Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือวิชาระเบียบแถวลูกเสือ

คู่มือการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือวิชาระเบียบแถวลูกเสือ

Published by ปริญญา, 2021-11-14 10:51:58

Description: คู่มือการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือวิชาระเบียบแถวลูกเสือ

Keywords: ลูกเสือ,วิชาพิเศษ,ระเบียบแถว

Search

Read the Text Version

คู่มอื การฝกึ อบรมบุคลากรทางการลกู เสอื วิชาระเบยี บแถวลูกเสือ สำนักกำรลูกเสอื ยวุ กำชำด และกจิ กำรนักเรยี น สำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงศึกษำธกิ ำร

คำนำ การจัดทาคู่มือการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือวิชาระเบียบแถวลูกเสือเล่มน้ี สานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้หน่วยงานลูกเสือ ทั่วประเทศสามารถจัดฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในวิชา ระเบยี บแถวลูกเสือได้อย่างถกู ต้อง เป็นมาตรฐานเดยี วกนั อีกท้ังเปน็ การฟื้นฟูกิจการลกู เสือให้มี การพัฒนาย่ิงข้ึน โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณว่าที่ร้อยโท ณัฏฐ์ ยุวยุทธ ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลและให้ คาปรึกษาในการจัดทาคู่มือเล่มนี้ นอกจากนี้ขอขอบพระคุณคณะทางานที่เสียสละแรงกาย แรงใจ และเวลาอันมีค่า จัดทาคู่มือเล่มนี้จนสาเร็จลุล่วงด้วยดี เพื่อประโยชน์ต่อกิจการลูกเสือของชาติ สบื ไป สานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือเล่มนี้ คงจะ เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานลูกเสือในการจัดฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือวิชาระเบียบแถว ลูกเสือ โดยท่ัวกัน (นายโอฬาร เกง่ รักษส์ ัตว)์ ผอู้ านวยการสานักการลกู เสอื ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น

คำกลำ่ วทั่วไป 1. คู่มือการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือวิชาระเบียบแถวลูกเสือ เป็นวิชาผู้ชานาญ เฉพาะทาง (specialist course) ตามหลักสูตรลูกเสือโลกกาหนดไว้ สาหรับฝึกเพิ่มเติมทักษะ ทางลูกเสือแก่บุคลากรทางการลูกเสือท่ีได้รับเคร่ืองหมายวูดแบดจ์ 2 ท่อนแล้ว เช่นเดียวกับ คมู่ ือการฝึกอบรมผูบ้ ังคบั บัญชาลูกเสือวิชาแผนท่ี – เข็มทิศ วิชาบกุ เบกิ วิชาการอยู่ค่ายพักแรม ฯลฯ 2. คุณสมบัติของผู้อานวยการฝึกอบรม ควรได้รับเคร่ืองหมายวูดแบดจ์ 4 ท่อน และ ผา่ นการฝกึ อบรมผูบ้ งั คบั บัญชาลกู เสือวชิ าระเบียบแถวลูกเสือ 3. หน่วยงานทีม่ ีสทิ ธใ์ิ นการขออนุมตั ิเปดิ การฝึกอบรม ได้แก่ สานักงานลกู เสอื แห่งชาติ สานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน หน่วยงานต่าง ๆ ในกระทรวงศึกษาธิการ สานกั งานลกู เสือจังหวดั สานักงานลกู เสอื เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา สมาคม/สโมสรลูกเสอื 4. ผู้มีอานาจอนุมัติให้เปิดการฝึกอบรมส่วนกลาง ได้แก่ เลขาธิการสานักงานลูกเสือ แห่งชาติ สาหรับโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ผู้อานวยการลูกเสือกรุงเทพมหานคร เปน็ ผอู้ นุมตั ิ สว่ นภมู ภิ าคผอู้ านวยการลูกเสือจังหวดั เป็นผู้อนมุ ตั ิ

สำรบัญ หนำ้ คำนำ ๑ คำกลำ่ วท่วั ไป ๑ บทท่ี ๑ บทนำ ๑ ๒ - ความมุ่งหมายของการฝกึ ระเบียบแถวลูกเสอื ๖ - การจดั กาลัง ๘ - สัญลกั ษณต์ ่าง ๆ และ วิเคราะหศ์ ัพท์ ๑๓ - วิธสี ่งั การ ๑๓ - การใชท้ ่าสญั ญาณ ๑๓ บทท่ี ๒ ระเบยี บกำรฝึก ๑๓ - กาหนดการฝกึ ลกู เสือทัว่ ไป ๑๔ - การฝึกผู้บงั คับบญั ชาลกู เสือ ๑๕ - วธิ ดี าเนนิ การฝกึ ระเบียบแถวลูกเสือ ๑๕ - การตรวจสอบ ๑๖ บทท่ี ๓ แบบฝกึ บุคคลทำ่ มอื เปลำ่ ๑9 - ท่าตรง ๒๒ - ท่าพกั ๒๓ - ท่าหันอยกู่ บั ที่ ๒๔ - ท่าก้าวทางขา้ ง ๒8 - ทา่ กา้ วถอยหลัง ๒๙ - ท่าเดนิ ๓1 - ทา่ หยุดจากการเดิน ๓5 - ทา่ เปลี่ยนเทา้ ในเวลาเดนิ ๓8 - ทา่ ซอยเท้า ๔3 - ทา่ หันในเวลาเดิน ๔4 - ท่าเคารพ ๔5 - ท่าวง่ิ - ทา่ หยุดจากการว่ิง - ทา่ เปลย่ี นเทา้ ในเวลาวิ่ง

สำรบัญ (ต่อ) หนำ้ ๔7 - ท่าเปลย่ี นจากการวิง่ เป็นการเดิน ๔๗ - ท่าเปล่ยี นจากการเดนิ เป็นการว่ิง ๔8 - ท่าหันในเวลาว่ิง ๕1 - ท่าถอดหมวกและสวมหมวก ๕3 - ทา่ สวดมนตแ์ ละสงบนงิ่ ๕๕ - ทา่ นงั่ ถวายราชสดดุ ี ๕๖ - ท่าหมอบและลกุ ๕๙ บทที่ ๔ แบบฝกึ บคุ คลทำ่ อำวธุ ๕๙ - ท่าตรง ๖๐ - ทา่ พกั ๖๒ - ทา่ หันอยกู่ ับท่ี ๖๔ - ทา่ คอนอาวุธ ๖๕ - ทา่ เฉียงอาวุธ ๖๖ - ทา่ แบกอาวธุ 68 - ทา่ เดนิ ๗๐ - ทา่ เคารพ ๗๑ - ท่ารวมอาวุธ ๗๑ - ทา่ ขยายอาวุธ ๗2 - ท่าถอดหมวกและสวมหมวก ๗2 - ทา่ สวดมนตแ์ ละสงบนิ่ง ๗๒ - ทา่ หมอบและลุก ๗๓ - การใช้ไมพ้ ลองหรือไม้งา่ มปอ้ งกันตัว 79 บทท่ี 5 สญั ญำณมือในกำรเรยี กแถวของลูกเสือสำกล 79 - แถวหน้ากระดานแถวเดยี่ ว 80 - แถวตอนหมู่ ๘0 - แถวหน้ากระดานเปน็ หม่ปู ดิ ระยะ ๘1 - แถวหนา้ กระดานเป็นหมูเ่ ปิดระยะ ๘1 - แถวรูปครึง่ วงกลม ๘2 - แถวรปู วงกลม ก. แบบผเู้ รยี กยนื อยู่ทีจ่ ดุ ศูนยก์ ลาง 83 - แถวรปู วงกลม ข. แบบผ้เู รยี กยนื อยทู่ ี่เสน้ รอบวง 83 - แถวรศั มหี รือลอ้ เกวียน 84 - แถวส่เี หลย่ี มเปิดดา้ นหนงึ่

สำรบัญ (ต่อ) หน้ำ 85 - การใช้สญั ญาณมอื เป็นคาสงั่ ให้แถวพักและตรง 86 บทท่ี 6 กำรสวนสนำม 86 87 - การเตรยี มสถานท่ี และอปุ กรณ์ 89 - การจดั แถวสวนสนาม 97 - การปฏิบตั เิ มอ่ื อยู่กบั ที่ ๑๐3 - การปฏบิ ัติขณะเคลอื่ นที่ 107 บทท่ี 7 กำรเชญิ ธงลูกเสอื ประจำจงั หวัด 109 บทที่ 8 ระเบยี บวำ่ ด้วยกำรจัดกองลกู เสอื เกียรติยศ บรรณำนกุ รม ๑11 ภำคผนวก 111 - ไมถ้ อื ของผบู้ ังคับบัญชาลกู เสือ 112 - ธงประจากองลูกเสอื เนตรนารี ๑๑3 - อาวุธประจาตวั ลูกเสือ เนตรนารี ๑18 - ตารางฝกึ อบรมผูบ้ งั คับบัญชาลกู เสือวิชาระเบยี บแถวลกู เสือ - ประกาศสานักงานคณะกรรมการการบริหารลกู เสือแห่งชาติ ๑19 วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ การประดบั เขม็ เครอ่ื งหมายระเบยี บแถวลกู เสอื - คาศพั ทก์ ารฝึกระเบยี บแถวลูกเสอื

๑ บทท่ี ๑ บทนำ ควำมม่งุ หมำยของกำรฝึกระเบียบแถวลกู เสอื ๑. ความมุ่งหมายโดยทั่วไป เพ่ือฝึกให้ลูกเสือเป็นผู้มีระเบียบวินัยอันดีงาม รู้จักฟังคาบอกและ ปฏิบัติตามได้โดยถูกต้อง มุ่งส่งเสริมให้เกิดความมานะอดทน ในอันที่จะบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ตาม ลกั ษณะของลกู เสอื ๒. ความมุ่งหมายโดยสว่ นบุคคล การฝกึ ระเบียบแถวลกู เสือใหผ้ ล ๒ ทาง คอื ก. ในทางร่างกาย เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรง มีทรวดทรงสมส่วน มีท่าทางองอาจผ่ึงผาย และ เปน็ ผมู้ ีประสาทต่ืนตัว สามารถเคลอ่ื นไหวอริ ยิ าบถได้คล่องแคล่วว่องไว ข. ในทางจิตใจ ฝึกให้เป็นผู้มีอุดมคติในการรักษาเกียรติ วินัย กล้าหาญ อดทน และมีความ เชื่อมัน่ ในตนเองท่ีจะปฏบิ ตั ิกิจการในหน้าท่ี ๓. ความมุ่งหมายโดยส่วนรวม การที่ได้ทาการฝึกร่วมกัน ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจและ ความพร้อมเพรียง ยอ่ มก่อให้เกิดความสามคั คี และสามารถควบคมุ ไดด้ ว้ ยความเป็นระเบยี บเรียบร้อย สง่าผ่าเผยสมเกียรติของลูกเสอื ทั้งมุ่งฝึกให้สามารถเปน็ ผู้นาและผู้ตามทดี่ ี หมำยเหตุ นอกจากจะทาการฝึกระเบียบแถวลูกเสือแล้ว ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจักต้องใส่ใจอบรมให้ ลกู เสอื รู้จกั รักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ รักหมคู่ ณะและเกียรติของตน จนสามารถเสียสละ เพื่อปฏบิ ัติหน้าท่ีของลกู เสอื ใหส้ มบรู ณ์ กำรจัดกำลัง หน่วยลูกเสือ โดยปกตแิ บ่งออกเป็น หม่ลู ูกเสอื กองลูกเสือ กล่มุ ลูกเสือ ก. หมู่ลูกเสือ มีนายหมู่ลูกเสือเป็นผู้บังคับบัญชา และรองนายหมู่ลูกเสือเป็นผู้ช่วย กับมีกาลัง ลกู เสอื ตามประเภทของลูกเสอื ดงั นี้ หมู่ลกู เสอื สำรอง จานวน 4 คน แตไ่ มเ่ กิน 6 คน (รวมทัง้ นายหมู่ และรองนายหม)ู่ หมลู่ ูกเสือสำมัญ จานวน 6 คน แตไ่ มเ่ กนิ 8 คน (รวมท้งั นายหมู่ และรองนายหมู่) หมู่ลกู เสือสำมัญรุน่ ใหญ่ จานวน 6 คน แต่ไมเ่ กนิ 8 คน (รวมท้ังนายหมู่ และรองนายหมู่) หมู่ลกู เสอื วิสำมญั จานวน 6 คน แตไ่ มเ่ กนิ 8 คน (รวมทงั้ นายหมู่ และรองนายหมู่) ข. กองลูกเสือ มีผู้กากับกองลูกเสือเป็นผู้บังคับบัญชา และมีรองผู้กากับกองลูกเสือเป็นผู้ช่วย กบั มีกาลงั หมูล่ ูกเสอื ตามประเภทของลกู เสือ กองลกู เสือสำรอง ประกอบดว้ ยหมลู่ กู เสอื ๒ – ๖ หมู่ กองลกู เสอื สำมัญ ประกอบดว้ ยหมู่ลกู เสือ ๒ – ๖ หมู่ กองลกู เสือสำมญั ร่นุ ใหญ่ ประกอบดว้ ยหมลู่ ูกเสือ ๒ – ๖ หมู่

๒ กองลกู เสือวสิ ำมญั ประกอบด้วยหม่ลู กู เสือ ๒ – ๖ หมู่ ค. กลุ่มลูกเสือ มีผู้กากับกลุ่มลูกเสือเป็นผู้บังคับบัญชา และมีรองผู้กากับกลุ่มลูกเสือเป็นผู้ช่วย กลุ่มลกู เสอื ประกอบดว้ ยกองลกู เสอื ตั้งแต่ ๔ กองข้ึนไป กลุ่มลกู เสือทสี่ มบูรณ์ ประกอบดว้ ยกองลกู เสอื ๔ ประเภท ๆ ละ ๑ กอง ไดแ้ ก่ กองลูกเสือสารอง ๑ กอง กองลูกเสือสามัญ ๑ กอง กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ๑ กอง และกองลูกเสอื วสิ ามัญ ๑ กอง กลุม่ ลูกเสือท่ีไม่สมบรู ณ์ - ประกอบดว้ ยกองลกู เสอื ประเภทเดียวกัน ๔– 7 กอง - ประกอบด้วยกองลกู เสือ ๒–๓ประเภทๆละ๒กองขน้ึ ไป สญั ลกั ษณต์ ำ่ ง ๆ และ วิเครำะหศ์ พั ท์ ความมุง่ หมายของสัญลักษณ์ เพื่อให้เข้าใจความหมายไปในทางเดยี วกนั ทั้งนี้เพ่ือความสะดวกใน การปฏิบตั ิ ๑. การจัดรปู แถวของลกู เสือ ปกตจิ ดั เปน็ แถวตอนหรอื แถวหนา้ กระดาน และขบวน ๒. แถวตอน คือแถวลูกเสือซ่ึงจัดวางบุคคลซ้อนกันในทางลึก ระยะห่าง (หน้า – หลัง) ระหว่าง คนหน้ากบั คนหลังเรยี กวา่ ระยะต่อ ผกู้ ำกบั ผบู้ งั คบั ขบวนสวนสนำม รองผกู้ ำกบั ลลกู กู เเสสอื อื รองผบู้ งั คบั ขบวนสวนสนำม นำยหมู่ ผคู้ วบคุมแถว ลกู เสอื ผถู้ อื ป้ำย รองนำยหมู่ ผถู้ อื ธง ลกู เสลอื กู เสอื ผบู้ งั คบั กองพนั หรอื ผบู้ งั คบั หน่วย หน่วย กองบงั คบั กำรผสม รปู ที่ ๑ สัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ท่ีใชใ้ นการฝึกระเบียบแถวลูกเสอื

๑. แถวตอน แถวตอนเรยี งสอง ๓ แถวตอนเรยี งหน่งึ แถวตอนเรยี งส่ี ระยะต่อ ระยะต่อ ๑ ชว่ งแขน ๑ ชว่ งแขน หรอื ๑ กำ้ ว หรอื ๑ กำ้ ว ระยะเคยี ง ๑ ช่วงศอก ระยะเคยี ง ๑ ชว่ งศอก รูปที่ 2 แถวตอนเรียง ๑ แถวตอนเรยี ง ๒ แถวตอนเรียง ๔ หมำยเหตุ ระยะตอ่ ๑ ชว่ งแขนหรือ ๑ กา้ ว ระยะเคยี ง (ดา้ นข้าง) ๑ ชว่ งศอก

๔ ๒. แถวหน้ำกระดำน คือแถวลูกเสือซ่ึงอยู่เรียงเคียงเป็นแนวเดียวกันในทางกว้าง ระยะเคียง ระหว่างบุคคล ๑ ชว่ งศอก แถวหน้ำกระดำนแถวเดย่ี ว ระยะเคยี ง ๑ ช่วงศอก ระยะต่อ ๑ ช่วงแขน แถวหน้ำกระดำนสองแถว หรอื ๑ กำ้ ว ระยะเคยี ง ๑ ชว่ งศอก แถวหน้ำกระดำนสแ่ี ถว ระยะต่อ ๑ ช่วงแขน หรอื ๑ กำ้ ว รปู ท่ี 3 แถวหน้ากระดานแถวเด่ียว แถวหนา้ กระดาน ๒ แถว แถวหน้ากระดาน ๔ แถว

๕ หมำยเหตุ ระยะเคียง (ด้านข้าง ๑ ชว่ งศอก) ระยะต่อ (หน้า – หลัง) ๑ กา้ ว หรอื ๑ ชว่ งแขน ๓. ขบวน คอื สว่ นต่าง ๆ ของหน่วยลูกเสอื ซ่ึงจดั วางเปน็ ส่วน ๆ ภายในส่วนหน่ึง ๆ จะจัดเป็นแถว ตอนหรือแถวหนา้ กระดานกไ็ ด้ ความลึกของขบวน คอื ระยะในทางลกึ นับจากตน้ ขบวนถึงท้ายขบวน 4. ตับ คือรูปแถวท่ีลูกเสือยืนเคียงข้างกัน (จากรูปในแถวตอนและแถวหน้ากระดาน รูปที่ 4 และ รปู ท่ี 5) แถวตอนสแ่ี ถว ตบั ๑ ตบั ๒ ตบั ๓ ตบั ๔ ตบั ๕ ตบั ๖ ตบั ๗ ตบั ๘ รูปที่ 4 รปู แถวตบั จากแถวตอน 4 แถว

๖ แถวตับ คือรูปแถวที่ลกู เสือยืนเคยี งข้างกนั จะมกี ่ีคนกต็ ามเราเรียกว่า ตบั (จากรูปในรูปแถวหนา้ กระดาน) รปู แถวหน้ำกระดำนสี่แถว ตบั ๑ ตบั ๒ ตบั ๓ ตบั ๔ รปู ท่ี 5 รูปแถวตบั จากแถวหน้ากระดาน 4 แถว ๕. คนหลัก คือนายหมู่ลูกเสือในแถวตอนที่อยู่ต้นขบวนท่ีปีกขวา หรืออยู่ท่ีปีกขวาในแถวหน้า กระดาน ๖. แนว คอื ส่วนรวมของหนว่ ยลูกเสือ ทอี่ ยู่เรยี งในแนวเดียวกัน ๗. หน่วยหลัก คอื หนว่ ยแรกทม่ี ีหน่วยอืน่ ในขบวนเดยี วกันเข้าแถวตาม ๘. หน่วยตำมกัน คอื หนว่ ยที่อยู่ซ้อนกันในทางลึก และมีระยะตอ่ ตามทก่ี าหนด ๙. หน่วยเคียงกัน คือหน่วยที่เรียงกันในทางกว้าง ไม่ว่าจะมีระยะเคียงห่างกันเท่าใด และไม่ จาเป็นต้องอยู่เสมอกัน วิธีสั่งกำร 1. กำรใช้คำบอก เพ่ือให้ผู้มีหน้าท่ีในการฝึกได้มีความเข้าใจ และสามารถใช้คาบอกตามท่ีกาหนดไว้ในคู่มือเล่มน้ี ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง ไมส่ บั สน และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ดงั รายละเอียดเกยี่ วกบั การใชค้ าบอกดงั ตอ่ ไปน้ี ประเภทของคำบอก คาบอกที่กาหนดไวใ้ นคมู่ อื เลม่ นี้ แบง่ ลกั ษณะออกเป็น ๔ ประเภท คอื ๑. คาบอกแบง่ ๒. คาบอกเป็นคา ๆ ๓. คาบอกรวด ๔. คาบอกผสม กำรใช้คำบอก ลักษณะที่ตา่ งกันของคาบอกประเภทต่าง ๆ จะเป็นเครื่องบ่งชี้ให้ทราบถงึ ลักษณะ การปฏิบัติของท่าน้ัน ๆ แนวทางในการใช้น้าเสียงเพื่อสั่ง และเขียนไว้ให้เห็นความแตกต่างกันอย่างเด่นชัด โดยการแสดงเครอื่ งหมายไว้

๗ ๑. คาบอกแบ่ง (รูปที่ 6) เป็นคาบอกท่ใี ช้เพ่ือออกคาสัง่ สาหรบั ท่าฝึกที่ส่วนใหญแ่ ล้วมักจะกาหนด ไว้ให้ปฏิบตั ิได้เป็นจงั หวะเดียวหรือแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ได้ คาบอกแบ่งน้ีผู้ให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกใน คาแรกด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาว แล้วเว้นจังหวะไว้เล็กน้อยก่อนท่ีจะเปล่งเสียงบอกในคาหลัง ด้วยการ เนน้ เสยี งให้หนกั และส้ัน การเขียนคาบอกชนดิ น้ีจะแสดงให้เห็นด้วยการใช้เครื่องหมาย – (ยัติภงั ค์) กนั้ กลาง ไว้ระหว่างคาบอกคาหนา้ และคาหลัง ตัวอยา่ งเชน่ “ขวา – หนั ” เปน็ ต้น หัน ขวา รูปท่ี ๖ แสดงการบอก คาบอกแบง่ ๒. คาบอกเป็นคา ๆ (รูปที่ 7) เป็นคาบอกที่ใชเ้ พื่อออกคาส่งั สาหรบั ทา่ ฝึกท่สี ่วนใหญ่แล้วมกั จะไม่ กาหนดให้ปฏิบัติแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็นตอน ๆ ได้) และจาเป็นต้องใช้คา บอกยืดยาวซงึ่ อาจจะมีหลายพยางค์ก็ได้ จึงจาเป็นต้องเว้นจังหวะการบอกไว้เป็นตอน ๆ หรือคา ๆ คาบอก เป็นคา ๆ นี้ผู้ให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกทั้งในคาแรกและคาหลังด้วยการวางนา้ หนักเสียงไว้เท่า ๆ กัน โดยเว้นจังหวะระหว่างคาไว้เล็กน้อย ไม่ต้องลากเสียงยาวในคาแรกและเน้นหนักในคาหลังเหมือนคาบอก แบง่ การเขียนคาบอกชนิดนจี้ ะแสดงใหเ้ หน็ โดยการใช้เคร่อื งหมาย , (จุลภาค) ก้นั กลางไว้ระหว่างคาบอกคา หนา้ และคาหลัง ตวั อยา่ งเช่น “ตามระเบยี บ, พกั ” เป็นต้น ตาม พกั ระเบียบ รูปท่ี ๗ แสดงการบอก คาบอกเปน็ คา ๆ ๓. คาบอกรวด (รูปที่ 8) เป็นคาบอกท่ีใช้เพื่อออกคาสั่งสาหรับท่าฝึกท่ีส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่ กาหนดให้ปฏิบัติแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึกออกเป็นตอน ๆ ได้) และเป็นคาส่ังท่ีไม่ยืดยาว หรือมีหลายพยางค์ จึงไม่มคี วามจาเป็นต้องแบ่งจังหวะการส่ังไว้เป็นตอน ๆ หรือคา ๆ คาบอกรวดน้ี ไม่ว่าจะมี กีพ่ ยางค์ก็ตาม ผู้ให้คาบอกจะต้องบอกรวดเดียวจบโดยวางน้าหนกั เสยี งเปน็ ระดบั เดียว การเขียนคาบอกชนดิ นี้ จะแสดงให้เห็นโดยเขียนเป็นคาติดต่อกันทั้งหมด ใช้เครื่องหมาย “ ” (อัญประกาศ) ตัวอย่างเช่น “ถอดหมวก” เป็นต้น ถอด หมวก รูปท่ี ๘ แสดงการบอก คาบอกรวด

๘ ๔. คาบอกผสม (รูปท่ี 9) เปน็ คาบอกที่มลี ักษณะคล้ายคาบอกเป็นคา ๆ จะผิดกับคาบอกเปน็ คา ๆ ตรงที่ คาบอกในคาหลังจะเป็นคาบอกแบ่ง เพราะฉะน้ันคาบอกประเภทน้ีจึงเป็นคาบอกท่ีใช้เพื่อออกคาสั่ง สาหรับท่าฝึก ท่ีส่วนใหญ่มักจะกาหนดให้ปฏิบัติแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ได้ตามลักษณะของคาบอกแบ่งท่ีผสมอยู่ ในคาหลังของคาบอกผสมนี้เป็นหลัก คาบอกผสมน้ีผู้ให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกในคาห้วงแรก เช่นเดียวกบั คาบอกเป็นคา ๆ คือวางนา้ หนกั เสยี งไว้เท่า ๆ กัน ส่วนการเปลง่ เสยี งในคาบอกห้วงหลังก็คงเปล่ง เสียงในลักษณะเดียวกันกับคาบอกแบ่ง คือ เปล่งเสียงบอกในคาแรกด้วยการลากเสียงค่อนข้างยาว แล้วเว้น จงั หวะไวเ้ ล็กน้อยกอ่ นท่ีจะเปล่งเสียงบอกในคาหลังด้วยการเน้นเสียงให้หนักและสั้น การเขียนคาบอกชนิดนี้ จะแสดงไว้ให้เห็นโดยใชเ้ ครื่องหมาย , (จุลภาค) คน่ั กลางไว้ระหว่างคาบอกห้วงแรกและห้วงหลัง สว่ นคาบอก ในห้วงหลังคงใช้เคร่ืองหมาย – (ยัติภังค์) ค่ันกลางไว้ระหว่างคาบอกคาหน้าและคาหลัง ตัวอย่างเช่น “ทางขวา, แลขวา – ทา”เป็นตน้ ทา ทางขวา แลขวา รปู ท่ี ๙ แสดงการบอก คาบอกผสม 2. กำรใชท้ ่ำสญั ญำณ ท่ำสัญญำณ ความมงุ่ หมาย ก. ใช้แทนคาบอกเม่ืออยู่ห่างไกลจากลูกเสอื ข. เมือ่ ไมส่ ามารถจะใชค้ าบอกใหไ้ ดย้ ินทวั่ ถึง ค. ใช้ในกรณที ตี่ อ้ งการความสงบเงียบ วิธีสั่งการดว้ ยท่าสัญญาณ ใหใ้ ชท้ ่าสัญญาณแขนและมือ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. เตรียม คอยฟงั คาส่ัง หรอื หยุด ท่าสัญญาณ เหยียดแขนขวาขึ้นตรงเหนือศีรษะ มือแบ น้ิวท้ังห้าชิดกัน หันฝ่ามือไป ข้างหน้า (ลูกเสือหยุดการเคลื่อนไหวหรือกระทาการใด ๆ ท้ังสิ้น นิ่งคอยฟังคาส่ังโดยหันหน้าไปยัง ผ้บู งั คับบญั ชาถา้ อยใู่ นแถวยืนอยใู่ นทา่ ตรง) รูปที่ ๑๐ ทา่ สัญญาณเตรียม คอยฟงั คาสัง่ หรือหยุด

๙ ๒. รวม หรอื กลบั มา ท่าสัญญาณ เหยียดแขนขวา มอื แบหมุนเปน็ วงกลมเหนอื ศีรษะจากซ้ายไปขวา รูปท่ี ๑๑ รวมหรือกลบั มา ๓. จดั แถวหน้ากระดาน ทา่ สัญญาณ เหยียดแขนทัง้ สองไปข้างเสมอแนวไหล่ ฝ่ามือแบไปขา้ งหนา้ จัดแถวหนา้ กระดาน ใหท้ ิศหน้าแถวหนั ตรงหนา้ ผูใ้ ห้สัญญาณ รปู ที่ ๑๒ จัดแถวหน้ากระดาน

๑๐ ๔. จัดแถวตอน ท่าสัญญาณ เหยียดแขนท้ังสองไปข้างหน้าในแนวเดียวกับไหล่ แขนขนานกันฝ่ามือแบเข้า หากัน รปู ท่ี ๑๓ จัดแถวตอน ๕. เคลือ่ นที่ไปขา้ งหนา้ , ทางขวา (ซา้ ย), กงึ่ ขวา (ซ้าย) ท่าสัญญาณ ผู้ให้สัญญาณหันหน้าไปยังทิศทางที่ต้องการ ชูแขนขวาข้ึนเหนือศีรษะ ฝ่ามือ แบไปข้างหน้าแลว้ ลดแขนลงข้างหนา้ เสมอแนวบ่า รปู ที่ ๑๔ เคลอื่ นทไี่ ปข้างหนา้ , ทางขวา (ซา้ ย), กงึ่ ขวา (ซ้าย)

๑๑ 6. ทา่ หมอบ ทา่ สัญญาณ ผู้ให้สญั ญาณชูแขนขวาไปขา้ งหน้าระดบั ไหล่ ฝา่ มือแบควา่ แล้วลดแขนลงมาที่ หนา้ ขา รูปท่ี 15 ท่าหมอบ 3. วิธสี ัง่ กำรด้วยสัญญำณแตรเดยี่ ว และนกหวดี โอกำสในกำรใช้ ก. เม่อื ลูกเสืออยูร่ วมกนั หลายกอง ข. เม่อื ลูกเสืออยปู่ ะปนกบั ประชาชน ค. เมอ่ื เดินทางไกลและอยคู่ ่ายพักแรมตามลาพงั ง. เมอื่ ผบู้ ังคบั บญั ชาลูกเสืออยู่ห่างไกลจากลกู เสอื สญั ญำณแตรเด่ยี วตำ่ ง ๆ 1. สัญญาณแตรเดย่ี ว ปลกุ 2. สญั ญาณแตรเด่ยี ว รับประทานอาหาร 3. สญั ญาณแตรเดย่ี ว เคารพธงชาติ ธงคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ธงลกู เสอื ประจาจังหวัด 4. สัญญาณแตรเดย่ี ว ประชมุ 5. สัญญาณแตรเด่ยี ว เลิกประชมุ 6. สญั ญาณแตรเดี่ยว เหตุสาคัญ 7. สญั ญาณแตรเดย่ี ว ระวงั (เตรียมตัวสวนสนาม) 8. สัญญาณแตรเดี่ยว หน้าเดนิ (เร่ิมเดินสวนสนาม) 9. สัญญาณแตรเดย่ี ว เลกิ สวนสนาม 10.สัญญาณแตรเด่ยี ว ตรวจ สวดมนต์ 11.สัญญาณแตรเดี่ยว นอน

๑๒ สญั ญำณนกหวีด ๑. หวีดยาว ๑ คร้ัง (_____) ถ้าเคลื่อนที่ให้หยุด ถ้าหยุดอยู่ให้เตรียมตัว หรือคอยฟัง คาสัง่ ๒. หวดี ยาว ๒ คร้งั (____ ____) เดินตอ่ ไป เคลอื่ นทตี่ อ่ ไป ทางานต่อไป ๓. หวีดสน้ั ๑ คร้งั , หวดี ยาว ๑ ครง้ั สลบั กับ (_ ____ _ ____) เกิดเหตุ ๔. หวีดส้ัน ๓ ครั้ง หวีดยาว ๑ คร้ัง ติดต่อกันไป (_ _ _ ____, _ _ _ ____ ) เรียกนายหมู่ มารบั คาสัง่ ๕. หวีดส้นั ติดตอ่ กนั หลายๆ ครั้ง (_ _ _ _ _ _ _) ประชุม , รวม หมำยเหตุ เมอ่ื ใช้สัญญาณ (๒) (๓) (๔) (๕) ใหใ้ ช้สัญญาณ (๑) กอ่ นทกุ ครงั้ ๔. วิธีสั่งกำรด้วยปำกหรอื เขียน สัง่ การดว้ ยปาก เป็นถ้อยคาท่ีผู้บังคับบัญชาลูกเสือจะพึงสั่งให้ลกู เสอื ปฏบิ ตั ิตามความต้องการเป็น ส่วนรวม เช่น “ให้ทุกหมู่แยกทาการฝึกระเบียบแถวภายในเวลา ๓๐ นาที แล้วพักได้” และเช่นเดียวกัน ผู้บังคับบัญชาลูกเสืออาจจะสั่งการเป็นลายลักษณ์อักษรให้ปฏิบัติตามความต้องการ โดยเขียนข้อความ ลงบนกระดาษและนาไปใหแ้ ต่ละหมไู่ ดท้ ราบ คำแนะนำในกำรฝึก ๑. ลาดับขั้นตอนในการฝึก สมควรฝึกแบบปิดข้ันตอนจนลูกเสือปฏิบัติได้คล่องแคล่วพอสมควรแล้ว จงึ ค่อยฝกึ แบบเปดิ ข้นั ตอน ๒. คาบอกปดิ ขัน้ ตอน ก. “จังหวะ” ใช้กบั คาบอกแบ่งและคาบอกผสม ข. “ตอน” ใชก้ ับคาบอกเป็นคา ๆ และคาบอกรวด ค. ใช้คาบอกเช่นเดียวกับการฝึกแบบปิดจังหวะหรือเปิดตอน โดยแจ้งเตือนให้ลูกเสือทราบ ลว่ งหนา้ ว่าจะฝกึ ปดิ จังหวะหรือเปดิ จังหวะ ในการปฏบิ ตั ิของลกู เสอื เม่ือสิ้นคาบอกให้ปฏบิ ัติเฉพาะ “จงั หวะ ที่ ๑” หรือ “ตอนที่ ๑” สาหรับจังหวะหรือตอนท่ีเหลือให้ใช้คาบอก “ต่อไป” จนกว่าจะปฏิบัติจบ เท่านั้น เชน่ ท่าขวาหนั ซ่งึ แบง่ ออกเป็น ๒ จังหวะ คาบอกเรมิ่ แรก “ขวา – หัน” ปฏิบตั จิ งั หวะที่ ๑ คาบอก “ต่อไป” ปฏิบตั ิจงั หวะที่ ๒

๑๓ บทท่ี ๒ ระเบียบกำรฝึก กำหนดกำรฝึกลูกเสอื ทั่วไป ในปีหน่งึ ๆ ใหท้ าการฝกึ ตามท่ีกาหนดไว้ ดังนี้ - ลูกเสือใหม่ (เตรียมลูกเสือสารอง) ให้ทาการฝึกระเบียบแถวเบ้ืองต้น การทาความเคารพเป็น รายบคุ คล การทาความเคารพเปน็ หมู่ - ลูกเสือสารอง ดาวดวงท่ี ๑, ๒, ๓ ทบทวนการฝึกระเบียบแถวเบ้ืองต้น การทาความเคารพ เปน็ รายบุคคล การทาความเคารพเป็นหมู่ ซา้ ยหนั ขวาหัน กลบั หลังหัน ทา่ เดนิ ทา่ หยุด - ลูกเสือสามญั (ลูกเสือตรี) ฝึกบคุ คลทา่ มือเปลา่ ฝึกบุคคลท่าอาวุธ การใช้สญั ญาณแขนและมือ การใชส้ ัญญาณนกหวีด - ลูกเสือสามัญ (ลูกเสือโท) ทบทวนท่าฝึกตา่ ง ๆ ทก่ี าหนดไวใ้ นหลักสตู รวชิ าลกู เสือตรี - ลูกเสือสามัญ (ลูกเสือเอก) ทบทวนท่าฝึกต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร วิชาลูกเสือตรี โท และ การเดนิ สวนสนาม - ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ (หลักสูตรเคร่ืองหมายลูกเสือโลก) เข้าใจและปฏิบัติตามคู่มือการฝึก ระเบยี บแถวลกู เสือได้ - ลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ (หลักสตู รลูกเสือชน้ั พเิ ศษ) ทบทวนตามหลกั สูตรเครอ่ื งหมายลูกเสอื โลก - ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ (หลักสูตรเคร่ืองหมายลูกเสือหลวง) การฝึกบุคคลท่ามือเปล่า การฝึก บุคคลทา่ อาวธุ การเดนิ สวนสนาม และการใช้อาวธุ ป้องกันตวั กำรฝึกผู้บงั คับบญั ชำลกู เสือ ผู้กากับกองลกู เสือและรองผู้กากับกองลูกเสือ ย่อมมีหน้าที่ฝึกลูกเสือภายในกองของตนใหเ้ ปน็ ผู้มี สมรรถภาพตามความมุ่งหมายของแบบการฝึกระเบียบแถวลกู เสือน้ี ฉะนั้นตนเองจะต้องหมั่นศึกษาทบทวน ความรู้ในการฝึกระเบียบแถวให้มีความเข้าใจในคาบอก การทาท่าทางต่างๆ ตลอดจนวิธีดาเนินการฝึกให้ เหมาะสม นอกจากนี้ยังจะต้องหากลวิธีในการปลุกใจลูกเสือให้กระตือรือร้น และเอาใจใส่ต่อการฝึก และ แก้ไขขอ้ บกพร่องต่าง ๆ อยเู่ สมอ นอกจากนี้ยังถือว่านายหมู่และรองนายหมู่ลูกเสือเป็นผู้บังคับบัญชาลูกเสือด้วยเช่นกัน การฝึก นายหมู่และรองนายหมู่ลูกเสือเป็นหน้าที่ของผู้กากับกองลูกเสือและรองผู้กากับกองลูกเสือ ซึ่งต้องเอา ใจอย่างขะมักเขม้น แนะนาขอ้ บกพร่องตา่ ง ๆ จนนายหมู่และรองนายหมู่ลกู เสือมสี มรรถภาพ ปฏิบัติหนา้ ที่ ของตนได้เป็นอย่างดี เชน่ การฝึกลูกเสอื ภายในหมขู่ องตนเป็นรายบคุ คลและเป็นหมู่ วธิ ีดำเนินกำรฝึกระเบยี บแถวลกู เสอื ก่อนท่ีจะดาเนินการฝึกระเบียบแถวลูกเสือจาต้องมีการเตรียมการในส่งิ ต่อไปนี้ 1. ผฝู้ ึก โดยปรกตคิ ัดเลือกจากนายหมู่ลูกเสือหรือรองนายหมู่ลูกเสือผซู้ ึ่งไดผ้ ่านความรู้ในการฝึก ระเบยี บแถวลกู เสือมาแล้วเปน็ อย่างดี 2. เคร่ืองมือเครื่องใชใ้ นการฝกึ เชน่ ไม้พลอง ไมง้ า่ ม นกหวดี ฯลฯ

๑๔ 3. สถานท่ีทใี่ ชใ้ นการฝึก ควรเปน็ สถานท่ที ี่ไม่รกรุงรงั มบี ริเวณกวา้ งขวางอยา่ งพอเพียง ราบเรยี บ ไม่ชื้นแฉะ ปราศจากวสั ดทุ เี่ ปน็ อนั ตราย (ถ้าเป็นสถานที่กลางแจ้งควรมรี ่มเงา) 4. กาหนดการฝึกและตารางการฝึก ให้เตรียมการล่วงหน้า และตรวจทานดูให้เรียบร้อย หากมี อปุ สรรคเกดิ ขนึ้ จะไดเ้ ปลย่ี นแปลงแกไ้ ขได้ทันทว่ งที 5. วธิ กี ารฝึก ก. การฝกึ เบือ้ งตน้ เป็นการฝึกในท่าซ่งึ ลกู เสือยังไม่เคยฝกึ มาเลย ข. การฝกึ ทบทวน ลูกเสือเคยได้ทาการฝึกมาแล้ว แต่ยังมีข้อบกพร่อง ซึ่งจะต้องแก้ไขอีก เพอื่ ให้ทาทา่ เหลา่ นนั้ ได้ถูกต้องต่อไป กำรตรวจสอบ เมื่อลูกเสือในภาคเรียนท่ี 1 ได้ทาการฝึกระเบียบแถวเบ้ืองต้นแล้ว ให้ผู้กากับกองลูกเสือทาการ ตรวจสอบเพื่อทราบผลการฝึก และในภาคเรียนท่ี ๒ เม่ือได้ทาการฝึกระเบียบแถวทบทวนแล้ว ให้ผู้กากับ กองลูกเสือทาการตรวจสอบเพื่อทราบผลการฝึก ต่อจากนั้นให้ทาการตรวจสอบใหญ่ประจาปีเพื่อสรุปผล การฝึก พร้อมทง้ั ให้คาแนะนาทีจ่ ะแกไ้ ขในโอกาสต่อไป

๑๕ บทท่ี ๓ แบบฝึกบคุ คลท่ำมือเปลำ่ เป็นการฝึกท่ีใหล้ ูกเสือปฏิบัติท่าต่าง ๆ โดยไม่มีอาวุธด้วยความกระฉับกระเฉงว่องไว ทั้งน้ีรวมท้ัง เวลาอยูก่ บั ท่แี ละเคล่อื นท่ี ท่ำตรง รปู ท่ี ๑6 ท่าตรง คาบอก “แถว – ตรง” (คาบอกแบ่ง) การปฏบิ ัตทิ า่ นมี้ จี ังหวะเดยี ว ลักษณะของท่าตรงมดี ังนี้คือ จะต้องยืนให้ส้นเท้าทง้ั สองชิดและอยู่ในแนวเดียวกนั ปลายเท้าท้ังสอง แบะออกไปทางข้าง ข้างละเท่า ๆ กัน จนปลายเท้าห่างกันประมาณ ๑ คืบ หรือให้ความยาวของเท้าเฉียงเป็น มุมประมาณ ๔๕ องศา เข่าเหยียดตรงและบีบเข้าหากันแขนท้ังสองอยูข่ ้างลาตัวในลักษณะงอข้อศอกไว้ จนเกิด ช่องว่างห่างจากลาตัวประมาณหนึ่งฝ่ามือและพลิกข้อศอกไปทางข้างหน้าเล็กน้อยจนไหล่ทั้งสองข้างตึงและ เสมอกัน นิ้วมือท้ังห้าเหยียดตรงเรียงชิดติดกัน และให้นิ้วกลางแตะไว้ท่ีตรงกึ่งกลางขาท่อนบนประมาณ แนวตะเข็บกางเกงเปิดฝ่ามือออกไปทางด้านน้ิวก้อยเล็กน้อย ลาคอตั้งตรงไม่ยื่นคาง สายตามองตรงไปทาง ข้างหนา้ ในแนวระดับ วางนา้ หนักตัวให้อยบู่ นเท้าท้ังสองขา้ งเทา่ ๆ กนั และนง่ิ เมื่อได้ยินคาบอก “แถว” ลูกเสือต้องจัดส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้ยืนอยู่ในลักษณะของท่าตรง ตามที่ไดก้ ล่าวแล้ว ยกเวน้ เขา่ ขวาหย่อนเล็กน้อย พร้อมกับสูดลมหายใจเข้าปอดใหเ้ ต็มที่ และยกอกใหผ้ ่ึงผาย เมื่อได้ยินคาบอก “ตรง” ให้ลูกเสือกระตุกเข่าขวาเข้ามาอย่างรวดเร็วและแข็งแรงจนตึง ในลกั ษณะทใี่ หบ้ ีบเข่าทงั้ สองเข้าหากันแล้วนิ่ง ท่าตรง ถือเป็นท่าพน้ื ฐานของทกุ ท่ากอ่ นจะปฏิบัติท่าใดก็ตาม จะต้องเร่ิมต้นจากทา่ ตรงเสมอ

๑๖ ทำ่ พัก ทำ่ พกั แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. ทา่ พกั ในแถว ประกอบดว้ ย ท่าพักตามปกติ ท่าพักตามระเบยี บ และทา่ พกั ตามสบาย ๒. ท่าพักนอกแถว ประกอบดว้ ย ทา่ พกั แถวและท่าเลกิ แถว ทำ่ พกั ตำมปกติ คาบอก “พกั ” (คาบอกรวด) การปฏิบัติ ท่านม้ี ีจงั หวะเดยี ว แต่ให้ปฏิบตั ไิ ปตามลาดับข้นั ตอนดังต่อไปนี้ ๑. ในข้ันแรกเม่ือได้ยินคาบอก “พัก” ให้ลูกเสือหย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อย โดยพยายามไม่ให้ ส่วนอ่นื ๆ ของรา่ งกายมกี ารไหวติง ๒. สาหรบั ในขั้นต่อไปนน้ั ทา่ นีอ้ นุญาตให้ลูกเสือเปลยี่ นเขา่ พกั ได้เทา่ ท่จี าเป็น ๓. ท่านี้ห้ามลูกเสือขยับเขย่ือนหรือเปล่ียนท่ียืนของเท้าท้ังสองข้างและห้ามพูดคุยกัน โดยเด็ดขาด ๔. เม่ือได้ยนิ คาบอก “แถว ” ให้ลูกเสอื ยืดตัวขึ้นพร้อมกับสดู ลมหายใจเข้าปอดจนเตม็ ที่ และ จดั ทุกส่วนของร่างกายให้อยู่ในลักษณะของท่าตรง เว้นเข่าขวายังหย่อนอยู่ ถ้าได้ยนิ คาบอกขณะที่หย่อนเขา่ ซ้าย ก็ให้เปลยี่ นมาหย่อนเข่าขวา ๕. เมื่อได้ยินคาบอก “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวากลับไปอยู่ในลักษณะของท่าตรงอย่างรวดเร็ว และแขง็ แรง รปู ท่ี ๑7 ท่าพกั ตามปกติ

๑๗ ทำ่ พกั ตำมระเบยี บ คาบอก “ตามระเบียบ, พกั ” (คาบอกเปน็ คา ๆ) การปฏิบัติ ทา่ นม้ี ีจงั หวะเดยี ว แตใ่ หป้ ฏิบตั ิไปตามลาดับข้ันตอนดังต่อไปน้ี ๑. เมื่อได้ยินคาบอก “ตามระเบียบ, พัก” ให้ลูกเสือแยกเท้าซ้ายออกทางด้านซ้ายประมาณ ๓๐ ซม. อย่างแข็งแรงและผ่ึงผายโดยใหเ้ ทา้ ทงั้ สองข้างอยู่ระดับหัวไหล่ ในขณะเดียวกันใหน้ ามือทั้งสองข้าง ไปจับกันไว้ทางด้านหลังในลักษณะหันหลังมือท้ังสองข้างเข้าหาลาตัว ใช้มือซ้ายจับมือขวาโดยให้มือขวา อยู่ทางด้านนอก วางนิ้วหัวแม่มือขวาให้ทับและจับน้ิวหัวแม่มือซ้ายไว้ น้ิวมือท้ังสี่ (เว้นน้ิวหัวแม่มือ) ของมือขวาเหยียดตึงเรียงชิดติดกัน โดยให้เฉียงลงไปทางเบ้ืองล่างทางซ้าย วางหลังมือซ้ายแตะไว้ แนวก่ึงกลางด้านหลังลาตัวประมาณใต้แนวเข็มขัด และแบะข้อศอกทั้งสองข้างไปข้างหน้าเล็กน้อย แต่พอสบาย ลักษณะของการยืนจะต้องให้ขาท้ังสองตึงน้าหนักตัวอยู่บนเท้าท้ังสองข้างเท่า ๆ กัน ยกอก ให้สงา่ ผ่าเผย จัดไหล่ทง้ั สองขา้ งใหเ้ สมอกัน ลาคอตั้งตรง สายตามองตรงไปข้างหนา้ ในแนวระดบั และนง่ิ ๒. เมอ่ื ได้ยนิ คาบอก “แถว” ใหส้ ดู ลมหายใจเข้าปอดจนเตม็ ที่ ๓. เมื่อได้ยินคาบอก “ตรง” ให้ชักเท้าซ้ายกลับมาชิดกับเท้าขวา ในลักษณะท่ีให้ส้นเท้า ทั้งสองชิด และอยู่ในแนวเดียวกัน ปลายเท้าท้ังสองแบะออกไปทางข้างข้างละเท่า ๆ กัน ห่างกันประมาณ ๑ คืบ พรอ้ มกันนัน้ ให้ลดมือทั้งสองขา้ งลงมาอยใู่ นลกั ษณะของทา่ ตรงอยา่ งแขง็ แรงแลว้ นิ่ง รปู ท่ี ๑8 ทา่ พกั ตามระเบยี บ

๑๘ ทำ่ พกั ตำมสบำย คาบอก “ตามสบาย, พกั ” (คาบอกเปน็ คาๆ) การปฏบิ ัติ ทา่ น้ีมจี ังหวะเดียว แตใ่ หป้ ฏิบตั ิไปตามลาดบั ข้นั ตอน ดงั ต่อไปน้ี ๑. เมื่อได้ยินคาบอก “ตามสบาย, พัก” ให้ลูกเสือหย่อนเข่าขวาลงเล็กน้อย โดยพยายามไม่ให้ ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกายมีการไหวติงไปดว้ ยอย่างกะทันหัน เช่นเดยี วกบั การทาท่าพักตามปกติในข้นั แรก ๒. สาหรับในข้ันต่อไปน้ัน ท่าน้ีอนุญาตให้ลูกเสือเคล่ือนไหวอิริยาบถได้ตามสบาย ห้ามพูดคุยกัน เวน้ แตไ่ ด้รับอนญุ าต และเท้าข้างใดข้างหนึ่งจะต้องอยกู่ ับท่ี ๓. ท่าน้ีห้ามลูกเสือออกนอกแถว ถ้าไม่อนุญาตให้น่ังจะน่งั ไม่ได้ ถ้าได้รับอนญุ าตให้นั่งจะต้องน่ัง ในลกั ษณะทใี่ หป้ กั เทา้ ขา้ งใดขา้ งหน่ึงเปน็ หลักอยู่กับท่ี ๔. เม่ือได้ยินคาบอก “แถว ” ไม่ว่าลูกเสือจะอยู่ในอิริยาบถใดก็ตามให้ลูกเสือรีบกลับมาอยู่ ในท่าพกั ตามปกตพิ ร้อมกบั สดู ลมหายใจเข้าปอดใหเ้ ตม็ ที่ และยกอกให้ผ่ึงผาย ๕. เมื่อได้ยินคาบอก “ตรง” ให้ลูกเสือกระตุกเข่าขวาเข้ามาอย่างรวดเร็วและแข็งแรงจน เข่าตงึ ในลักษณะท่ีให้บบี เขา่ ท้งั สองขา้ งเข้าหากนั อยู่ในทา่ ตรงแลว้ น่งิ ท่ำพักแถว คาบอก “พกั แถว” (คาบอกรวด) การปฏบิ ตั ิ ๑. เมื่อได้ยินคาบอก “พักแถว” ให้ลูกเสือทุกคนที่อยู่ในแถวต่างคนต่างแยกออกไปจากแถว ในทันทีและอย่างฉับไว ท่าพักแถวนี้ลูกเสือแต่ละคนสามารถจะหาที่น่ังพักได้ตามสะดวก แต่ต้องอยู่ใน บรเิ วณใกลเ้ คยี งและไม่ทาเสียงอกึ ทึก ๒. เมื่อได้ยินคาบอก “แถว” ให้ทกุ คนรีบกลับมาเข้าแถวท่ีเดิมโดยเร็วในรูปแถวเดิม และเมื่อ จดั แถวเป็นรูปแถวเรยี บร้อยแลว้ ใหอ้ ยู่ในท่าตรงจนกวา่ จะไดร้ บั คาส่ังปฏบิ ัติอยา่ งใดอย่างหนึง่ ต่อไป ๓. โอกาสในการใช้ สาหรบั พักนอกแถวในระยะเวลาสั้น เพื่อรอการฝกึ หรอื ปฏิบตั ิงานต่อไป คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก เม่ือผู้ฝึกเรียกแถวใหม่ด้วยการใช้คาบอก “แถว” แล้ว ผู้ฝึกจะใช้คาบอก “ตรง”อีกไม่ได้ ถ้าเห็นว่าลูกเสือที่กลับมาเข้าแถวใหม่ยังจัดแถวไม่เรียบร้อยผู้ฝึกจะต้องใช้คาบอก “จัดแถว” และ “น่งิ ” ตามลาดับ ท่ำเลกิ แถว คาบอก “เลิกแถว” (คาบอกรวด) การปฏิบัติ เมื่อได้ยินคาบอกว่า “เลิกแถว” ให้ลูกเสือทุกคนท่ีอยู่ในแถวแยกกระจายกันออกไป จากแถวโดยเรว็ โอกาสในการใช้ สาหรบั เลกิ การฝกึ หรือเลกิ ปฏบิ ัตงิ านในครง้ั นนั้ ๆ

๑๙ ท่ำหนั อยูก่ ับท่ี ท่าหันอยู่กับที่แบ่งออกเป็น ๕ ท่า คือ ท่าขวาหัน ท่าซ้ายหัน ท่ากลับหลังหัน ท่ากึ่งขวาหัน และ ทา่ ก่งึ ซา้ ยหัน ทำ่ ขวำหนั รูปท่ี ๑9 ท่าขวาหนั คาบอก “ขวา – หัน” (คาบอกแบ่ง) การปฏบิ ตั ิ ท่านี้แบง่ ออกเป็นสองจงั หวะดังต่อไปน้ี จังหวะหน่ึง เมื่อได้ยนิ คาบอก “ขวา – หัน” ใหล้ ูกเสือเปิดปลายเท้าขวาใหส้ ูงขึ้นจากพ้ืนเล็กน้อย โดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยู่กับที่ แล้วหมุนตัวไปทางขวาจนได้ ๙๐ องศา ด้วยการใช้ส้นเท้าขวา เป็นจุดหมุน ในขณะเดียวกันน้ันให้ใช้ปลายเท้าซ้ายกดแน่นไว้กับพ้ืนเพ่ือช่วยให้มีการทรงตัวดีในระหว่าง หมุนตัว แล้วเปิดส้นเท้าหมุนตามไปด้วยโดยพยายามกดปลายเท้าไว้ ณ ที่เดิมในลักษณะให้ขาเหยียดตึง ในขณะที่หมุนตัวไปน้ันจะต้องพยายามรักษาทรวดทรงของลาตัว และการวางมือท้ังสองให้อยู่ในลักษณะ ของท่าตรงตลอดเวลาด้วย เม่ือหมุนตัวไปได้ที่แล้ว ลูกเสือจะต้องอยู่ในท่ายืนท่ีวางน้าหนักตัวท้ังหมดไว้บน เท้าขวาขาซ้ายเหยียดตึงไปทางด้านหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัว (ขณะหมนุ ตวั แขนทัง้ สองขา้ งให้แนบลาตวั ) จังหวะสอง ชักเท้าซ้ายมาชิดกับเทา้ ขวา เพอ่ื ยนื ในลักษณะของทา่ ตรงอยา่ งรวดเรว็ และแข็งแรง คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะเพ่ือให้ลูกเสือ ปฏิบัติจังหวะหน่ึงโดยใช้คาบอก “ขวา – หัน” เมื่อจะให้ลูกเสือปฏิบัติต่อไปในจังหวะสอง ให้ใช้คาบอก “ต่อไป”

๒๐ ทำ่ ซ้ำยหนั รูปท่ี 20 ทา่ ซา้ ยหนั คาบอก “ซา้ ย – หัน” (คาบอกแบง่ ) การปฏบิ ตั ิ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจงั หวะดังตอ่ ไปนี้ จงั หวะหนึ่ง เม่ือได้ยินคาบอก “ซา้ ย – หนั ” ใหล้ ูกเสือเปิดปลายเท้าซ้ายให้สูงขึ้นจากพ้ืนเล็กน้อย โดยพยายามกดส้นเท้าให้ตรึงอยู่กับที่แล้วหมุนตัวไปทางซ้ายจนได้ ๙๐ องศา ด้วยการใช้ส้นเท้าซ้ายเป็นจุดหมุน ในขณะเดียวกันน้ันให้ใช้ปลายเท้าขวากดแน่นไว้กับพ้ืนเพื่อให้มีการทรงตัวดีในระหว่างหมุนตัว แล้วเปิดส้นเท้า หมนุ ตามไปด้วย โดยพยายามกดปลายเทา้ ขวาไว้ ณ ทเี่ ดิมในลกั ษณะใหข้ าเหยียดตึง ในขณะท่ีหมุนตวั ไปนั้น จะต้องพยายามรักษาทรวดทรงของลาตัว และวางมือทั้งสองให้อยู่ในลักษณะของท่าตรงตลอดเวลาด้วย เม่ือหมุนตัวไปได้ท่ีแล้ว ลูกเสือจะอยู่ในท่ายืนท่ีวางน้าหนักตัวท้ังหมดไว้บนเท้าซ้าย ขาขวาเหยียดตึง ไปทางด้านหลังทางขวา ส้นเท้าเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัว (ขณะหมุนตัวแขนทั้งสองข้าง ใหแ้ นบลาตัว) จงั หวะสอง ชักเท้าขวามาชิดกบั เทา้ ซ้าย เพ่ือยืนในลกั ษณะของทา่ ตรงอยา่ งรวดเรว็ และแขง็ แรง คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะเพ่ือให้ลูกเสือ ปฏิบัติจังหวะหน่ึง โดยใช้คาบอก “ซ้าย – หัน” เม่ือจะให้ลูกเสือปฏิบัติต่อไปในจังหวะสอง ให้ใช้คาบอก “ตอ่ ไป”

๒๑ ท่ำกลบั หลังหัน รปู ที่ ๒1 ท่ากลับหลังหัน คาบอก “กลับหลัง – หัน” (คาบอกแบง่ ) การปฏบิ ตั ิ ทา่ นี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะดังต่อไปนี้ จังหวะหนึ่ง เม่ือได้ยินคาบอก “กลับหลัง – หัน” ให้ลูกเสือเปิดปลายเท้าขวาให้สูงข้ึนจากพื้น เลก็ น้อยและพยายามกดส้นเทา้ ให้ตรึงอยกู่ ับที่ แล้วหมุนตัวไปทางขวาจนได้ ๑๘๐ องศา (กลบั หนา้ เป็นหลงั ) ด้วยการใช้ส้นเท้าขวาเป็นจุดหมุน ในขณะเดียวกันนั้นให้ใช้ปลายเท้าซ้ายกดแน่นไว้กับพ้ืนเพื่อให้มี การทรงตัวดีในระหว่างหมุนตัว แล้วเปิดส้นเท้าพร้อมกับเหว่ียงเท้าซ้ายไปทางซ้าย และนาปลายเท้าซ้าย ไปแตะพื้นไว้ทางด้านหลังในทิศทางเฉียงไปทางหลังทางซ้ายของลาตัว ส้นเท้าเปิด เข่าเหยียดตึง ในขณะที่ หมุนตัวไปน้ันจะต้องพยายามรักษาทรวดทรงของลาตัว และวางมือท้ังสองให้อยู่ในลักษณะของท่าตรง ตลอดเวลาด้วย เม่ือหมุนตัวไปได้ท่ีแล้วลูกเสือจะอยู่ในท่ายืนท่ีวางน้าหนักตัวทั้งหมดไว้บนเท้าขวา ขาซ้าย เหยียดตึงไปทางด้านหลังทางซ้าย ส้นเท้าเปิดและบิดออกไปทางด้านนอกของลาตัว (ขณะหมุนตัวแขนทั้ง สองข้างให้แนบลาตัว) จงั หวะสอง ชกั เท้าซา้ ยมาชดิ กบั เทา้ ขวา เพอื่ ยนื ในลกั ษณะของท่าตรงอยา่ งรวดเรว็ และแข็งแรง คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะเพื่อให้ลูกเสือ ปฏิบัติจังหวะหนึ่ง โดยใช้คาบอก “กลับหลัง – หัน” เม่ือจะให้ลูกเสือปฏิบัติต่อไปในจังหวะสอง ให้ใช้ คาบอก “ต่อไป” ทำ่ ก่งึ ขวำหนั คาบอก “กง่ึ ขวา – หัน” (คาบอกแบ่ง) การปฏิบัติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะ ในการปฏิบัติมีขั้นตอนเหมือนกับการทาท่าขวาหัน จะแตกต่างกันเฉพาะให้หนั ไปเพียง ๔๕ องศา เทา่ น้ัน

๒๒ คาแนะนาสาหรับผฝู้ ึก ในการฝึกปิดจงั หวะให้ใช้คาบอกเช่นเดยี วกับเปิดจังหวะ เพื่อให้ลูกเสือ ปฏิบัติจังหวะหนึ่ง โดยใช้คาบอก “ก่ึงขวา – หัน” เมอื่ จะให้ลูกเสือปฏิบัติตอ่ ไปในจังหวะสอง ให้ใช้คาบอก “ตอ่ ไป” ทำ่ ก่งึ ซ้ำยหัน คาบอก “ก่ึงซา้ ย – หัน” (คาบอกแบ่ง) การปฏิบัติ ท่านี้แบ่งออกเป็นสองจังหวะ ในการปฏิบัติมีข้ันตอนเหมือนกับการทาท่าซ้าย หนั จะแตกต่างกันเฉพาะใหห้ นั ไปเพียง ๔๕ องศา เทา่ น้นั คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก ในการฝึกปิดจังหวะให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ เพื่อให้ ลูกเสือปฏิบัติจังหวะหนึ่ง โดยใช้คาบอก “ก่ึงซ้าย – หัน” เม่ือจะให้ลูกเสือปฏิบัติต่อไปในจังหวะสอง ให้ใช้ คาบอก “ต่อไป” ทำ่ ก้ำวทำงขำ้ ง รูปที่ ๒2 ทา่ ก้าวทางขา้ ง คาบอก “ก้าวทางขวา .......... ก้าว, ทา” “กา้ วทางซ้าย...........กา้ ว, ทา” (คาบอกเปน็ คา ๆ) การปฏิบัติ เม่ือได้ยินคาบอก “ก้าวทางขวา .......... ก้าว, ทา” หรือ “ก้าวทางซ้าย ......... ก้าว, ทา” ให้ลูกเสือก้าวเท้าขวา (ซ้าย) ไปทางข้างในลักษณะเข่าท้ังสองข้างตึง วางปลายเท้าขวา (ซ้าย) จรดพ้ืน แล้วลดส้นเท้าสัมผัสพ้นื เต็มฝ่าเท้า หลังจากน้ันเปลี่ยนน้าหนักตัวไปอยู่บนเท้าท่ีก้าวออกไป แล้วนาเท้าซ้าย (ขวา) ไปชดิ เท้าที่ก้าวออกไปอยู่ในท่าตรง สาหรับก้าวต่อไปคงปฏิบัติเหมอื นเดิมทุกประการครบจานวนก้าว ทง้ั นีจ้ ะตอ้ งรกั ษาการทรงตวั และรา่ งกายส่วนอน่ื ให้อยู่ในทา่ ตรง

๒๓ คาแนะนาสาหรบั ผฝู้ กึ  ทา่ ก้าวทางข้างนี้ มักจะนาไปใช้ในโอกาสท่ีตอ้ งการให้ลูกเสอื เปล่ยี นท่ีตัง้ แถวไปทางข้าง ในระยะใกลไ้ ม่เกิน ๑๐ กา้ ว  ถ้าหากประสงค์จะให้แถวลูกเสือเปลี่ยนท่ีตั้งแถวไปทางขวา (ซ้าย) ในระยะมากกว่า ๑๐ ก้าว ให้ใช้วิธีบอกให้ลูกเสือทาท่าขวา (ซ้าย) หัน เสียก่อน แล้วบอก” หน้า – เดิน” , “แถว – หยุด”, “ขวา (ซ้าย) – หัน” กลบั ส่ทู ิศทางเดมิ และจดั แถวใหม่  คาบอกที่เขียนไว้ว่า “ก้าวทางขวา (ซ้าย)........ ก้าว , ทา” ตรงเครื่องหมาย....... ก้าวทเ่ี ว้นไว้น้ัน ผู้ฝึกจะต้องกาหนดจานวนก้าวใหช้ ดั เจนด้วย เชน่ “ก้าวทางขวา ๕ กา้ ว, ทา” เป็นตน้ ทำ่ ก้ำวถอยหลัง รูปที่ ๒3 ทา่ ก้าวถอยหลงั คาบอก “กา้ วถอยหลงั ........ ก้าว , ทา” (คาบอกเปน็ คา ๆ) การปฏิบัติ เม่อื ได้ยินคาบอก “ก้าวถอยหลัง ...... ก้าว , ทา” ให้ลูกเสอื ก้าวเท้าซ้ายออกไป ทางด้านหลังก่อนให้ได้ความยาวของก้าวประมาณ ๓๐ ซม. ในลักษณะที่เข่าท้ังสองเหยียดตึง และรักษา ทรวดทรงของร่างกายให้อยู่ในลักษณะของท่าตรงตลอดเวลา แล้ววางปลายเท้าท่ีก้าวออกไปก่อนนั้นจรดกับพื้น ต่อจากน้ันให้ลดส้นเท้าลงไปยืนกับพื้นพร้อมกับเปล่ียนน้าหนักตัวไปวางอยู่บนเท้าซ้ายและยกส้นเท้าขวา สงู ข้ึนเล็กน้อย แล้วยกเท้าขวาก้าวออกไปทางข้างหลงั ในลักษณะที่ให้ผ่านเท้าซ้าย ออกไปทางด้านหลังของ เท้าซ้ายอีกประมาณ ๓๐ ซม. และนาปลายเท้าขวาไปจรดกับพื้นไว้ในลักษณะเดียวกันกับการก้าวเท้าซ้าย ออกไปข้างหลังในคร้ังแรก ในลาดับต่อไปให้เปล่ียนเท้าก้าวไปข้างหลังสลับกันไปเช่นน้ันเร่ือย ๆ จนกว่าจะ ครบจานวนก้าวตามท่ีได้รับคาสั่งให้หยุดเท้าข้างทกี่ ้าวไปครบจานวนน้ันไว้กับท่ีในลักษณะวางน้าหนักตัวยืน อยู่บนเท้าขา้ งนน้ั แลว้ จึงนาเท้าหน้าซึง่ เปดิ ส้นเท้าเล็กน้อยเข้ามาชดิ กบั เท้าข้างทหี่ ยุดในลักษณะทา่ ตรง ในกรณีที่ได้รับคาสั่งให้ก้าวไปข้างหลังเพียงหน่ึงก้าว ก็ให้ปฏิบัติโดยก้าวเท้าซ้ายออกไปก่อนใน ลกั ษณะตามทไ่ี ด้อธบิ ายไวข้ ้างต้นแล้วดึงเท้าขวาเข้ามาชดิ กบั เทา้ ซ้ายโดยไม่ต้องก้าวตอ่ ไป

๒๔ คาแนะนาสาหรับผูฝ้ กึ  ท่าก้าวถอยหลังนี้ มักจะนาไปใช้ในโอกาสท่ีต้องการให้ลูกเสือเปลี่ยนที่ตั้งแถวไปทางข้างหลัง ในระยะใกล้ ไม่เกิน ๑๐ กา้ ว  ถ้าหากประสงค์จะให้แถวลูกเสือเปลี่ยนท่ีตั้งแถวไปทางข้างหลังในระยะมากกว่า ๑๐ ก้าว ให้ ใช้วิธบี อกให้ลูกเสือทาท่ากลบั หลังหันเสยี กอ่ น แล้วบอก “หนา้ – เดิน” “ แถว – หยุด” ,“กลบั หลงั – หัน” กลับสู่ทิศทางเดมิ และจัดแถวใหม่  คาบอกทเี่ ขียนไว้ว่า “กา้ วถอยหลัง ........ ก้าว , ทา” ตรงเครอ่ื งหมาย .......... ก้าวที่เว้นไว้นั้น ผู้ฝกึ จะตอ้ งกาหนดจานวนกา้ วให้ชัดเจนดว้ ย เช่น “กา้ วถอยหลงั ๕ กา้ ว, ทา” เป็นต้น ทำ่ เดิน ท่าเดนิ แบ่งออกเปน็ ๓ ท่า คอื ท่าเดินสวนสนาม, ทา่ เดินตามปกต,ิ และท่าเดินตามสบาย ท่ำเดินสวนสนำม รูปท่ี ๒4 ทา่ เดินสวนสนาม คาบอก “สวนสนาม, หน้า – เดิน” (คาบอกผสม) การปฏิบัติ เมื่อได้ยินคาบอก “สวนสนาม, หน้า – เดิน” ให้ลูกเสือเริ่มออกเดินโดย เตะเท้าซ้าย ออกไปข้างหน้าในลักษณะขาเหยียดตึง ปลายเท้างุ้มลงจนรู้สึกว่าหลังเท้าตึงฝ่าเท้าสูงจากพื้นประมาณ ๑ คืบ พร้อมกับยกมือขวาซ่ึงน้ิวท้ังห้าเรียงชิดกันและเหยียดตึงผ่านขึ้นมาทางด้านหน้า แล้วไปหยุดลงตรง ประมาณแนวหัวเข็มขัด และให้ห่างจากหัวเข็มขัดประมาณหน่ึงฝ่ามือในลักษณะที่บิดฝ่ามือเฉียงลงไปทาง ขา้ งหน้า และยกศอกสูงขนึ้ เล็กน้อยแตไ่ ม่ใหศ้ อกกางในขณะเดยี วกันนนั้ กใ็ ห้สลดั แขนและมือซา้ ยซ่งึ น้ิวท้งั ห้า เรียงชิดกันและเหยียดตึงเฉียงลงไปทางด้านหลังทางซ้ายจนรู้สึกว่าแขนเหยียดตึง หันหลังมือออกทางด้าน นอกลาตัวโดยไม่ให้ฝืนลักษณะตามธรรมชาติ น้าหนักตัวท้ังหมดอยู่บนเท้าขวา ลาตัวยืดตรง ยกหน้าอก สายตามองไปยังข้างหน้าในแนวระดับ เม่ือจะสืบเท้าก้าวไปข้างหน้า ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า แล้วตบ ฝ่าเท้าลงไปกับพื้นให้เต็มฝ่าเท้าอย่างแข็งแรงโดยไม่ให้เข่างอ ในลาดับต่อไปให้เปลี่ยนน้าหนักตัวทั้งหมดไป

๒๕ วางอยู่บนเท้าซ้ายแล้วเตะเท้าขวาออกไปข้างหน้าในลักษณะเดียวกันกับการเตะเท้าซ้ายออกไปในครั้งแรก และในขณะเดียวกันนั้นก็ให้สะบัดแขนและมือขวาเฉียงลงไปทางด้านหลังทางขวาจนรู้สึกว่าแขนเหยียดตึง หันหลังมือออกทางด้านนอกลาตัวโดยไม่ให้ฝืนลักษณะตามธรรมชาติ พร้อมกับยกมือซ้ายผ่านขึ้นมาทาง ด้านหน้าแล้วไปหยุดลงตรงประมาณแนวหวั เข็มขัด และให้หา่ งจากหัวเข็มขัดประมาณหนง่ึ ฝ่ามือในลักษณะ ท่ีบิดฝ่ามือเฉียงลงไปทางข้างหน้าและยกศอกสูงขึ้นเล็กน้อยแต่ไม่ให้ศอกกาง ลาตัวยืดตรง ยกหน้าอก สายตามองตรงไปยังข้างหน้าในแนวระดับ ลาดับต่อไปให้ก้าวสลับเท้ากันเดินต่อไปเช่นน้ีเรื่อย ๆ ไป โดยพยายามรกั ษาจังหวะความเรว็ ในการเดินใหค้ งทไี่ ว้ เม่ือเดินเป็นแถวการก้าวและตบเท้าแตล่ ะก้าว ตลอดจนการแกว่งแขนจะต้องกระทาให้พร้อม กนั ท้ังแถว และรักษาลกั ษณะท่าทางในทุกอิรยิ าบถของการเดินใหอ้ งอาจ ผง่ึ ผาย และแข็งแรงอยู่เสมอด้วย การตบเท้าหนกั ตลอดเวลา คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก ในการฝึกลูกเสือ ถ้าผู้ฝึกประสงค์จะให้ลูกเสือฝึกปฏิบัติทีละขั้นตอน เพ่ือผลในการตรวจการปฏิบัตขิ องลูกเสือตามข้นั ตอนต่าง ๆ ให้เป็นไปโดยถูกต้องแล้วผ้ฝู ึกสามารถจะกระทาได้ โดยให้ใช้คาบอกเช่นเดียวกับเปิดจังหวะ กล่าวคือ เม่ือจะเร่ิมต้นทาการฝึกท่าเดินสวนสนามให้ใช้คาบอก “ต่อไปจะฝึกเดินสวนสนามแบบปิดจังหวะ” “สวนสนาม, หน้า – เดิน” เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอกดังกล่าว ให้ทาท่าเตะเท้าซ้ายไปข้างหน้าก่อนแล้วค้างไว้และรอจนกว่าจะได้รับคาส่ังให้ปฏิบัติต่อไป เม่ือผู้ฝึกจะให้ ลูกเสือปฏิบัติในจังหวะต่อไป ก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอก “ต่อไป” จึงทาท่าเตะเท้าขวา ออกไปขา้ งหนา้ แล้วแกวง่ แขนวคา้ งไว้กระทาสลบั กันไปเช่นนี้เรอ่ื ยๆ

๒๖ ทำ่ เดนิ ตำมปกติ รูปที่ ๒5 ทา่ เดินตามปกติ คาบอก “หนา้ – เดิน” (คาบอกแบง่ ) การปฏิบัติ เม่ือได้ยินคาบอก “หน้า – เดิน” ให้ลูกเสือเร่ิมออกเดิน โดยก้าวเท้าซ้ายออกไป ข้างหน้าในลักษณะขาเหยียดตึง ฝ่าเท้าขนานกับพ้ืนและสูงจากพื้นประมาณ ๑ ฝ่ามือ ปลายเท้าชี้ไปใน ทิศทางตรงหน้า ในขณะเดียวกันมือท้ังสองข้างกาแบบหลวมๆ โดยนิ้วหัวแม่มือจรดกับข้อท่ีสองของนิ้วชี้ นิ้วท้ังสี่ (เว้นน้ิวหัวแม่มือ) เรียงชิดกัน แกว่งแขนขวาไปด้านหน้าและแขนซ้ายมาทางด้านหลัง ในลักษณะ งอขอ้ ศอกเล็กนอ้ ยและหนั หลังมือออกไปทางด้านนอกลาตัวแต่พองามโดยไม่ฝืนธรรมชาติ น้าหนกั ตวั อยู่บน เท้าขวา แล้วจึงสืบเท้าซ้ายไปข้างหน้า ๑ ก้าว วางส้นเท้าซ้ายลงจรดพ้ืนก่อนปลายเท้า เปล่ียนน้าหนักตัว มาอยู่บนเท้าซ้าย แขนแกว่งด้านข้างลาตัวให้เลยลาตัวไปด้านหน้าและด้านหลัง ประมาณ ๑ ฝ่ามือ โดยสัมพันธ์กับขาที่ก้าว ลาตัวยืดตรง ยกอกผึ่งผาย สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับ สาหรับในก้าว ตอ่ ไปให้ปฏิบตั ิในลักษณะเชน่ เดียวกัน โดยกา้ วสลบั เท้าเดินอย่างต่อเน่ืองและพยายามรักษาจังหวะความเร็ว ในการเดินให้คงที่ เมอื่ เดินเปน็ แถวการก้าวเท้าออกเดินแตล่ ะก้าว ตลอดจนการแกว่งแขนจะต้องกระทาใหพ้ รอ้ มกัน ทัง้ แถว และรักษาลักษณะท่าทางในทกุ อริ ยิ าบถของการเดินให้องอาจผึง่ ผายอยูเ่ สมอ คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก เม่ือประสงค์จะให้ลูกเสือฝึกปฏิบัติทีละข้ันตอน ให้ใช้ด้วยคาบอก “ตอ่ ไปจะฝกึ เดินตามปกตแิ บบปดิ จงั หวะ” “หนา้ – เดิน” เมื่อลูกเสือไดย้ นิ คาบอกดังกลา่ วน้ีให้ก้าวเทา้ ซา้ ย ไปข้างหน้าและแกว่งแขนค้างไว้แล้วรอจนกว่าจะได้รับคาสั่งให้ปฏิบัติต่อไป เมื่อผู้ฝึกจะให้ลูกเสือปฏิบัติ ในจังหวะต่อไป ก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ลูกเสือจงึ ก้าวเทา้ ขวาไปข้างหน้าพร้อมกับแกว่งแขนค้างไว้ กระทา สลบั กันไปจนกวา่ จะสั่งหยดุ

๒๗ เดนิ ตำมสบำย รูปท่ี ๒6 ท่าเดนิ ตามสบาย คาบอก “เดนิ ตามสบาย” (คาบอกรวด) การปฏบิ ตั ิ เมือ่ ได้ยนิ คาบอก “เดนิ ตามสบาย” ใหล้ ูกเสือปฏิบตั กิ ารเดินและรักษาจงั หวะอัตรา ความเร็วและระยะก้าวในการเดินเช่นเดียวกับท่าเดินตามปกติ คงมีลักษณะที่แตกต่างไปจากท่าเดิน ต า ม ป ก ติ ต ร ง ที่ ท่ า เ ดิ น ต า ม ส บ า ย ไ ม่ ต้ อ ง รั ก ษ า ท่ า ท า ง ใ น ก า ร เ ดิ น อ ย่ า ง เ ค ร่ ง ค รั ด แ ล ะถ้ า เ ดิ น เ ป็ น แ ถ ว กไ็ มจ่ าเป็นตอ้ งเดินพร้อมเท้า หา้ มพูดคยุ กัน เว้นแต่จะไดร้ ับอนุญาต คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก  ตามปกติแล้วท่าเดินตามสบาย มักจะนาไปใช้ในโอกาสท่ีต้องการให้ลูกเสือผ่อนคลาย อริ ิยาบถในการเดินจากท่าเดินตามปกติ เพราะฉะน้ันผู้ฝกึ จาเป็นต้องหัดท่าเดินตามสบายโดยบอกใหล้ ูกเสือ เดนิ ตามปกติกอ่ น แลว้ จงึ สัง่ ใหเ้ ปล่ยี นเป็นทา่ เดนิ ตามสบายโดยใชค้ าบอก “เดนิ ตามสบาย”  เม่ือผู้ฝึกประสงค์จะให้ลูกเสือ ซึ่งเดินอยู่ในท่าเดินตามสบายกลับไปทาท่าเดินตามปกติ ผู้ฝึกจะต้องใช้คาบอก “เดินเข้าระเบียบ” เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอก “เดินเข้าระเบียบ” ให้ลูกเสือกลับไป ทาท่าเดินตามปกติซ่ึงบางคนอาจจาเปน็ ตอ้ งทาท่าเปล่ยี นเทา้ เองโดยไม่ต้องมีคาบอกก่อนกไ็ ด้  ในขณะที่ลูกเสือเดินตามสบายอยู่น้ัน จะใช้คาบอก “แถว – หยุด” ไม่ได้ เพราะว่าลูกเสือ ในแถวนั้นอาจจะเดินเท้าไม่พรอ้ มกัน เม่ือผู้ฝึกประสงค์จะสั่งให้แถวลูกเสือซึ่งกาลังเดินตามสบายทาทา่ หยุด จากการเดนิ ผฝู้ กึ จะตอ้ งส่ังใหล้ กู เสือเดินเข้าระเบยี บเสียก่อน จงึ ใช้คาบอก “แถว – หยุด” ได้

๒๘ ทำ่ หยดุ จำกกำรเดิน รูปที่ ๒7 ทา่ หยดุ จากการเดิน คาบอก “แถว – หยดุ ” (คาบอกแบ่ง) การปฏบิ ัติ ทา่ น้แี บง่ ออกเปน็ สองจังหวะดงั ตอ่ ไปน้ี จังหวะหนึ่ง เม่ือได้ยินคาบอก “แถว – หยุด” พอสิ้นคาบอก “หยุด” ไม่ว่าจะเป็นในขณะท่ี เท้าข้างใดตกถึงพื้นก็ตาม ให้ลูกเสือก้าวเท้าอีกข้างหน่ึงไปข้างหน้าอีกคร่ึงก้าวประมาณ ๓๐ – ๔๐ เซนติเมตร พร้อมกันน้ันให้โน้มน้าหนักตัวไปอยู่ท่ีเท้าหน้า มือและแขนทั้งสองยังคงแกว่งอยู่ในลักษณะสลับ กับเท้า ขาทั้งสองตึง สน้ เท้าหลังเปิดและบดิ ออกไปทางดา้ นนอกของลาตัวเลก็ น้อย จังหวะสอง ชักเท้าหลังมาชิดกับเท้าหน้า พร้อมกับสะบัดมือและแขนทั้งสองข้างลงไปอยู่ใน ลักษณะของทา่ ตรงอย่างแขง็ แรงแล้วน่งิ คาแนะนาสาหรับผฝู้ ึก  ในการใช้คาบอก ผู้ฝึกจะใช้คาบอก “แถว – หยุด” เมื่อเท้าข้างใดข้างหนึ่งของลูกเสือ ในแถวตกถึงพ้ืนกไ็ ด้ โดยยึดถือหลกั ดังนี้ เมื่อใช้คาบอก “แถว” ในขณะที่เท้าขา้ งใดตกถึงพน้ื ก็ให้ใช้คาบอก “หยุด” ในขณะที่เท้าข้างนัน้ ตกถงึ พื้นอีกคร้ังในก้าวต่อไป ตัวอย่างเช่น ใชค้ าบอก “แถว” ในขณะที่เท้าข้างขวา ของลกู เสือตกถึงพ้ืน จะต้องใช้คาบอก “หยุด” ในขณะท่ีเท้าขา้ งขวาของลูกเสือตกถงึ พนื้ ในครัง้ ถัดไป เปน็ ตน้  โดยธรรมดาแล้ว ลูกเสือแต่ละคน ย่อมจะมีความถนัดในการใช้เท้า ทาท่าหยุดต่างกัน บางคนอาจถนัดนาเท้าขวามาชิดเม่ือหยุด หรือบางคนอาจถนดั นาเท้าซ้ายมาชิดเมือ่ หยุดกไ็ ด้ในรายทไี่ ม่ถนัด ย่อมแสดงออกให้เห็นด้วยการทาท่าหยุดท่ีไม่แข็งแรงหรือไม่ทะมัดทะแมงเพราะฉะน้ันเพ่ือเป็นการฝึกให้ ลูกเสือเกิดความเคยชิน และถนัดใช้เท้าหยุดอย่างแข็งแรงได้ทั้งสองเท้าผู้ฝึกควรจะได้พยายามฝึกให้ลูกเสือ

๒๙ ทาท่าหยุดอย่างแข็งแรงได้ทั้งสองเท้าโดยพยายามฝึกให้ลูกเสือทาท่าหยุดด้วยการใช้คาบอกเมื่อทั้งเท้าขวา และเทา้ ซ้ายตกถึงพนื้ ควบคกู่ ันไปอยเู่ สมอ  ในการฝึกหากผู้ฝึกประสงค์จะฝึกลูกเสือให้ทาท่าหยุดในท่าปิดจังหวะ ผู้ฝึกจะต้องแจ้งให้ ลูกเสือทราบล่วงหน้าก่อนว่า “ต่อไปจะทาการฝึกท่าหยุดปิดจังหวะ” ส่วนการใช้คาบอก “แถว – หยุด” คงใช้ตามหลักการเดิมที่กล่าวแล้ว เมื่อลูกเสือได้ยิน คาบอก “หยุด” ก็ให้ลูกเสือทาท่าหยุดจังหวะหนึ่ง แลว้ ค้างไว้ เม่ือผ้ฝู ึกจะให้ทาท่าหยดุ จงั หวะสองกใ็ หใ้ ชค้ าบอก “ต่อไป” ลกู เสอื ทาท่าหยุดจังหวะสอง  ในการฝกึ ท่าหยุดจากการเดนิ น้ี ผ้ฝู กึ ควรจะฝกึ ท่าหยดุ จากทา่ เดินสวนสนามก่อน เพราะว่า ท่าเดินสวนสนามเป็นท่าท่ีมีจังหวะการเดินช้ากว่าท่าเดินตามปกติ การทาท่าหยุดของลูกเสือจะสามารถ ทาได้เป็นจังหวะและเรียนรู้ได้ง่ายกว่า นอกจากน้ียังทาให้ผู้ฝึกมีโอกาสตรวจและปรับปรุงแก้ไขลักษณะ ทา่ ทางของลูกเสอื ไดล้ ะเอียดขึ้นดว้ ย ทำ่ เปลี่ยนเทำ้ ในเวลำเดนิ รปู ที่ ๒8 ทา่ เปลย่ี นเท้าในเวลาเดนิ คาบอก “เปลี่ยนเท้า” (คาบอกรวด) การปฏิบตั ิ การเปล่ยี นเทา้ ให้ปฏบิ ัติเป็น ๓ ตอนดงั ตอ่ ไปน้ี ตอนที่หนึ่ง เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอก “เปลี่ยนเท้า” พอสิ้นเสียงคาบอก “เท้า” ในขณะที่ เท้าซ้ายตกถึงพ้ืน ก็ให้ก้าวเท้าขวาเดินไปข้างหน้าอีกหนึ่งก้าว ถ้าสิ้นเสียงคาบอก “เท้า” ในขณะท่ีเท้าขวา ตกถึงพื้น ก็ให้ก้าวเท้าซ้ายเดินไปข้างหน้าอีกหน่ึงก้าวแล้วย้งั ตัวหยดุ ไว้วางน้าหนกั ตัวอยู่บนเท้าท่กี ้าวออกไป ขา้ งหน้าน้ัน ตอนท่ีสอง ในลาดับต่อไปให้เล่ือนเท้าอีกข้างหน่ึงซ่ึงอยู่ข้างหลังขึ้นมาจนชิดกับเท้าหน้า ในลกั ษณะใหป้ ลายเทา้ หลังจรดกับสน้ เท้าหน้า ตอนที่สาม ในลาดับต่อไปให้ก้าวเท้าหน้า (ที่หยุดย้ังไว้ในตอนท่ีหน่ึง) ออกเดินต่อไป ในจังหวะการเดินเดมิ สาหรบั การแกวง่ แขนและมือคงเปน็ ไปตามลกั ษณะของทา่ เดิน

๓๐ คาแนะนาสาหรบั ผ้ฝู กึ  การฝกึ “เปลี่ยนเทา้ ” แบบเปิดตอน  ผู้ฝึกจะต้องอธิบายให้ผู้รับการฝึกเข้าใจด้วยว่า ท่าเปลี่ยนเท้าท่ีรับการฝึกน้ีจะสามารถ นาไปใช้ได้ในโอกาสท่ีตนเองเดินผิดเท้ากับผู้อื่นในขณะที่เดินอยู่ในแถว ซ่ึงแต่ละคนจะสามารถเปล่ียนเท้า ด้วยวิธีการตามที่ได้รับการฝึกไปน้ีได้ตามลาพงั โดยไมจ่ าเป็นต้องรอใหม้ ผี ู้ควบคุมหรอื มผี ู้หนึ่งผูใ้ ดส่ัง ในกรณี ทีไ่ ด้ยนิ ผคู้ วบคุมแถวบอกให้เดินให้เท้าพรอ้ ม ลกู เสอื ต้องปฏิบตั ิตามในลกั ษณะเชน่ เดียวกันกับที่ฝกึ น้ี  การฝึก “เปลย่ี นเท้า” แบบปิดตอน  ผู้ฝึกจะต้องแจ้งให้ลูกเสือทราบล่วงหน้าก่อนว่า “ต่อไปจะทาการฝึกท่าเปลี่ยนเท้าปิด ตอน” เมื่อลูกเสือได้ยินคาบอก “เปล่ียนเท้า” ก็ให้ทาท่าเปลี่ยนเท้าตอนที่หน่ึงแล้วค้างไว้ เมื่อผู้ฝึกจะให้ ลูกเสือทาท่าเปลี่ยนเท้าตอนท่ีสอง ก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ลูกเสือทาท่าเปล่ียนเท้าตอนท่ีสองแล้วค้างไว้ เม่ือผู้ฝึกจะให้ลูกเสือทาท่าเปลี่ยนเท้าตอนท่ีสามก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ลูกเสือทาท่าเปลี่ยนเท้าตอนที่สาม แล้วคา้ งไว้ และเมื่อผูฝ้ กึ จะให้ลูกเสือเดินต่อไปก็ใหใ้ ชค้ าบอก “เดนิ ตอ่ ไป” ลูกเสือทาทา่ เดนิ ตอ่ ไป หมำยเหตุ ในการฝึกท่าเปล่ียนเท้าน้ี ผู้ฝึกควรจะฝึกท่าเปล่ียนเท้าจากท่าเดนิ สวนสนามเพราะว่า ทา่ เดินสวนสนามเป็นท่าที่มีจังหวะการเดินช้ากว่าท่าเดินตามปกติ การทาท่าเปลี่ยนเท้าของลูกเสือสามารถ ทาได้เป็นขั้นตอนและเรียนรู้ได้ง่าย นอกจากนี้ยังทาให้ผู้ฝึกมีโอกาสตรวจและปรับปรุงแก้ไขลักษณะท่าทาง ของลกู เสอื ได้ละเอียดขึน้ ดว้ ย

๓๑ ทำ่ ซอยเท้ำ ท่าซอยเท้าแบ่งออกเป็น ๔ ท่า คือ ท่าซอยเท้าเมื่ออยู่กับที่, ท่าหยุดจากการซอยเท้า, ท่าเดิน จากการซอยเท้า และท่าซอยเท้าจากการเดิน ๑. ทา่ ซอยเทา้ เม่ืออยกู่ ับที่ ทา่ ซอยเทา้ เมื่ออยูก่ บั ท่ีจะตอ้ งทาตอ่ จากท่าตรงเท่านนั้ รูปท่ี ๒9 ทา่ ซอยเท้า คาบอก “ซอยเทา้ ” (คาบอกรวด) การปฏิบัติ เมื่อได้ยนิ คาบอก “ซอยเท้า” ให้ลูกเสือยกเทา้ ซา้ ยขนึ้ ในทางดิ่งจนปลายเท้าสูง จากพื้นประมาณหน่ึงคืบ โดยยกส้นเท้าให้สูงขึ้นกว่าปลายเท้าเล็กน้อย พร้อมกับแกว่งแขนแล้วจัดมือ ในลักษณะเดียวกันกับท่าเดิน ในลาดับต่อไปให้วางเท้าซ้ายลงไปยืนกับพื้น ณ ท่ีเดิมในลักษณะย่าอยู่กับท่ี ในขณะเดียวกันนั้นให้ยกเท้าขวาขึ้นให้สูงจากพื้นในลักษณะเดียวกันกับการยกเท้าซ้ายข้ึนในครั้งแรก แกว่งแขนและมือไปตามจังหวะของท่าเดิน ต่อไปวางเท้าขวาลงไปยืนกับพื้นในลักษณะเดียวกัน กบั การวางเท้าซา้ ยลงในครง้ั แรก แล้วยกเทา้ ซ้ายและขวาข้นึ ลงสลับกนั ไปเรอ่ื ย ๆ ในลักษณะยา่ อยกู่ บั ท่ี คาแนะนาสาหรบั ผู้ฝกึ  ในการฝึกท่าซอยเท้าเมื่ออยู่กับท่ีน้ีผู้ฝึกจะต้องเน้นหนักให้ลูกเสือทราบว่าในขณะ ย่าเทา้ จะต้องพยายามรกั ษาจดุ วางเท้าใหค้ งท่ีอย่ตู ลอดเวลา  ลักษณะท่าทางในการย่าเท้าอยู่กับที่ ให้พยายามรักษาลักษณะทรวดทรงของลาตัว ทอ่ นบนและศีรษะไวใ้ หอ้ ยใู่ นลักษณะของท่าตรงตลอดเวลา  สาหรับจังหวะในการย่าเท้าอยู่กับท่ีของเท้าทั้งสองข้างน้ัน คงให้เป็นไปตามจังหวะ ของการเดินน้ัน ๆ ตัวอย่างเช่น เม่ือกาหนดให้ลูกเสือทาท่าซอยเท้าด้วยการแกว่งแขนและมือตามลักษณะท่า เดนิ สวนสนาม ก็ให้ลกู เสอื รกั ษาลกั ษณะการย่าเท้าอยู่กับที่

๓๒ 2. ท่าหยุดจากการซอยเท้า รูปที่ 30 ทา่ หยดุ จากการซอยเท้า คาบอก “แถว – หยุด” (คาบอกแบ่ง) การปฏิบัติ ทา่ นม้ี ีสองจังหวะดังต่อไปน้ี จังหวะหน่ึง เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอก “แถว – หยุด” พอส้ินคาบอก “หยุด” ไม่ว่าจะเป็น ในขณะที่เท้าข้างใดตกถึงพื้นก็ตาม ให้ย่าเท้าอีกข้างหน่ึงลงไปกับพ้ืนอีกคร้ังหน่ึงแล้วยกเท้าอีกข้างหนึ่ง ให้สูงขึ้นจากพื้น (สาหรับมอื และแขนน้ันคงแกว่งค้างไว้ในจังหวะของเท้าที่ยกขนึ้ ในลักษณะเดียวกันกับการ ก้าวเท้าในเวลาเดิน) จังหวะสอง วางเท้าท่ียกค้างไว้น้ันลงไปยืนกับพ้ืนในลักษณะของท่าตรง พร้อมกับสะบัด แขนและมอื ที่แกวง่ กลบั มาอยใู่ นลกั ษณะของท่าตรง คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก สาหรับในการใช้คาบอกและวิธีการฝึกคงมีหลักเกณฑ์เช่นเดียวกัน กบั ท่าหยุดจากการเดนิ

๓๓ 3. ท่าเดินจากการซอยเทา้ รูปท่ี ๓1 ท่าเดินจากการซอยเทา้ คาบอก “หน้า – เดิน” (คาบอกแบง่ ) การปฏิบัติ เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอก “หน้า – เดิน” ลูกเสือจะได้ยินเสียงคาว่า “เดิน” ในขณะท่ีเท้าซ้ายตกถึงพื้น การปฏิบัติข้ันต่อไปให้ซอยเท้าขวาอยู่กับท่ีอีกครั้งหนึ่งแล้วจึงเริ่มเตะเท้าซ้าย ออกไปขา้ งหนา้ ในลกั ษณะของทา่ เดนิ และเร่มิ เดนิ ต่อไป คาแนะนาสาหรบั ผูฝ้ ึก  ในการใช้คาบอกของผู้ฝึกให้ใช้คาบอก “หน้า” ในขณะท่ีเท้าซ้ายตกถึงพื้น และ คาบอก “เดิน” ในขณะทีเ่ ท้าซา้ ยตกถงึ พน้ื ในคร้ังถัดไปเสมอ  ถา้ หากประสงค์จะใหล้ ูกเสอื ทาท่าเดนิ สวนสนามต้องใช้คาบอก “สวนสนาม, หน้า – เดิน”  โดยคาบอก “สวนสนาม” เมื่อเท้าซ้ายตกถึงพ้ืนคร้ังแรก และใช้คาบอก “หน้า” เมือ่ เท้าซ้ายตกถึงพ้ืนคร้งั ทสี่ อง และใช้คาบอก “เดิน” เมื่อเท้าซา้ ยตกถึงพนื้ ครั้งที่สาม ต่อจากนั้นย่าเทา้ ขวา อยู่กับท่หี น่ึงครงั้ แลว้ เดินเตะเทา้ ซา้ ยออกเดิน

๓๔ 4. ทา่ ซอยเท้าจากการเดนิ รปู ท่ี ๓2 ทา่ ซอยเท้าจากการเดนิ คาบอก “ซอย – เท้า” (คาบอกแบ่ง) การปฏิบัติ เมื่อลูกเสือได้ยินคาบอก “ซอย – เท้า” พอส้ินคาบอก “เท้า” ไม่ว่าจะเป็น ในขณะท่ีเท้าข้างใดตกถึงพ้ืนก็ตาม ให้ก้าวเท้าอีกข้างหนึ่งเดินต่อไปข้างหน้าอีกหน่ึงก้าวพร้อมกับยั้งตัวหยุดไว้ แล้วเลื่อนเท้าหลังขึ้นมาจนเสมอกับเท้าหน้า พร้อมกับย่าเท้าลงไปตรงข้างเคียงกับเท้าข้างท่ีหยุดไว้น้ัน ในลกั ษณะของการซอยเทา้ อยู่กบั ท่ี ตอ่ จากนั้นใหท้ าทา่ ซอยเท้าอยูก่ ับที่ คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก ในการใชค้ าบอกของผู้ฝึกให้ใช้คาบอก “ซอย” ในขณะท่ีเทา้ ข้างใด ข้างหนึ่งของลูกเสือตกถึงพ้ืน และใช้คาบอก “เท้า” ในขณะที่เท้าข้างนั้นตกถึงพื้นอีกคร้ังหน่ึงแล้วจึงทาท่า ซอยเท้า

๓๕ ท่ำหนั ในเวลำเดิน ท่าหันในเวลาเดินแบ่งออกได้เป็น ๓ ท่า คือ ท่าขวาหันในเวลาเดิน, ท่าซ้ายหันในเวลาเดิน, และท่ากลบั หลงั หันในเวลาเดนิ ๑. ท่าขวาหนั ในเวลาเดนิ รูปที่ ๓3 ทา่ ขวาหนั ในเวลาเดิน คาบอก “ขวา – หนั ” (คาบอกแบ่ง) การปฏบิ ัติ ท่านแ้ี บง่ ออกเป็นสองจงั หวะดังตอ่ ไปนี้ จังหวะหนึ่ง เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอก “ขวา – หัน” ลูกเสือจะได้ยินคาบอก “หัน” ในขณะที่ เท้าขวาตกถึงพื้น เม่ือเท้าข้างขวาได้ตกถึงพื้นแล้วให้ย้ังการเดินหยุดไว้ด้วยเท้าข้างขวาน้ัน ต่อจากน้ัน ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าและนาปลายเท้าไปแตะไว้ที่พื้นใน ลักษณะให้ส้นเท้าอยู่เป็นแนวเส้นตรง อนั เดียวกันกับปลายเท้าขวา และให้ส้นเท้าซ้ายห่างจากปลายเท้าขวาไปทางซ้ายประมาณหนึ่งฝ่ามือ ยกส้นเท้าซ้ายสูงขึ้นเล็กน้อยพร้อมกับสะบัดแขนและมือท่ีแกว่งอยู่ท้ังสองข้างมาแตะติดไว้ตรงข้าง ขากางเกงในลักษณะของท่าตรง ต่อไปใหย้ กลาตัวสูงขึ้นในลักษณะยืนอยู่บนปลายเท้าทั้งสองข้าง พร้อมกับ เหว่ียงให้หมุนไปทางขวาโดยใช้ปลายเท้าท้ังสองเป็นจุดหมุนจนได้ ๙๐ องศา ส้นเท้าทั้งสองเปิด ในขณะท่ี หมุนตัวไปทางขวานิ้วมือท้ังสองต้องแตะอยู่ท่ีข้างขากางเกง และรักษาทรวดทรงของร่ายกายท่อนบน และศรี ษะให้อยู่ในลกั ษณะของท่าตรงดว้ ย จังหวะสอง ให้เปล่ียนน้าหนักตัวมาวางอยู่บนเท้าข้างซ้ายพร้อมกับเตะเท้าขวาออกเดิน ตอ่ ไปด้วยการแกว่งมอื และแขนให้ถูกต้องตามลกั ษณะของท่าเดินและเดนิ ตอ่ ไป คาแนะนาสาหรับผ้ฝู กึ ถ้าผู้ฝึกประสงค์จะฝึกในท่าปิดจังหวะ ผู้ฝึกจะต้องแจ้งให้ลูกเสือทราบก่อนว่า “ต่อไป จะทาการฝึกท่าขวาหันในเวลาเดินปิดจังหวะ” ส่วนการใช้คาบอก “ขวา – หัน” คงใช้ตามท่ีกล่าวไว้แล้ว ข้างต้น แต่ในการปฏิบัติน้ัน เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอก “หัน” ก็ให้ลูกเสือทาท่าขวาหันจังหวะหนึ่งแลว้ ค้างไว้ เม่ือผู้ฝึกจะให้ลูกเสือทาท่าขวาหันจังหวะสอง ก็ให้ใช้คาบอก “ต่อไป” ลูกเสือทาท่าขวาหันจังหวะสองแล้ว เดินต่อไป

๓๖ 2. ท่าซา้ ยหนั ในเวลาเดนิ รูปท่ี ๓4 ท่าซ้ายหนั ในเวลาเดิน คาบอก “ซ้าย – หัน” (คาบอกแบง่ ) การปฏบิ ัติ ทา่ นีแ้ บง่ ออกเป็นสองจงั หวะดังต่อไปน้ี จังหวะหน่ึง เมื่อลูกเสือได้ยินคาบอก “ซ้าย – หัน” ลูกเสือได้ยินคาบอก “หัน” ในขณะที่ เท้าซ้ายตกถงึ พืน้ เมื่อเท้าข้างซา้ ยตกถงึ พ้ืนแลว้ ให้ย้ังการเดินหยุดไว้ด้วยเทา้ ข้างซา้ ยนัน้ และใหก้ ้าวเทา้ ขวา ไปข้างหน้า นาปลายเท้าไปแตะไว้ท่ีพื้นในลักษณะให้ส้นเท้าอยู่เป็นแนวเส้นตรงเดียวกันกับปลายเท้าซ้าย และให้ส้นเท้าขวาอยู่ห่างจากปลายเท้าซ้ายไปทางขวาประมาณหนึ่งฝ่ามือ ยกส้นเท้าขวาสูงขึ้นเล็กน้อย พร้อมกับสะบัดแขน และมือท่ีแกว่งอยู่ท้ังสองข้างมาแตะติดไว้ตรงข้างขากางเกงในลักษณะของท่าตรง ตอ่ ไปให้ยกลาตัวสูงขึน้ ในลักษณะยืนอยบู่ นปลายเท้าท้ังสองขา้ ง พร้อมกับเหวีย่ งตัวใหห้ มนุ ไปทางซ้ายโดยใช้ ปลายเท้าทง้ั สองเป็นจดุ หมุนจนได้ ๙๐ องศา สน้ เทา้ ทงั้ สองเปิด ในขณะทหี่ มุนตัวไปทางซา้ ย มือทงั้ สองตอ้ ง แตะอยทู่ ่ีข้างขากางเกง และรกั ษาทรวดทรงของรา่ งกายท่อนบนและศรี ษะใหอ้ ยู่ในลกั ษณะของท่าตรงดว้ ย จงั หวะสอง ให้เปลี่ยนนา้ หนักตัวมาวางอยู่บนเทา้ ขา้ งขวาพรอ้ มกบั เตะเท้าซ้ายก้าวออกเดิน ต่อไปด้วยการแกวง่ มือและแขนให้ถูกตอ้ งตามลักษณะของทา่ เดนิ คาแนะนาสาหรบั ผูฝ้ ึก  ในการใช้คาบอกของผู้ฝึกให้ใช้คาบอก “ซ้าย” ในขณะท่ีเท้าข้างซ้ายของลูกเสือ ตกถงึ พน้ื และคาบอก “หนั ” ในขณะท่ีเท้าข้างซา้ ยของลูกเสือตกถึงพน้ื ในคร้ังถัดไป  ถ้าผู้ฝึกประสงค์จะฝึกในท่าปิดจังหวะ ผู้ฝึกจะต้องแจ้งให้ลูกเสือทราบก่อนว่า “ตอ่ ไปจะทาการฝึกทา่ ซา้ ยหนั ในเวลาเดนิ ปดิ จงั หวะ” ส่วนการใชค้ าบอก “ซ้าย – หนั ” คงใช้ตามที่กลา่ วไว้ แล้วข้างต้น แต่ในการปฏิบัติน้ัน เมื่อได้ยินคาบอก “หัน” ก็ให้ลูกเสือทาท่าซ้ายหันจังหวะหนึ่งแล้วค้างไว้ เมื่อผู้ฝึกจะให้ลูกเสือทาท่าซ้ายหันจังหวะสอง ก็ให้ใชค้ าบอก “ต่อไป” ลูกเสือทาท่าซ้ายหันจงั หวะสองแล้ว เดินตอ่ ไป

๓๗ 3. ท่ากลับหลงั หันในเวลาเดนิ จงั หวะ 1 จงั หวะ 2/1 จังหวะ 2/2 จงั หวะ 3 รปู ที่ ๓5 ท่ากลบั หลังหนั ในเวลาเดนิ คาบอก “กลบั หลัง – หัน” (คาบอกแบ่ง) การปฏบิ ตั ิ ท่านี้แบ่งออกเปน็ สามจังหวะดังต่อไปน้ี จังหวะหน่ึง เมื่อลูกเสือได้ยินคาบอก “กลับหลัง – หัน” ลูกเสือจะได้ยินคาบอก “หัน” ในขณะท่ีเท้าข้างซ้ายตกถึงพื้น เมื่อเท้าข้างซ้ายตกถึงพ้ืนแล้วให้ก้าวเท้าขวาไปข้างหน้าอีกประมาณคร่ึงก้าว และยั้งตัวหยุดเดินไว้ พร้อมกันน้ันให้โน้มน้าหนักตัวไปอยู่ท่ีเท้าข้างขวา พร้อมกับสะบัดมือและแขนที่แกว่ง อยทู่ ้งั สองขา้ งมาแตะติดไว้ข้างขากางเกงในลักษณะของทา่ ตรง ขาทง้ั สองตึง ส้นเท้าหลงั เปดิ จังหวะสอง/หน่ึง ก้าวเท้าซา้ ยซ่ึงอยู่ข้างหลังผ่านเท้าขวาขึ้นไปทางขา้ งหน้าเฉียงไปทางขวา เล็กน้อย และให้วางปลายเทา้ ซ้ายลงแตะพ้ืนตรงข้างหน้าทางขวาของปลายเท้าขวา ประมาณให้ส้นเท้าซ้าย อยู่ห่างจากปลายเท้าขวาหน่ึงฝ่ามือในลักษณะเข่าเหยียดตึง เม่ือปลายเท้าซ้ายแตะพื้นให้โน้มน้าหนักตัวไป ยนื อย่บู นปลายเทา้ ทง้ั สองข้าง จังหวะสอง/สอง เหวี่ยงตัวให้หมุนไปทางขวาโดยใช้ปลายเท้าทั้งสองเป็นจุดหมุนจนได้ ๑๘๐ องศา (กลับหน้าเป็นหลัง) ส้นเท้าท้ังสองเปิดในขณะที่หมุนตัวกลับน้ีมือท้ังสองต้องแตะอยู่ท่ีข้าง ขากางเกง และรกั ษาทรวดทรงร่างกายทอ่ นบนและศีรษะให้อยูใ่ นลักษณะของทา่ ตรงดว้ ย จังหวะสาม ให้ก้าวเท้าซ้ายออกเดินต่อไป พร้อมกับแกว่งแขนและมือให้ถูกต้อง ตามลกั ษณะของท่าเดนิ คาแนะนาสาหรับผ้ฝู กึ  ในการใช้คาบอกของผู้ฝึกให้ใช้คาบอก “กลับหลัง” ในขณะท่ีเท้าข้างซ้าย ของลูกเสือตกถงึ พ้นื และคาบอก “หนั ” ในขณะท่เี ท้าขา้ งซา้ ยของลูกเสือตกถึงพ้ืนในครง้ั ถดั ไป  ถ้าผู้ฝึกประสงค์ฝึกในท่าปิดจังหวะ ผู้ฝึกจะต้องแจ้งให้ลูกเสือทราบก่อนว่า “ต่อไป จะทาการฝึกทา่ กลบั หลังหันในเวลาเดินปดิ จงั หวะ” ส่วนการใชค้ าบอก “กลบั หลงั – หัน” คงใช้ตามท่กี ล่าว ไวแ้ ล้วข้างต้น แต่ในการปฏิบัติน้นั เมือ่ ลูกเสือได้ยินคาบอก “หัน” ก็ใหล้ ูกเสือทาทา่ กลับหลังหันจังหวะหนึ่ง

๓๘ แลว้ คา้ งไว้ เมอ่ื ผูฝ้ ึกจะให้ลูกเสอื ทาท่ากลับหลังหนั จงั หวะสอง/หนง่ึ จงั หวะสอง/สอง และจังหวะสามก็ใหใ้ ช้ คาบอก “ตอ่ ไป” ตามลาดับแล้วเดินตอ่ ไป ทำ่ เคำรพ ท่าเคารพ สามารถใช้แสดงความเคารพได้ทั้งขณะอยู่กับท่ีและเคล่ือนที่ ในการฝึกขั้นต้นควรฝึก แสดงความเคารพอยู่กับทก่ี อ่ น โดยเรมิ่ จากท่าแลขวา ทา่ แลซ้าย เพอ่ื ให้งา่ ยตอ่ การฝึกทา่ วนั ทยหัตถ์ต่อไป ท่าแลขวา ท่าแลซ้าย เป็นการแสดงความเคารพขณะอยู่กับที่และเคลื่อนที่โดยปฏิบัติจาก ท่าตรง ในโอกาสดงั น้ี - ไมส่ วมหมวกไม่ว่าจะแตง่ กายชุดใดกต็ าม - สวมหมวกแต่ถอื ของหนกั จนไมส่ ามารถแสดงความเคารพดว้ ยท่าวันทยหตั ถ์ได้ - สวมหมวกแตไ่ ด้รับบาดเจ็บที่มือหรือแขน ไม่สามารถแสดงความเคารพดว้ ยท่าวันทยหัตถ์ได้ คาบอก “แลขวา – ทา” “แลซ้าย – ทา” (คาบอกแบ่ง) และเม่ือเลิกแสดงความเคารพ ใช้คาบอก “แล – ตรง” การปฏิบตั ิ ในการฝึกขั้นต้นยงั ไม่ตอ้ งมีผรู้ บั การเคารพ และปฏบิ ัตขิ ณะอยกู่ บั ที่ ดังน้ี 1. เมื่อได้ยินคาบอก “แลขวา – ทา” ให้ลูกเสือสะบัดหน้าไปทางขวา ประมาณกึ่งขวา หรือ ประมาณ ๔๕ องศา ใบหน้าต้ังตรงและสายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับ โดยร่างกายส่วนอ่ืนยงั อยู่ใน ลกั ษณะทา่ ตรง (เม่ือได้ยินคาบอก “แลซ้าย – ทา” ใหล้ กู เสอื สะบดั หน้าไปทางซา้ ย ฯ) รูปที่ ๓6 ท่าแลขวา – ท่าแลซ้าย 2. เมือ่ ไดย้ นิ คาบอก “แล – ตรง” ให้สะบดั หนา้ กลบั มาอยู่ในทา่ ตรง คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก จะต้องอธิบายให้ลูกเสือเข้าใจ โดยปกติเม่ือลูกเสือออกนอกอาคาร จะต้องสวมหมวกเสมอ ดังนั้นการแสดงความเคารพจะใช้ท่าวันทยหัตถ์ แต่อย่างไรก็ตามท่าแลขวา ท่าแลซ้าย ก็มบี างโอกาสทจ่ี าเปน็ ตอ้ งใช้ พร้อมทั้งช้แี จงถงึ โอกาสในการใชใ้ หล้ ูกเสือเข้าใจดว้ ย ท่าวันทยหัตถ์ เป็นการแสดงความเคารพขณะอยู่กับท่ีและเคลื่อนท่ีโดยปฏิบัติจากท่าตรง ประกอบด้วยทา่ ตรงหนา้ วนั ทยหัตถ์ ทางขวาวนั ทยหัตถ์ และทางซ้ายวนั ทยหัตถ์ - ท่าตรงหน้าวันทยหตั ถ์ ใชค้ าบอก “ตรงหนา้ , วันทยหัตถ์” (คาบอกเปน็ คา ๆ ) - ท่าทางขวาวันทยหตั ถ์ ใช้คาบอก “ทางขวา, วันทยหตั ถ์” (คาบอกเป็นคา ๆ ) - ท่าทางซา้ ยวนั ทยหัตถ์ ใช้คาบอก “ทางซา้ ย, วันทยหัตถ์” (คาบอกเป็นคา ๆ ) - เม่ือเลิกแสดงความเคารพ ใชค้ าบอก “มอื ลง” (คาบอกรวด)

๓๙ การปฏบิ ัติ ในการฝึกขน้ั ตน้ ให้ปฏบิ ตั ิโดยยังไม่ต้องมผี ูร้ ับความเคารพ และปฏิบัตใิ นขณะอยู่กบั ท่ี ดังนี้ ๑. ท่าตรงหน้าวันทยหัตถ์ เม่ือได้ยินคาบอก “วันทยหัตถ์” หรือ “ตรงหน้า, วันทยหัตถ์” ให้ลูกเสือยกมือขวาข้ึนมาอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ในลักษณะงอแขนท่อนล่างเข้าหาลาตัว ฝ่ามือเหยียดตรงไปตามแนวแขนท่อนล่าง น้ิวท้ังสาม (นิ้วชี้ นิ้วกลาง น้ิวนาง) เรียงชิดกันและข้อมือไม่หัก โดยนาปลายน้ิวชี้ไปแตะตรงปลายน้ิวแนวหางตาขวา (เมื่อสวมหมวกทรงอ่อน) หรือที่ขอบของกะบังหมวก ทางดา้ นขวา (เม่อื สวมหมวกทรงกลม หมวกทรงหมอ้ ตาล) หรอื ทขี่ อบปกี หมวกทางดา้ นหน้า (เมื่อสวมหมวกปีกพับขา้ ง หรือหมวกปกี กว้างสกี ากี) โดยเปดิ ฝา่ มือทางดา้ นนว้ิ นางประมาณ ๓๐ องศา แขนขวาทอ่ นบนเหยียดออกไป ด้านข้างเสมอแนวไหล่และเฉียงไปข้างหน้าเล็กน้อย ร่างกายส่วนอื่นไม่เสียลักษณะ ท่าตรง สายตามองตรง ไปขา้ งหนา้ ในแนวระดบั รูปท่ี ๓7 ลกู เสอื สารองทาความเคารพ “ตรงหนา้ ,วันทยหตั ถ์” (หมวกทรงกลมมีกระบงั หมวก) ลกู เสือสารองทาวันทยหัตถ์ ๒ นว้ิ โดยใช้นวิ้ ช้ีแตะท่ขี อบกระบังหมวกติดขอบหมวก เปดิ ฝ่ามือข้ึน ไปประมาณ ๓๐ องศา โอกาสในการใช้ ทาวันทยหัตถ์ และกล่าวคาปฏิญาณ (กรณีมิได้สวมหมวก ให้ใช้นิ้วชี้แตะท่ี หางคิ้วขวา)

๔๐ รูปท่ี ๓8 ลกู เสือสามญั ทาความเคารพ “ตรงหน้า,วันทยหัตถ์” (หมวกปกี กว้างพับขา้ ง) ลูกเสือสามัญทาวันทยหัตถ์ ๓ นิ้ว ที่ปีกหมวกพับข้างให้ปลายน้ิวช้ีแตะท่ีปีกหมวกค่อนไป ข้างหนา้ เปดิ ฝา่ มอื ดา้ นนวิ้ นางประมาณ ๓๐ องศา รปู ท่ี 39 ลกู เสอื สามญั ร่นุ ใหญ,่ วิสามญั ทาความเคารพ “ตรงหน้า,วันทยหตั ถ์” (หมวกทรงออ่ น) ใหป้ ลายนิว้ ช้ีแตะทีห่ างค้ิวขวา เปิดฝา่ มอื ขน้ึ ประมาณ ๓๐ องศา

๔๑ รปู ที่ 40 ผู้บังคับบญั ชาลกู เสือทาความเคารพ “ตรงหนา้ ,วันทยหัตถ์” (หมวกปีกกว้าง) ใหน้ ้วิ ช้แี ตะที่ปกี หมวกค่อนไปขา้ งหน้า เปดิ ฝ่ามือขน้ึ ประมาณ ๓๐ องศา รูปที่ ๔1 ลกู เสือ, ผู้บงั คบั บัญชาลกู เสอื ทาความเคารพ “ตรงหนา้ ,วันทยหตั ถ์” (มไิ ด้สวมหมวก) ใหป้ ลายน้วิ ชแี้ ตะท่ีหางควิ้ ขวา เปดิ ฝ่ามอื ขึ้นประมาณ ๓๐ องศา

๔๒ 2. ท่าทางขวาวันทยหัตถ์ เม่ือได้ยินคาบอก “ทางขวา, วันทยหัตถ์” ให้ลูกเสือยกมือขวา ข้ึนมาอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ในลักษณะเดียวกับท่าตรงหน้าวันทยหัตถ์ทุกประการ พร้อมทั้งสะบัดหน้า ไปทางขวาในลักษณะเชน่ เดยี วกับแลขวา โดยไมต่ อ้ งเอียงลาตัวหรือแขนไปทางดา้ นขวา รูปท่ี ๔2 ทา่ ทางขวาวนั ทยหัตถ์ 3.ท่าทางซ้ายวันทยหัตถ์ เม่ือได้ยินคาบอก “ทางซ้าย, วันทยหัตถ์” ให้ลูกเสือยกมือขวา ข้ึนมาอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ในลักษณะเดียวกับท่าตรงหน้าวันทยหัตถ์ทุกประการ พร้อมทั้งสะบัดหน้า ไปทางซ้ายในลักษณะเช่นเดยี วกับแลซ้าย โดยไมต่ อ้ งเอียงลาตวั หรอื แขนไปทางดา้ นซ้าย รปู ท่ี 43 ทา่ ทางซ้ายวนั ทยหตั ถ์ 4. เมื่อต้องการให้เลิกแสดงการเคารพในทุกท่าวันทยหัตถ์ ให้ผู้ฝึกใช้คาบอก “มือลง” เม่ือได้ ยินคาบอก “มือลง” ให้ลูกเสือลดมือขวาลงมาอยู่ในท่าตรงอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ถ้าปฏิบัติจากท่าทางขวา (ทางซ้าย) วันทยหัตถ์ ให้สะบัดหนา้ กลับมาในทิศทางตรงหน้าพร้อมกับการลดมือขวาลง

๔๓ คาแนะนาสาหรับผู้ฝกึ เมื่ออยู่ในแถวลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเป็นผู้สั่งลูกเสือในแถวแสดงความเคารพ การแสดง ความเคารพของผ้บู ังคบั บญั ชาลูกเสือและลูกเสอื ในแถว ให้ยึดถือแนวปฏิบัติ ดงั นี้ ท่าเคารพทใ่ี ช้ - ผู้บงั คบั บัญชาท่ีอยใู่ นแถวให้ใชท้ า่ ทางขวา วนั ทยหัตถ์ / ท่าทางซา้ ย วนั ทยหัตถ์ - ลกู เสือทอ่ี ยู่ในแถวใช้ทา่ แลขวา / ทา่ แลซ้าย ท่ำวิ่ง คาบอก “ว่งิ , หน้า – วิง่ ” (คาบอกผสม) การปฏิบัติ เม่ือได้ยินคาบอก “วิ่ง, หน้า – ว่ิง” ให้ลูกเสือยกมือทั้งสองข้างขึ้นไว้เสมออก กามือ หลวม ๆ และให้มือห่างจากอกประมาณหน่ึงฝ่ามือ หันด้านฝ่ามือเข้าหาลาตัวพร้อมกับก้าวเท้าซ้ายเร่ิมวิ่ง ไปก่อนด้วยการย่อเข่าขวาลงเล็กน้อย แล้วใช้เท้าขวาถีบตัวให้ลาตัวพุ่งออกไปข้างหน้าประมาณให้ได้ ความยาวของก้าว ๘๐ ซม. ในขณะท่ีเท้าซ้ายจะตกถึงพื้นให้พยายามใช้ปลายเท้าลงแตะพื้นก่อน เม่ือเท้าซ้าย ตกถึงพื้นให้งอเข่าซ้ายลงเล็กน้อยแล้วใช้เทา้ ซ้ายถีบตัวเพื่อดดี ตวั ให้พุ่งออกไปข้างหน้า พร้อมกบั ก้าวเทา้ ขวา ออกว่ิงต่อไปในลักษณะเช่นเดียวกับการก้าวเท้าซ้ายเริ่มออกวิ่งในคร้ังแรก และก้าวเท้าสลับกันวิ่งต่อไป ในขณะที่ก้าวเท้าว่ิงออกไปแต่ละก้าวนั้นให้แกว่งแขน (ซึ่งงอและกามือหลวม ๆ) ไปตามจังหวะของเท้า ที่ก้าววิ่งออกไป เช่นเดียวกับการแกว่งแขนของท่าเดินและให้พยายามรักษาจังหวะความเร็วของก้าว ในการว่ิงไว้ในอัตรานาทีละประมาณ ๑๖๐ ก้าว ในขณะที่วิ่งนั้น ให้พยายามรักษาทรวดทรงของร่างกาย ให้องอาจผึง่ ผายดว้ ยการยกอก ศีรษะต้ังตรง สายตามองตรงไปขา้ งหนา้ และให้ขาหลงั งอเล็กน้อยโดยเป็นไป ตามธรรมชาติ คาแนะนาสาหรับผู้ฝึก ในการฝึกท่าวิ่งนั้น มีความจาเป็นท่ีผู้ฝึกจะต้องสอนให้ผู้รับการฝึก เรยี นรทู้ ง้ั ทา่ วงิ่ และทา่ หยุดจากการวิ่งเสียก่อน แลว้ จงึ เรม่ิ ฝึกทา่ วิ่งได้ รูปท่ี ๔4 ทา่ ว่ิง หมายเหตุ 1. ท่าว่ิง ใช้ในโอกาสต้องการความรวดเร็วในการเคลื่อนที่ซ่ึงปกติ เป็นระยะใกล้ๆ หรืออีก ประการหนงึ่ เพื่อการออกกาลังกายของลกู เสือ

๔๔ 2. ทา่ น้ีเร่ิมได้ท้งั ขณะอยู่กับที่และขณะกาลังเดิน เมอ่ื จะให้ว่ิงใช้คาบอก “ว่งิ , หน้า – ว่ิง” ส้ินคา บอกเม่อื ตกเท้าใดก็ตาม ใหก้ ้าวตอ่ ไปอกี 1 ก้าว แล้วเรม่ิ วง่ิ ทนั ที ท่ำหยุดจำกกำรว่ิง คาบอก “แถว – หยุด” (คาบอกแบ่ง) การปฏิบัติ เม่ือได้ยินคาบอก “แถว – หยุด” พอส้ินคาบอก “หยุด” ไม่ว่าจะเป็นเท้าข้างใด ตกถึงพนื้ ก็ตามให้ก้าวเท้าวิ่งตอ่ ไปอีก ๓ ก้าว ดว้ ยอาการย้ังตัวลดความเร็วลงตามลาดับ เมือ่ ก้าวเทา้ ว่งิ ต่อไป ครบ ๓ ก้าว แล้วให้ย้ังตัวหยุดวิ่งไว้ ในขณะนั้นไม่ว่าจะเป็นเท้าข้างใดตกถึงพ้ืนอยู่ก็ตาม ให้ก้าวเท้าอีกข้างหน่ึง เดินไปข้างหน้าประมาณคร่ึงก้าวด้วยการตบเท้าลงไปกับพ้ืนอย่างแข็งแรงแล้วโน้มน้าหนักตัวไปวางอยู่บนเท้า ข้างท่ีวางอยู่ข้างหน้าน้ัน ส่วนมือทั้งสองยังคงกาหลวม ๆ อยู่เสมออก ในลาดับต่อไปให้ชักเท้าข้างที่วางอยู่ ข้างหลังมาชิดกับเท้าข้างท่ีวางอยู่ข้างหน้าในลักษณะของท่าตรง พร้อมกับสะบัดมือทั้งสองข้างลงมาอยู่ใน ท่าตรงอย่างรวดเรว็ และแขง็ แรง “หยดุ ” จงั หวะ ๑ จงั หวะ ๒ จงั หวะ ๓ จังหวะ ๔ ย้ังตัวหยดุ วิง่ และชักเทา้ ข้างหลังมาชดิ เทา้ ท่ีวาง อยู่ข้างหน้าและอยู่ในทา่ ตรง รปู ที่ ๔5 ท่าหยุดจากการวง่ิ