่ ามารถท�ำ เช่นน้ไี ด้ โดยในทางปฏบิ ัติ ส่งิ ทีท่ ำ�ไดท้ ง้ั กรณีสนามเล็กและสนามใหญ่ คือ แจ้งล่วงหน้าให้นักวิ่งทราบว่าจะเปิดการจราจรเมื่อใดและถ้ายังว่ิงอยู่ จะถือว่า นักว่ิงเป็นผู้ใช้ทางเท้าคนหนึ่งซ่ึงต้องว่ิงบนทางเท้าและต้องข้ามถนนตามสัญญาณไฟจราจร และในรถปิดท้ายจะ ต้องมีทีมปฐมพยาบาล ซ่ึงจะทำ�หน้าที่ประเมินอาการเจ็บป่วยของนักวิ่ง เช่น ผู้เข้าร่วมกิจกรรมว่ิงท่ีเหน่ือยล้า เกินไป นกั ว่งิ ท่ีมีอาการขาดน�ำ้ เกลอื แร่ อยา่ งรุนแรง เป็นตน้ และมีเวชภณั ฑท์ างการแพทย์ส�ำ หรับภาวะฉกุ เฉนิ ทเ่ี หมาะสม 3.2) กรณีท่ีการจัดกิจกรรมวิ่งท่ีมีจุดปล่อยตัวกับเส้นชัยอยู่คนละท่ีกัน อาจมีรถชนิดอ่ืนๆ ที่ ทำ�หน้าที่ขนสัมภาระของนักวิ่งจากจุดปล่อยตัวไปยังเส้นชัย โดยรถเหล่าน้ีไม่ได้เป็นส่วนหน่ึงของขบวนรถนำ�นักว่ิง แตอ่ าจวิง่ ไปตามเส้นทาง โดยวิ่งนำ�หนา้ รถเบิกทาง (ซ่งึ ตอ้ งขบั ออกไปก่อนปล่อยตวั ไมน่ อ้ ยกว่า 15 นาท)ี หรือ อาจใชเ้ ส้นทางอน่ื กไ็ ด้ 4.3 นกั ว่งิ กำ�กบั เวลา/นักวิ่งก�ำ กบั ความเร็ว (Pacer/Pace Maker) กลมุ่ บคุ คลทีร่ ่วมว่งิ ในกิจกรรมวิ่งด้วยความเรว็ ทต่ี กลงกนั ไว้ กรณีนกั วงิ่ Pacer ส�ำ หรบั นักว่งิ มวลชนมกั จะมีสัญลักษณ์ที่ระบุระยะเวลาท่ีใช้วิ่งจนถึงเส้นชัย เพื่อช่วยให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมว่ิงสามารถใช้เป็นที่สังเกตหรือ เทียบระยะเวลาบนเส้นทางได้ ซึ่งในการแข่งขันจะมี Pacer ได้หลายกลุ่ม โดยให้พิจารณาตามป้ายสัญลักษณ์ เพ่อื เลอื กระยะเวลาได้ในรายการแข่งขันท่มี ีป้ายรับรอง กำ�หนดใหม้ ี Pacer ระยะละไมเ่ กนิ 3 คน โดยมสี ัญลกั ษณ์ ตามท่ีกติการะบุ อยา่ งไรกต็ าม ผ้จู ัดสามารถพจิ ารณาใหม้ ีได้ตามความเหมาะสม 2 4   

4.4 เส้นชยั ผูจ้ ัดกิจกรรมวง่ิ บนถนน จะต้องมคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกับเส้นชยั ดงั นี้ 1) เสน้ ชัยเป็นบริเวณทมี่ ีความส�ำ คญั เทียบเทา่ กับจุดปลอ่ ยตวั ซง่ึ จะตอ้ งท�ำ ให้บรเิ วณน้ปี ลอดจาก บคุ คล ผไู้ มม่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง และมเี พยี งเจา้ หนา้ ทถี่ อื รบิ บนิ้ เสน้ ชยั เทา่ นนั้ ทย่ี นื อยเู่ มอ่ื นกั วง่ิ คนแรกวง่ิ เขา้ มา สว่ นบรเิ วณ ขา้ งเสน้ ชยั ใหเ้ ปน็ ทข่ี องเจา้ หนา้ ทแ่ี ละผจู้ บั เวลา ควรออกแบบเสน้ ทางวงิ่ ระยะ 200 เมตรกอ่ นถงึ เสน้ ชยั เปน็ ทางตรง และราบ และต้องมีป้ายบอกระยะ 400 เมตร และ 200 เมตร ก่อนถึงเส้นชัย มีการติดต้ังนาฬิกาจับเวลา นอกจากนนั้ ในการจดั กจิ กรรมวง่ิ ขนาดใหญ่ อาจกนั พนื้ ทอ่ี ยา่ งนอ้ ย 20 เมตรหลงั เสน้ ชยั เพอื่ เปน็ พน้ื ทห่ี ลงั วง่ิ ส�ำ หรบั นกั วง่ิ ชน้ั น�ำ และควรมพี น้ื ทส่ี งวนไวส้ �ำ หรบั ผสู้ อื่ ขา่ วโทรทศั น์ ชา่ งภาพ หนว่ ยแพทย์ หนว่ ยตรวจสารกระตนุ้ และอน่ื ๆ 2) การออกแบบเสน้ ชยั ทส่ี ว่ นใหญใ่ ชซ้ มุ้ แบบเหนอื ศรี ษะ เพอ่ื ตดิ ปา้ ยและนาฬกิ าสนาม โครงสรา้ ง ของซุ้มจะต้องแข็งแรงและทนต่อแรงลม และสามารถติดต้ังเครื่องส่งและรับสัญญาณของอุปกรณ์จับเวลาแบบ ไร้สายและอุปกรณ์ถ่ายรูปขณะเข้าเส้นชัย ในกรณีที่มีการจัดกิจกรรมวิ่งหลายระยะทาง ควรจัดช่องว่ิงเข้าเส้นชัย แยกตามระยะทางให้ชัดเจน เพือ่ ความสะดวกในการตดั สิน 3) เส้นชยั ควรใชร้ ะบบจบั เวลาส�ำ รองแบบบนั ทึกวิดโี อ เพอื่ ใหส้ ามารถเรียงอนั ดับการเขา้ เสน้ ชยั ได้แม่นยำ� และสามารถตรวจสอบได้กรณีท่ีมีการประท้วงผลตัดสิน ถ้าบันทึกเวลาด้วยชิปอิเล็กทรอนิกส์ ต้องมี ระบบส�ำ รอง เพอ่ื เกบ็ ขอ้ มลู เวลาและขอ้ มลู ล�ำ ดบั การแขง่ ขนั ในกรณที ร่ี ะบบหลกั ไมส่ ามารถใชง้ านได้ ผจู้ ดั กจิ กรรมว่ิง ควรมวี ธิ กี าร เพือ่ ยืนยันลำ�ดบั การเข้าเสน้ ชัยแบบทันท่วงทีสำ�หรบั นกั ว่งิ ท่ีไดร้ ับรางวลั จนถงึ อันดบั ส�ำ รอง การจบั เวลาดว้ ยมอื และการจดั อนั ดบั ดว้ ยคณะกรรมการซง่ึ มคี วามช�ำ นาญ และมที มี ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ไดแ้ ก่ ผจู้ บั เวลาและผบู้ นั ทกึ เวลา ผจู้ ดั อนั ดบั ผชู้ ข้ี าดอนั ดบั เปน็ ตน้ สว่ นอปุ กรณจ์ บั เวลาแบบไรส้ าย (Transponder) โดยอปุ กรณน์ ี้จะถกู ติดตั้งให้กับนักวิง่ ทกุ คน เพอ่ื ใหเ้ กดิ การบนั ทกึ สถติ ิเขา้ ไปยงั คอมพวิ เตอรโ์ ดยอตั โนมตั ิ เม่อื นักวงิ่ แต่ละคนว่ิงข้ามเสน้ ชัย วธิ ีน้เี ปน็ วธิ ีบนั ทกึ เวลาการแขง่ ขนั ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสดุ ผลการแข่งขันสามารถแสดงผลได้ ทันที แตจ่ ะต้องหมายเหตวุ ่า “ผลการแขง่ ขันอย่างไมเ่ ปน็ ทางการ” จนกว่าจะมีการตรวจสอบความถูกต้อง 4) งานวิ่งท่ีใช้ระบบจับเวลาด้วยอุปกรณ์ไร้สายและมีจุดตรวจสอบเวลา เพื่อท�ำ ให้นักว่ิงได้รู้เวลา เฉพาะบคุ คล “net time” ของแตล่ ะคนได้ คา่ นหี้ มายถงึ ระยะเวลานับตงั้ แต่นกั วิ่งคนน้ันขา้ มเสน้ ปลอ่ ยตวั จนถึง ขา้ มเสน้ ชัย ซ่งึ คา่ นี้แตกต่างจากเวลาสนาม “gun time” ซ่งึ จะเร่มิ จบั เวลาตัง้ แตส่ ิ้นเสียงปนื ปลอ่ ยตัว เวลาเฉพาะ บคุ คลนใ้ี หข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนส์ �ำ หรบั ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมวง่ิ ทเ่ี ขา้ รว่ มงานวงิ่ ขนาดใหญ่ ซง่ึ ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมแตล่ ะคน อาจขา้ มเสน้ ปล่อยตัวดว้ ยเวลาทต่ี ่างกนั หลายนาที (ตามกตกิ าของ WORLD ATHLETICS เวลาอยา่ งเป็นทางการ จะยึดตามเวลาสนาม) แต่ในงานว่ิงขนาดใหญ่หลายงานท่ีไม่ใช่ระดับชิงชนะเลิศ จะบอกเวลาเฉพาะบุคคลด้วย และใช้เวลาน้เี พื่อหาผูช้ นะในประเภทกลมุ่ อายุ   25  

4.5 การบริการหลังเส้นชัย ผู้จัดกิจกรรมว่ิงบนถนน จะต้องมีการให้บริการหลังเส้นชัยเม่ือการจัดกิจกรรมได้เสร็จส้นิ ลง เน่อื งจาก นกั ว่งิ ยังคงตอ้ งการบริการที่จ�ำ เปน็ อาทิ เคร่ืองดื่ม อาหาร ดงั นัน้ ผจู้ ดั กิจกรรมควรเตรียมการบรกิ ารหลงั เสน้ ชยั ให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมหลังเข้าเส้นชัย โดยเฉพาะพื้นที่บริการหลังเข้าเส้นชัยควรเป็นถนนหรือสนามที่ตรงและ กวา้ ง ในการจดั กิจกรรมที่มีผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมหลายพันคน น�ำ้ และบริการอ่นื ๆ ทจี่ ำ�เปน็ ควรตงั้ ไวใ้ นตำ�แหน่งที่หา่ ง ออกมาจาก เสน้ ชัยอยา่ งน้อย 50 เมตร ซงึ่ ลำ�ดบั การใหบ้ รกิ ารที่แนะนำ� มดี ังน้ี 1) น�ำ้ ดืม่ (สำ�หรบั ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมว่ิงแนวหน้าหรอื ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมทีต่ ้องการน�ำ้ เร่งดว่ น) 2) เหรียญทรี่ ะลึก 3) เครอ่ื งบริโภคเพอื่ ความสดชื่น 4) เสือ้ ผพู้ ชิ ติ หรอื finisher T-shirt (ถา้ มี) 5) บรกิ ารถา่ ยรปู นกั ว่ิงคู่กับเหรยี ญ (ถ้ามี) 6) จุดตรวจสอบเวลาดว้ ยอุปกรณจ์ บั เวลาแบบไรส้ าย (ถ้ามี) 7) จุดบรกิ ารอาหาร 8) บริการรบั ฝากสมั ภาระ 9) จดุ นัดพบ 4.6 การดำ�เนินงานหลังการจดั กิจกรรมว่ิงบนถนน ผจู้ ัดกจิ กรรม/แขง่ ขันวงิ่ บนถนน ต้องดำ�เนนิ การ ดงั น้ี 1) ประกาศและจดั แสดงผลการแขง่ ขนั เบอ้ื งตน้ เพอ่ื การรบั รางวลั ภายในเวลาทส่ี มเหตผุ ลในวนั แขง่ ขนั และประกาศผลการแขง่ ขนั ทง้ั หมดลงสอ่ื สาธารณะในวนั จดั กจิ กรรมวง่ิ ทง้ั นก้ี ารประกาศผลการแขง่ ขนั อยา่ งเปน็ ทางการ ในรายการท่มี ีปา้ ยรบั รองใหป้ ระกาศผลโดยเรว็ ท่สี ุด 2) การจดั เกบ็ สถานทใ่ี หเ้ รยี บรอ้ ยและการคนื พน้ื ผวิ จราจร การเกบ็ ขยะ โดยด�ำ เนนิ การตามแผนงาน และการจัดเตรยี มทมี ไวล้ ว่ งหนา้ 3) บนั ทกึ เรอ่ื งราวการจดั กจิ กรรมวง่ิ สรปุ ถอดบทเรยี นการจดั กจิ กรรมวง่ิ และการประชมุ ประเมนิ ผล เพื่อรายงานผลต่อหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง พร้อมทง้ั เผยแพรต่ อ่ สื่อสาธารณะตามความเหมาะสม 4) แสดงความขอบคณุ ผสู้ นบั สนนุ การจดั กจิ กรรมวง่ิ อาสาสมคั ร หนว่ ยงานตา่ งๆ และเจา้ ของพน้ื ที่ 4.7 กรณผี เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมวง่ิ เปน็ ผพู้ กิ าร จะตอ้ งเตรยี มสง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกใหค้ นพกิ ารไดร้ ว่ มดว้ ย ระบรุ ายละเอยี ดของการจดั กจิ กรรมวงิ่ ในกรณที ผี่ เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมเปน็ ผพู้ กิ าร ซง่ึ โดยหลกั การแลว้ ในการจดั กจิ กรรมวง่ิ ทมี่ ผี เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมเปน็ ผพู้ กิ าร/วลี แชร์ และผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมวง่ิ ทเ่ี ปน็ คนพกิ ารประเภทอน่ื ๆ ควรจะตอ้ งมี การเตรยี มการและวางแผนการด�ำ เนินการอย่างนอ้ ย ดังนี้ 2 6   

1) ต้องมีการเตรียมปล่อยตัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นผู้พิการ/วีลแชร์แยกต่างหาก เพ่ือให้แน่ใจว่า ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมและ/หรือผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมทกุ คนจะไดร้ บั ความปลอดภยั 2) การปล่อยตัวผู้เข้าร่วมกิจกรรมวีลแชร์ก่อนผู้เข้าร่วมกิจกรรมและ/หรือผู้เข้าร่วมกิจกรรมอ่ืน อย่างน้อยเป็นเวลา 5 นาทขี น้ึ ไป 3) ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ ปน็ ผพู้ กิ ารประเภทอนื่ มกั ตอ้ งใชเ้ วลาในการวงิ่ และตอ้ งการความชว่ ยเหลอื มากกว่าผู้แข่งขันท่ัวไป ผู้จัดกิจรรมจึงมักให้สิทธิ์ในการปล่อยตัวก่อน และอนุญาตให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเหล่านี้พา ผู้ชว่ ยประจ�ำ ตัววงิ่ ไปด้วยตลอดเส้นทาง 4) เตรียมส่ิงอำ�นวยความสะดวกให้คนพิการ อาทิ ทางลาดข้ึนสู่พิธีการ (ในกรณีรับรางวัล) หอ้ งสุขาส�ำ หรบั คนพกิ าร และอ่ืนๆ ตามความเหมาะสม จึงควรระบุให้ชัดเจนว่าได้มีการดำ�เนินการเรียบร้อยแล้วในทุกเร่ืองที่สำ�คัญ หรือหากไม่เรียบร้อย น้ันเกิดจากปัญหาอุปสรรคใดและมีการแก้ไขในเบ้ืองต้นอย่างไร ทั้งนี้ สามารถแนบเอกสารและ/หรือรายละเอียด ได้ตามความเหมาะสม   27  

ประกาศกระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า เร่ือง “แนวทางปฏิบัตกิ ารจัดกจิ กรรมว่งิ บนถนน 2 8   

มาตรการจดั การแข่งขัน ภายใตก้ ารระบาดโควดิ - 19   29  

แนวคดิ มาตรการในการควบคุมโรคที่สำ�คัญ และมีผลกระทบโดยตรงต่อการจัดกิจกรรม การแขง่ ขนั วง่ิ ไดแ้ ก่ ความจ�ำ เปน็ ทต่ี อ้ งลดความแออดั และการท�ำ ใหเ้ กดิ ระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) ดงั นนั้ หากจ�ำ เปน็ ตอ้ งจดั การแขง่ ขนั ภายใตก้ ารแพรร่ ะบาด COVID-19 จึงตอ้ งปรบั กจิ กรรมการจดั การแขง่ ขันให้สอดคล้องกบั มาตรการ  ธรรมชาติของกิจกรรมมวลชน (Mass participation) มักจะเป็นการ รวมตวั ของผคู้ น ดงั นน้ั แนวคดิ หลกั ในการบรหิ ารการจดั แขง่ ขนั ภายใตก้ ารแพรร่ ะบาดจงึ จ�ำ ตอ้ งเริ่มตน้ ท่กี าร “กระจายความแออดั ของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม” เปน็ ส�ำ คัญ  แน่นอนท่ีสุดว่าจำ�นวนผู้ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมภายใต้การแพร่ระบาด อาจไม่ สามารถทำ�ให้มีปริมาณมากเหมอื นกับท่เี คยดำ�เนินการในช่วงปกติ แต่หากมีการบรหิ ารจัด การได้ดีพอกจ็ ะช่วยใหก้ ารด�ำ เนินกจิ กรรมสามารถดำ�เนนิ การไปได้  ตอ้ งจดั การเรอ่ื ง “การลดความแออดั ” ในขน้ั ตอนตา่ งๆ ของการด�ำ เนนิ กจิ กรรม ท่ีสำ�คัญ ได้แก่ การรับอุปกรณ์แข่งขัน งาน EXPO จุดเร่ิมต้นและเส้นชัย จุดรับน้ำ�ดื่ม จดุ รบั เหรยี ญและเส้อื ที่ระลึก จุดรับอาหาร ฯลฯ  ตอ้ งวางแผนงานตง้ั แตต่ อนเรมิ่ กจิ กรรม โดยเนน้ การมกี จิ กรรมรวมตวั ใหน้ อ้ ย ทสี่ ดุ เนน้ การใชร้ ะบบออนไลนท์ ดแทน และวางแผนการกระจายผคู้ นใหเ้ ฉลย่ี ไปในชว่ งเวลา ตา่ งๆ ใหเ้ หมาะสม เชน่ การกระจายเวลาการรบั อปุ กรณก์ ารแขง่ ขนั การกระจายเวลาปลอ่ ยตวั ฯลฯ 3 0   

ลักษณะของ ผเู้ ขา้ รว่ ม กิจกรรม จากสถติ กิ ารเขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ทงั้ จากภายใน และภายนอกประเทศ พบวา่ นกั วง่ิ สว่ นใหญม่ อี ายปุ ระมาณ 35-40 ปี โดยผหู้ ญงิ สว่ นใหญอ่ ายปุ ระมาณ 35 ปี สว่ นผชู้ ายอายปุ ระมาณ 40 ปี และมีแนวโนม้ ว่าผู้หญงิ ก�ำ ลงั จะมาก กว่าผู้ชาย ศักยภาพทางเศรษฐกิจคอ่ นข้างดี ใช้การเข้าร่วมกิจกรรมแขง่ ขันวง่ิ พรอ้ มๆ ไปกบั การทอ่ งเทย่ี ว (Sports Tourism) โดยสว่ นใหญจ่ ะพกั คา้ งแรม 1-2 คืน และมกี ารจบั จ่ายใชส้ อยเฉลย่ี ไม่น้อยกว่า 1,000 บาทต่อคน ดังน้ันด้วยวัยวุฒิ และสถานะจึงเชื่อได้ว่านักวิ่งส่วนใหญ่จะเป็น กลุ่มคนท่ีมีศักยภาพ มีพ้ืนฐานความเป็นนักกีฬา คุ้นเคยกับการอยู่ใน กฏระเบียบการแข่งขัน และมีความรับผิดชอบต่อกฎระเบียบของสังคม นั่นเป็นเหตุผลส่วนหน่ึงว่า ทำ�ไมรายการแข่งขันท่ีมีผู้เข้าร่วมหลายหม่ืนคน จึงดำ�เนินการไปไดโ้ ดยปราศจากความวุ่นวาย ลักษณะร่วมที่สำ�คัญของคนกลุ่มน้ีอีกสิ่งหนึ่งก็คือ การเป็นกลุ่มคน ที่ระมัดระวังรักษาสุขภาพเป็นหลัก ทั้งเรื่องการใช้ชีวิต การนอน การกิน การดื่ม ดังนั้นข้อปฏิบตั ิใดๆ ท่เี กย่ี วกบั สขุ ภาพคนกลุ่มนจี้ ะเปน็ กลุ่มคนแรกๆ ที่จะยึดถอื ปฏบิ ัตอิ ย่างเคร่งคดั ทา่ มกลางการแพรร่ ะบาด การจดั แขง่ ขนั ทจ่ี ะประกาศด�ำ เนนิ การ ตอ้ ง แสดงใหค้ นกลุ่มนเี้ หน็ ไดถ้ งึ ความปลอดภัยในการเขา้ ร่วมกิจกรรม คมุ้ ค่ากับ การจ่ายท่ามกลางสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันที่การตัดสินใจซ้ือต้องมีเหตุผล เพียงพอ มิฉะน้ันแล้วรายการนั้นๆ จะไม่ได้รับการยอมรับ และไม่ประสบ ความสำ�เร็จได้ในที่สดุ   31  

มาตรการควบคมุ ของ ศบค. (ฉบบั ท่ี 4) มาตรการเสรมิ มมี าตรการคดั กรองไข้กอ่ นเข้า มาตรการควบคุมหลัก สถานที่ ทำ�ความสะอาดพืน้ ทัง้ ก่อน-หลงั บริการ และกำ�จัดขยะมูลฝอย จดั ใหม้ ีการระบายอากาศ ทกุ วัน ภายในอาคาร สวมหนา้ กากอนามยั หรือ หนา้ กากผา้ จดั ให้มีระบบคิว และมีพืน้ ที่รอคิว ห่างกันอยา่ งนอ้ ย 1 เมตร ให้มีจุดบริการล้างมอื อาจให้ผู้ใช้บรกิ ารผใู้ ห้บรกิ ารสวม ใหเ้ วน้ ระยะหา่ งอย่างนอ้ ย Face Shield ขณะใช้บรกิ าร 1 เมตร จัดใหม้ ีระบบเกบ็ ข้อมลู ให้ควบคมุ จ�ำ นวนผู้ใช้บริการ และติดตามผู้ใชบ้ รกิ าร มใิ ห้แออัด ใหพ้ ัฒนานวัตกรรมลงทะเบยี น/ จำ�กดั เวลาอยูใ่ นพน้ื ทีไ่ ม่เกนิ จองควิ รปู แบบใหม่ระยะยาว 2 ชั่วโมงตอ่ คน แนะน�ำ ตรวจตรา ควบคมุ กำ�กับมาตรการ ลงทะเบียนยนื ยันปฏิบัติตาม มาตรการป้องกันโรค ลงทะเบียนเข้า – ออกดว้ ย App “ไทยชนะ” 3 2   

  33  

แนวทางการจัดแข่งขันน้ี ได้นำ�ข้อปฏิบัติตามมาตรการควบคุมหลักและมาตรการเสริม ของศูนย์บริหาร สถานการณ์ COVID-19 (ศบค.) มาปรับใช้ โดยมีหัวขอ้ ส�ำ คญั ที่ควรดำ�เนินการเพื่อให้เหมาะสมกบั สถานการณ์แพร่ ระบาด บางรายการจ�ำ เปน็ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม ในขณะทบ่ี างรายการเปน็ เพยี งขอ้ เสนอแนะ โดยทง้ั น้ี มแี นวทางด�ำ เนนิ การ ดังน้ี 1. ตอ้ งลดจ�ำ นวนผู้เขา้ รว่ ม ลดท้ังจ�ำ นวนของกรรมการและนักกีฬา ใหจ้ �ำ นวนสอดคล้องกบั พ้ืนทีจ่ ัดการ แขง่ ขนั โดยก�ำ หนดใหม้ รี ะยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล ยนื -นง่ั ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 เมตร และตอ้ งมพี นื้ ทใี่ นบรเิ วณทม่ี กี ารรวมตวั กนั เป็นสัดสว่ น 1 คนต่อ 5 ตารางเมตร ต้องลดจ�ำ นวนผู้เขา้ ร่วม ลดทั้งจำ�นวนของกรรมการและนักกีฬา ใหจ้ �ำ นวน สอดคลอ้ งกบั พน้ื ทจี่ ดั การแขง่ ขนั โดยก�ำ หนดใหม้ รี ะยะหา่ งระหวา่ งบคุ คล ยนื -นง่ั ไมน่ อ้ ยกวา่ 1 เมตร และตอ้ งมพี นื้ ท่ี ในบริเวณทมี่ ีการรวมตัวกนั เป็นสัดส่วน 1 คนต่อ 5 ตารางเมตร และตอ้ งลงทะเบียนการจัดแข่งขันใน แพลตฟอร์ม “สปริ ิต” ของกระทรวงการท่องเท่ยี วและกฬี า รวมถึงการลงทะเบยี นในแอปพลเิ คชัน “ไทยชนะ” 1 m. 5 Sq.m. 5 Sq.m. 2. ควรเปดิ ใหน้ กั กฬี ามสี ทิ ธย์ิ กเลกิ การแขง่ ขนั ในกรณที พี่ บวา่ มอี าการปว่ ย หรอื อยใู่ นภาวะทมี่ คี วามเสยี่ ง จากการติดเชื้อ โดยอาจกำ�หนดให้มีขั้นตอนการคืนเงิน หรือการโอนสิทธ์ิให้ผู้อ่ืนได้ ขบวนการน้ีจะช่วยให้สร้าง ความม่นั ใจของผ้สู มคั รเขา้ ร่วมการแข่งขนั 3. หากเปน็ ไปไดค้ วรจดั ให้มีการทำ�ประกัน COVID-19 ให้กรรมการ อาสาสมคั ร และนักกฬี าท่ีเข้าร่วม การแขง่ ขัน นอกเหนือไปจากการท�ำ ประกนั อุบตั ิเหตุทดี่ ำ�เนนิ การอยแู่ ล้ว 4. ควรมกี ารรบั รองตวั เอง โดยไมไ่ ปในพน้ื ทเี่ สยี่ งการระบาดกอ่ นการแขง่ ขนั 14 วนั ทง้ั นอี้ าจใชแ้ อปพลเิ คชนั “หมอชนะ” เชค็ อนิ เพอ่ื แสดงประวตั เิ ส้นทางการเดินทาง 3 4   

5. ยกเลิกเข้ารว่ มแข่งขนั กรณีที่คาดวา่ ตนมีความเส่ยี ง หรือควรมีใบรับรองแพทย์ โดยควรจะด�ำ เนนิ การ ตรวจร่างกายหาไวรัส COVID-19 และส่งผลการตรวจก่อนการแข่งขัน ในกรณีที่มีผู้สมัครจากต่างประเทศ การ ดำ�เนินการใหเ้ ป็นไปตามประกาศของทางราชการในช่วงเวลานน้ั ๆ 6. ควรลดกจิ กรรมรวมตวั กอ่ น หรอื หลงั การแขง่ ขนั กจิ กรรมใดๆ ทเ่ี คยใหฝ้ งู ชนมารวมตวั ควรมใี หน้ อ้ ยลง และกระจายการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ใชร้ ะบบออนไลน์ทดแทน 7. ต้องเชค็ อิน-เช็คเอาท์ “ไทยชนะ” การแขง่ ขนั ของผู้เข้ารว่ มกิจกรรม 8. ตอ้ งมสี ถานคี ดั กรองเพอื่ วดั อณุ หภมู ริ า่ งกายของผเู้ ขา้ มาในบรเิ วณการแขง่ ขนั และควรมจี ดุ บรกิ ารเจล หรือแอลกอฮอลล์ า้ งมือไว้บรกิ าร 9. ต้องยืน - นั่งห่างกันไม่น้อยกว่า 1 เมตรในทุกกิจกรรม เช่น การยืนรอคิวเข้าห้องนำ้� ปล่อยตัว รบั เหรยี ญ ฯลฯ รวมถงึ ระยะหา่ งกันของกรรมการขณะปฏิบัติงาน 10. ต้องก�ำ หนดให้หน้ากากอนามยั หรอื หน้ากากผ้าเปน็ อปุ กรณ์บังคบั ทงั้ นักกีฬาและกรรมการ o ส�ำ หรบั อาสาสมคั ร และกรรมการ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมอี ปุ กรณบ์ งั คบั เปน็ หนา้ กากอนามยั หรอื หนา้ กากผา้ และสำ�หรับอาสาสมัครจุดบรกิ ารอาจตอ้ งสวมถงุ มือ o ส�ำ หรบั นกั กฬี า ให้หนา้ กากอนามยั หรอื หนา้ กากผ้าป็นอุปกรณบ์ งั คับ โดยขณะท�ำ การวงิ่ ไมต่ ้องใส่ หน้ากาก แต่เป็นข้อบงั คับใหใ้ ชใ้ นช่วงก่อน และหลังการแข่งขนั เชน่ ในจดุ บรกิ ารอาหาร และเคร่อื งดืม่ หรอื ตลอด ระยะเวลาท่ีอยู่ในสถานทีท่ ี่ปดิ เช่น ในเตน็ ท์พยาบาล รถขนสง่ 11. ควรปรบั การปลอ่ ยตวั ใหเ้ ปน็ กลมุ่ ยอ่ ย โดยเนน้ ไมใ่ หน้ กั กฬี ามาคอยการปลอ่ ยตวั หนา้ จดุ เรม่ิ ตน้ ดงั เชน่ ในอดตี แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามพงึ ระลกึ วา่ การปลอ่ ยตวั ลกั ษณะนอ้ี าจใชเ้ วลาถงึ 1 ชว่ั โมงจากเดมิ ทอ่ี าจใชเ้ วลาเพยี ง 5-10 นาที ซงึ่ จะกระทบตอ่ เวลาในการดำ�เนนิ การแข่งขนั ทง้ั ระบบ 12. ควรระวังความแออัดท่สี ถานีบรกิ าร โดยอาจสามารถบริหารจัดการได้ดงั นี้ 1. เน้นให้นักกีฬาพกเคร่ืองด่ืมมาเอง เช่นกรณีการว่ิงแข่งขันเทรล ในลักษณะน้ีจะสามารถลดสถานี บริการใหน้ ้อยลงได้ แตต่ ้องมที รพั ยากรเพียงพอ และกระจายจุดบรกิ ารให้สอดคล้องกับจำ�นวนนักว่ิง 2. คงจ�ำ นวนความถี่ของสถานีบริการไว้ แต่ต้องเพ่มิ ระยะห่างของการบรกิ ารให้มากขน้ึ กวา่ เดิม โดย จดั บรกิ ารไว้บนโตะ๊ ทีเ่ ว้นระยะหา่ งมากกว่า 2-3 เทา่ ของระยะปกติ โดยอาจจะใหน้ กั วิ่งเลือกฝงั่ การรับบรกิ ารตัง้ แต่ เริ่มลงทะเบยี น เพอื่ กระจายความแออดั 3. อาจใชเ้ จลใหพ้ ลงั งานแทนอาหาร กรณจี �ำ เปน็ ตอั งบรกิ ารอาหารควรเปน็ ประเภทปรงุ สกุ ดว้ ยความ ร้อน เชน่ น้ำ�ซุป ผลไม้ควรมีเปลอื ก เช่น กล้วย อาหารต่างๆ ควรเป็นแบบมบี รรจุภัณฑ์มิดชดิ เชน่ ขนมปงั   35  

13. แนวปฏบิ ตั เิ หลา่ นเี้ ปน็ เรอ่ื งใหม่ ดงั นนั้ ควรมกี ารก�ำ หนดระเบยี บ และกฎกตกิ าการแขง่ ขนั ตอ้ งประกาศ ให้ทราบอย่างชัดเจน 14. จุดเรมิ่ ต้นมีความกวา้ งสอดคลอ้ งกบั จ�ำ นวนคน เส้นทางการแข่งขันควรเป็นทางตรงไม่น้อยกวา่ 400 เมตรจากจดุ สตาร์ท หลีกเลย่ี งทางโคง้ เพื่อลดการไปแออดั กันของนกั วงิ่ ทโ่ี ค้งด้านใน และกิโลเมตรแรกๆ ถนนควร มคี วามกวา้ งพอทีจ่ ะให้นกั วิ่งในกลุม่ นน้ั ๆ มรี ะยะห่างซึง่ กนั และกนั ท่ปี ลอดภยั 15. ต้องทำ�ความสะอาดสถานที่ก่อน ระหว่าง และหลงั การแข่งขนั รวมถึงกำ�จดั ขยะมูลฝอย 16. ควรมที ะเบยี นรายช่อื ท้งั นกั กีฬาและกรรมการ รวมถึงกระบวนการติดตามผลผูเ้ ขา้ ร่วมการแขง่ ขนั ท้งั กรรมการ และนักกีฬา ภายหลังการแข่งขันและอาจกำ�หนดให้เป็นการตอบแบบสอบถามกลับมาภายใน 7 วัน เพื่อเป็นการติดตามอาการป่วย (ท่ีอาจมี) ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ท้ังนี้อาจใช้โอกาสนี้ประเมินผลกิจกรรมไปด้วย พร้อมกนั 3 6   

จัดการแข่งขันวิ่งอย่างปลอดภัย ไร้โควดิ - 19   37  

นยิ าม : ผจู้ ดั การแขง่ ขนั ไดแ้ ก่ องคก์ รผจู้ ดั การแขง่ ขนั ทเี่ ปน็ ทั้งบุคคล หรือนิติบุคคล ท้ังน้ีรวมถึงผู้ควบคุมการแข่งขัน เจา้ หนา้ ท่ี กรรมการเทคนคิ กลมุ่ อาสาสมคั ร ผคู้ วบคมุ เสน้ ทาง บคุ ลากรทางการแพทย์ เจา้ หนา้ ทร่ี กั ษาความสะอาด พธิ กี ร เจา้ หน้าท่ีรักษาความปลอดภยั ผู้ออกรา้ นคา้ ในงาน EXPO ฯลฯ โดยผใู้ ห้บริการต้องด�ำ เนินการดังต่อไปน้ี 1. การเตรียมสถานที่การแข่งขนั 1.1 ต้องทำ�การลงทะเบียนผู้จัด และลงทะเบียนการจัดการแข่งขันท่ีแพลตฟอร์ม Sport Spirit ของกระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา 1.2 ลงทะเบยี นกิจกรรมใน “ไทยชนะ” เพอ่ื รองรับการ Check In – Out ของผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม 1.3 ท�ำ การขออนุญาตหนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ เพ่อื ขออนญุ าตในการจัดการแขง่ ขนั เพ่ือพิจารณาโครงการและ ตดิ ตามผลการจัดกิจกรรม 1.4 จ�ำ นวนผเู้ ขา้ รว่ มทง้ั นกั กฬี าและกรรมการ ควรเหมาะสมกบั พนื้ ทจี่ ดั การแขง่ ขนั บรเิ วณทมี่ กี ารเคลอ่ื นตวั ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ ต้องค�ำ นวณการใชพ้ นื้ ทีอ่ ย่างนอ้ ย 1 คน ตอ่ 5 ตารางเมตร 1.5 ลดกิจกรรมรวมคนท้งั ก่อน ระหวา่ ง และหลังการแขง่ ขัน 1.6 การลงทะเบียนรับสมคั รควรผ่านระบบออนไลน์ ไม่ควรรบั สมคั รในวนั แขง่ ขัน 1.7 ขนั้ ตอนการรับสมัคร ควรมแี นวทางบริหารจดั การในการกระจายความแออัดของกจิ กรรมต่างๆ เช่น การรบั หมายเลขแขง่ ขนั การปลอ่ ยตวั ทงั้ นอ้ี าจใชก้ ารก�ำ หนดเวลาทจ่ี ะมารว่ มกจิ กรรมโดยกระจายความแออดั ออกไป เชน่ การแบง่ เวลารับอุปกรณแ์ ข่งขนั การแบ่งเวลาปล่อยตวั เปน็ ตน้ 1.8 อปุ กรณก์ ารแขง่ ขนั อาจสามารถปรบั เปลยี่ นสง่ ทางไปรษณยี ์ เพอื่ ลดการสมั ผสั และการแออดั ของคน 1.9 จดั ท�ำ ปา้ ยภายในงานเพอ่ื ใหค้ �ำ แนะน�ำ รวมถงึ มสี ญั ลกั ษณเ์ ตอื นเพอ่ื ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มแขง่ ขนั ท�ำ การแขง่ ขนั ไดอ้ ยา่ งปลอดภัยสอดคลอ้ งกับมาตรการปอ้ งกนั โรค 3 8   

1.10 ควรเลอื กจดุ เรม่ิ ตน้ และจดุ สน้ิ สดุ การแขง่ ขนั ใหเ้ ปน็ สถานทป่ี ดิ หลกี เลย่ี งพน้ื ทช่ี มุ ชนทม่ี คี นพลกุ พลา่ น 1.11 จุดเริ่มตน้ และเส้นชัยอาจทำ�การแยกกัน เพื่อจะไดไ้ มเ่ กิดความหนาแน่น และการชนกนั ของนักว่ิงที่ เข้าเส้นชัยกับนกั วง่ิ ทกี่ �ำ ลงั ท�ำ การปลอ่ ยตัว โดยก�ำ หนดทศิ ทางของผู้เขา้ เสน้ ชยั ควรนำ�ไปสจู่ ุดจอดรถ และออกจาก งานได้ทันที 1.12 สถานทีก่ ารจัดการแข่งขันควรเปน็ พ้ืนทโ่ี ล่ง อากาศถา่ ยเทสะดวก 1.13 การเดนิ ทางมาบรเิ วณพนื้ ทจี่ ดั งานควรเขา้ ถงึ ไดส้ ะดวก เพอื่ ลดเวลาเขา้ – ออกจากพน้ื ที่ และรวมถงึ การกระจายคนออกจากพื้นท่เี มื่อจบการแข่งขนั เปน็ ไปได้อย่างรวดเรว็ 1.14 ทศิ ทางการเคลอื่ นทภี่ ายในสถานทจี่ ดั งานควรเปน็ ทศิ ทางเดยี วกนั เพอื่ ไมใ่ หเ้ กดิ การกดี ขวางเสน้ ทาง สัญจร 1.15 เส้นทางเดนิ ภายในงานควรมีความกว้างเพยี งพอกบั ปริมาณของผ้เู ขา้ ร่วมการแข่งขนั 1.16 การวางเต็นท์ขายสินค้าในบริเวณงาน EXPO ต้องไม่มีกิจกรรมส่งเสริมการขายที่เชิญชวนลูกค้ามา รวมตัวกัน 1.17 ภายในเตน็ ทข์ ายสนิ คา้ ควรมเี จลลา้ งมอื แอลกอฮอล์ หรอื น�้ำ ยาฆา่ เชอ้ื ไวใ้ หผ้ เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมท�ำ ความ สะอาดมอื กอ่ น เขา้ –ออกจากเต็นท์ 1.18 ตอ้ งก�ำ หนดจ�ำ นวนคนทส่ี ามารถเขา้ ไปในงาน Expo และรบั อปุ กรณก์ ารแขง่ ขนั อยา่ งชดั เจน โดยค�ำ นวณ พน้ื ทใ่ี นสดั ส่วน 1 คนตอ่ 4 ตารางเมตร 1.19 ควรจดั เตรยี มทีเ่ ฉพาะส�ำ หรบั แยกบคุ คลที่ป่วย หรอื สงสัยวา่ จะป่วย 1.20 กาํ หนดแผนการท�ำ งาน วธิ กี ารเคลอ่ื นยา้ ย สถานพยาบาลทร่ี องรบั กรณพี บผปู้ ว่ ย หรอื ผมู้ อี าการเสยี่ ง   39  

1.21 จัดให้มีจุดคัดกรองหน้าทางเข้างานท่ีชัดเจน และมีพนักงานรับผิดชอบทำ�หน้าที่คัดกรองผู้เข้าร่วม แขง่ ขนั ตลอดเวลา 1.22 จดั ใหม้ จี ดุ บรกิ ารแอลกอฮอล์ หรือน้ำ�ยาทำ�ความสะอาด ส�ำ หรับฉดี ท�ำ ความสะอาดมอื และอุปกรณ์ กระจายอยูท่ ัว่ งาน 1.23 ควรมกี ารแจก หรอื จ�ำ หนา่ ยหนา้ กากอนามยั หรอื หนา้ ผา้ ส�ำ รองส�ำ หรบั ผจู้ ดั เจา้ หนา้ ที่ และผเู้ ขา้ รว่ ม แขง่ ขันท่ไี มไ่ ด้สวมมาในงาน 1.24 กำ�หนด และจัดพ้ืนท่ีเว้นระยะห่างกันของผู้ใช้บริการ 1-2 เมตร ที่ชัดเจนท้ังจุด Check in และจดุ ปลอ่ ยตัว รวมถงึ บรเิ วณทมี่ กี ารต่อคิว เชน่ ตอ่ แถวกนั เขา้ ห้องน�ำ้ ต่อควิ เพือ่ ตรวจคัดกรอง 1.25 สอื่ สารเกย่ี วกบั ขอ้ มลู และสาธติ การปฏบิ ตั แิ ก่ เจา้ หนา้ ที่ หรอื อาสาสมคั ร โดยประชาสมั พนั ธก์ ระบวน การการป้องกนั ตนเองท่เี หมาะสม 2. การเตรียมความพร้อมในการจดั แข่งขนั 2.1 มาตรการคัดกรองอาการปว่ ย 2.1.1 ประชาสมั พันธ์ใหม้ รี บั รองตนเอง โดยไมไ่ ปในพื้นท่เี ส่ียงการระบาดกอ่ นการแขง่ ขัน 14 วัน อาจใชแ้ อปพลเิ คชัน “หมอชนะ” แสดงประวตั ิเสน้ ทางการเดนิ ทาง 2.1.2 มจี ดุ คดั กรองวดั อณุ หภมู แิ ละอาการไอ จาม มนี �้ำ มกู เจบ็ คอ หนา้ ทางเขา้ งานทช่ี ดั เจน และมี พนักงานรับผดิ ชอบทำ�หนา้ ท่ีคัดกรองผู้เขา้ รว่ มแขง่ ขันตลอดเวลา 2.1.3 กรณพี บผทู้ มี่ อี ณุ หภมู สิ งู กวา่ 37.5 องศาเซลเซยี ส ปว่ ย หรอื สงสยั วา่ จะปว่ ย ควรแยกออกมา ในสถานที่จดั เตรยี มไว้ 2.1.4 ก�ำ หนดพนื้ ทบ่ี รกิ ารทางการแพทย์ กบั พนื้ ทสี่ �ำ หรบั บคุ คลทตี่ รวจพบความเสยี่ ง แยกไวช้ ดั เจน พรอ้ มแผนการลำ�เลยี ง รายช่อื โรงพยาบาลทรี่ องรับกรณีท่ตี รวจพบ 2.1.5 จดั ใหท้ ำ�สญั ลกั ษณส์ �ำ หรับผทู้ ผี่ ่านการตรวจคดั กรองแล้ว 2.1.6 เขม้ งวดเรื่องการใส่หน้ากากอนามัยหรือหนา้ กากผา้ ของผู้เข้าร่วมงานทุกคน 2.2 มาตรการในการปอ้ งกันโรค 2.2.1 ประชาสมั พนั ธ์ให้ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมรักษาระยะหา่ ง 1-2 เมตร 2.2.2 ควรสวมหนา้ กากอนามยั หรอื หนา้ กากผา้ และถงุ มอื ตลอดการแขง่ ขนั (ถงุ มอื ส�ำ หรบั เจา้ หนา้ ท่ี หนว่ ยบริการ) 4 0   

1 m. 5 Sq.m. 5 Sq.m. 2.2.3 ควรล้างมือด้วยสบู่ และน้ำ�สะอาด หรือแอลกอฮอล์บ่อยๆ โดยหลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัส ใบหนา้ ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ �ำ เปน็ 2.2.4 ควรลดการพูดคยุ ระยะใกลช้ ิด 2.2.5 เพ่ือลดความแออัดของนักวิ่งที่เข้าสู่จุดบริการ อาจกำ�หนดการแยกรับการบริการ เช่น แยกจดุ บรกิ ารออกเปน็ ซา้ ย-ขวา โดยนกั วงิ่ ควรทราบวา่ ตนรบั น�ำ้ จากฝง่ั ใด และเพม่ิ ความหา่ งของโตะ๊ บรกิ ารใหม้ าก เพอื่ กระจายนักว่ิงที่มารับบรกิ าร   41  

2.2.6 การปลอ่ ยตวั การแขง่ ขนั เนน้ ไมใ่ ห้เกดิ ความแออัดบรเิ วณจดุ ปลอ่ ยตวั ตัวอยา่ งของรูปแบบ ในการปล่อยตวั ทชี่ ่วยกระจายความแออดั ดงั น้ี - แบบปล่อยตัวเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละประมาณ 10-25 คน มีกำ�หนดการท่ีแน่นอน และเริ่มต้นพร้อมกัน ซึ่งการปล่อยตัวแบบน้ีจะสามารถปล่อยตัวนักกีฬาได้ประมาณ 1,000 คน ต่อช่วั โมง - แบบปล่อยตัวแบบเปน็ ชว่ งเวลา โดยก�ำ หนดชว่ งเวลาปลอ่ ยตัวไวช้ ัดเจน เช่น ปล่อยตัว เวลา 06:00 – 06:05 น. นกั กีฬาในกลุม่ นี้จะมาในช่วงเวลาไหนกไ็ ด้ ซงึ่ การปลอ่ ยตัว แบบนี้จะสามารถปล่อยตัวนกั กีฬาไดป้ ระมาณ 3,000 คน ตอ่ ช่วั โมง - แบบปลอ่ ยตวั แบบตอ่ เนอ่ื งทลี ะ 1-2 คน เวลาหา่ งกนั 2 วินาที โดยก�ำ หนดไว้ และเมอ่ื ไดเ้ วลาแขง่ ขันกท็ ยอยปล่อยนกั กีฬาออกไปคร้งั ละ 1-2 คนพรอ้ มๆ กับเรียกนกั กฬี ามา เช็คอนิ เพม่ิ ซง่ึ การปลอ่ ยตัวแบบน้จี ะสามารถปล่อยตัวนกั กีฬาไดป้ ระมาณ 3,000 คน ต่อช่วั โมง - แบบปลอ่ ยตัวเป็นสาย โดยกำ�หนดกล่มุ ปลอ่ ยตวั เป็นสาย เชน่ สาย A สาย B สาย C สาย D วางสลบั กนั เปน็ รปู ฟนั ปลา และเมอื่ ไดเ้ วลาแขง่ ขนั กจ็ ะปลอ่ ยตวั กจ็ ะทยอยปลอ่ ย นกั กฬี าออกไปครงั้ ละ 1-4 คน พรอ้ มๆ กบั เรยี กนกั กฬี ามาเชค็ อนิ เพม่ิ ซง่ึ การปลอ่ ยตวั 4 2   

แบบนจี้ ะสามารถปล่อยตวั นักกฬี าไดม้ ากกวา่ 5,000 คน ตอ่ ช่ัวโมง แตพ่ น้ื ท่ีในการ ปลอ่ ยตวั ควรมีความกวา้ งเพยี งพอ (2 เมตร ต่อ 1 สาย) ตารางประเมินการปล่อยตัวของการปล่อยตวั แตล่ ะรปู แบบ รูปแบบ จ�ำ นวนคน/ การเช็คอนิ นักว่งิ กลมุ่ ขอ้ ดี-ขอ้ เสยี การปล่อยตวั ชว่ั โมง รอปลอ่ ยตวั เป้าหมาย แบบท่ี 1 ปล่อยตัว ประมาณ เป็นกลุ่มย่อย √ เหมาะสมกบั นกั วง่ิ ทม่ี ี ข้อดี : มีการก�ำ หนดเวลา 1,000 คน ความคนุ้ เคยซอ้ มรว่ มกนั เชน่ ปลอ่ ยตวั ทแ่ี นน่ อนของนักวิ่ง แบบที่ 2 ปลอ่ ยตวั ครอบครัว ชมรม แต่ละกลมุ่ แบบใชช้ ว่ งเวลา ประมาณ ข้อเสยี : ปริมาณนักวงิ่ ในชว่ ง 3,000 คน หนึ่งๆ บนเสน้ ทาง และชว่ ง เวลาการเขา้ จุดบรกิ าร จะมี ความหนาแนน่ มากกวา่ รปู แบบอ่ืน X เหมาะสมกับนักว่ิงที่มาจาก ข้อดี : ไมม่ ีการรวมกล่มุ ต่างถนิ่ กัน ไมค่ นุ้ เคยกัน กนั ก่อนปลอ่ ยตัว และคอ่ นขา้ งเป็นอสิ ระ แบบที่ 3 ปล่อยตัว ประมาณ √ เหมาะสมกบั รายการท่มี ี ข้อดี : สามารถควบคุม แบบตอ่ เนือ่ ง 3,000 คน นักวงิ่ จำ�นวนปานกลาง ระยะหา่ งของนักวิง่ ไดด้ ี ทีละ 1-2 คน คอ่ นข้างมาก ทัง้ บนเส้นทางแขง่ ขัน และช่วงเวลาเขา้ สู่ จดุ บริการ แบบที่ 4 ปลอ่ ยตัว มากกวา่ √ เหมาะสมกบั รายการทมี่ ี ขอ้ ดี : สามารถรองรับการ แบบเปน็ สาย 5,000 คน นกั วิง่ จ�ำ นวนมาก จัดการแขง่ ขนั ขนาดใหญ่ได้ ขน้ึ ไป   43  

2.2.7 ในรายการท่ีเน้นการชิงชนะเลิศ การแข่งขันควรจะใช้สถิติจาก Chip Time เป็นสำ�คัญ ยกเว้นนักว่ิงกลมุ่ แนวหน้าทีอ่ าจกำ�หนดเปน็ การตดั สินจาก Gun Time 2.2.8 กำ�หนด และจดั พ้ืนทเี่ ว้นระยะหา่ งกันของผใู้ ช้บรกิ าร 1-2 เมตร ทีช่ ัดเจนทั้งจดุ Check In และจุดปลอ่ ยตัว รวมถงึ บรเิ วณทีม่ ีการตอ่ คิว เช่น ต่อแถวกนั เขา้ หอ้ งนำ�้ ตอ่ ควิ เพอื่ ตรวจคัดกรอง 2.2.9 จุดบรกิ ารบนเส้นทาง อาจใช้เจลให้พลังงานทดแทนการบรกิ ารดา้ นอาหาร 2.2.10 กรณจี �ำ เปน็ ตอ้ งบรกิ ารอาหารระหวา่ งเสน้ ทาง อาหารตา่ งๆ ควรเปน็ แบบมบี รรจภุ ณั ฑม์ ดิ ชดิ เชน่ เจลให้พลังงาน ขนมปัง ผลไมค้ วรมีเปลือก เช่น กล้วย 2.2.11 หากจ�ำ เปน็ ตอ้ งมบี รกิ ารอาหารหลงั เสน้ ชยั ควรเปน็ แบบกลอ่ งปดิ ผนกึ โดยจดั เตรยี มเปน็ ชดุ ๆ เพื่อให้ง่ายต่อการส่งต่อใหก้ ับนกั กีฬา หรือควรเป็นประเภทปรงุ สกุ ใหม่ด้วยความร้อน 2.2.12 กรณีมีการมอบเหรียญรางวลั ของผ้เู ขา้ เสน้ ชัย ควรอยา่ ให้เกดิ การแออดั 2.2.13 กรณมี กี ารมอบรางวลั แกผ่ ชู้ นะการแขง่ ขนั ควรจดั สถานทแี่ ละจดุ ยนื ใหม้ รี ะยะหา่ ง 1-2 เมตร หรืออาจใช้การจดั สง่ ทางไปรษณียห์ ลังการแข่งขนั แทน 2.2.14 การประกาศผลการแขง่ ขนั ใช้การประกาศผ่านสอ่ื ออนไลน์ ไดแ้ ก่ ทางเวบ็ ไซต์ เฟสบุค๊ 2.2.15 ควรกระจายจุดพื้นท่ีรวมตัวก่อนการแข่งขันไว้หลายจุด เพ่ือการคัดกรอง เช็คอินไทยชนะ อบอุ่นรา่ งกาย โดยค�ำ นวนสัดส่วนจาก 1 คน ต่อ 5 ตารางเมตร 4 4