Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือสำรองช่อสะอาด

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือสำรองช่อสะอาด

Published by ปริญญา, 2021-11-17 10:16:02

Description: คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือสำรองช่อสะอาด

Keywords: ลูกเสือ, ลูกเสือช่อสะอาด,ลูกเสือสำรอง

Search

Read the Text Version

ผทู จี่ ะรักความเปนไทยไดน้นั จะตองมีคุณธรรมดังน้ี คือ มีสติ สัมปชัญญะ มีหิริ โอตตัปปะ มีขันติ โสรัจจะ มีกตญั ู กตเวที และมปี ญ ญาท่รี อบรู เปนคณุ ธรรมประจํา กาย วาจา ใจ ๑. รักแผนดินไทย หมายถึง มีสติ สัมปชัญญะ ระลึกได และรูตัวตลอดเวลาวาแผนดินนี้เปนของเรา ชาวไทยท่ัวท้ังประเทศ กวาท่ีจะไดมา บรรพบุรุษของเราไดเสียสละดวยเลือดเนื้อและชีวิตตอสูกับอริราชศัตรู เพ่ือปกปองรักษาแผนดินนี้ไวใหลูกหลานไทย ไดมีแผนดินอยูอาศัยจนถึงปจจุบันน้ี ตองมีความกตัญู กตเวที รูค ุณและตอบแทนบุญคุณ ดวยการรักษาแผนดินไทยน้ีดวยชีวิต เราตองมีหิริโอตตัปปะ มีความละอายตอบาป เกรงกลัวตอบาป ที่จะไมคิดทําราย ทําลาย ขายแผนดิน หรือแบงแยกดินแดนของไทยใหผูหน่ึงผูใดหรือประเทศ ใดเขา มาครอบครองเปนอันขาด ๒. รักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จากประวัติศาสตร ชาติไทยต้ังแตยุคสุโขทัย ไทยเราไดมีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย (Absolute Monarchy) อันมีพระมหากษัตริยท รงมพี ระราชอาํ นาจในการปกครองประเทศ จนมาถงึ รัชสมยั พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหัวฯ รัชการที่ ๗ พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดมี \"คณะราษฎร\" ทําการปฏิวัติสําเร็จ และยึดอํานาจการปกครอง คณะราษฎรไดเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขมาโดยตลอดจนถึงปจจุบัน สะทอนเจตนารมณของประชาชน วาพสกนิกร ชาวไทยท้งั ชาตยิ ังเคารพสกั การะ เทิดทูนใหพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตลอดไป เราตองมีสติ สัมปชัญญะ มีความระลึกได และรูตัวตลอดเวลาวา นับวาโชคดีท่ีไดเกิดใตรมพระโพธิสมภาร อาศัยอยูในประเทศไทยได อยางรมเย็นเปนสุข ดวยพระบารมีของพระมหากษัตริยทุกพระองค ทรงปกครองประเทศดวยทศพิธราชธรรม ไมวาจะนับถือศาสนาใด เชื้อชาติใด พระองคทานทรงมีพระมหากรุณาธิคุณตอพสกนิการชาวไทยเทาเทียมกัน เสมอกันอยางหาทส่ี ดุ มไิ ด ๓. รักพระพุทธศาสนา อันเปน ศาสนาประจําชาติ ตองมีปญญารอบรูอยูเสมอวา พระพุทธศาสนา และ พระธรรมคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา พระองคทานทรงสอนใหเปนคนดี เม่ือประพฤติปฏิบัติ ตามทําใหความทุกขคลายลง มีความสุขความสบายย่ิงข้ึน จึงตองทํานุบํารุง รักษาพระพุทธศาสนา โดย การประพฤตปิ ฏิบัตติ ามคาํ สอนและทํานุบํารุงปูชนียสถานใหค งอยู เพอ่ื ใหพระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองสบื ไป ๔. รักพระมหากษัตริย หมายถึง รักพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ รักสมเด็จพระนางเจา พระบรมราชินีนาถฯ รักพระบรมวงศานุวงศทุกพระองค จากประวัติศาสตรชาติไทยนับตั้งแตยุคสุโขทัยจนถึง ปจจุบัน บูรพระมหากษัตริยทุกพระองคทรงปกครองประเทศดวยทศพิธราชธรรม ทรงเปนจอมทัพไทย ทรงพระปรีชาสามารถนํากองทัพเพื่อปกปองชาติ ตอสูกับอริราชศัตรู และกอบกูเอกราชจากพมาในการเสียกรุง ท้งั สองครง้ั ผูที่จะรักสถาบันพระมหากษัตริยนั้น ตองมีคุณธรรม คือ ปญญา มีสติ สัมปชัญญะ มีความกตัญู กตเวที มหี ริ ิ โอตตัปปะเปนคุณธรรมประจํากาย วาจา ใจ เราตองมีปญญา และมีสติ สัมปชัญญะ ระลึกไดและ รูตวั ตลอดเวลาวา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระองคไดทรงปกครองแผนดิน โดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม ทรงยึดหลักทศพิธราชธรรมภายใตรมพระโพธิสมภาร พระองคทรงนําแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการในพระราชดําริอีก ๒,๐๐๐ กวาโครงการท่ี พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ฯ และพระบรมวงศานุวงศทุกพระองคทรงนําความเจริญรุงเรือง และความผาสุก มาสูพสกนิกรชาวไทยทุกหมูเหลา ตลอดทั้งทรงสรางเกียรติประวัติเล่ืองลือไกลใหกับประเทศไทย จนเปนท่ี ประจักษแกนานาอารยประเทศ อันเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางย่ิงใหญหาท่ีสุดมิได เราตองมีหิริ โอตตัปปะ มีความละอายตอบาป เกรงกลัวตอบาป ไมกลาที่จะคิดคดทรยศ หรือทําราย ทําลาย จาบจวง ลวงละเมิด หมิ่นพระบรมเดชานุภาพตอ พระองคทาน เราตอ งมคี วามกตญั ูกตเวที รูคุณและตอบแทนพระมหากรุณาธิคุณ 88 90

ของพระองคทาน ดวยความจงรักภักดี เทิดทูน และรักษาปกปองสถาบันพระมหากษัตริยไวดวยชีวิต เพื่อให เปน สถาบนั หลกั สถิตสถาพรคูกบั ชาตไิ ทยตลอดไปตราบนานเทา นาน ๕. รักวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและจารีตประเพณีของไทย หมายถึง รักขนบธรรมเนียม ประเพณี อันเปนเอกลกั ษณข องไทยที่สบื ตอกนั มาเปน เวลายาวนาน ผูทจ่ี ะรักวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีของไทยน้ัน จะตองมีคุณธรรม คือ มีขันติ โสรัจจะ คือ มีความอดทน มีความสงบเสง่ียม ประจํากาย วาจา ใจ ตองอดทนตอสิ่งยั่วยวนตาง ๆ ที่ทําใหเราทําผิด วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีของไทย ตองมีความสงบเสงี่ยม กาย วาจา ใหเรียบรอยสมกับเปน คนไทย เชน การแตงกายตองสุภาพเรียบรอย การเคารพนบนอบตอผูใหญ เชน การไหว ตองรักษา อนุรักษ ประเพณไี ทย เชน ประเพณีลอยกระทง ประเพณีสงกรานต ประเพณีแตงงาน ประเพณีโกนจุก ประเพณีบวชนาค ทําบุญขึ้นบานใหม ทําบุญในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เชน วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเขาพรรษา วันออกพรรษา ตองอดทนไมนําเอาหรือเลียนแบบวัฒนธรรมของตางชาติเขามาทําลาย หรือทํา ใหวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีของไทยตองเสื่อมเสีย เปนคนไทยควรรักษาความเปนไทยดังท่ี กลาวมาแลวน้ี จะไดเปน ผูท ี่รกั ความเปนไทยอยางสมบูรณ ๖. รักเผาพันธุไทย หมายถึง รักษาไวซึ่งความเปนเช้ือชาติของความเปนไทย ที่บรรพบุรุษถายทอดมา จนมาถงึ ลูกหลานไทยในปจจุบัน โดยไมย อมใหตา งชาติมาเปลี่ยนแปลงหรือกลืนเผา พันธุความเปน เชื้อชาตไิ ทย ผูท่ีจะรักเผาพันธุไทยไดน้ัน จะตองมีปญญา มีสติ สัมปชัญญะ ระลึกไดและรูตัวตลอดเวลาวาเปน คนไทย จงมีความภาคภูมิใจในความเปนเช้ือชาติไทย ท่ีมีลักษณะเฉพาะ มีรูปรางหนาตา ผิวพรรณ ซ่ึงเปน เอกลกั ษณของบรรพบุรุษไทย ท่ีไดดํารงเผาพันธุมาจนถึงปจจุบัน และตองมีขันติ มีความอดทน ไมยอมที่จะให ตางชาติมากลืนความเปนเผาพันธุความเปนไทยของเราได ผูที่มีคุณธรรมดังกลาวมาแลวน้ีถือวาเปนผูท่ีรัก ความเปน ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ มจี ิตเปนสาธารณะ หมายถึง ผูที่มีจิตอันบริสุทธ์ิ ไมมีกิเลสเจือปน เปนผูใหและผูอาสาชวยเหลือสังคม รูจักแบงปน เสียสละความสุขสวนตนเพ่ือทําประโยชนใหแกผูอื่น เห็นอกเห็นใจ และเห็นคุณคาในเพื่อนมนุษย และผูที่มีความเดือดรอน มีความเอ้ืออาทรเอาใจใส อาสาชวยเหลือสังคม ดวยแรงกายและสติปญญา ลงมือ ปฏิบัติการเพ่ือบรรเทาปญ หา หรอื รว มสรา งสรรคส ่งิ ดงี ามใหเกดิ ขนึ้ ในชุมชน ผูท่ีจะเสียสละความสุขสวนตนเพ่ือชวยเหลือสังคมและเพ่ือนมนุษยดวยกัน ผูท่ีจะมีจิตเปนสาธารณะ ตองมีคุณธรรมประจํากาย วาจา ใจ คือ พรหมวิหาร ๔ ซ่ึงเปนคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ประกอบดว ย เมตตา กรุณา มทุ ติ า และอุเบกขา มรี ายละเอียดดังนี้ ๑. เมตตา คือ ความรัก ปรารถนาดตี อ งการใหทุกชีวิต ทุกวิญญาณมีความสุข มี ๒ อยาง คือ ความรัก ที่มกี เิ ลสเจือปน และความรักท่ีไมมีกเิ ลสเจือปน ๑.๑ ความรักท่ีมีกิเลสเจือปน หมายถึง ความรักที่มีกิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ และ ความหลงครอบงาํ จิต เชน พอ แมร ักลูก ลูกรักพอแม ชายหนุมรักหญิงสาว พ่ีรักนอง นองรักพ่ี รักวงศาคณาญาติ รักพวกพอง ลูกนองบริวาร ซึ่งเปนธรรมชาติของมนุษย และสัตวท่ีมีความรักอยูแลวต้ังแตเกิด ความรักเหลาน้ี เปนของมนุษยปุถุชนซ่ึงมีความเห็นแกตัว ความลําเอียง เปนความรักท่ีแคบและมีขอบเขต คือ ปรารถนาจะให คนท่ีตนรักมีความสุขเทาน้ัน จะเห็นไดจากมนุษยและสัตวในสังคมปจจุบันและตัวของเราเอง ตัวอยางเชน มอี าหารอยูห นงึ่ จานเรารับประทานแลว รสู กึ อรอย มีความสุข อยากใหพ อ แม ลกู หลาน ญาติพ่ีนอง กับพวกพอง บริวารไดร บั ประทานอาหารจานน้ี คงจะอรอยและมีความสุขเหมือนเรา นี้คือ ความเมตตา หรือความรักท่ีเปน ธรรมชาตขิ องมนษุ ยปถุ ชุ นท่มี ีกิเลสครอบงําจิต ไมถ ือวาเปน ผูทมี่ จี ิตเปน สาธารณะ 89 91

๑.๒ ความรกั ท่ีไมมกี ิเลสเจือปน หมายถงึ ความรักของผูที่ไมมีกิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงําจิต เปนความรักอันบริสุทธ์ิและกวางขวาง มีความปรารถนาดีที่จะทําใหทุกคน ทุกชีวิต ทุกวิญญาณ มีความสุขความเจริญ ไมเลือกที่รักมักที่ชัง ไมวาผูน้ันจะเปนใครหรือเปนสัตวชนิดใด ก็มีความรัก ความหวงใยเสมอกัน ไมเห็นแกตัว ไมลําเอียงเขาขางใดขางหนึ่ง มีความอดทนขยันหมั่นเพียร พรอมที่จะ ชวยเหลือผูอ่ืนใหมีความสุข แมจะเหน็ดเหนื่อยหรือตองเสียทรัพยสินเงินทอง เสียเวลา แมเสียชีวิตก็ยอม และ ชวยเหลือโดยไมหวังสิ่งตอบแทนแตอยางใด รักทุกชีวิตทุกวิญญาณ ปรารถนาใหผูอื่นมีความสุขถวนหนากัน ตัวอยางเชน เรามีอาหารหนึ่งจานรับประทานแลวรูสึกอรอย มีความสุข อยากใหทุกคนไดรับประทาน เชน พอ แม ครู อาจารย ลูกหลาน ญาตพิ ี่นอ ง พวกพอ ง บรวิ าร ทกุ คนในหมบู าน ในตําบล ในอําเภอ ในจังหวัด ในประเทศ หรือทุกคนในโลกน้ี รวมท้ังสัตวเดรัจฉาน สัตวนรก เปรต อสุรกาย และทุกชีวิต ทุกวิญญาณในโลกน้ีได รบั ประทานอาหารจานนีแ้ ลว คงจะมีความสุขเหมอื นเรา น้ีคือ ผูที่มีความเมตตาเปนคุณธรรมประจําใจของผูที่ไมมีกิเลสครอบงําจิต หรือกิเลสเบาบาง ผูใดที่มี คุณธรรมดังท่ีไดกลาวมาแลวนี้ ถือวาผูน้ันมีนํ้าใจท่ีใสสะอาดบริสุทธ์ิพรอมท่ีจะชวยเหลือเผ่ือแผตอมนุษยและ สัตวทุกชีวิตทุกวิญญาณ ใหมีความสุขถวนหนา ถือวาเปนคนดี เปนผูใหญที่ดี เปนพรหม เปนอริยบุคคล เปนพระอริยะ เปนพระอรหันต ทานเหลานี้ลวนแลวแตเปนผูท่ีมีนํ้าใจอันบริสุทธิ์ท้ังสิ้น น้ีคือ ผูท่ีมีจิตเปน สาธารณะ ๒. กรุณา คือ ความสงสาร คดิ ชวยเหลอื ใหทุกชวี ิตทกุ วญิ ญาณพนทกุ ข มี ๒ อยาง คือ ความสงสารที่มี กเิ ลสครอบงาํ จติ และความสงสารที่ไมม กี เิ ลสครอบงําจติ ๒.๑ ความสงสารที่มีกิเลสครอบงําจิต หมายถึง จิตอยูใตอํานาจของความโลภ ความโกรธ ความหลง จึงมีความสงสารที่คับแคบอยูในขอบเขต เชน พอแมสงสารลูก ลูกสงสารพอแม พ่ีสงสารนอง นองสงสารพ่ี สามีสงสารภรรยา ภรรยาสงสารสามี สงสารวงศาคณาญาติ ลูกนองพวกพอง บริวาร ซ่ึงเปนคน ที่ตนรัก ความสงสารเหลาน้ีเปนความเห็นแกตัวเปนธรรมชาติของมนุษยปุถุชนท่ีมีจิตใจคับแคบ มีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผเฉพาะผูท่ีตนรัก และผูที่ใกลชิดเทานั้น ตัวอยางเชน พอ แม ลูกหลาน ญาติพี่นอง คนใกลชิดปวย เรารูสึกสงสารอยากชวยเหลือทุกวิถีทางเพื่อใหหายปวยโดยเร็ว ใหพนจากความทุกขทรมาน ถาผูอื่นปวยก็รูสึกเฉย ๆ ไมคิดจะชวยเหลือแตประการใด นี้คือ ความสงสารของผูที่มีกิเลสครอบงําจิต เปนคุณธรรมประจําใจ ของมนุษยปุถุชนเทาน้ัน ไมใชมีคุณธรรมอันสูงสง เพราะเห็นแกพวกพองญาติพ่ีนอง ของตน นีค้ อื ผทู ีไ่ มมจี ิตเปน สาธารณะ ๒.๒ ความสงสารท่ีไมมีกิเลสครอบงําจิต หมายถึง ผูที่มีความสงสารอันกวางขวางอยางไมมี ขอบเขต มีน้ําใจอันบริสุทธ์ิ ปรารถนาท่ีจะชวยเหลือใหผูอ่ืนที่ตกทุกขไดยากพนจากความทุกข ความเดือดรอน ไมเ ลอื กท่รี กั มักท่ีชัง มีน้ําใจอันเปยมลนไปดวยคุณธรรม คือ ความกรุณาสงสารทุกชีวิต ทุกวิญญาณ ไมวาผูน้ัน จะเปนใครหรือสัตวชนิดใดที่เกิดข้ึนแลวในโลกน้ี มีความตั้งใจมั่นเสียสละความสุขสวนตนเพื่อทําประโยชน ใหกับสวนรวม เสยี สละทรัพยสินเงินทองชวยเหลือผูท่ีตกทุกขไดยาก มีความเอ้ืออาทรเอาใจใสชวยเหลือสังคม ดวยสติปญ ญาเพ่ือบรรเทาปญหาตาง ๆ ใหลุลว งไปดวยดี ไมเ ห็นแกต ัว เห็นแตป ระโยชนสวนรวมเปนใหญ นี้คือ ผทู ่มี คี วามกรุณาเปนคุณธรรมประจําใจของผูทไ่ี มม กี ิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงําจิต หรือ มีกิเลสเบาบาง เปนคุณสมบัติของคนดีของผูใหญท่ีดี ของพรหม ของอริยบุคคล พระอริยะ และพระอรหันต นี้คือ ผทู ีม่ ีจิตเปนสาธารณะ 90 92

๓. มุทิตา คือ ความพลอยยินดี ดีใจดวยเม่ือทุกคนทุกชีวิต ทุกวิญญาณไดดีมีสุข มี ๒ อยาง คือ ความพลอยยนิ ดที มี่ กี เิ ลสครอบงําจติ และความพลอยยินดที ่ไี มมกี เิ ลสครอบงําจิต ๓.๑ ความพลอยยินดีท่ีไมบริสุทธิ์ใจ เพราะมีกิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงําจติ หมายถึง ผทู ่มี ีความรูสกึ พลอยยินดีเฉพาะพอแม ลูกหลาน ญาติพ่ีนอง พวกพอง บริวารทุกคนท่ีเรารัก หรือคนใกลชิด ประสบความสําเร็จในชีวิตอยางใดอยางหนึ่ง เชน คนในครอบครัวไดเลื่อนยศถาบรรดาศักดิ์ หรือลกู หลานสอบเขาโรงเรียนที่มีชื่อเสียงได และเรียนจบ หรือถูกหวยรวยเบอร ก็ดีอกดีใจพลอยยินดีกับคนท่ี เรารักเทานั้น ถาผูอ่ืนท่ีไมใช พอแม ลูกหลาน ญาติพี่นอง พวกพอง บริวาร และทุกคนที่เรารัก หรือคนใกลชิด ไดด มี สี ุข จะเนอื่ งจากเหตุใด ๆ กต็ าม จะรสู กึ ไมสบายใจ มคี วามอิจฉารษิ ยา คดิ ทํารายทาํ ลายกัน ดังที่ไดเกิดขึ้น แลวกับมนุษยในสังคมปจจุบัน แมแตตัวเราเองก็เปนเชนกัน เปนความพลอยยินดีท่ีไมบริสุทธิ์ใจ มีกิเลส ครอบงาํ จิต เปน ธรรมชาตขิ องมนุษยปถุ ุชน ไมใ ชคุณธรรมอนั สงู สงแตอ ยา งใด นคี้ อื ผูทไ่ี มม ีจิตเปนสาธารณะ ๓.๒ ความพลอยยินดีดวยความบริสุทธิ์ใจ ท่ีไมมีกิเลสครอบงําจิต หมายถึง ผูที่มีคุณธรรม อันสงู สง มเี มตตา คือ ความรัก มีกรุณา คือ ความสงสารอยางกวางขวาง จะพลอยยินดีกับผูที่ไดดีมีสุขทุก ๆ คน ไมเลือกท่ีรักมักที่ชัง ไมเลือกชนช้ันวรรณะ ไมเลือกทุกชีวิตทุกวิญญาณ ผูใดที่ไดดีมีสุข เขาก็จะช่ืนชมยินดี อนุโมทนาสาธุใหทุกชีวิตทุกวิญญาณมีความสุขยิ่ง ๆ ข้ึนไป ถึงแมคนเหลาน้ันจะไมใชพอแม ลูกหลาน ญาติ พี่นอง พวกพองบริวาร คนที่เรารัก หรือคนใกลชิดก็ตาม จะเปนคนที่รูจักหรือไมรูจักก็ตาม เมื่อทราบวาเขา เหลานัน้ มีความสุข ก็มคี วามพลอยยินดีดวยใจอันบริสุทธ์ิทง้ั สิน้ ไมม ีจิตอจิ ฉารษิ ยาเลยแมแ ตน อย นี้คือ มุทติ า ความพลอยยนิ ดขี องผูท่ไี มมกี ิเลส ความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงําจิต หรือมีกิเลส เบาบาง เปนคุณสมบัติของคนดี ผูใหญท่ีดี ของพรหม ของอริยบุคคล ของพระอริยะ ของพระอรหันต ทานเหลานีล้ ว นแลว แตเ ปนผูท ่มี ีน้ําใจอนั บริสทุ ธิท์ ง้ั สิ้น น้คี อื ผูท ่ีมีจติ เปนสาธารณะ ๔. อุเบกขา คอื ความวางเฉย วางตัว วางใจเปนกลาง ไมมีความลําเอียง มี ๒ อยาง คือ ความวางเฉย เพราะมกี ิเลสครอบงําจติ และความวางเฉยเพราะไมมกี ิเลสครอบงําจิต ๔.๑ อุเบกขา ความวางเฉยเพราะมีกิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงําจิต ตัวอยางเชน เมื่อเห็นคนท่ีเราเกลียดชัง ประสบความวิบัติดวยเหตุใด ๆ ก็ตาม ก็วางเฉยไมคิดที่จะชวยเหลือ กลับมีความคิดซ้ําเติมใหเกิดความวิบัติมากข้ึน นี้คือ ความวางเฉย เพราะมีกิเลสครอบงําจิต แตเมื่อพอ แม ลูกหลาน ญาติพ่ีนอง พวกพอง บริวาร คนท่ีเรารัก หรือคนที่ใกลชิด เกิดความวิบัติเนื่องดวยเหตุใด ๆ ก็ตาม จะรูสึกเห็นใจและสงสาร อยากชวยเหลือใหพนจากความทุกขยากลําบาก วางเฉยไมได จะรูสึกเสียใจเปนทุกข เปนรอน จิตใจกระสับกระสาย กระวนกระวาย หาทางชวยเหลือทุกวิถีทางใหคนท่ีเรารักพนความวิบัติจาก เหตุน้ัน ๆ น้ีถือวาเปนธรรมชาติของมนุษยปุถุชนท่ีมีความลําเอียงอันเกิดจากมีกิเลส ความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงําจิต เปนคุณสมบัติของมนุษยปุถุชน ไมใชผูมีคุณธรรมอันสูงสงแตอยางใด ไมถือวาเปนผูท่ี มนี ํา้ ใจอนั บรสิ ุทธิ์ เพราะเห็นแกญาติพ่ีนองพวกพองของตน นีค้ อื ผูท่ไี มม จี ติ เปน สาธารณะ ๔.๒ อุเบกขา ความวางเฉยเพราะไมมีกิเลสครอบงํา หมายถึง ผูท่ีมีคุณธรรมประจําใจ มีความเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ก็จะวางตัววางใจเปนกลาง ไมเห็นแกตัว ไมเอนเอียงเขาขางใดขางหนึ่ง จะเปนคนที่ตนรักก็ดี คนท่ีตนเกลียดก็ตาม ไดรับความวิบัติดวยเหตุใดเหตุหนึ่งก็ตาม พยายามชวยเหลือแลว แตไมอาจชวยเหลือได ก็ตองใชอุเบกขา ความวางเฉย มีใจเปนกลาง ไมดีใจหรือไมเสียใจ เพราะเขาใจใน ธรรมชาติของสัตวโลก ซ่ึงศึกษามาจากคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาที่วา “สัตวโลกยอมเปนไป ตามกรรม” ใครทํากรรมอันใดไวไมวาจะเปนบุญหรือเปนบาป จักตองไดรับผลของกรรมนั้นสืบไปอยาง หลีกเลี่ยงไมพ น 91 93

เม่ือคิดไดดังน้ีแลวจึงมีใจเปนกลาง ไมวาผูน้ันจะเปน พอ แม ลูกหลาน ญาติพ่ีนอง พวกพอง บริวาร คนท่ีใกลชิด หรือไมใกลชิด คนที่ตนรัก คนท่ีตนเกลียด แมแตสัตวเดรัจฉานทุกชีวิต ทุกวิญญาณ ที่ไดรับผลกรรม จากการคิดชั่ว พูดช่ัว ทําช่ัว เกิดความวิบัติอยางใดอยางหน่ึงก็จะไมเปนทุกข ไมเดือดรอนจิตใจ ไมกระวน กระวาย ไมกระสบั กระสา ยแตอยางใด เพราะเขาใจวามนุษยและสัตวทั้งหลายในโลกน้ี มีการเกิด แก เจ็บ ตาย เกิดขน้ึ ต้ังอยู แลว ดบั ไป ทุกอยางเปน อนจิ จงั ทุกขขัง อนตั ตา ไมม ีส่งิ ใดในโลกนเ้ี ปน ของใครทั้งสน้ิ น้ีคือ อุเบกขา ความวางเฉยที่ไมมีกิเลสครอบงําจิต เปนคุณสมบัติของคนดี ของผูใหญท่ีดี ของพรหม ของอริยบคุ คล ของพระอริยะ ของพระอรหันต นีค้ อื ผูมจี ติ เปน สาธารณะ ผใู ดมีคุณธรรม ทง้ั ๔ ประการดังทก่ี ลา วมาแลวน้ี คือ ๑. เมตตา คือ ความรักปรารถนาจะใหท ุกชีวติ ทกุ วญิ ญาณเปน สุข ๒. กรุณา คอื ความสงสารคิดชว ยเหลอื ใหท กุ ชีวติ ทุกวญิ ญาณพนทกุ ข ๓. มุทิตา คอื ความพลอยยินดีเม่อื ทกุ คนทุกชวี ิตทุกวญิ ญาณไดด มี ีสุข ๔. อเุ บกขา คือ การวางเฉยและวางตวั วางใจเปนกลาง ไมม ีความลาํ เอียง ผูใดมีคุณธรรมประจํากาย วาจา ใจ สมบูรณแลว เปนผูท่ีมีน้ําใจอันสะอาดบริสุทธิ์ พรอมจะเปนผูให ยอมเสียสละความสุขสวนตนเพ่ือประโยชนสวนรวม ชวยเหลือสังคม รูจักแบงปนทรัพยสินเงินทอง ชวยเหลือ ผูท่ีตกทุกขไดยาก มีความเอ้ืออาทรเอาใจใสเพื่อนมนุษยรวมโลก และใชสติปญญาชวยแกไขบรรเทาปญหา ทเี่ กิดขนึ้ ในสังคม และสรางสรรคสิง่ ท่ีดีงามใหเ กิดข้ึนกับชมุ ชนท่ีตนอาศัยอยู น้ีคือ คุณสมบัติของผูที่มีจิตเปนสาธารณะ เพราะมีคุณธรรม ๔ ประการน้ี ผูใดขาดคุณธรรม ๔ ประการนี้ ก็จะเปนคนที่ไมมีจิตเปนสาธารณะ เห็นแกตัว ไมซื่อสัตยสุจริต พรอมท่ีจะทุจริตคดโกงไดทุกเวลา ไมมีความเอ้ือเฟอเผื่อแผ ไมมีความเสียสละทรัพยสินเงินทอง ชวยเหลือผูใด ทําความชั่วสรางความเดือดรอน ใหกับครอบครวั หมูบ า น ตําบล อําเภอ จังหวัด ประเทศชาติบานเมอื ง และทัง้ โลก 92 94

ใบความรทู ่ี ๒ จิตสาธารณะ (Public Mind) จิตสาธารณะ (Public Mind) หมายถึง จิตสํานึกเพื่อสวนรวม เพราะคําวา “สาธารณะ” คือ สิ่งที่ มิไดเปน ของผูหนึ่งผใู ด จติ สาธารณะจงึ เปนความรสู กึ ถงึ การเปนเจาของในสิ่งท่ีเปน สาธารณะ ในสิทธิและหนาที่ จะดูแลและบํารุงรักษารวมกัน เชน การชวยกันดูแลรักษาสิ่งแวดลอม โดยการไมทิ้งขยะลงในแหลงนํ้า ดูแล รักษาสาธารณะสมบัติ เชน โทรศัพทสาธารณะ หลอดไฟที่ใหแสงสวางตามถนนหนทาง แมแตการประหยัด น้ําประปา หรือไฟฟาท่ีเปนของสวนรวม โดยใหเกิดประโยชนคุมคาตลอดจนชวยดูแลรักษา ใหความชวยเหลือ ผูตกทุกขไดยาก หรือผูท่ีรองขอความชวยเหลือเทาท่ีจะทําได ตลอดจนรวมมือกระทําเพื่อใหเกิดปญหา หรือ ชวยกนั แกปญหา แตต องไมข ดั ตอ กฎหมายเพื่อรกั ษาประโยชนสว นรวม จิตสาธารณะเพื่อสว นรวม จติ สํานึกเพื่อสวนรวมน้นั สามารถกระทาํ ได โดยมีแนวทางเปน ๒ ลกั ษณะ ดงั น้ี ๑. โดยการกระทําตนเอง ตองมีความรับผิดชอบตอตนเอง เพ่ือไมใหเกิดผลกระทบและเกิด ความเสยี หายตอ สว นรวม ๒. มบี ทบาทตอ สังคมในการรักษาประโยชนของสวนรวม เพื่อแกปญหาสรางสรรคสังคม ซึ่งถือวาเปน ความรบั ผิดชอบตอ ตนเองและสังคม ความสาํ คัญของจิตสาธารณะ จิตสาธารณะเปนความรับผิดชอบทีเ่ กิดจากภายใน คือ ความรูสึกนกึ คิด จิตใตสาํ นึก ตลอดจนคุณธรรม จริยธรรมซ่ึงอยูในจิตใจ และสงผลมาสูการกระทําภายนอก ปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึน เกิดจากการขาดจิตสํานึก ของคนสวนรวมในสงั คมเปนสําคัญ เชน ปญหายาเสพติด ซ่ึงเกิดจากความเห็นแกตัวของผูขาย ไมนึกถึงปญหา ท่เี กิดขน้ึ ตอ ไปกบั สงั คม ปญหามลพิษตาง ๆ ทเ่ี กิดจากความไมรับผิดชอบ ขาดจติ สํานกึ เชน • การจอดรถยนตโ ดยไมด บั เครอื่ งยนต ทําใหเ กิดควันพิษ โดยเฉพาะในเมืองใหญ • ทรพั ยากรปาไมถ ูกทาํ ลาย • ปญ หาเดก็ ถกู ทอดทงิ้ • การใชทางเทา สาธารณะเพื่อประโยชนส วนตวั โดยไมค าํ นึงถึงสวนรวม • การทิง้ ขยะลงแมน ํ้าลําคลอง • การฉดี สารเรงเนอ้ื แดงในสัตวเลีย้ ง โดยเฉพาะสุกร ซ่ึงมีผลตอโรคภัยไขเจ็บในมนุษย เชน โรคมะเร็ง จติ สาธารณะจงึ เปน สิง่ สาํ คญั ในสังคม เยาวชนตองใหค วามสาํ คัญและตระหนักในส่ิงน้ี ความรับผิดชอบตอ ตนเอง จิตสํานึกในความรับผิดชอบตอตนเอง นับวาเปนพื้นฐานตอความรับผิดชอบตอสังคม ตัวอยาง ความรับผดิ ชอบตอตนเอง ดงั น้ี ๑. ตงั้ ใจศึกษาเลาเรยี นหาความรู ๒. รจู ักการออกกําลงั กายเพือ่ สุขภาพใหแขง็ แรงสมบรูณ ๓. มีความประหยัดรูจักความพอดี ๔. ประพฤตติ ัวใหเ หมาะสม ละเวน การกระทาํ ท่กี อใหเกดิ ความเสือ่ มเสยี 93 95

๕. ทํางานที่รบั มอบหมายใหสาํ เรจ็ ๖. มคี วามรบั ผิดชอบ ตรงเวลา สามารถพึ่งพาตนเองได ความรบั ผิดชอบตอสงั คม เปน การชวยเหลือสังคม ไมทําใหผูอ่ืนหรอื สงั คมเดอื ดรอ นไดร บั ความเสียหาย เชน ๑. มคี วามรบั ผดิ ชอบตอครอบครวั เชน เช่อื ฟงพอแม ชวยเหลืองานบา น ไมท ําใหพ อแมเ สียใจ ๒. มีความรับผิดชอบตอโรงเรียน ครูอาจารย เชน ต้ังใจเลาเรียน เช่ือฟงคําสั่งสอนของครู อาจารย ปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบวินยั ของโรงเรยี น ชวยรกั ษาทรัพยสมบัติของโรงเรยี น ๓. มีความรับผิดชอบตอบุคคลอ่ืน เชน ใหความชวยเหลือ ใหคําแนะนํา ไมเอาเปรียบ เคารพสิทธิ ซึ่งกันและกัน ๔. มคี วามรับผิดชอบในฐานะพลเมอื ง เชน ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของสงั คมปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย รักษา สมบัติของสวนรวม ใหค วามรว มมอื ตอ สังคมในฐานะพลเมอื งดี ใหความชวยเหลอื แนวทางการสรางจติ สาธารณะ การสรางจิตสาธารณะ เปนความรับผิดชอบในตนเอง แมวาจะไดรับการอบรมส่ังสอน ถาใจตนเอง ไมยอมรับ จิตสาธารณะก็ไมเกิด ฉะน้ันคําวา \"ตนเปนท่ีพ่ึงแหงตน\" จึงมีความสําคัญสวนหนึ่งในการสราง จิตสาธารณะ ถา ตนเองไมเ ห็นความสําคญั แลว คงไมมใี ครบงั คับได นอกจากใจของตนเองแลว แนวทางทส่ี าํ คัญในการจติ สาธารณะยังมีอีกหลายประการ ถาปฏิบัติไดก็จะ เปนประโยชนต อตนเองและสงั คม ดงั น้ี ๑. สรางวินัยในตนเอง ตระหนักถึงการมีสวนรวมในระบบประชาธิปไตย รูถึงขอบเขตของสิทธิ เสรีภาพ หนาที่ ความรบั ผิดชอบ ตอตนเองและสงั คม ๒. ใหความสาํ คัญตอ สิง่ แวดลอม ตระหนักเสมอวา ตนเองคอื สว นหน่ึงของสังคม ตองมีความรับผิดชอบ ในการรกั ษาสิ่งแวดลอ ม ซ่งึ เปนเรื่องของสวนรวม ทัง้ ตอ ประเทศชาติและโลกใบน้ี ๓. ตระหนักถึงปญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสังคม ใหถือวาเปนปญหาของตนเองเชนกันอยาง หลีกเล่ียงไมได ตองชวยกันแกไข เชน ชวยกันดําเนินการใหโรงงานอุตสาหกรรมสรางบอพักนํ้าท้ิงกอนปลอย ลงสูแ หลงนํ้าสาธารณะ ๔. ยึดหลักธรรมในการดําเนินชีวิต เพราะหลักธรรมหรือคําส่ังสอนในทุกศาสนาท่ีนับถือ สอนใหคน ทาํ ความดีท้งั สน้ิ ถา ปฏบิ ัตไิ ดจ ะทําใหต นเองมีความสุข นอกจากน้ียังกอใหเกิดประโยชนตอสังคมดวย ทําใหเรา สามารถอยูใ นสังคมไดอยางมคี วามสขุ ตัวอยางหลักธรรมทางศาสนาท่เี กยี่ วของกับตนเอง พระพุทธศาสนา หลักคาํ สอนในการชวยเหลอื หรือพ่งึ พาตนเอง ท่ีพุทธศาสนิกชนไดยินจากพุทธสุภาษิตอยูเสมอ คอื อัตตาหิ อตั ตโน นาโถ หรอื ตนเปนทพี่ ่ึงแหงตน คริสตศาสนา หลักคาํ สอนในศาสนาครสิ ต คือ ตองรูจกั ชว ยเหลอื ตนเองกอ น แลว พระเจา จะชวยทาน ศาสนาอสิ ลาม หลักคําสอนจะคลายกับคริสตศาสนา ก็คือ ใหรูจักชวยตนเอง และรูจักเปลี่ยนแปลงตนเอง ไปในทางทด่ี เี สยี กอ น แลว พระเจา จะชวยทา น 94 96

ใบงานกจิ กรรมท่ี ๑ หมู............................... คาํ ชแี้ จง ใหลกู เสอื ทุกหมู ศกึ ษาใบความรูที่ ๑ ชว ยกนั ระดมสมองวิเคราะห วา หวั ขอคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค ๘ ประการ ตรงกบั คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือสํารองขอ ใด ใชเ วลาปฏิบตั ิงาน ๑๐ นาที สงตวั แทนนําเสนอหนา ชัน้ เรยี น ๓ นาที คณุ ลักษณะอันพึงประสงค คําปฏญิ าณ กฎของลูกเสือ ๑. รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ๒. ซ่อื สัตย สจุ รติ ๓. มวี นิ ยั ๔. ใฝเรียนรู ๕. อยอู ยางพอเพยี ง ๖. มงุ มัน่ ในการทาํ งาน ๗. รักความเปนไทย ๘. มีจติ สาธารณะ 95 97

ใบงานกจิ กรรมที่ ๒ การระดมสมองจัดทาํ แผนผังความคดิ (Mind Mapping) หมู............................... คาํ ช้แี จง ใหลูกเสือศึกษาใบความรูที่ ๑ จับสลากหัวขอคุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ แลวชวยกันระดม สมองวิเคราะห จัดทําแผนผังความคิด ตามหัวขอคุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ ที่ไดรับ มอบหมาย และสรุปตามหัวขอท่ีกําหนดให ใชเวลาปฏิบัติงาน ๑๐ นาที สงตัวแทนนําเสนอ หนาชน้ั เรยี น ๓ นาที คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค เรื่อง............................... ๑. ไดอ ะไรจากการปฏบิ ัตใิ นคร้ังน้ี................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. ๒. มปี ระโยชนอ ยา งไร ................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. การนาํ เสนอหนา ชน้ั เรยี นหัวขอคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค ๘ ประการ 96 98

ใบงานกิจกรรมท่ี ๓ แตง นิทาน หมู............................... คาํ ชแ้ี จง ใหสมาชิกทุกหมูชวยแตง นทิ านที่เกยี่ วขอ งกับเรือ่ งจิตอาสา โดยกําหนดตัวละครใหดังนี้ ชายหนุม ๑ คน ชายแก ๑ คน หญิงแก ๒ คน เด็กชาย ๓ คน เด็กหญิง ๓ คน ลูกสุนัข ๓ ตัว ใชเวลาปฏิบัติงาน ๑๐ นาที สงตัวแทนนําเสนอหนาชน้ั เรียน ๓ นาที แบบประเมิน เร่อื ง การสรา งจติ อาสา (กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน) อนั ดับ รายงานการประเมนิ ปฏบิ ัติ ไมป ฏบิ ตั ิ ๑ ผเู รียนมีความรคู วามเขา ใจเก่ียวกบั แนวทางและวธิ ีการทาํ กิจกรรม เพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน ๒ ผเู รียนพบทปี่ รกึ ษาเพือ่ หารือเกี่ยวกับการทาํ กจิ กรรม ๓ ผูเรียนมีการเตรียมความพรอม เตรยี มวสั ดุอุปกรณในการทํากจิ กรรม กอนปฏิบัติกจิ กรรม ๔ ผูเรยี นกาํ หนดกจิ กรรมตามความสนใจของตนเอง ๕ ผเู รียนกําหนดเปา หมายในการทาํ กิจกรรม ๖ ผเู รยี นมีการวางแผนและดําเนินการตามแผน ๗ ผูเรยี นมีการบันทึกเก่ยี วกบั การทาํ กิจกรรม ๘ ผูเรียนพบครูทป่ี รึกษาเพือ่ ขอรองใหประเมินผลการทํางานของตน ๙ ผูเรียนจัดทํารายงานการปฏบิ ัตกิ ารภายหลงั การทํากิจกรรม ๑๐ ผูเรียนมีการพดู คุยถึงปญหาและอุปสรรคภายหลงั การทํากิจกรรม และหาทางแกไข ความคิดเห็น และ ขอเสนอแนะ................................................. ลงชื่อ................................................. (..................................................) เกณฑก ารประเมนิ ผล ผูก าํ กับลกู เสือ ผลการปฏบิ ัติ ๙ - ๑๐ ขอ ผลการปฏิบัติ ๗ - ๘ ขอ อยูในระดบั ดมี าก ผลการปฏบิ ัติ ๕ - ๖ ขอ อยูในระดับ ดี ผลการปฏบิ ตั ิ ๓ - ๔ ขอ อยูในระดับ ปานกลาง ผลการปฏบิ ัติ ๑ - ๒ ขอ อยูใ นระดบั พอใช อยูในระดบั ปรับปรุง 97 99

ชือ่ วิชา ลูกเสอื สาํ รองชอสะอาดกับกจิ กรรมกลางแจง บทเรยี นที่ ๘ เวลา ๑๘๐ นาที ขอบขา ยรายวชิ า ๑. ความหมาย ความสาํ คัญ และประโยชนก ารเดนิ สาํ รวจและกิจกรรมตามฐานท่ีกาํ หนด ๒. การประชมุ กองครั้งพิเศษ จดุ มุง หมาย เพอ่ื ใหลกู เสอื สํารองสามารถเขา รว มและปฏบิ ัติกจิ กรรม ในการประชมุ กองครัง้ พิเศษตามท่ีกาํ หนดให วตั ถุประสงค เมื่อเรียนจบบทเรียนนแี้ ลว ลกู เสอื สํารองสามารถ ๑. บอกความหมายของการประชุมกองคร้ังพเิ ศษได ๒. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมในการประชมุ กองครั้งพเิ ศษได ๓. เพอื่ เปน การทดสอบวชิ าท่ีเรียนมาท้ังหมดได ๔. นําความรจู ากการปฏบิ ตั ิกิจกรรมในการประชุมกองคร้งั พิเศษไปใชในชีวติ ประจําวันได วธิ ีสอน/กิจกรรม ๑๐ นาที ๑. พิธเี ปด ประชุมกอง ๑๐ นาที (แกรนดฮ าวล ชกั ธงขึ้น สวดมนต สงบนง่ิ ตรวจ แยก) ๑๕๐ นาที ๒. เกมแชรคานตะครุบเหยือ่ ๑๐ นาที ๓. การสอนตามเน้ือหา ๔. พิธปี ดประชมุ กอง (แกรนดฮ าวล ตรวจ ชกั ธงลง เลิก) การประชมุ กองคร้งั พเิ ศษ ความสําคัญของการประชุมกองคร้ังพิเศษ เปนกิจกรรมสําคัญท่ีกองลูกเสือสํารองควรจัดใหกับลูกเสือ สาํ รอง และควรจดั หลังไดเ รียนรใู นเรือ่ งตา ง ๆ ครบถว นแลว เพ่ือเปนการทดสอบบทเรียนท้งั หมดท่ีเรียนมาแลว สําหรับการประชุมกองครั้งพิเศษในหลักสูตรลูกเสือสํารองชอสะอาดครั้งน้ี เปนการประยุกตนําวิธีการจาก กิจกรรมวอรคแรลลี การเขาฐานปฏิบัติกิจกรรม การประชุมกองคร้ังพิเศษของหลักสูตรการฝกอบรม ผบู งั คับบัญชาลกู เสอื สาํ รอง ขนั้ ความรชู ัน้ สูง มาบรู ณาการเปน รูปแบบเฉพาะสําหรับลกู เสือสํารองชอสะอาด การเตรยี มการ ๑. วิทยากรนัดหมายใหแตล ะหมสู ี ประดิษฐ/พับกระดาษ ใหเ ปนรปู พาหนะตามทห่ี มูตัวเองจับสลากได เชน เรอื รถจกั รยาน เคร่ืองบิน รถยนต เครื่องรอ น ๒. แตง กายใหเหมาะสมกบั การเดนิ ทางของหมูตนเอง เชน จับสลากไดการเดินทางทางเรือ ควรแตงกาย อยางไร 98 100

การดําเนนิ การ ๑. พิธเี ปด ประชุมกอง (แกรนดฮาวล ชักธงขึน้ สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก) ๒. วิทยากรช้ีแจงกับลูกเสือวาตอไปน้ีจะนําลูกเสือไปอยูคายพักแรมสถานที่หนึ่ง ซ่ึงลูกเสือจะตอง เดินทางดวยพาหนะท่ีหมูตนเองจับสลากได ชวงระหวางการเดินทางตองแสดงบทบาทสมมุติใหเหมาะสมกับ พาหนะท่ีเดินทาง แตละหมูประดิษฐ/พับกระดาษ พาหนะของหมูตัวเอง เลือกลําที่ดีท่ีสุดหนึ่งลําสําหรับ การเดินทาง ในขณะเดินทางลูกเสือจะตองผานดานตาง ๆ ในการเดินทางครั้งนี้ มีสมาชิกในหมูลูกเสือ ๑ คน ประสบอุบัตเิ หตุขาขางขวาหกั เดนิ ไมไ ด ซึง่ เพ่ือน ๆ จะตองพาไปดวยตลอดการเดินทาง และดานตาง ๆ ท่ีลูกเสือ ตอ งผา น มีดังนี้ พาหนะของหมูเลือกลําทดี่ ที ี่สดุ หน่ึงลาํ สาํ หรบั การเดินทาง ๒.๑ ดานศุลกากร ซึ่งจะตรวจเครื่องแบบ ยานพาหนะ เชือก และแตละหมูจะตองกลาว คตพิ จนของลูกเสอื สาํ รอง ซงึ่ จะเปนรหัสในการผา นดา นแตละดา น ๒.๒ ขณะเดินทางใหแตละหมูสี สังเกตเสนทางการเดินซึ่งจะมีไหมพรมตามสีหมูเปน สญั ลักษณ ใหแ ตละหมสู ีเก็บไหมพรมของหมสู ีตัวเองไปดวย พรอ มเดนิ ทางตามเสนไหมพรหม แตละกลุม จะมเี สนทางในการเดินทางแตกตางกนั ไป ดงั น้ี • หมูสที ่ี ๑ จะเดินทางไปยงั สถานที ี่ ๑ ตอไปสถานที ี่ ๒, ๓, ๔, ๕, ๖ • หมูสที ่ี ๒ จะเดินทางไปยังสถานที ี่ ๒ ตอไปสถานที ี่ ๓, ๔, ๕, ๖, ๑ • หมูสีท่ี ๓ จะเดนิ ทางไปยงั สถานีท่ี ๓ ตอไปสถานีท่ี ๔, ๕, ๖, ๑, ๒ • หมสู ีที่ ๔ จะเดนิ ทางไปยังสถานีท่ี ๔ ตอ ไปสถานีท่ี ๕, ๖, ๑, ๒, ๓ 99 101

• หมูส ีท่ี ๕ จะเดนิ ทางไปยังสถานีที่ ๕ ตอ ไปสถานีที่ ๖, ๑, ๒, ๓, ๔ • หมูสที ่ี ๖ จะเดนิ ทางไปยังสถานที ่ี ๖ ตอ ไปสถานที ่ี ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ เมือ่ เดนิ ทางถึงสถานีใด ใหปฏิบัติกิจกรรมตามสถานีน้ันใหสําเร็จ ถึงจะเดินทางตอได และเม่อื ปฏิบัตงิ านครบทกุ สถานี แตล ะหมูจะตอ งพาสมาชกิ เดินทางไปรวมกันยงั สถานีท่ี ๗ ๒.๓ สถานีท่ีปฏิบัติกจิ กรรม มี ๖ สถานี ดงั น้ี สถานีท่ี ๑ ฤๅษตี าไฟ (ทดสอบความซอ่ื สัตย) • เดินทางถึงสถานี พบฤๅษีตาไฟ แสดงรหัสการเขาสถานีโดยการรองเพลง “ความซอื่ สตั ย” พรอ ม ๆ กนั ๒ รอบ • ฤๅษีตาไฟจะทดสอบลูกเสอื เรอื่ งความซอ่ื สตั ย โดยการใหเ ลนเกมววิ ฒั นาการ • กอนออกจากสถานี ทองคติพจนของลูกเสือสํารอง ๓ ครั้ง เดินทางตามไหมพรม ตามสขี องหมูตนเองไปยังสถานตี อไป สถานที ่ี ๑ ฤๅษตี าไฟ สถานที ่ี ๒ นางฟา (ทดสอบจิตอาสา) • เดินทางถึงสถานี พบนางฟา แสดงรหัสการเขาสถานีโดยการทองกฎของลูกเสือ สํารองพรอม ๆ กนั • นางฟาแจงวามีอุบัติเหตุรถมอเตอรไซดเฉ่ียวชน และมีผูไดรับบาดเจ็บตองการ ความชว ยเหลือ • สังเกตการณแกปญหาของแตละหมู • กอนออกจากสถานี ทองกฎของลูกเสือสํารองพรอม ๆ กัน เดินทางตามไหมพรม ตามสีของหมูตนเองไปยงั สถานีตอไป สถานีท่ี ๒ นางฟา 100 102

สถานที ี่ ๓ คุณตาหลงทาง (ทดสอบความเอื้อเฟอเผื่อแผ) • เดินทางถึงสถานี พบคุณตาหลงทาง แสดงรหัสการเขาสถานีโดยการทองคําปฏิญาณ ของลูกเสือสาํ รองพรอ ม ๆ กนั • คุณตาทหี่ ลงทางกลบั บานไมไ ดเ ลาเรอื่ งราวของตนเองใหลกู เสอื ฟง • ลูกเสือระดมสมองหาวิธีชว ยเหลอื คณุ ตากลบั บาน สงตวั แทนออกมานําเสนอ • สังเกตการณแกปญ หาของแตล ะหมู • กอนออกจากสถานี ทองคําปฏิญาณของลูกเสือสํารองพรอม ๆ กัน เดินทางตาม ไหมพรมตามสขี องหมตู นเองไปยังสถานีตอ ไป สถานที ่ี ๓ คณุ ตาหลงทาง สถานีท่ี ๔ ตํารวจ (ทดสอบ การรูจ กั เคารพกฎหมาย “กฎหมายเรอ่ื งใกลตัว”) • เดินทางถงึ สถานี พบตาํ รวจ แสดงรหสั การเขาสถานโี ดยการรอ งเพลง “หนาที่เด็ก” ๒ รอบ • ตํารวจแจงใหลูกเสือทราบวาในสถานีนี้ ใหลูกเสือแยกขอความวาขอความใด เปนหนา ที่ของประชาชนชาวไทย และคณุ ลักษณะพลเมืองไทยที่ดี สงตัวแทนออกมานําเสนอ • ตาํ รวจกับลูกเสอื รว มตรวจสอบความถกู ตองของผลงาน • กอนออกจากสถานี รองเพลงหนาที่เด็ก ๒ รอบ เดินทางตามไหมพรมตามสีของ หมูตนเองไปยงั สถานตี อ ไป สถานีที่ ๕ ซปุ เปอรแมนและจอมโจรตาเดยี ว (การรจู ักเคารพตนเองและผอู นื่ ) • เดินทางถึงสถานี พบซุปเปอรแมน แสดงรหัสการเขาสถานีโดยการทองคติพจน ๓ ครง้ั พรอ ม ๆ กัน • จอมโจรตาเดียวจับตัวลูกเสือคนหนึ่งเปนตัวประกันแลวเร่ิมทรมาน ตัวประกัน ซุปเปอรแมนเจรจากับจอมโจรตาเดียวหาวิธีแลกตัวประกันกลับคืน จอมโจรตาเดียวใหลูกเสือแบงออกเปน ๒ กลุมยอย กลุมหน่ึงทําหนาท่ีแสดงทาทางตามสถานการณท่ีจอมโจรตาเดียวกําหนด อีกกลุมทําหนาที่ทาย ใหถกู ตอง จอมโจรตาเดียวถงึ จะปลอยตวั ประกนั • กอนออกจากสถานี ทอ งคตพิ จน ๓ คร้ัง พรอม ๆ กัน เดินทางตามไหมพรมตามสี ของหมูตนเองไปยังสถานตี อไป 101 103

สถานีที่ ๕ ซุปเปอรแมนและจอมโจรตาเดียว สถานที ่ี ๖ เมาคลี • เดนิ ทางถงึ สถานี พบเมาคลี แสดงรหัสการเขา สถานีโดยการผูกเง่ือนลูกเสือสํารอง ทีเ่ คยเรยี นมา หมลู ะอยางนอ ย ๑ เงอ่ื น • เมาคลีแจงกับลูกเสือวาการจะดํารงชีพอยูในปา ซึ่งจะตองมีอุปสรรคมากมาย ลกู เสือตอ งมเี พ่อื นท่ีรักและไวใจได ใหลกู เสือจบั คกู ับเพ่อื นที่ไวใจที่สดุ ปฏบิ ตั ิกิจกรรมเพือ่ นรกั เพือ่ นเลฟิ • เมาคลกี บั ลกู เสือสรปุ สิ่งทีไ่ ดจ ากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม • กอนออกจากสถานี ทดสอบการผูกเง่ือนลูกเสือสํารองท่ีเคยเรียนมา หมูละ อยางนอ ย ๑ เงื่อน เดนิ ทางตามไหมพรมตามสีของหมตู นเองไปยังสถานีตอ ไป สถานที ี่ ๖ เมาคลี สถานีท่ี ๗ อาเคลา • เปนสถานีรวมที่ทุกหมูหลังจากปฏิบัติกิจกรรมครบทั้ง ๖ สถานี จะมารวมกัน ซง่ึ สถานีนี้ จะพบกบั อาเคลา และกอนหินศักด์สิ ทิ ธ์ิ • ใหลูกเสือต้ังแถวรัศมี ยืนตอหนาอาเคลาและกอนหินศักด์ิสิทธิ์ ใหนายหมู ทุกหมูใชมือซายสัมผัสกอนหิน มือขวาวางทาบที่อกซายใกลหัวใจ สมาชิกคนอื่นใชมือซายจับไหลคนขางหนา มอื ขวาวางทาบท่ีอกซายใกลห วั ใจเชนเดียวกนั • อาเคลาปลูกฝงเรือ่ งของความซือ่ สตั ย และนํากลา วนําคําม่ันสัญญา ดงั นี้ 102 104

โรงเรยี นตลอดไป ขาพเจาลูกเสอื สาํ รองชอสะอาด ขอใหค ํามั่นสญั ญาตอทงั้ ๓ สถาบันวา ขอ ๑. ขาจะจงรักภกั ดี ตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  ขอ ๒. ขาจะปองกันและปราบปรามการทุจริตไมใหเกิดขึ้นในครอบครัวและ ขอ ๓. ขาจะเปน แบบอยา งทีด่ ีในการปฏบิ ตั ิตนเปนคนซอ่ื สตั ยต ลอดไป สถานีที่ ๗ อาเคลา การปด ประชมุ กอง 103 105

สรุปกจิ กรรม ๑. เสร็จกจิ กรรม ใหแ ตละหมูส ง ตวั แทนสรปุ กิจกรรมในหัวขอ ตอไปน้ี ๑.๑ สถานีท่ีหมูของลูกเสอื มีปญ หา/ประทบั ใจมากท่ีสดุ ๑.๒ ในการเดินทางตามไหมพรมใหขอคิดเรื่องใดบาง สํารวจไหมพรมของแตละหมูวามี ไหมพรมของหมูอน่ื ติดมาบางหรือไม ๑.๓ จากสถานีท่ีกําหนดใหมีสมาชิก ๑ คน ประสบอุบัติเหตุขาหัก แตละกลุมมีวิธีดําเนินการ อยางไรในตลอดการเดินทาง บุคคลท่ีประสบอุบัติเหตุรูสึกอยางไรท่ีตองเปนภาระใหกับเพื่อน ๆ และเพื่อน ๆ รูสึกอยางไรท่ีตอ งนําเขาไปดว ย ๑.๔ ลูกเสอื จะนํากิจกรรมนไี้ ปประยกุ ตใชใ นชีวิตประจาํ วนั ไดอ ยางไร พิธีปดประชุมกอง (เวลา ๑๐ นาที) • นดั หมาย • ตรวจเครอื่ งแตงกาย • แกรนดฮาวล ชกั ธงลง เลิก ขนั้ ประเมินผล ๑. ประเมินผลงานจากการปฏิบตั ิงานในสถานี ๒. สังเกตการปฏิบัตงิ านของแตล ะหมู ส่อื การสอน ๑. ใบความรูท่ี ๑ พิธีเปด - ประชุมกอง ๒. ใบความรูท ี่ ๒ การพับเรือ ๓. ใบความรูที่ ๓ เกมแชรค านตะครบุ เหย่ือ ๔. ใบความรทู ี่ ๔ การฝกอบรมโดยระบบฐานและวธิ กี ารปฏิบัติ ๕. ใบงานที่ ๑ - ๖ การประเมนิ ผล ๑. วิธกี ารวัดผล : ประเมนิ การปฏิบัติกจิ กรรมกลมุ และผลการปฏิบตั ิงานในแตล ะสถานี ๒. เครอ่ื งมอื วัดผล : แบบประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุม ๒.๑ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบตั ิงานกลมุ ๒.๒ แบบประเมินใบงานกิจกรรมที่ ๑ - ๖ ๓. เกณฑก ารประเมิน : มีผลการประเมิน ผานเกณฑท กี่ ําหนด 104 106

ใบความรทู ่ี ๑ การเปด - ปดประชุมกองลูกเสือสาํ รอง พธิ กี าร : แกรนดฮาวล ชักธงขึ้น - สวดมนต - สงบนิ่ง - ตรวจ - แยก ๑. แกรนดฮ าวล ผูกํากบั ยนื หนา เสาธง หางจากเสาธง ๓ กา ว เรยี กลกู เสือทําแกรนดฮาวล มีรองผูกํากับ ยืนอยูดานหลังผูกํากับ และนอกวงกลม (ศึกษาวิธีทําแกรนดฮาวลในหนาถัดไป) หลังจากทําแกรนดฮาวล ลูกเสอื ทุกคนอยูใ นทาตรง ๒. ชักธงขนึ้ ใหจ ดั ลูกเสอื ทีเ่ ปน หมบู รกิ ารหรือทําหนาทหี่ มูบริการ ๒ คน เปนผูชักธง คือ ใหเดินเขาไป หางจากเสาธงประมาณ ๓ กาว ทั้งสองแสดงความเคารพ แลวคนหนึ่งกาวไปขางหนา ๒ กาว เพื่อแกเชือกธง แลวถอยหลังกลับมาท่ีเดิม ผูกํากับออกคําส่ัง “แพ็ก - วันทยหัตถ” ลูกเสือในวงกลมท้ังหมดทําวันทยหัตถ พรอมกัน รวมทั้งผกู าํ กับและรองผูกํากับอ่ืน ๆ ทําวันทยหัตถ ๓ นิ้ว หมูบริการนํารองเพลงชาติ สองคนชวยกัน ชักธงชาติขึ้นสูยอดเสา พอธงชาติขึ้นยอดเสาแลวคนหน่ึงเดินเขาไปผูกเชือกธง อีกคนหนึ่งยืนอยูในทาตรง (ไมตองทําวันทยหัตถ) เม่ือผูกเชือกเรียบรอยแลวใหถอยหลัง ๒ กาว มาหาคนที่กําลังยืนรออยู ทั้งสองคนทํา วนั ทยหตั ถ ลดมอื ลง (ขณะแถวในวงกลม ทกุ คนยงั อยูในทา วนั ทยหตั ถ) แลวทําวันทยหัตถเหมือนลูกเสือในแถว ผูกาํ กับและผูบงั คับบัญชาลูกเสอื อืน่ ๆ ใหล ดมอื ลงพรอมกับลกู เสือสองคนทช่ี กั ธง (กอ นวงิ่ กลับไปเขาที่) ๓. สวดมนต พอลดมือลงแลว ทุกคนอยูในทาตรงแลวถอดหมวก เตรียมตัวสวดมนต หมูบริการนํา สวดมนต ๔. สงบน่ิง เม่ือสวดมนตจ บแลว ทกุ คนสงบน่งิ ๕. ตรวจ การตรวจในตอนนี้จะตรวจอะไรก็ได เชน เคร่ืองแบบ เล็บ ฟน ความสะอาดอ่ืน ๆ (ผูกํากับ เปนผสู งั่ กอนจะตรวจอะไร) แตการตรวจในตอนปด น้ัน ใหตรวจเครื่องแบบอยา งเดียว เพราะเหตุวาลูกเสือเรียน มาเปนเวลานานแลว เคร่ืองแตงกายยอมไมเรียบรอยและจะตองแตงเครื่องแบบกลับบาน ผานที่ชุมชน หลายแหง ถา ไมเรยี บรอ ยอาจนาํ ความเส่ือมเสียมาสกู องลกู เสือของตนได วิธตี รวจ ตามปกติผูกํากับจะใหรองผูกํากับเปนผูตรวจ แตบางกรณีรองผูกํากับไมอยูหรือมีนอย ผูกํากับจะให นายหมูตรวจแทนกไ็ ด ถา รองผูกํากับตรวจ รองผูกํากับท่ีจะไปตรวจนั้นตองทําความเคารพ (วันทยหัตถ) ผูกํากับ เสียกอน แลวจึงไปตรวจหมูลูกเสือ พอไปถึงหนาลูกเสือที่จะรับตรวจ นายหมูส่ังลูกเสือในหมูของตนวา “หมูสี ..................ตรง” ลูกเสือทุกคนยืนตรง นายหมูคนเดียวทําวันทยหัตถ แลวลดมือลงกาวไปขางหนา ๑ กาว ทําวันทยหัตถแ ลว รายงานวา “หมสู ี..................พรอมทจ่ี ะรบั การตรวจแลว (ครับ)” เม่ือรายงานจบ ลดมือลงถอยหลังเขาท่ีเดิม ผูตรวจจะตรวจตัวนายหมูกอน แลวจึงตรวจลูกหมูตอไป ขณะทต่ี รวจลกู หมูนน้ั ใหนายหมูตามไปดวย เพื่อท่ีจะไดทราบถึงขอบกพรองของลูกหมู เม่ือตรวจครบทุกคนแลว ใหนายหมูกลับเขาที่ ทําวันทยหัตถพรอมกลาวขอบคุณผูตรวจ จากนั้นนายหมูจึงสั่งลูกหมูพัก รองผูกํากับ ท่ีไปตรวจ รายงานผลการตรวจใหผูกํากับทราบ คนไหนตรวจเสร็จกอนก็ใหรายงานกอนโดยไมตองรอกัน ถานายหมูตรวจ เมื่อไดยินคําส่ังผูกํากับส่ังวา “นายหมูตรวจ” ใหรองนายหมูว่ิงออมดานหลังหมูของตนไปยืน แทนทน่ี ายหมูและทาํ หนา ทเ่ี สมือนนายหมู สวนนายหมูใหกาวออกมาขางหนาแถวของตนและทําหนาท่ีเสมือน รองผกู าํ กบั (วธิ ตี รวจก็เชน เดียวกบั รองผูกํากับตรวจ) และเมอื่ ตรวจเสรจ็ แลว ใหยืนรออยูกอน จนเห็นวาทุกหมู ตรวจเรียบรอยแลว จึงวงิ่ เขา แถวหนา กระดานหนา ผูกํากบั (นายหมูบริการอยูหัวแถว) เพ่ือรายงานผลการตรวจ การรายงานใหกาวออกไปขางหนา ๑ กาว พรอมกับทําวันทยหัตถ แลวรายงานการตรวจ เสร็จแลวลดมือลง ถอยเขาทจ่ี นครบทกุ คน แลว ผกู าํ กบั จึงสงั่ เขา ที่ 105 107

๖. นัดหมายและแยก ผูกาํ กับนัดหมายลกู เสอื ทจ่ี ะตองปฏิบตั กิ จิ กรรมตอไป แลวจึงออกคําส่ัง “แพ็ก - แยก” ใหล กู เสอื ทุกคนทําขวาหันแลว แยกยายกันไป การทําแกรนดฮ าวล การปด ประชมุ กอง พธิ ีการ : แกรนดฮาวล - ตรวจ - ชกั ธงลง - เลกิ ๑. แกรนดฮาวล ปฏบิ ตั ิเชน เดียวตอนเปดประชมุ กอง ๒. ชกั ธงลง ปฏบิ ตั เิ ชนเดยี วกับตอนเปดประชุมกอง แตไ มตองรอ งเพลงชาติ และไมตอ งเปานกหวีด ๓. เลกิ เมอ่ื ชักธงลงแลว ผูชักธงทาํ วนั ทยหัตถ กลบั เขา ทเี่ รียบรอ ยแลว ผูกํากบั ส่ัง “มือลง” หลังจากนั้น ผูกํากับส่ัง “แพ็ก - เลิก” ลูกเสือทุกคนทําวันทยหัตถตอผูกํากับ (ผูกํากับทําวันทยหัตถตอบ) แลวทําขวาหัน แยกยายกันกลับได 106 108

การทําแกรนดฮ าวล ๑. ผูกํากับเรียกลูกเสือ “แพ็ก แพ็ก แพ็ก” (ครั้งที่ ๓ ออกเสียงหนัก) พรอมทําสัญญาณมือเรียกแถว วงกลม (แกวงมือรอบตัว ๓ - ๔ คร้งั ) ลกู เสือรองรับ “แพก” พรอมกัน แลวว่ิงมาเขาแถวรูปวงกลมรอบผูกํากับ นายหมูบริการยืนตรงหนาผูก าํ กบั ๒. ขยายแถว โดยผูกํากับผายมือออกดานขางเล็กนอย ลูกเสือจับมือกันขยายแถวเปนวงกลมใหญ แขนตึง ผกู ํากบั เอามือลง เมอ่ื ลูกเสอื จดั แถวเรยี บรอยแลวใหเอามือลงแนบลาํ ตวั ๓. ผูกํากบั ลกู เสือตรวจดูเห็นวา วงกลมเรยี บรอ ยดแี ลว ใหกางแขนออกไปขาง ๆ เสมอไหลขนานกับพื้น นิ้วทงั้ ๕ ชดิ กัน ฝา มือแบหงายแลว พลิกฝา มือควํ่าลงและงองุม เปนสัญญาณใหลูกเสือน่ังลง ลูกเสือสํารองทุกคน น่ังลงทันที ใหน่ังลงบนสนเทาท้ังสอง แขนทั้งสองเหยียดตรงอยูระหวางเขา มือทั้งสองหางกันพอควร แบะเขา ออกเล็กนอ ย นวิ้ ชีแ้ ละนิ้วกลางท้ังสองมือเหยียดชิดกันและแตะพ้ืน นิ้วอ่ืน ๆ งอไวในอุงมือ (คือนิ้วหัวแมมือกด นว้ิ นางกบั น้วิ กอ ย) 107 109

๔. ผูกํากับลกู เสอื พลิกฝามือท้งั สองหงายขึ้น เปน สญั ญาณใหลกู เสือรอ ง ลูกเสือสํารองทุกคนแหงนหนา รองข้ึนพรอมกันวา “อา - เค - ลา เรา - จะ - ทําดี - ท่ี - สุด” พอขาดคําวา “สุด” ใหลูกเสือทุกคนกระโดด ยนื ข้นึ เทาท้งั สองชิดติดกัน พรอมกับยกมอื ทง้ั สองทีอ่ ยูในทานัง่ ไปไวเหนือหูและชิดหู ๕. นายหมูลกู เสือซงึ่ ทําหนา ท่ีเปน หมูบ ริการในวันนน้ั (ท่ีหันหนา ตรงกับผูก ํากับ) จะรองข้ึนวา “จงทําดี - จงทําดี - จงทาํ ดี” การรองใหห นั ไปทางซา ย กอ นตรงหนา - ขวา ทีละคร้ัง (เวลารองไมตองผงกศีรษะ) เมื่อสิ้น คําท่ีสามแลว ใหลูกเสือทุกคนลดมือซายมาแนบลําตัวอยางวองไว สวนมือขวาลดลงมาทําทาวันทยหัตถ แลวรอ งขนึ้ พรอมกันวา “เราจะทําดี - จะทําดี - จะทําดี” ขณะท่ีลูกเสือกลาว ใหผูกํากับทําวันทยหัตถตามแบบ ลูกเสือสํารอง (สองนิ้ว) เปนการรับการเคารพของลูกเสือ และอาจจะกลาวคําขอบใจหรือคําอื่นใดที่สั้น ๆ ก็ได รองผกู ํากับอนื่ ๆ ที่อยูน อกวงกลมอยใู นทา ตรง เสร็จแลวผูกํากับและลูกเสือลดมือลงอยูในทาตรง ผูกํากับสั่งให ลกู เสอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตอ ไป 108 110

ใบความรูท ่ี ๒ การพบั เรือ อปุ กรณ กระดาษส่ีเหลี่ยมผืนผา ๑ แผน วิธที ํา ๑. พับคร่ึงกระดาษส่เี หล่ยี มผืนผา ทางดา นยาว ๒. พับคร่งึ อีกครงั้ เพื่อเปน แนวในการพับสามเหลยี่ ม ตรงมมุ ใหลงมาชนกนั ทง้ั ๒ ดา น ๓. พบั ฐานทเ่ี หลอื ของกระดาษขนึ้ มาใหช นกนั พอดี สลับ ๒ ดาน ๔. คลก่ี ระดาษดา นลางออก เพอ่ื ท่ีจะพับเปน รปู สีเ่ หลย่ี ม พบั ดานลา งข้ึน ๕. ดึงปกออก จะไดเ รอื กระดาษสวย ๆ ๑ ลํา 109 111

การพบั เคร่อื งบิน 110 112

การพับเรอื สาํ ปน 111 113

ใบความรูที่ ๓ เกมแชรคานตะครบุ เหยือ่ วิธีเลนเกม ๑. แบง ลูกเสือสํารองออกเปน ๒ แถว แถวละเทา ๆ กนั โดยใหแถวหนึ่งเปนหมาปา (เหยื่อ) และใหอีก แถวหนึง่ เปน เสอื โครง (แชรค าน) ๒. ใหท้ังสองแถวหันหนาเขา หากนั หางกันประมาณ ๑ เมตร มีเสน กน้ั แดน ๓. ใหท ุกคนนง่ั ลง หมาปา นง่ั ลงในทา ท่พี รอ มจะว่ิงหนี เสอื ใหนัง่ ในทา ท่เี ตรยี มจะตะครุบ ๔. เม่อื ไดยนิ สัญญาณใหเ รม่ิ ใหฝา ยเสือกระโดดตะครุบหมาปา สว นหมาปาตองรบี กระโดดหนี ๕. ถา หมาปา กระโดดหนไี มท ันและถูกเสือตะครบุ จะถือวาตายตองออกจากการเลน ๖. เมื่อถึงเวลาเปลีย่ นใหแ ถวทัง้ สองสลับกนั เปนเสือโครงและหมาปา เลนกันตอไปจนหมดเวลา แถวใด เหลือนอยที่สดุ เปนฝายแพ เสอื โครง (แชรค าน) หมาปา 112 114

ใบความรูที่ ๔ การฝก อบรมโดยระบบฐานและวิธกี ารปฏบิ ัติ วตั ถุประสงค เพ่อื ใหผูเขารับการฝกอบรมไดเรียนรอู ยา งทั่วถงึ ในเวลาจํากัด และปฏิบัติในการเขาเรียนเปนฐานอยาง ถกู ตอง ระบบฐาน ระบบฐานเปน วิธีการใหค วามรูโ ดยตรง ซ่ึงกอใหเ กดิ ประโยชนห ลายประการ คอื ๑. เขาใจปญ หาและเนือ้ หาวชิ าไดดี ๒. ซักถามหรืออภปิ รายไดอยา งอิสระ ๓. ไดร บั การถายทอดความรแู ละเกิดทกั ษะอยางทัว่ ถึง การปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกบั ระบบฐาน ๑. จดั เน้อื หาวชิ าใหเหมาะสม ๒. วทิ ยากรประจําฐานตอ งมคี วามรแู ละมีการเตรียมการลวงหนา ๓. เคร่ืองมอื อปุ กรณตองพรอมในสภาพใชการไดดี ๔. แตละฐานตอ งเหมาะสมทัง้ ระยะทาง เวลา และสถานที่ วิธีการเขา ฐาน ใหสมาชิกแตละหมไู ดห มุนเวยี นไปไดทกุ ฐาน ๆ ละ ๑ หมู หรอื ๒ หมู ๑. เมื่อนายหมูนําหมูมาเขาฐานและเขาแถวหนาวิทยากรผูประจําฐานเรียบรอยแลว (ยืนหางจาก ผูกํากับ ๓ กาว) นายหมูส่งั “หมสู ี......ตรง” นายหมทู ําวันทยหตั ถ (แบบลูกเสอื สาํ รอง) แลวลดมือลง กาวเทาซาย ไปขางหนา ๑ กาว กาวเทาขวาชิด ทําวันทยหัตถ แลวรายงาน “หมูสี…..พรอมท่ีจะรับการฝกอบรมแลวครับ/ คะ” เสรจ็ แลวถอยหลงั เขาทเ่ี ดิมทําวนั ทยหัตถ ลดมอื ลงและสง่ั “ตามระเบียบ พัก” ๒. วิทยากรประจําฐานนัดหมายเรอื่ งท่จี ะฝกอบรมแลว ส่ัง “หมูสี.......ตรง”“แยก” วิทยากรประจําฐาน นัดหมายเร่ืองท่ีจะฝกอบรมแลวส่ัง “หมูสี... ตรง” “แยก” เริ่มฝกอบรมในฐานตามคําแนะนําของวิทยากร ประจาํ ฐาน ๓. เม่ือไดยินสัญญาณนกหวีดหมดเวลา ๑ ครั้ง ใหทุกคนเขาแถวใหเรียบรอย และเม่ือไดยินสัญญาณ นกหวดี ๒ ครงั้ ใหนายหมสู ่งั “หมูสี............ตรง” นายหมทู าํ วันทยหัตถ (แบบลกู เสอื สํารอง) และกลาวขอบคุณ วิทยากรประจําฐานดวยคําวา “หมูสี.............ขอขอบคุณครับ/คะ” (นายหมูยืนอยูที่เดิมไมตองกาวออกไป ขา งหนา) ลดมอื ลง แลว ส่ัง “ขวา - หัน” “ตามขาพเจา” แลวเดนิ ไปเขา ฐานตอ ไป หมายเหตุ ๑. ในกรณที เี่ ขาฐานมากกวา หน่งึ หมูใ หมกี ารรายงานทกุ หมู ๒. วิทยากรประจําฐานรับความเคารพดวยการทําวันทยหัตถตอบ จนกระท่ังนายหมูกลับเขาที่ ลดมือ ลงจากการทาํ วนั ทยหตั ถ 113 115

ใบงานกจิ กรรมที่ ๑ สถานที ี่ ๑ ฤๅษตี าไฟ (ทดสอบความซ่อื สัตย) ปฏบิ ัตงิ านภายในเวลา ๑๐ นาที ดาํ เนินการ ดังน้ี ๑. เดินทางถึงสถานี พบฤๅษีตาไฟ แสดงรหัสการเขาสถานีโดยการรองเพลง “ความซ่ือสัตย” พรอ ม ๆ กนั ๒ รอบ ๒. ฤๅษตี าไฟจะทดสอบลูกเสือเรอ่ื งความซื่อสัตย โดยการใหเ ลน เกมวิวัฒนาการ เกมวิวฒั นาการ/วิธกี ารเลน • เรมิ่ การเลนใหผ เู ลนทุกคนเปน แมลงหวี่ เมือ่ ไดยนิ สญั ญาณเริ่ม ใหแมลงหวี่ทุกตัวทําทาบินพรอม ออกเสียงหวี่ ๆ ไปหาคู เมือ่ เจอคู ใหเ ปา หยิงฉุบหาผูชนะ แมลงหวี่ตัวใดชนะจะกลายรางไปเปน เปด แตถ าแพจ ะเปน แมลงหวีเ่ ชน เดมิ แมลงหว่ตี อ งไปหาพวกแมลงหวด่ี วยกนั เปาหยงิ ฉุบตอ ไป • ผูที่ชนะเปนเปด ใหแสดงทาทางเปดพรอมรองกาบ ๆ เมื่อเจอเปดดวยกันใหเปายิงฉุบ ถาแพ เปน เปดเหมือนเดิม ถาชนะจะกลายเปน กระตา ย • ผูท่ีชนะเปนกระตาย ใหแสดงทาทางการกระโดดแบบกระตาย เมื่อเจอพวกเดียวกันใหเปาหยิงฉุบ ถา ชนะจะกลายเปน ลงิ แพก็ยังคงเปน กระตา ยเหมือนเดมิ • ผูที่กลายรางเปนลิง ใหแสดงทาทางลิง สงเสียงเจ๊ียก ๆ ไปหาพวกลิงดวยกัน ใหเปาหยิงฉุบ ถา ชนะจะกลับกลายเปน มนษุ ย ถือเปนผูชนะใหกลับนงั่ ทเ่ี ดิม • เมื่อจบการแขง ขัน ผูทไี่ มช นะใครเลยจะเปนแมลงหวี่ เคยชนะ ๑ ครั้ง เปนเปด เคยชนะ ๒ คร้ัง เปนกระตาย เคยชนะมา ๓ ครั้ง เปนลิง เคยชนะตลอดการแขงขันเปนมนุษย เม่ือเสร็จส้ิน การแขงขนั จะตองเหลือผเู ลน เปน แมลงหวี่ เปด กระตา ย และลิง ชนิดละ ๑ ตัว • ถาเปนไปตามกติกา ฤๅษีตาไฟซ่ึงมีตาวิเศษ นําบุคคลท่ีเหลืออยูมาเปนตัวอยางในการสรุปเร่ือง ของความซ่ือสัตย ยกยองชมเชยบุคคลเหลาน้ัน พรอมฝากขอคิดเร่ืองของความซื่อสัตยให ลกู เสือนาํ ไปใชในชวี ติ ประจาํ วนั ๓. กอนออกจากสถานี ทองคติพจนของลูกเสือสํารอง ๓ คร้ัง เดินทางตามไหมพรมตามสีของหมู ตนเองไปยงั สถานีตอไป ฤๅษตี าไฟ 114 116

ใบงานกิจกรรมท่ี ๒ สถานที ่ี ๒ นางฟา (ทดสอบจติ อาสา) ปฏิบตั งิ านภายในเวลา ๑๐ นาที ดาํ เนนิ การ ดังนี้ ๑. เดินทางถึงสถานี พบนางฟา แสดงรหสั การเขาสถานโี ดยการทอ งกฎของลูกเสือสํารองพรอม ๆ กัน ๒. นางฟาแจงวามีอุบัติเหตุรถมอเตอรไซดเฉ่ียวชน และมีผูไดรับบาดเจ็บ หัวแตก ขาหัก มีบาดแผล ตามรางกาย ตองการความชวยเหลือจากลูกเสือ ใหลูกเสือตัดสินใจวาจะชวยเหลือหรือไม และจะชวยเหลือ อยา งไร ลงมือปฏิบตั ิจริง ๓. นางฟาสงั เกตการณแกปญหาของแตละหมู ๔. นางฟา กับลูกเสือรวมกันสรปุ กิจกรรมในเรอื่ งจิตอาสาและฝากใหล ูกเสือนาํ ไปใชในชีวิตประจําวนั ๕ กอนออกจากสถานี ทองกฎของลูกเสือสํารองพรอม ๆ กัน เดินทางตามไหมพรมตามสีของหมู ตนเองไปยังสถานีตอ ไป เดินทางตามไหมพรม 115 117

ใบงานกิจกรรมที่ ๓ สถานที ่ี ๓ คณุ ตาหลงทาง (ทดสอบความเอื้อเฟอ เผื่อแผ) ปฏบิ ตั งิ านภายในเวลา ๑๐ นาที ดาํ เนินการ ดังน้ี ๑. เดินทางถึงสถานี พบคุณตาหลงทาง แสดงรหัสการเขาสถานีโดยการทองคําปฏิญาณของลูกเสือ สํารองพรอ ม ๆ กนั ๒. คุณตาทหี่ ลงทางกลบั บานไมไ ด เลา เรื่องราวของตนเองใหลูกเสอื ฟง ดังน้ี “คณุ ตาเปนคนจังหวัดอุบลราชธานี มีลูก ๓ คน แตล ูก ๆ ทงิ้ คุณตาใหอยูค นเดียว คุณตาคิดถึง ลูก ไดขาววาลูก ๆ ทํางานอยูในกรุงเทพฯ จึงนั่งรถไฟมากรุงเทพฯ เพ่ือตามหาลูก โดยทิ้งคุณยายซ่ึงปวยเปน โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานไวที่อุบลราชธานี เม่ือมาถึงกรุงเทพฯ ไมรูจะไปตามหาลูกที่ไหน เงินหมด ตอนน้ีไมไดกินขาวมา ๒ วันแลว คุณตาขอรองใหลูกเสือชวยหาทางสงกลับบาน เพราะคิดถึงบานและเปนหวง คณุ ยาย” ๓. ใหล ูกเสือระดมสมองหาวิธชี ว ยเหลือคณุ ตากลับบา น สงตวั แทนออกมานําเสนอ ๔. วทิ ยากรและลกู เสอื รวมกันสรปุ กิจกรรม ๕. กอนออกจากสถานี ทองคําปฏิญาณของลูกเสือสํารองพรอม ๆ กัน เดินทางตามไหมพรมตามสี ของหมูตนเองไปยังสถานีตอ ไป 116 118

ใบงานกจิ กรรมท่ี ๔ สถานที ่ี ๔ ตาํ รวจ (ทดสอบการรูจกั เคารพกฎหมาย “กฎหมายเรอื่ งใกลตวั ”) ปฏิบัติงานภายในเวลา ๑๐ นาที ดาํ เนนิ การ ดงั นี้ ๑. เดนิ ทางถงึ สถานี พบตาํ รวจ แสดงรหสั การเขา สถานีโดยการรองเพลง “หนาที่เด็ก” ๒ รอบ ๒. คุณตาํ รวจแจงใหลูกเสือทราบวา ในสถานีนี้ ใหลูกเสือแยกขอความระหวางขอความท่ีเปนหนาที่ของ ประชาชนชาวไทย และคุณลักษณะพลเมืองไทยท่ีดี กับขอความที่ไมใชหนาท่ีของประชาชนชาวไทย และ คุณลักษณะพลเมืองไทยทีไ่ มด ี ขอ ความมีดังน้ี สมชายหนีการเกณฑทหาร ฝนตกแตส มพรไปใชส ทิ ธิในการเลือกตั้ง ดาํ ไปเสยี ภาษที ด่ี ิน ผูสมัครผูใหญบานมอบเงินใหสมศรี แดงนําถั่วฝกยาวไปแชนา้ํ กอนช่ังขาย ออมเก็บขยะ เพื่อไปลงคะแนนใหตนเอง เพื่อใหไดนา้ํ หนัก ที่สวนสาธารณะ แมขายลกู ชิน้ ทอนเงนิ เกินแดง แมของปามขายเงาะ ๑ กก. แตชง่ั ใหล ูกคา ไมเตม็ ๑ กก. นําไปคืน กก. มดื ยืนตรงเมื่อไดย นิ เพลงสรรเสรญิ ออ มทงิ้ ขยะลงคลอง จืดไปทาํ บุญทกุ วันพระ แจงหยดุ รถเม่ือเหน็ สัญญาณไฟแดง โตงไมปฏิบตั ติ ามขอตกลงที่เพื่อนสว นใหญตกลงกันไว โดงแตงกายเลยี นแบบดาราเกาหลี ปเู ดนิ ข้นึ สะพานลอยเพื่อขา มถนน กวางทาํ งานอาํ เภอ เขาไปทํางานชา กลบั บา นเร็ว บอลสงสารเพื่อน จึงใหเ พื่อนลอกการบาน โชคเก็บเงินได ๑,๐๐๐ บาท เกงอุทิศตนมาทาํ งานในวันหยดุ และนาํ เงินท่ีเก็บไดไปใหทุนการศึกษา ๓. ตํารวจกับลูกเสอื รวมตรวจสอบความถูกตองของผลงาน สรปุ ขอคิดท่ีไดจากการปฏิบัติกิจกรรม ๔. กอนออกจากสถานี รองเพลงหนาท่ีเด็ก ๒ รอบ เดินทางตามพรมตามสีของหมูตนเองไปยังสถานี ตอ ไป 117 119

ใบงานกจิ กรรมที่ ๕ สถานที ่ี ๕ ซุปเปอรแ มนและจอมโจรตาเดียว (การรจู กั เคารพตนเองและผอู ่นื ) ปฏบิ ัติงานภายในเวลา ๑๐ นาที ดําเนินการ ดังน้ี ๑. เดนิ ทางถงึ สถานี พบซุปเปอรแ มน แสดงรหัสการเขา สถานีโดยการทอ งคติพจน ๓ ครัง้ พรอ ม ๆ กนั ๒. จอมโจรตาเดยี วจบั ตวั ลกู เสือคนหน่งึ เปน ตวั ประกนั แลว เริ่มทรมานตัวประกัน ซุปเปอรแมนเจรจากับ จอมโจรตาเดยี วเพ่ือหาวิธแี ลกตัวประกนั กลับคืน จอมโจรตาเดียวใหลูกเสือแบงออกเปน ๒ กลุมยอย กลุมหนึ่ง ทําหนาที่แสดงทาทางตามสถานการณท่ีจอมโจรตาเดียวกําหนด อีกกลุมทําหนาท่ีทายใหถูกตอง ๘ ใน ๑๐ สถานการณ จอมโจรตาเดียวถงึ จะปลอยตัวประกัน สถานการณท ่ีกาํ หนดให • เดก็ เตะลกู สนุ ขั แมม าหา มและตเี ดก็ • นองอนุบาลหกลมพเ่ี ขาไปชวยพาไปสง ครอู นุบาล • นักเรียนเขา แถวซื้ออาหาร • ลกู เสือจงู คนแกข า มถนน • เดก็ แวน • แมล ูกกาํ ลงั ใสบาตรพระ • โจรกาํ ลังกระชากสรอ ย • เด็กลอกการบานเพ่อื น • นักเรียนแอบสบู บุหรี่ • นักเรียนเขาแถวเคารพธงชาติ ๓. ซุปเปอรแมนกบั ลูกเสอื รว มกนั สรปุ กจิ กรรม ๔. กอนออกจากสถานี ทองคติพจน ๓ คร้ัง พรอม ๆ กัน เดินทางตามพรมตามสีของหมูตนเองไปยัง สถานีตอ ไป เดก็ แวน จงู คนแกข ามถนน แมลกู กาํ ลังใสบาตรพระ 118 120

ใบงานกิจกรรมที่ ๖ สถานีท่ี ๖ เมาคลี ปฏบิ ัติงานภายในเวลา ๑๐ นาที ดําเนนิ การ ดงั นี้ ๑. เดินทางถึงสถานี พบเมาคลี แสดงรหัสการเขาสถานีโดยการผูกเง่ือนลูกเสือสํารองท่ีเคยเรียนมา หมลู ะอยางนอย ๑ เงือ่ น ๒. เมาคลีแจงกับลูกเสือวาการจะดํารงชีพอยูในปาจะตองมีอุปสรรคมากมาย ลูกเสือตองมีเพ่ือนที่รัก และไวใ จได ใหลูกเสอื จบั คูกบั เพอ่ื นทไี่ วใ จที่สุด ปฏบิ ัติกจิ กรรม เพ่อื นรกั เพ่ือนเลฟิ กิจกรรม เพ่ือนรักเพื่อนเลิฟ วธิ ีดาํ เนินการ ๑. ใหลูกเสือจับคูกับเพ่ือนท่ีเราไวใจท่ีสุดไปยืนในจุดท่ีกําหนดให นัดหมายคนหนึ่งเปนหุนยนต อีกคน หนึ่งเปนบังคบั หุนยนต ทง้ั ๒ คน หามใชเ สียงในการส่ือสาร ๒. เริ่มกิจกรรม หนุ ยนตป ด ตาดวย คนบังคับยืนขางหลังหุนยนต ใชมือสงสัญญาณใหหุนยนตเคลื่อนท่ี ไปตามชองทาง ซงึ่ ถูกขึงดวยเชือกสองเสน กวางประมาณ ๑ เมตร ระยะทางยาว ๑๐ - ๑๕ เมตร สูงประมาณ ๑ เมตร ผูบังคับหุนยนตตองพาหุนยนตจากจุดเร่ิมตนไปยังจุดทาย โดยใหหุนยนตสัมผัสเชือกนอยที่สุดหรือ ไมสัมผัสเลย ๓. เมาคลีและลูกเสือรวมกันสรุปสิ่งท่ีไดจากการปฏิบัติกิจกรรมในหัวขอ “อุปสรรคปญหา” “การให ความไวว างใจซ่งึ กันและกนั ” “การดแู ลซ่งึ กนั และกนั ” ๔. กอนออกจากสถานี ทดสอบการผกู เงอื่ นลูกเสือสาํ รองทเ่ี คยเรียนมา หมลู ะอยา งนอ ย ๑ เง่ือน 119 121

แบบสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านกลมุ ชือ่ วิชา ลกู เสือสาํ รองชอสะอาดกับการประชมุ กองครง้ั พเิ ศษ หมู............................... รายการประเมิน ๔ ระดับคะแนน ๑ ๓๒ ๑. การแบงหนาทีร่ บั ผดิ ชอบในกลุม ๒. การวางแผนการทํางานรว มกนั ๓. การใหค วามรวมมอื ของสมาชกิ ๔. การยอมรบั ฟงความคิดเห็นของผูอนื่ และการแสดงความคดิ เห็น ๕. การแกป ญ หาภายในกลุม รวม (ผลรวมทุกชอง) รวมเฉลย่ี คาเฉลย่ี คะแนนการประเมนิ ผลการบริหารโครงการ (คะแนนผลรวม ÷ ๕) = ........................ คะแนนเฉลี่ย ๓.๐๐ - ๔.๐๐ แสดงวาการดาํ เนนิ งานอยใู นระดับ ดี คะแนนเฉลย่ี ๒.๐๐ - ๒.๙๙ แสดงวาการดาํ เนนิ งานอยูในระดับ พอใช คะแนนเฉลยี่ ๑.๐๐ - ๑.๙๙ แสดงวาการดําเนนิ งานอยูใ นระดับ ปรบั ปรงุ สรปุ ผลการประเมินกิจกรรม  ระดบั ดี  ระดบั พอใช  ระดบั ปรับปรุง ลงชือ่ ………………………………..ผูป ระเมิน (....................................) 120 122

หมูสี............................... ใบบันทึกคะแนนในฐานกิจกรรม หมายเลขประจํา ลายเซ็นวิทยากร คะแนนปฏิบตั กิ ิจกรรม สถานี (๑๐ คะแนน) ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ รวม (๖๐ คะแนน) เกณฑการประเมนิ คะแนน ดมี าก ๕๑ - ๖๐ คะแนน ดี ๔๑ - ๕๐ คะแนน ปานกลาง ๓๑ - ๔๐ คะแนน ตองปรับปรุง ๐ - ๓๐ ผาน ไมผ าน เกณฑการตดั สิน ๓๑ - ๖๐ คะแนน ไดต ่าํ กวา ๓๐ คะแนน 121 123

ส่วนท่ี ๓ กจิ กรรมเสนอแนะ

การประดับเครื่องหมายลูกเสือสํารองชอ สะอาด ตราสญั ลกั ษณลกู เสือชอสะอาด ชอ่ื เครอื่ งหมาย “ลกู เสอื ชอสะอาด” ประดบั ท่ีอกเส้ือดานขวาเหนือกระเปา สญั ลกั ษณ “ชอ สะอาด” เปนสญั ลักษณส งเสรมิ คณุ งามความดี ซงึ่ ไดรวบรวมทุกลานมือขาวใสสะอาด ของคนบนแผนดินไทย ท้ังในและนอกราชอาณาจักร โดยไมจํากัดเพศ วัย เช้ือชาติ และศาสนาใด ๆ ทั้งสิ้น รวมเขา ไวเปนหนงึ่ เดียวกนั ผกู ดว ยโบวสธี งชาติไทย แสดงถงึ การรวมพลังไทยทาํ ดีทกุ คนเขา ไวดวยกนั สัญลักษณ “วงเชือกผูกเง่ือนพิรอด” หมายถึง ความสามัคคีและความเปนพ่ีนองกันของขบวนการ ลกู เสือโลก สัญลักษณ “ลูกเสือ” ประกอบดวย สัญลักษณลูกเสือโลก คือ รูปเฟอรเดอลีส (Fleur-de-lis) ประกอบกบั รปู หนาเสือ มอี ักษรจารกึ ดา นลา งวา “เสยี ชีพอยาเสยี สัตย” พน้ื สีขาว แสดงถึง ความบรสิ ทุ ธ์ิ ความซ่อื สัตยสจุ รติ เชือกสีมวง แสดงถึง ความเปนผูนําและการชวยเหลือผูอื่น และเปนสีของวันที่มีการประกาศใช รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซ่ึงเปน วันเสาร คําขวัญ “เสียชีพอยาเสียสัตย” ส่ือถึง ความภูมิใจในลูกเสือไทย มีจิตสํานึกในการทําความดี และ ความมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมของลกู เสอื 122 125

แนวทางการจดั ต้ังกองลกู เสือสํารองในสถานศกึ ษา การจัดตัง้ กองลูกเสอื - เนตรนารใี นสถานศกึ ษา การจัดกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารีในสถานศึกษาตามหลักสูตรที่สถานศึกษากําหนด ควรดําเนินการ ใหเปนไปตามขอบงั คับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ พ.ศ. ๒๕๐๙ ผูบริหาร โรงเรยี นและผูรบั ผดิ ชอบกจิ กรรมลูกเสือ ควรสํารวจขอ มลู ลกู เสอื - เนตรนารี และดําเนินการดังน้ี ๑. รับสมัครนักเรียนและรวบรวมจํานวนลูกเสือ - เนตรนารี แตละประเภทแลวเขียนใบสมัครเขาเปน ลกู เสอื (ใชแ บบ ลส.๓) ดงั น้ี ๑.๑ กองลูกเสือสํารอง หมายถึง นักเรียนชายท่ีเรียนระดับชวงชั้นที่ ๑ ตามหลักสูตร การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหน่ึงมีลูกเสือ ๔ - ๖ คน รวมท้ังนายหมูและรองนายหมูดวย (ขอบังคับฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ขอ ๗๒) กองลูกเสือสํารองมีลูกเสือ ตั้งแต ๘ - ๓๖ คน (ขอ บงั คบั ฯ พ.ศ. ๒๕๐๘ ขอ ๖) ๑.๒ กองเนตรนารีสํารอง หมายถึง นักเรียนหญิงที่เรียนระดับชวงชั้นท่ี ๑ ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหนึ่งมี เนตรนารี ๔ - ๖ คน รวมทั้งนายหมูและรองนายหมูดวย (ขอบังคับฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ขอ ๗๒) กองเนตรนารีสํารอง มเี นตรนารตี ้งั แต ๘ - ๓๖ คน ๑.๓ กองลูกเสือสามัญ หมายถึง นักเรียนชายที่เรียนระดับชวงชั้นท่ี ๒ ตามหลักสูตร การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๔ - ๖ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหน่ึงมีลูกเสือ ๖ - ๘ คน รวมทั้งนายหมูและรองนายหมูดวย (ขอบังคับฯ ฉบับท่ี ๑๓ พ.ศ. ๒๕๒๕ ขอ ๘๔) กองลูกเสือสามัญ มลี ูกเสอื ตง้ั แต ๑๒ - ๔๘ คน (ขอ บงั คับฯ พ.ศ. ๒๕๐๘ ขอ ๖) ๑.๔ กองเนตรนารีสามัญ หมายถึง นักเรียนหญิงท่ีเรียนระดับชวงชั้นท่ี ๒ ตามหลักสูตร การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๔ - ๖ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหนึ่งมี เนตรนารี ๖ - ๘ คน รวมท้ังนายหมูและรองนายหมดู ว ย กองเนตรนารสี ามญั มเี นตรนารีตัง้ แต ๑๒ - ๔๘ คน ๑.๕ กองลกู เสือสามัญรุนใหญ หมายถึง นักเรียนชายท่ีเรียนระดับชวงช้ันท่ี ๓ ตามหลักสูตร การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหน่ึงมีลูกเสือ ๖ - ๘ คน รวมท้ังนายหมูและรองนายหมดู ว ย กองลกู เสอื สามญั รุนใหญมีลูกเสือตั้งแต ๘ - ๔๘ คน (ขอบังคับฯ ฉบับท่ี ๑๔ พ.ศ. ๒๕๒๘) ๑.๖ กองเนตรนารีสามญั รนุ ใหญ หมายถงึ นกั เรยี นหญิงที่เรียนระดับชวงชั้นที่ ๓ ตามหลักสูตร การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหนึ่งมี เนตรนารี ๔ - ๘ คน รวมท้งั นายหมแู ละรองนายหมดู ว ย กองเนตรนารีสามญั รุนใหญม เี นตรนารีตงั้ แต ๘ - ๔๘ คน ๑.๗ กองลูกเสือวิสามัญ หมายถึง นักเรียนหรือนักศึกษาชายท่ีเรียนระดับมัธยมศึกษาปท่ี ๔ - ๖ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ - ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง หรือระดับอุดมศึกษา ประกอบดวยลูกเสือ วิสามญั อยางนอย ๑๐ คน ไมเ กิน ๔๐ คน กองลูกเสอื วสิ ามัญจะแบง เปน ชดุ หรือหมูตามความตองการก็ได และ ควรมลี กู เสือวิสามญั ชดุ หรือหมลู ะ ๔ - ๖ คน รวมทั้งนายหมูและรองนายหมดู ว ย ๑.๘ กองเนตรนารีวสิ ามัญ หมายถึง นกั เรียนหรอื นักศึกษาหญิงที่เรียนระดับมัธยมศึกษาปท ่ี ๔ - ๖ หรือประกาศนียบตั รวชิ าชีพ - ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสูง หรือระดบั อุดมศึกษา ประกอบดว ยเนตรนารี วสิ ามญั อยา งนอย ๑๐ คน ไมเกนิ ๔๐ คน กองลูกเสอื วสิ ามัญจะแบงเปนชดุ หรือหมูตามความตองการก็ได และ ควรมีลกู เสอื วสิ ามญั ชดุ หรือหมูละ ๔ - ๖ คน รวมท้งั นายหมแู ละรองนายหมดู ว ย 123 126

๒. เร่ิมทําการสอนวชิ าลกู เสอื - เนตรนารีตามหลักสตู รกาํ หนด ๓. มีผูบังคับบัญชาที่ผานการฝกอบรมวิชาผูกํากับลูกเสือประเภทนั้น ๆ อยางนอยข้ันความรูเบ้ืองตน ๑ คน ทําหนาท่ีเปนผูกํากับกับ มีรองผูกํากับอีก ๑ คน ขึ้นไปเปนผูชวย (วิธีปฏิบัติของสํานักงานฯ กลุมลูกเสือ ๑ กลุม มีกรรมการกลมุ ไมเ กิน ๔๐ คน และกองลกู เสือ ๑ กอง มรี องผูก ํากบั ไมเ กิน ๑๐ คน) ๔. ดาํ เนนิ การขออนุญาต โดยกรอกลงแบบคาํ ขอตอไปน้ี แบบละ ๓ ชดุ ๔.๑ ล.ส.๑ ใบคาํ รองขอต้งั กลมุ ลกู เสือหรือกองลูกเสอื ๔.๒ ล.ส.๒ ใบสมคั รขอเปน ผบู งั คบั บัญชาลกู เสือ ๔.๓ ทาํ หนังสอื นําของผูบังคับบัญชา/ผูขออนุญาต สงผานหนวยงานตนสังกัดเพ่ือขออนุญาต ตอ ผูมอี ํานาจแตงต้ังแลวแตกรณี ถึงเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติหรือผูอํานวยการลูกเสือจังหวัด สงใบ แตงตัง้ ใหเปนเจาหนาท่ีลูกเสอื (ลส.๑๓) ตําแหนงผกู าํ กบั หรอื รองผูกาํ กับมาใหโรงเรียน ๕. เมอื่ ไดรับอนมุ ตั ิใหต ้งั กองไดแลว ใหทําพิธีเขาประจํากองและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามปกติ อยา งตอ เน่ือง (โรงเรยี นจะไดรับ ลส.๑๑ หรือ ลส.๑๒ ใหต้ังกลุมหรือกองลูกเสือจากสํานักงานลูกเสือแหงชาติ หรือสาํ นักงานคณะกรรมการลูกเสอื จงั หวัด) 124 127

เกณฑการจดั ตง้ั ลกู เสือสาํ รองชอ สะอาดในสถานศกึ ษา ๑. สถานศกึ ษาตอ งจดั การฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือสํารองชอสะอาด อยางนอย ๒ หมู ๆ ละ ๔ - ๖ คน โดย ๑.๑ ฝก อบรมหลักสตู รลูกเสือสาํ รองชอ สะอาด ๒ วนั ไมค า งคืน (ไดร บั วุฒบิ ตั ร) ๑.๒ ทดสอบความรูดานคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง ความซ่ือสัตยสุจริต ความเออื้ เฟอ เผ่อื แผ การรูจักเคารพกฎหมาย จิตอาสา การแสดงเงียบ และกิจกรรมกลางแจง (การประชุมกอง คร้งั พิเศษ) จากคณะกรรมการ ๑.๓ เขา รวมกจิ กรรมรณรงค เผยแพร ประชาสัมพนั ธความซ่อื สตั ยสุจริต ความเอ้ือเฟอเผื่อแผ การรจู ักเคารพกฎหมาย รวมกับสถานศึกษา ครอบครัว และชุมชน หรือมีสวนรวมกิจกรรมจิตอาสา อยางนอย ๒ กจิ กรรม (ภายในระยะเวลา ๓ เดอื น) ๑.๔ ผูบ ังคับบัญชาลูกเสอื สาํ รองชอสะอาดรบั รองผลการปฏบิ ัตงิ าน ๒. ควรมผี ูบงั คับบัญชาลูกเสือสาํ รองชอสะอาดในโรงเรยี น อยางนอย ๑ คน ๓. การดาํ เนนิ การขอมีลกู เสอื สํารองชอ สะอาดในสถานศึกษา ๓.๑ ผูบังคับบัญชาลูกเสือในสถานศึกษา ทําหนังสือแจงผลการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือ สาํ รองชอสะอาดผานสถานศกึ ษา ผานสาํ นักงาน ป.ป.ช. ประจาํ จงั หวัด จากนนั้ สาํ นักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด สงไปยังสาํ นักงาน ป.ป.ช. (สวนกลาง) รวบรวมและพิจารณานําเสนอตอไปยังสํานักงานลูกเสือแหงชาติ ในการนี้ ใหส ถานศกึ ษาทําสาํ เนาแจงสํานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาทดี่ แู ล รับทราบอีกทางหนึ่งดว ย ๓.๒ สํานักงานลูกเสือแหงชาติ เมื่อไดรับหนังสือและพิจารณาเห็นสมควรรับรองให สถานศึกษามีลูกเสือสาํ รองชอ สะอาดได กจ็ ะมีหนังสอื ตอบกลบั ไปยังสถานศกึ ษาที่มีหนังสอื ขออนญุ าตมา ๓.๓ สถานศึกษาสามารถจัดฝก อบรมขยายผลหลกั สูตรลกู เสอื สาํ รองชอ สะอาดตอ ไปได 125 128

บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธกิ าร. หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ คงศกั ด์ิ เจริญรักษ และรตั นา หาญสงคราม. เกม ๑๐๘. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพศรอี นนั ต, ๒๕๒๕. คณะกรรมการการบรหิ ารลูกเสือแหง ชาติ. คมู ือการฝก อบรมผูบังคับบัญชาลกู เสือสาํ รอง ขนั้ ความรูเบือ้ งตน และขน้ั ความรูช้นั สูง, ๒๕๓๐: ๔ คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง ชาติ, สํานักงาน. กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๑-๖. กรุงเทพฯ: โรงพิมพครุ ุสภา, ๒๕๔๐. คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหงชาติ, สํานกั งาน. กิจกรรมลูกเสอื -เนตรนารี ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๑-๖. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พค รุ ุสภา, ๒๕๔๐. คาํ ปรารภ, ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๑๑๔ ตอนที่ ๕๕ ก. หนา ๑. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๔๐. คําปรารภ, วันที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๔๐. จรินทร ธานีรัตน. เกม. กรุงเทพฯ: สาํ นักพมิ พโ อเดยี นสโตร, ๒๕๒๔. ชัยณรงค ศรสี ุข. (๒๕๔๕). \"คณุ ธรรมจริยธรรมและคา นยิ มทพ่ี ึงปรารถนาของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษา ปท ่ี ๖ ในสังกดั สาํ นกั งานการประถมศึกษาอําเภอทา บอ จังหวัดหนองคาย\" วิทยานิพนธ ปรญิ ญาการศกึ ษามหาบณั ฑติ คณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ราชบณั ฑติ . พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๕. พมิ พคร้งั ท่ี ๑: อักษรเจรญิ ทัศน. กรุงเทพฯ, ๒๕๕๕. ราชกจิ จานุเบกษา เลม ๔๙ หนา ๕๓๗. รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรสยาม พทุ ธศักราช ๒๕๔๗. มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ วนั ที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๔๗. บญั ชา ธนบญุ สมบัต,ิ โอริงามิ ศาสตร & ศลิ ป การพบั กระดาษ. อัดสาํ เนา ปญญา สมบตั นิ ิมิต และคณะ. การใชก จิ กรรมนนั ทนาการในการฝก อบรม, เอกสารอัดสําเนา. ม.ป.ป. พทุ ธทาสภิกขุ. (๒๕๒๐). ศลี ธรรมกับมนุษยโ ลก. กรงุ เทพฯ : ธรรมทานมลู นิธิ . วาสนา มง่ั คงั่ และวิรตั น มง่ั ค่งั . เกมส. วทิ ยาลัยพลศกึ ษาจงั หวดั เพชรบรู ณ, ม.ป.ป. สรุ สิทธิ์ นาคสัมฤทธิ์. การพฒั นาหลกั สูตรเสริมเพือ่ การพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมโดยใชว ิธีการลูกเสอื สําหรับนักศกึ ษามหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดสุ ติ . ดุษฎีนพิ นธคณะศึกษาศาสตร มหาวทิ ยาลัย บูรพา ๒๕๕๕ สาํ นักงาน ป.ป.ช., จุลสาร ป.ป.ช. สาํ นักงานลูกเสือแหง ชาติ. คมู ือการฝกอบรมวิชาผูกํากบั ลูกเสอื สํารอง ขั้นความรเู บ้ืองตน สาํ นักงานลกู เสือแหงชาติ. หนงั สอื เพลง เกม สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน. คูม อื ทกั ษะชีวติ เลม ท่ี ๓ การมองเห็นคณุ คาของตนเองและ ผูอื่น. กรงุ เทพฯ, มปป. แหลง ขอ มลู เว็บไชตของสํานกั การลกู เสือ ยวุ กาชาด และกิจการนักเรียน สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร : www.bureausrs.org สบื คนเมือ่ วันที่ ๙ กนั ยายน ๒๕๕๖ แหลง ขอ มลู เว็บไซตข องสํานกั กิจการพเิ ศษ สป.ศธ. www.skp.more.go.th สืบคน เมื่อวนั ที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖ แหลง ขอมูล เวบ็ ไซตสํานกั งานลกู เสือแหงชาติ www.scoutthailand.org สบื คนเมือ่ วนั ท่ี ๒๓ ตลุ าคม ๒๕๕๖ แหลง ขอ มลู เวบ็ ไซตข องสํานักงาน ป.ป.ช. www.nacc.go.th สบื คน เมอ่ื วันท่ี ๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ 126 129

แหลง ขอ มูล http://www.youtube.com “Bridge's Story-A Teamwork Aniboom Animation by Tony Hoang” สบื คนเมือ่ วันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ แหลงขอ มูล http://www.sukhothai.go.th/history/hist_08.htm; สบื คนเมอื่ วนั ที่ ๒๐ ธนั วาคม ๒๕๕๒ แหลงขอมูล http://www.nacc.go.th; สบื คนเมอื่ วันท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๕๗ แหลง ขอ มูล http://www.bureausrs.org สืบคนเม่อื วนั ท่ี ๓ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๗ แหลงขอ มูล http://www.skp.more.go.th สืบคนเมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ แหลงขอ มูล http://www.scoutthailand.org สืบคนเม่ือวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ แหลงขอมูล http://www.pantown.com สบื คนเมอ่ื วนั ที่ ๑๕ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๗ 127 130

ภาคผนวก

คําสง่ั คณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ี 73/2556 เรื่อง แตง ต้งั คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลกู เสอื ชอสะอาด คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุมคร้ังท่ี 152 - 17/2556 เม่ือวันท่ี 28 กุมภาพันธ 2556 มีมติเหน็ ชอบใหแตง ต้งั คณะอนุกรรมการบรหิ ารโครงการลูกเสอื ชอสะอาด ฉะน้ัน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 19 (16) แหงพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 ซ่ึงแกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2554 จงึ ใหแตงตง้ั คณะอนุกรรมการบรหิ ารโครงการลูกเสอื ชอ สะอาด ประกอบดวย 1. ศาสตราจารย (พเิ ศษ) วิชา มหาคณุ ที่ปรึกษา 2. นายศุภกร วงศปราชญ ประธานอนุกรรมการ 3. รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือ ผูช ว ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. (กลมุ ภารกิจดา นสงเสรมิ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และ ปองกนั การทุจริต) อนุกรรมการ 4. นายนิคม อินทรโสภา อนุกรรมการ 5. นายคงวฒุ ิ ไพบูลยศ ลิ ป อนุกรรมการ 6. นายเดช วรเจริญศรี อนกุ รรมการ 7. นางวรรณภา พรหมถาวร อนกุ รรมการ 8. นายสมมาต สังขพันธ อนุกรรมการ 9. นายโอฬาร เกงรกั ษส ตั ว อนุกรรมการ 10. ผอู ํานวยการสํานักปองกันการทจุ รติ ภาครฐั อนกุ รรมการ 11. ผูอาํ นวยการสํานักปองกันการทจุ รติ ภาคประชาสงั คม และการพฒั นาเครอื ขา ย อนุกรรมการ 12. ผอู ํานวยการสํานกั ปองกนั การทุจริตภาคการเมอื ง อนกุ รรมการและเลขานกุ าร 13. นางสวุ ัฒนา ธรรมประภาส อนกุ รรมการและผชู วยเลขานกุ าร 14. นางสาวสุพิชญา อาภาวศนิ อนุกรรมการและผชู วยเลขานกุ าร 15. นางขวัญใจ กลิน่ ขจาย อนกุ รรมการและผูชว ยเลขานกุ าร 16. นายศุภสทิ ธิ์ รักไทยดี อนุกรรมการและผูชวยเลขานกุ าร /โดยมอี ํานาจหนาที่… 128 132

โดยมอี ํานาจหนา ท่ี ดังนี้ (1) ประสานความรวมมือในการดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาดระหวางสํานักงานลูกเสือ แหงชาติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานกั งาน ป.ป.ช. และหนว ยงานอื่นท่ีเกยี่ วขอ ง (2) พิจารณาจัดทําคูมือแนวทางปฏิบัติในการดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด จัดทํา หลกั สูตร “ลูกเสอื ชอสะอาด” ที่เหมาะสมกับกจิ กรรมลูกเสือในแตละชวงชน้ั เรยี น (3) ดําเนินงานตามกรอบแนวทางปฏิบัติหรือขั้นตอนการดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด ตามทก่ี าํ หนด (4) ดาํ เนนิ การอน่ื ตามทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย ทง้ั น้ี ตงั้ แตว นั ท่ี 28 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2556 เปนตนไป ส่ัง ณ วนั ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556 (นายปานเทพ กลาณรงคราญ) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. 129 133

คาํ สัง่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ 220/2556 เร่อื ง แตงตั้งคณะอนุกรรมการบริหารโครงการลกู เสอื ชอสะอาด (เพิ่มเติม) ตามคําส่ังคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ 73/2556 ลงวันท่ี 11 มีนาคม 2556 แตงต้ัง คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสอื ชอ สะอาด น้นั บัดนี้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุม คร้ังที่ 481 - 46/2556 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2556 มีมติเห็นชอบใหแตงตง้ั คณะอนกุ รรมการบรหิ ารโครงการลูกเสอื ชอสะอาด (เพ่มิ เติม) จาํ นวน 5 ราย ฉะน้ัน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 19 (16) แหงพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 ซ่ึงแกไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2554 จึงใหแ ตง ต้ังคณะอนุกรรมการบริหารโครงการลกู เสือชอสะอาด (เพ่มิ เตมิ ) จาํ นวน 5 ราย ดงั น้ี 1. พลโทสมหมาย วงษมาก อนุกรรมการ 2. นายวายุ พยัคฆนั ตร อนุกรรมการ 3. นายศัจธร วฒั นะมงคล อนกุ รรมการ 4. นายกฤษณ โกไศยกานนท อนกุ รรมการ 5. นางสุธนิ ี ขาวออน อนกุ รรมการ ทง้ั นี้ ตัง้ แตว ันที่ 20 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2556 เปน ตนไป สัง่ ณ วนั ท่ี 28 มิถุนายน พ.ศ. 2556 (นายปานเทพ กลา ณรงคร าญ) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. 130 134

คําสั่งคณะอนุกรรมการขบั เคลอ่ื นยุทธศาสตรว าดว ยการปองกันและปราบปรามการทุจริต โดยใชกลไกทางการศกึ ษา ท่ี 3/2556 เร่ือง แตง ต้ังคณะทาํ งานจัดทําหลักสตู รและคูมอื การฝกอบรมลกู เสอื ชอสะอาด ตามที่ คณะอนุกรรมการขับเคล่ือนยุทธศาสตรวาดวยการปองกันและปราบปรามทุจริต โดยใชกลไกทางการศึกษา เห็นชอบใหดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด และคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดมีคําสั่ง แตงตั้งคณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด เพื่อพิจารณาการดําเนินงานตามกรอบแนวทาง การดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด ซ่ึงการจัดทําหลักสูตรและคูมือการฝกอบรมลูกเสือชอสะอาด เปนขัน้ ตอนหน่งึ ของการดําเนินโครงการลูกเสอื ชอ สะอาด น้ัน ดงั นน้ั เพ่ือใหก ารจดั ทาํ หลกั สูตรและคูมือการฝก อบรมลกู เสือชอสะอาด สําหรับลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ เปนไปดวยความเรียบรอย จึงใหแตงต้ังคณะทํางาน จดั ทาํ หลักสูตรและคูมือการฝก อบรมลูกเสอื ชอ สะอาด ประกอบดวย นายศภุ กร วงศป ราชญ ทป่ี รึกษา นายพะนอม แกวกําเนิด ทปี่ รึกษา พลเรอื เอกสุชาติ กลศาสตรเสนี ทป่ี รึกษา นายนิคม อินทรโสภา ทป่ี รกึ ษา นายคงวุฒิ ไพบลู ยศลิ ป ทีป่ รกึ ษา 1. นายวายุ พยัคฆนั ตร ประธานคณะทํางาน 2. นายกฤษณ โกไศยกานนท คณะทาํ งาน 3. นางสาวจตุพร พลู แกว คณะทาํ งาน 4. นางสาวจิราภรณ วงศถิรวัฒน คณะทํางาน 5. นางสาวจิราภรณ ภอู ุดม คณะทาํ งาน 6. นายชุมพล ชมุ จิตร คณะทาํ งาน 7. นายเดช วรเจริญศรี คณะทํางาน 8. นายทวีศกั ด์ิ ทวรี ัตนธรรม คณะทาํ งาน 9. นายทองชบุ ศรแกว คณะทํางาน 10. นายพรชั ฌ ผุดผอง คณะทํางาน 11. นายไพฑรู ย พนั ธุชาตรี คณะทํางาน 12. นางวรรณภา พรหมถาวร คณะทาํ งาน 13. นายวลฺลภ ยตุ ธิ รรมดํารง คณะทาํ งาน 131 135

14. นายวริ ชั บญุ ชัยศรี คณะทาํ งาน 15. นายศัจธร วัฒนะมงคล คณะทํางาน 16. นางศริ ณิ ี บญุ ปถัมภ คณะทํางาน 17. นางสุวัฒนา ธรรมประภาส คณะทาํ งาน 18. นายสมเกียรติ ฮะวังจู คณะทาํ งาน 19. นายสมเจตน พงษวสิ ุวรรณ คณะทาํ งาน 20. นายสภุ โชค เกษมจิต คณะทํางาน 21. นายเสนห ภสู วา ง คณะทาํ งาน 22. นายโอฬาร เกงรักษสตั ว คณะทาํ งาน 23. นายบญุ แสง ชรี ะภากร คณะทาํ งานและเลขานกุ าร 24. นางขวัญใจ กลิน่ ขจาย คณะทํางานและผชู วยเลขานกุ าร 25. นายสทุ ัศน สมนอ ย คณะทาํ งานและผูชวยเลขานุการ โดยมอี าํ นาจหนา ที่ ดงั นี้ (1) จัดทําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด สําหรับลูกสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลกู เสอื วสิ ามญั (2) จดั ทาํ คมู อื สําหรับครูผปู ฏบิ ตั กิ ารสอนหลกั สูตรลูกเสือชอ สะอาด (3) พิจารณากําหนดแนวทางการนําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด เขาเปนวิชาบังคับเลือก ในการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา เชน การทดลองใชหลักสูตรลูกเสือ ชอสะอาดท้ัง 4 ประเภท การฝกอบรมครูผูปฏิบัติการสอนหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด การจัดต้งั หนวยลกู เสือชอสะอาดในสถานศึกษา ฯลฯ (4) ดาํ เนนิ การอื่นตามทีค่ ณะอนกุ รรมการบริหารโครงการลูกเสอื ชอสะอาด มอบหมาย ทง้ั นี้ ต้ังแตบ ดั นีเ้ ปนตน ไป สงั่ ณ วนั ท่ี 21 สงิ หาคม พ.ศ. 2556 (ศาสตราจารย (พิเศษ) วิชา มหาคณุ ) ประธานอนกุ รรมการขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตรชาติ วาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ โดยใชกลไกทางการศกึ ษา 132 136

เพลง คา นิยม ทํานอง หลงเสยี งนาง คาํ รอ ง นางศริ ิณี บุญปถัมภ (หลา ลา.....) คานิยม คุณธรรม ลูกเสือไทย/เทิดทูนไวในชาติ ศาสน กษัตริย/เสียสละ อดทน คนประหยัด/ ตอ งซ่อื สตั ย รสู ติ รูค ดิ ทาํ (หลา ลา.....) ดาํ รงตน เศรษฐกิจ ใหพ อเพยี ง/อยาหลีกเล่ียง จงรักษา ระเบียบวินัย/อุดมการณเพื่อ สว นรวมที่ดีไว/จงสนใจใฝรูหม่นั ศกึ ษา (หลา ลา.....) รักษาวัฒนธรรมประเพณี/เปนคนดีมีความกตัญู/บิดา มารดา ผูปกครองและ คณุ ครู/อีกเรียนรูเขาใจ ประชาธิปไตย (หลา ลา.....) ใหเขมแข็งทั้งจิตใจและรางกาย/จงละอายไมใฝตํ่ามีกิเลส/มีศีลธรรม เปนคนดีของ ประเทศ/ใหสมเจตนล กู เสือชอสะอาด เพลง ชอสะอาด ทํานอง เดือนเพญ็ คาํ รอง นางศิรณิ ี บญุ ปถัมภ สัญลักษณคุณธรรมความดี/ชอดอกไมน้ี ชอแหงความดี “ลูกเสือชอสะอาด” มอบผูทาํ ความดี/ของขวญั ชอน้ี เพอ่ื คนดีมคี ุณธรรม เรามารวมการอยูคาย/ดวยใจท่ีหมาย จะทําใหตน เปนคนสะอาด/กลาทําส่ิงท่ี ถูกตอ ง/ซ่ือสุจรติ ดงั ปอง ทําความดีใหมนี ้ําใจ ตองเคารพกติกา/ทุจริต คดโกงน้ันหนา จงเล่ียงหลีกมาใหไกลใหหาง/ทําสิ่งใดตอง ตง้ั จติ /ยอมรับฟงความคดิ คาํ เพอ่ื นเตอื นจติ ตอ งยอมรับฟง อันคําปฏิญาณและกฎ/เราจะจําจด นําไปปฏิบัติใหได/มีคุณธรรม นําวินัย/จิตอาสา ทําไป/รว มมอื รวมใจสามคั คี เพลง ทําความดี ทาํ นอง หลงเสียงนาง คาํ รอง นางศิริณี บญุ ปถัมภ (หลา ลา....) พวกเราลูกเสือชอสะอาด มุงมาตรกระทําแตความดี ทุจริตคดโกง เลี่ยงหลีกหนี สามัคคี มีวินัย ใจสะอาด (หลา ลา....) มีนา้ํ ใจทําในสงิ่ ถูกตอ ง ตามครรลอง ซ่อื สัตยสุจรติ กลาคดิ ทาํ ในสิ่งท่ไี มผิด สจุ ริต เทย่ี งธรรมในหนาที่ (หลา ลา....) ป.ป.ช. น่ันหนอขอช่ืนชม ใหกับสมท่ีนําลํ้าสมัย กอต้ังลูกเสือชอสะอาดอยางฉับไว สรางเดก็ ไทยใหเ ปนพลเมอื งดี 133 137



สนับสนนุ การจดั พิมพโดย สำนักงานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ เลขที่ ๓๖๑ ถนนนนทบรุ ี ตำบลทา ทราย อำเภอเมอื งนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร ๐ ๒๕๒๘ ๔๘๐๐-๔๙ , ๐ ๒๒๘๒ ๓๑๖๑-๕ สายดว น ๑๒๐๕ www.nacc.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook