๖. เม่ือปฏิบัติเรียบรอยตามเวลาที่กําหนดใหแลว ในขั้นตอนการนําเสนองานใหทุกหมูมารวมกัน ณ จุดศูนยกลาง วิทยากรพาลูกเสือทุกหมูไปยังจุดปฏิบัติงานเรียงตามลําดับตามใบงาน เมื่อถึงฐานปฏิบัติงาน ใหห มูท่ีไดร บั มอบหมายนําเสนองานในเวลาท่กี าํ หนดให จนครบทกุ หมู ๗. วิทยากรนาํ เสนอเพลงความซอื่ สตั ย ใหผูรบั การฝกอบรมฝกรอ ง ๘. วิทยากรและผูเขารับการฝกอบรมสรุปบทเรียนรวมกัน วิทยากรฝากขอคิดในเร่ือง คําปฏิญาณ กฎ คติพจน ความซอ่ื สัตย และความเอ้ือเฟอ เผ่ือแผ เพ่อื ใหผูร บั การฝก อบรมนําไปปฏิบัติในชีวิตประจาํ วัน ข้ันประเมินผล ๑. ประเมินผลงานจากใบงาน ๒. ทาํ แบบทดสอบหลังเรียน ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น ส่ือการสอน ๑. ใบความรูท ่ี ๑ คาํ ปฏญิ าณ กฎและคติพจนของลกู เสือสํารอง ๒. ใบความรทู ่ี ๒ ความซ่ือสตั ย ๓. ใบความรูที่ ๓ ความเอ้อื เฟอเผ่อื แผ ๔. ใบความรูที่ ๔ เพลงประกอบการสอน ๕. ภาพพระราชกรณียกิจพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัวภมู พิ ลอดุลยเดช ๖. ใบงานกจิ กรรมท่ี ๑ - ๘ การประเมนิ ผล ๑. วธิ ีการวัดผล : ประเมนิ การปฏิบัติกจิ กรรมกลุม ๒. เครอ่ื งมอื วัดผล : แบบประเมินการปฏิบตั ิกจิ กรรมกลุม ๒.๑ แบบประเมินแบบทดสอบกอน หลงั เรียน ๒.๒ แบบประเมนิ ใบงานกจิ กรรมที่ ๑ - ๘ ๒.๓ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการปฏิบัติงานกลุม ๓. เกณฑก ารประเมิน : มีผลการประเมนิ ผานเกณฑทกี่ าํ หนด 38 40
ใบความรทู ี่ ๑ คําปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จนของลูกเสือสาํ รอง เร่ืองที่ ๑ คําปฏญิ าณของลูกเสอื สาํ รอง คําปฏิญาณของลูกเสือ หมายถึง การใหคํามั่นสัญญาของตนเองวาจะประพฤติปฏิบัติตามคําพูดที่กลาว ไวทกุ ประการดว ยความสุจริตใจ คําปฏิญาณของลกู เสอื สาํ รองมี ๒ ขอ ดงั น้ี ขา สัญญาวา ขอ ๑ ขา จะจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย ขอ ๒ ขาจะยดึ ม่ันในกฎของลูกเสือสํารองและบําเพ็ญประโยชนตอ ผอู ่นื ทกุ วนั ภาพการแสดงรหสั ของลูกเสือสํารอง ทกุ คร้งั ท่กี ลา วคําปฏญิ าณลกู เสือสาํ รองตองแสดงรหสั ความหมายของคาํ ปฏญิ าณลูกเสือสํารอง ขอ ๑ ขาจะจงรักภกั ดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ หมายถึง จะเคารพ ยึดมัน่ และเทิดทูนไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย โดยจะประพฤติตน ตามขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมอันดีงามของไทย พรอมท่ีจะปกปองคุมครองสถาบันท้ัง ๓ นี้ โดยยอมเสียสละเลือดเน้อื และชีวิตตามโอกาสอันพงึ กระทําได ขอ ๒ ขา จะยึดมนั่ ในกฎของลูกเสือสาํ รองและบําเพ็ญประโยชนต อผูอื่นทุกวัน หมายถึง จะยึดม่ันในการปฏิบัติตามกฎของลูกเสือสํารอง และจะชวยเหลือผูอ่ืนตามโอกาส ทุกวนั โดยจะปฏิบัตติ ามแบบแผนและระเบียบของลกู เสือ เรอ่ื งที่ ๒ กฎของลกู เสือสํารอง กฎ หมายถงึ ขอ กาํ หนดทต่ี ัง้ ขนึ้ แลวนาํ ไปปฏิบัติ เพ่ือเปน การสรางวินยั ทดี่ ตี อตนเองและสว นรวม กฎของลกู เสือสํารอง มี ๒ ขอ ดงั น้ี ขอ ๑ ลกู เสือสํารองทาํ ตามลูกเสือรนุ พี่ ขอ ๒ ลกู เสือสาํ รองไมตามใจตนเอง 39 41
ความหมายของกฎลกู เสอื สํารอง ขอ ๑ ลูกเสือสาํ รองทําตามลกู เสือรนุ พ่ี หมายถึง ลูกเสือรุนพ่ีน้ันไดผานการฝกอบรมวิชาลูกเสือมากอน ยอมทราบถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี ระเบียบ การบําเพ็ญประโยชนและการปฏิบัติตาง ๆ ของลูกเสือเปนอยางดี ลูกเสือรุนนองจึงจําเปน อยางยง่ิ ทีจ่ ะตอ งดแู บบอยา งท่ดี ขี องรนุ พ่ี ขอ ๒ ลกู เสือสํารองไมต ามใจตนเอง หมายถึง ลกู เสอื สาํ รองจะตองสาํ นึกอยูเสมอวา เราเปนเพยี งลกู เสือสํารองเทาน้ัน ยังมีเร่ืองราว ตาง ๆ ท่ีลูกเสือสํารองยังไมรู การกระทําใด ๆ ในสิ่งท่ีตนเองไมรูจะกอใหเกิดผลเสียแกตัวเองและขบวนการ ลูกเสือ การปฏิบัติตนไมควรทําส่ิงหน่ึงสิ่งใดตามใจตนเอง เพราะจะกอใหเกิดความเส่ือมเสียแกหมูคณะและ กจิ การลูกเสือ คติพจนล ูกเสอื สํารอง ทําดีทีส่ ุด 40 42
ใบความรทู ่ี ๒ ความซ่ือสตั ย ความซื่อสัตย คือ การประพฤติปฏิบัติอยางเหมาะสม และตรงตอความเปนจริง ประพฤติปฏิบัติ อยางตรงไปตรงมา ท้ังกาย วาจา ใจ ตอตนเองและผูอื่น รวมตลอดท้ังตอหนาที่การงานและคําม่ันสัญญา ความประพฤตทิ ีต่ รงไปตรงมา และจริงใจในส่ิงท่ถี ูกทค่ี วร ถูกตอ งตามทํานองคลองธรรม รวมไปถึงการไมคิดคด ทรยศ ไมคดโกงและไมหลอกลวง นอกจากน้ีแลวความซื่อสัตยสุจริตยังรวมไปถึง การรักษาคําพูดหรือคํามั่น สัญญา และการปฏิบัติหนาท่ีการงานของตนเองดวยความรับผิดชอบและดวยความซ่ือสัตย ไมแสวงหา ผลประโยชนใหแกตนเองและพวกพองดวยการใชอํานาจหนาท่ีโดยมิชอบ ซึ่งความซื่อสัตยสุจริตน้ีจะดําเนินไป ดวยความต้ังใจจริง เพ่ือทําหนาที่ของตนเองใหสําเร็จลุลวงดวยความระมัดระวังและเกิดผลดีตอตนเองและ สังคม พฤติกรรมทแ่ี สดงวา มคี วามซื่อสัตย มดี งั น้ี ๑. ตรงตอ เวลานัดหมายแลวมาตามนดั และตรงเวลามาโรงเรียนตรงเวลาไมมาสาย ๒. ไมพ ูดปด พูดความจรงิ เสมอ ๓. ไมหนา ไหวห ลังหลอก ตอหนาทําอยางหนงึ่ และลับหลงั ทาํ อกี อยางหนงึ่ ๔. ยอมรับผดิ เมื่อทําผดิ ไมใสรา ยความผดิ ใหกับผูอ่ืน ๕. จายเงินทุกคร้ังเม่ือซ้ือส่ิงของ ข้ึนรถประจําทางหรือโดยสารยานพาหนะอ่ืน ๆ หรือใชบริการอ่ืน ๆ ท่ีตอ งเสียเงนิ คาบริการ ๖. ไมห ยบิ ฉวยสิ่งของของผอู นื่ มาเปนของตน จะใชส งิ่ ของผูอ่นื ตองขออนุญาตกอ น ๗. ไมลอกการบานเพือ่ น ไมแอบอา งผลงานเพ่อื นเปนผลงานตวั เอง ไมล อกคาํ ตอบเพ่ือน ใบความรูที่ ๓ ความเอื้อเฟอเผื่อแผ ความเอ้ือเฟอเผื่อแผท่ีสมบูรณแบบน้ัน คือ ความเต็มใจที่จะใหทั้งตัวตนของเราและทุกส่ิงท่ีเรามีไป โดยมิไดหวังในสิ่งตอบแทนกลับมา ในชีวิตของคนเราน้ันการแบงปน ความเอ้ือเฟอเผื่อแผ ยอมนําผลสู ความสาํ เร็จท้ังสน้ิ ความเอ้อื เฟอ เผ่อื แผ ย่งิ แบง ปน ไปมากเทาใด จะรูสึกถึงความอุดมที่มีมากขึ้นในชีวิต เม่ือใดท่ีเราสามารถ ใหอยางอิสระ ดวยการกระทําแหงรักท่ีไรขอแม ไมคาดหวังใด ๆ เม่ือน้ัน เราจะรูสึกไดถึงสัมผัสแหงอิสระและ ไดสละสิ่งที่ยึดมั่นถือมั่นที่คอยหลอกใหเราเชื่อในขอจํากัด นี่คือขีดความสามารถท่ีจะเปนผูใหโดยปราศจาก เงื่อนไข และยอมรับในสิ่งใดท่ีพบพานในชีวิตน้ันมาจากแหลงที่ไรขีดจํากัดและไมเคยเลยท่ีจะรูสึกถึง ความขาดแคลน เพราะเรารูว า ตวั เราเปน สวนหน่งึ ของกระแสสนับสนนุ ทไ่ี รจดุ สิ้นสุด โลกของเราทํางานอยูไดดวยหลักแหงการใหและรับ เราหายใจเขาเปนออกซิเจนและหายใจออกเปน คารบอนไดออกไซด และพืชใชคารบอนไดออกไซดที่ไดมาและปลอยออกซิเจนกลับคืนสูช้ันบรรยากาศ ในหวงโซอาหารท้ังหมดคือเร่ืองราวของการใหและเอาชีวิต และการใหคืนกลับอีกครั้งในวงจรท่ีรอยเรียง ไรจุดสิ้นสุด กระบวนการนี้เปนไปในระดับจิตวิญญาณดวยเชนกัน เราสงความรักและความกรุณาออกไป และ ไดร ับกลบั คืนมาเปนสบิ เทา น่ีละ คอื วิถที างแหงจกั รวาล 41 43
เรื่องราวสําคญั ก็คือ ถาเราไมเอ้ือเฟอ เผ่อื แผในยามยากแคน ยังไงก็ไมเอื้อเฟอเผื่อแผในยามม่ังมีเชนกัน หัวใจแหงการเผ่ือแผ คือหัวใจไมมีขีดจํากัดในการเผ่ือแผกับผูอ่ืน และไมหวังแมรางวัลหรือการยอมรับ คิดถึง ทุกสิ่งท่ีเราจะทําเพ่ือคนอื่นไดในแตละวัน เพ่ือฝกตนในเร่ืองความเอื้อเฟอเผื่อแผ เชน พูดคุยกับเพ่ือนบานที่ วา เหว ใหอาหารแมวท่ีหลงทางมา เปดประตูใหคนท่ีเดินตามเรามา จายคาทางดวนใหรถคันท่ีตามมา เติมน้ํามัน ใหรถของแฟน และอนื่ ๆ อีกมากมาย ดังนั้น ควรเก็บความเอื้อเฟอเผื่อแผของเราไวเปนสวนตัว โดยไมจําเปนตองคุยโวถึงจิตใจท่ีเผื่อแผของ เราลองพยายามใหผอู น่ื มากกวา ทเี่ ราคิดจะใหได และใชความพยายามมากขึ้นกวาปกติ หรือใชเวลาน่ังฟงลูก ๆ มากขน้ึ โอบกอดคูรักของเราอยางเตม็ เปย มไปดวยอารมณความรูสึกแทนที่จะแคสวมกอดเฉย ๆ ใหทิป ๕๐ บาท เพ่ิมแกแมบานที่ดูแลเราเปนอยางดีระหวางที่พักโรงแรม อะไรก็ตามที่ถือวาเปนขีดจํากัดของการใหของเรา ใหลองกาวไปไกลเกินกวานั้น ทราบดีวาการทําเชนน้ีจะตองไมทําใหเราตองลําบากมากมายอะไรในชีวิตจริง นอกจากน้ี เราจะสามารถฝกเรื่องน้ีดวยการเอ้ือเฟอเผ่ือแผแกตัวเองไดดวย เชน สั่งอาหารในเมนูท่ีมีราคา มากกวาเดมิ หรอื ยอมใหตนไดส มั ผัสความหรหู ราของการทําสปาเดือนละครงั้ เม่ือใดที่มองจุดมุงหมายในชีวิตของเราในแงของวัตถุ จะพบวาส่ิงที่ทําอยางเดียวในชีวิต คือการใหผูอ่ืน เราไมสามารถยึดติดไดกับทุกส่ิงในจักรวาลท่ีเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไมสามารถอางสิทธิในสิ่งใด เพราะทุกส่ิง นั้นล่ืนไหลเปลี่ยนผานไปตลอดเวลา การเอ้ือเฟอและบริการผูอ่ืนดวยความรักที่ไรขอแม คือวิถีทางที่จะพัฒนา ไปสูส ่ิงท่ดี กี วาในขณะที่อยใู นรางมนุษย เปาหมายของการนําความสําเร็จมาสูชีวิตของเรา ก็คือการบริการผูอื่นใหเต็มที่ยิ่งกวาเดิมและสละท้ิง สิ่งท่ีเคยครอบงําและเห็นแกตัวเอาไวขางหลัง ความสมบูรณพูนสุขในชีวิต แทจริงแลวตางเชื่อมโยงเขากับชีวิต และความสมบูรณพูนสุขในชีวิตผูอื่น และแทที่สุดแลว ผลประโยชนของเราเองนั้นแยกไมออกเลยจาก ผลประโยชนของผูอื่น ดวยการเปล่ียนจุดมุงหมายในชีวิตของเราใหเปนการมอบตัวตนเพื่อผูอื่นและท้ิง ความคดิ เห็นแกตนเอาไวเ บอ้ื งหลงั เราจะคน พบกบั เรอ่ื งนา ขันของความสําเร็จในชีวิต นั่นคือย่ิงคุณเลือกที่จะให และบรกิ ารผูอื่นมากเพยี งใด ความสุขสมบูรณแ ละความสําเร็จจะกลับมาสชู วี ิตเรามากข้ึนเทาน้นั ปญ หาเดียวท่ีอาจเผชญิ ในการนาํ ความเอ้ือเฟอ เผอื่ แผมาใชในชวี ติ คอื ปญหาการใหโดยนําเงื่อนไขมาใช บังคับกับความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ หรือรองขอส่ิงอื่นตอบแทน หรือแมแตคาดหวังถึงคําขอบคุณ หมายถึงตอนน้ัน กําลังใชมันแบบมีเงื่อนไข แทนท่ีจะเปนความรักที่ไรขอแม การใชเง่ือนไขพวกนี้ทําใหความเอื้อเฟอเผ่ือแผน้ัน ไรความหมาย การไมใ หเลยนั้นดีกวา การใหท ป่ี ราศจากรกั แบบจาํ ใจ 42 44
ใบความรูท ี่ ๔ เพลงประกอบการสอน เพลง ความซ่ือสตั ย คาํ รอง ศิริณี บุญปถัมภ ทํานอง หลงเสียงนาง (สรอ ย) หลา ลา ลา ลา ............................... ความซือ่ สตั ยป ฏบิ ตั ิอยางเทย่ี งตรง ลกู เสอื จงมีใจไมลําเอยี ง อคติ คดโกง จงหลกี เลีย่ ง ปฏบิ ัติเท่ียงธรรมตอ หนา ท่ี (สรอย) หลา ลา ลา ลา ............................... อีกอยา ใชเลหกลแบบคนพาล จงทํางานใหเ ตม็ ถูกตอ งดี ลูกเสือไทยรบั ผิดชอบในหนา ที่ เปนคนดี ตองมคี วามซ่ือสัตย (สรอย) หลา ลา ลา ลา ............................... เพลง ความซ่ือสตั ย เปน สมบัติของผดู ี ความซื่อสตั ย ชาตินีเ้ อาดีไมได หากวาใครไมมี เอาตัวไมรอดถมไป มีความรูทว มหัว จะรบั ไวใ หร ว มการงาน คดโกงแลวใคร เพลง กฎลกู เสือสาํ รอง คํารอง จิราภรณ ภูอดุ ม ลกู เสอื สํารองรว มใจ ทองกฎกันไวจําใหข ึ้นใจ (ซาํ้ ) สํารองทําตามรุนพ่ี (ซา้ํ ) สํารองคนดไี มตามใจตนเอง หลั้น หลา หล้ัน หลา หลัน้ หลา ลกู พระบดิ าไมตามใจตนเอง 43 45
แบบทดสอบกอ นเรยี น (Pre - test) คําชแ้ี จง จง ลอ มรอบตวั อักษร ก. ข. หรอื ค. ท่ีเปนคาํ ตอบท่ถี ูกตอ ง ๑. คําปฏิญาณของลูกเสอื สาํ รอง หมายถงึ ขอ ใด ๖. จากภาพสิง่ ทีล่ กู เสือปฏบิ ตั สิ ่อื ถึงคุณธรรมขอ ใด ก. คาํ เตือนของผกู ํากบั ก. ความซือ่ สัตย ข. คาํ สงั่ ของผกู ํากับ ข. ความเออ้ื เฟอ เผือ่ แผ ค. การใหค ําสญั ญาวาจะทาํ ตามท่ีพดู ค. ความมีระเบยี บวนิ ยั ๒. หัวใจของลูกเสือ ที่ลูกเสือทุกคนตองจดจําและ ๗. ใครปฏิบตั ิตามกฎของลกู เสอื นาํ ไปปฏบิ ตั ิ คอื ขอใด ก. ตอ ยเดนิ ขามถนนโดยใชสะพานลอย ก. คําปฏญิ าณ ข. นดิ ออกไปเลนโดยไมท ําการบาน ข. กฎ ค. นอยออกไปอยูค า ยพักแรมกบั รุน พ่ี ค. กฎและคําปฏญิ าณ ๘. ความเอื้อเฟอ เผ่อื แผ ตรงกับคาํ ปฏิญาณหรือกฎ ๓. คาํ ปฏิญาณของลกู เสอื สํารองมกี ขี่ อ ของลูกเสอื สํารองขอ ใด ก. ๑ ขอ ก. คาํ ปฏญิ าณขอ ๑ ข. ๒ ขอ ข. คําปฏญิ าณขอ ๒ ค. ๓ ขอ ค. กฎขอ ๑ ๔. ภาพใดไมต รงกับความหมายของคําปฏิญาณขอที่ ๒ ๙. กฎของลกู เสือสาํ รอง มีไวเ พ่ืออะไร ขาจะยึดมั่นในกฎของลูกเสือสํารองและบําเพ็ญ ก.ปฏบิ ัติ ประโยชนต อผูอ่นื ทุกวนั ข. ทองจํา ค. เขยี นปดประกาศ ก. ข. ๑๐. ขอใดเปนการปฏิบัติตามคตพิ จนของลูกเสือ สํารองท่วี า “ทาํ ดที ส่ี ุด” ค. ก. แบง็ คนาํ ลกู นกทต่ี กจากรงั ไปปฐมพยาบาล แลวนาํ ไปไวท ี่รงั ตามเดมิ ๕. จากภาพส่ิงทลี่ กู เสอื ปฏบิ ตั ิส่ือถึงคุณธรรมขอ ใด ข. อมั้ เก็บเงนิ ได จึงนาํ ไปซ้อื ขนมรับประทาน ก. ความซือ่ สัตย เมื่อเงินเหลอื จึงนาํ ไปสง ครู ข. ความเอือ้ เฟอเผือ่ แผ ค. จบิ๊ จูงคุณยายขามถนน แลว ขอเงินไป ค. ความมีระเบียบวนิ ยั ซือ้ ขา วกลางวนั รับประทาน เฉลย ๑. ค ๒. ค ๓. ข ๔. ค ๕. ข ๖. ก ๗. ก ๘. ข ๙. ก ๑๐. ก 44 46
แบบทดสอบหลังเรยี น (Post - test) คําชแี้ จง จง ลอ มรอบตวั อกั ษร ก, ข หรือ ค ทเี่ ปนคาํ ตอบทถ่ี กู ตอ ง ๑. คาํ ปฏิญาณของลกู เสอื สาํ รอง หมายถงึ ขอ ใด ๖. จากภาพส่งิ ที่ลกู เสือปฏิบตั สิ ่อื ถงึ คุณธรรมขอ ใด ก. การใหค าํ สญั ญาวาจะทําตามทีพ่ ูด ก. ความมีระเบียบวินยั ข. คําเตอื นของผกู ํากับ ข. ความซื่อสัตย ค. คําสง่ั ของผกู าํ กบั ค. ความเอื้อเฟอ เผ่อื แผ ๒. หัวใจของลูกเสือ ที่ลูกเสือทุกคนตองจดจําและ ๗. ใครปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ นําไปปฏิบัติ คอื ขอ ใด ก. นิดออกไปเลนโดยไมทําการบาน ก. กฎและคาํ ปฏญิ าณ ข. นอ ยออกไปอยูค ายพักแรมกบั รนุ พี่ ข. กฎ ค. ตอ ยเดนิ ขา มถนนโดยใชส ะพานลอย ค. คาํ ปฏญิ าณ ๘. ความเอ้อื เฟอเผอื่ แผ ตรงกับคําปฏิญาณหรือกฎ ๓. คําปฏญิ าณของลูกเสอื สํารองมีก่ขี อ ของลูกเสือสาํ รองขอใด ก. ๓ ขอ ก. กฎขอ ๑ ข. ๑ ขอ ข. คาํ ปฏญิ าณขอ ๑ ค. ๒ ขอ ค. คําปฏญิ าณขอ ๒ ๔. ภาพใดไมตรงกับความหมายของคําปฏิญาณขอ ๒ ๙. กฎของลูกเสอื สาํ รอง มไี วเพอื่ อะไร ขาจะยึดม่ันในกฎของลูกเสือสํารองและบําเพ็ญ ก. เขียนปด ประกาศ ประโยชนต อ ผอู นื่ ทกุ วนั ข. ปฏิบตั ิ ค. ทอ งจํา ๑๐. ขอ ใดเปน การปฏบิ ตั ิตามคตพิ จนข องลกู เสือ ก. ข. สาํ รองท่ีวา “ทําดที ่ีสดุ ” ก. จ๊บิ จูงคุณยายขามถนนแลวขอเงินไปซื้อขาว ค. กลางวันรบั ประทาน ข. แบง็ คนําลกู นกที่ตกจากรังไปปฐมพยาบาล แลวนําไปไวท ี่รังตามเดมิ ๕. จากภาพสิง่ ทีล่ ูกเสือปฏิบตั สิ อื่ ถงึ คุณธรรมขอใด ค. อม้ั เกบ็ เงินไดจึงนําไปซือ้ ขนมรับประทาน ก. ความมีระเบยี บวินัย เมอ่ื เงินเหลอื จงึ นําไปสงครู ข. ความซื่อสตั ย ค. ความเออื้ เฟอเผอื่ แผ เฉลย ๑. ก ๒. ก ๓. ค ๔. ก ๕. ค ๖. ข ๗. ค ๘. ค ๙. ข ๑๐. ข 45 47
ใบงานกิจกรรมที่ ๑ คําช้แี จง ตามคาํ ปฏิญาณของลกู เสือสาํ รอง ทงั้ ๒ ขอ ลูกเสือ เนตรนารี จะมีวิธปี ฏิบัติตนอยางไร ใหตรง กบั คําปฏญิ าณของลกู เสือสาํ รอง ปฏิบตั งิ านในเวลา ๑๐ นาที สง ตัวแทนนําเสนอผลงานหนา ชัน้ เรยี น คาํ ปฏญิ าณขอ ๑ ..................................................................................................... ………………………………………………………………………………….. วิธปี ฏิบัติตนตามคําปฏญิ าณขอที่ ๑ ๑............................................................................................................................... ๒............................................................................................................................... ๓............................................................................................................................... ๔............................................................................................................................... ๕............................................................................................................................... คาํ ปฏิญาณขอ ๒ ..................................................................................................... ………………………………………………………………………………….. วิธีปฏิบัตติ นตามคําปฏิญาณขอท่ี ๒ ๑............................................................................................................................... ๒............................................................................................................................... ๓............................................................................................................................... ๔............................................................................................................................... ๕............................................................................................................................... 46 48
ใบงานกิจกรรมท่ี ๒ คําช้แี จง ใหลูกเสือพิจารณาภาพและบทสนทนาดานลาง พรอมวางแผนปฏิบัติงาน ในเวลา ๑๐ นาที สงตัวแทนนําเสนอผลงานหนาช้ันเรียน นองตน ขาวจา เรารกั กัน พีเ่ คยผานการเปนลูกเสือสาํ รอง พก่ี ายจะทําดีทส่ี ุดเพื่อนอง เขาโรงแรมกันนะจะ นอง จากเหตุการณที่เกิดขึ้น ถาพ่ีกายจะทําดีที่สุดตามคติพจนเพื่อนองตนขาว ควรปฏิบัติตนกับ นองตนขา วอยางไร และควรพานอ งตน ขาวไปท่ใี ด โดยวาดภาพใหมพรอ มระบายสใี หส วยงาม 47 49
ใบงานกิจกรรมที่ ๓ คาํ ช้ีแจง ใหลูกเสอื พจิ ารณาบทกลอนดานลาง แลวตอบวาตรงกับคําปฏิญาณหรือกฎขอใด และตรงกับ ภาพภาพใด ปฏิบัติงานในเวลา ๑๐ นาที สงตวั แทนนาํ เสนอผลงานหนา ชนั้ เรยี น ภาพที่ ๑ ภาพที่ ๒ ภาพที่ ๓ ภาพที่ ๔ กลอนบทที่ ๑ ลกู เสอื ตองยดึ มัน่ หม่ันฝกฝน ปฏบิ ัตติ นตามกฎจดจาํ ไว อทุ ศิ ตนเพือ่ ผอู ื่นอยางวอ งไว มีนาํ้ ใจประพฤติดีมสี ขุ จริง ตรงกับคําปฏิญาณ หรือ กฎ ขอ ที่ ............... และตรงกบั ภาพท่ี....... กลอนบทท่ี ๒ กฎลกู เสอื ขอหนง่ึ ตองยึดถอื ใหเลื่องชื่อลือระบลิ ถน่ิ ไหนไหน ไมทาํ ตามใจตนเองไมเ กรงใคร เชอื่ คําสอนมัน่ ไวจ ะไดดี ตรงกบั คําปฏิญาณ หรอื กฎ ขอ ที่ ............... และตรงกบั ภาพที่....... กลอนบทที่ ๓ ลูกเสือไทยจงรกั ภกั ดีชาติ เทิดพระศาสนเ กริกไกรในสยาม มหากษตั รยิ ชนศรัทธาสงา งาม บทนยิ ามไตรรงคธงของเรา ตรงกบั คาํ ปฏญิ าณ หรอื กฎ ขอที่ ............... และตรงกบั ภาพที่....... กลอนบทท่ี ๔ กฎลูกเสือขอ หนงึ่ ซึ่งบง ช้ี ทาํ ตามพีท่ ี่ไดใฝฝ ก ฝน รกั ระเบยี บจําวินยั ใสกมล ปฏิบัติตนตามพ่ีสง่ั อยา งตงั้ ใจ ตรงกบั คาํ ปฏิญาณ หรอื กฎ ขอที่ ............... และตรงกบั ภาพที่....... 48 50
ใบงานกิจกรรมท่ี ๔ คาํ ช้แี จง ใหลูกเสืออานบางสวนของนิทาน เรื่อง ความซื่อสัตย แลวชวยกันระดมสมองแตงนิทาน เร่ืองนี้ใหจบ พรอมบอกขอคิดที่ไดรับจากนิทานเร่ืองนี้ ปฏิบัติงานในเวลา ๑๐ นาที สงตัวแทนนําเสนอ ผลงานหนา ชน้ั เรยี น นทิ านเร่อื งความซ่ือสัตย เด็กชายขาวเหนียวกับเด็กชายขาวเจาเปนเพื่อนกัน วันหนึ่งท้ังสองชวนกันไปเที่ยวบานเพื่อนท่ีช่ือ ขาวปน ระหวางทางเด็กชายคนหนึ่งพบกระเปาเงินใบหนึ่งตกอยูขางทาง เขาจึงชวนเพ่ือนเดินเขาไปดู และเก็บมันขึ้นมา เมื่อเปดดูก็พบวาขางในมีเงินอยูจํานวนมาก ขาวเหนียวดีใจมาก เขารองดัง ๆ วา “เงนิ ๆ ๆ เรารวยแลว ” แตขา วเจาไดแ ตเพียงยืนดูเฉย ๆ แลวเขาก็พูดข้ึนวา “แตมันเปนเงินของคนอื่นนะ บางทีเจาของเขาอาจตามหามันอยูก็ได เราไปหาเจาของมันไมดีกวาหรือ” ขาวเหนียวรูสึกเสียดายเงิน เขาอยากเอามันไปซ้ือของตาง ๆ ท่ีอยากไดต้ังมากมาย จึงตอบเพ่ือนไปวา “ของท่ีหลนอยู ใครพบก็ตอง เปนของคน ๆ น้ันซิ เราพบก็ตองเปนของเราซิ” พูดจบขาวเหนียวก็เก็บกระเปาเงินไวในเปท่ีกลางหลัง ของเขา …………………………………………………………………………………………………………………….……………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… นิทานเรอ่ื งนี้สอนใหรูวา ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 49 51
ใบงานกิจกรรมที่ ๕ คําช้แี จง ใหลูกเสือศึกษานิทาน เรื่อง สวรรค นรก แลวชวยระดมสมองสรุปประเด็นตามหัวขอ ทก่ี าํ หนดให ปฏบิ ตั ิงานในเวลา ๑๐ นาที สง ตัวแทนนําเสนอผลงานหนา ชนั้ เรียน เร่ืองมอี ยูว า นางฟา ไดปรากฏตัวตอหนาเด็กวัย ๑๐ ขวบคนหน่ึง บอกวา \"หนูอยากไปเที่ยวสวรรค กับนรกไหม\" เด็กคนนั้นเคยไดยินแตเร่ืองสวรรคท่ีมีนางฟาเทวดาแตงตัวสวยงาม ที่วิมานทิพยใหอยู มีอาหารทิพยใหทาน สวนนรกก็มีแตสัตวประหลาดสองเทาถูกท่ิมแทงดวยของแหลมคม ไมก็อยูใน กระทะทองแดง โดนถูกลงโทษตามบาปท่ีกอไว ก็เลยอยากจะรูวาของจริงเปนอยางไร จึงตกลงมากับ นางฟา เม่อื มาถึงสถานทแ่ี หง หนง่ึ นางฟา บอกวา \"ถงึ นรกแลว\" เด็กนอยมองไปเจอคนผอม ๆ ตัวเหลืองซีด นั่งอยูหนาสํารับอาหารท่ีดูแลวนากินที่สุดในโลก ทุกคนกําลังพยายามเอาอาหารนั้นใสปากแตก็ทําไมได เพราะมีกติกา หามใชมือหยิบ ใหใชไดแตชอนที่มีดามยาวเปนเมตรเทาน้ัน พวกนั้นตางพยายามเอาชอน ตักอาหารเขาปากตัวเอง แตอาหารก็พาลจะหลนเสียกอนทุกคร้ัง ไมมีตนไหนไดกินอาหารอันแสนจะ โอชะน้ันเลย จนตองอยูในสภาพผอมโซ เห็นของดีอยูตรงหนาแตไมสามารถจะเอาเขาปากตัวเองได ทรมานเปนท่ีสุด จากน้ันนางฟาก็พาเด็กนอยไปยังอีกสถานท่ีหน่ึงท่ีสะอาดสะอาน เต็มไปดวยผูคนท่ีมี หนาตาผิวพรรณสวยงาม สมบูรณดี แลวนางฟาก็บอกวา \"น่ีไงสวรรค\" สถานที่ก็สวยเปนระเบียบ ผูคนก็ ยิม้ แยมตอกันดี มแี ตค วามสขุ ใหเ หน็ สวนอาหาร เดก็ นอยดแู ลว อยางไรก็เปนอาหารชนิดเดียวกับในนรก ไมมผี ิด แถมทุก ๆ คนในนัน้ ตา งก็ตกั อาหารอันนาโอชะดวยชอนที่มีดามยาวเปนเมตรเชนเดียวกับในนรก เหมือนกนั แตจ ะตา งกนั ก็ตรงทที่ ุก ๆ คนตักอาหารแลวเอาไปปอนใหคนท่ีน่ังอยูตรงขาม ทุก ๆ คนในที่นั้น จึงอมิ่ หนาํ สําราญโดยทัว่ กนั มแี ตค วามสุขท้ังกายและใจอยางท่เี หน็ เด็กนอ ยจงึ คิดวาการแบง ปน เอ้ือเฟอ เผอ่ื แผต อกนั คือการทําใหทีท่ ่ีเราอยูเปน สวรรคเหมอื นกัน 50 52
จากนิทานเรื่องน้ี ลูกเสือเคยประพฤติหรือปฏิบัติตนในเร่ืองการแบงปน เอ้ือเฟอเผ่ือแผกับคนใน ครอบครวั หรอื ใหก บั ผอู ืน่ อยา งไรบาง และเมือ่ ไดป ฏิบัตแิ ลว รสู ึกอยางไร สิ่งที่เคยปฏบิ ตั ิ ๑. ………………………………………………………………………………………… ๒. ………………………………………………………………………………………… ๓. ………………………………………………………………………………………… ๔. ………………………………………………………………………………………… ๕. ………………………………………………………………………………………… ๖. ………………………………………………………………………………………… ๗. ………………………………………………………………………………………… ๘. ………………………………………………………………………………………… ๙. ………………………………………………………………………………………… ๑๐. ………………………………………………………………………………………… และเมอื่ ปฏิบตั แิ ลว รูสกึ อยา งไร ๑. ………………………………………………………………………………………… ๒. ………………………………………………………………………………………… ๓. ………………………………………………………………………………………… ๔. ………………………………………………………………………………………… ๕. ………………………………………………………………………………………… ๖. ………………………………………………………………………………………… ๗. ………………………………………………………………………………………… ๘. ………………………………………………………………………………………… ๙. ………………………………………………………………………………………… ๑๐. ………………………………………………………………………………………… 51 53
ใบงานกจิ กรรมท่ี ๖ คําชีแ้ จง จากตัวละครในนิยายเมาคลีท่ีกําหนดให ใหลูกเสือชวยระดมสมอง สรุปลักษณะนิสัยของ ตัวละครที่กําหนดใหวา ตัวใดอยูในฝายธรรม ตัวใดอยูในฝายอธรรม และใชเหตุการณใดเปนเหตุผล ในการแบงฝาย ปฏบิ ตั ิงานในเวลา ๑๐ นาที สงตวั แทนนําเสนอผลงานหนา ช้ันเรยี น (ตัวละคร) อาเคลา เมาคลี บาลู บาเคียลา ตาบากิ อก๊ิ กี้ คา บันดาโลก แชรคาน พญาหัตถี มงั พรานบนั เดโอ หมาแดง จิล ระดมสมองสรปุ ลกั ษณะนสิ ยั ของตวั ละคร 52 54
ใบงานกจิ กรรมท่ี ๗ คาํ ช้ีแจง ใหสมาชิกศึกษานิทาน เร่ือง เมล็ดพันธแหงความซื่อสัตย ใหเขาใจ วางบทบาทตัวละคร ใหตรงกบั นทิ านทก่ี ําหนดให ดําเนนิ การฝกซอม ในเวลา ๑๐ นาที เพื่อนาํ เสนอผลงานหนา ชนั้ เรียน นิทานเรอื่ งเมลด็ พันธแ หง ความซ่อื สัตย มเี ศรษฐคี นหนง่ึ มีสุขภาพแขง็ แรงดี มกี ิจการที่เจริญกาวหนา เม่ือคิดจะหาลูกหลานไวสืบทอดกิจการ ของตน จึงมอบเมล็ดพันธุพืชแกลูกที่มีทั้งหมด ๗ คน คนละ ๑ เมล็ด โดยบอกใหแตละคนนําไปปลูกไว เมอ่ื ถึงวนั เกิดกใ็ หนําผลผลิตท่ีไดมามอบใหแกตน วันเวลาผานไป ดอกไมของลูก ๆ ตางพากันเติบโตออก ดอกสวยสะพร่ัง…คงเหลือแตเด็กชายสมบูรณเทานั้น ซึ่งไมมีส่ิงใดเติบโตออกจากกระถางเลย แมวาจะ หมนั่ รดน้าํ พรวนดินเพยี งใดกต็ าม เศรษฐเี ดนิ ตรวจตราพรอมรอยย้ิมอยางมีความสุข จนกระทั่ง…เด็กชาย สมบูรณถือกระถางเปลาพรอมกับน้ําตาที่ไหลพรากลงออกมาเปนทางดวยความเสียใจที่ไมสามารถนํา ดอกไมสดมาใหพอของเขาได แตเศรษฐีกลับแยมย้ิมอยางเปนสุขยิ่งกวา เศรษฐีกลาวอยางยินดีปรีดาวา ลูกเอย…สิ่งท่ีเจามอบใหพอน้ันมีคาย่ิงกวาดอกไมท้ังมวลนัก…เพราะส่ิงที่พอตองการ…คือความซื่อสัตย… และมอบทรัพยสมบัติใหแกสมบูรณ เพราะเมล็ดทุกเมล็ดท่ีเขาใหไปน้ัน เขาไดเอาไปค่ัวจนสุกแลว จงึ มอบใหแ กลูก ๆ ** น่คี ือเมล็ดพันธแ หงความซอ่ื สตั ย ** นิทานเรื่องน้ีสอนใหรูวา คนเราน้ันถาเราเปนคนท่ีมีความซ่ือสัตยอยูในตัวอยูแลว จึงไมตองกังวล ในเร่ืองใดท้ังส้ิน ความซ่ือสัตยเปนเคร่ืองหมายของคนดี เด็ก ๆ ทุกคนควรจะมีเมล็ดพันธุแหงความ ซ่ือสัตย…เติบโต…แผก่ิงกานสาขา…อยูในจิตใจของเขา มีความเกรงกลัวและละอายตอการกระทํา ความผิดท้ังปวงอยูในจิตใจ ในขณะเดียวกัน…เขาควรจะมีวินัย…และการแบงปนกับผูคนทุกคน…โดยจะ ยังรกั ษาความสุขของตนเองไวไ ด เขาควรจะยนื อยบู นโลกใบนีไ้ ดโ ดยความสงางาม อดทนตอความผิดหวัง ทงั้ มวล และแข็งแกรง …พอท่จี ะยืนหยดั ตอไปแมในวนั ที่จะตอ งตอ สูดว ยตวั ของเขาเอง 53 55
ใบงานกจิ กรรมท่ี ๘ คาํ ช้ีแจง ใหล ูกเสือจัดทาํ หนงั สอื พมิ พ ช่ือ “โปรง ใส” จากอุปกรณท่ีเตรียมไวให โดยคอลัมนที่จัดทํา จะเปนในรูปขาวบันเทิง กีฬา หรือใด ๆ ก็ได แตเนื้อหาในคอลัมนตองเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับคําปฏิญาณ กฎของลูกเสือสํารอง ความซื่อสัตยและความเอ้ือเฟอเผื่อแผ ปฏิบัติงานในเวลา ๑๐ นาที เพื่อนําเสนอ ผลงานหนาชั้นเรยี น กิจกรรมแสดงถึงความโปรง ใสจากหนังสอื พิมพ กจิ กรรมแสดงการทาํ ความดี กจิ กรรมเอือ้ เฟอ เผื่อแผ และชว ยเหลอื กนั ทาํ งาน 56 54
แบบประเมนิ การปฏิบตั ิกิจกรรม ชื่อวิชา ลกู เสือชอสะอาดกับกับคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสาํ รอง หมู............................... รายการประเมิน ระดับคะแนน ๑. การแบง หนาทีร่ บั ผิดชอบในกลมุ ๔ ๓๒๑ ๒. การวางแผนการทํางานรวมกนั ๓. การใหค วามรว มมอื ของสมาชกิ ๔. การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอืน่ และการแสดงความคิดเหน็ ๕. การแกป ญหาภายในกลุม รวม (ผลรวมทุกชอง) รวมเฉลี่ย คา เฉล่ยี คะแนนการประเมินผลการบริหารโครงการ (คะแนนผลรวม ÷ ๕) = ........................ คะแนนเฉลย่ี ๓.๐๐ - ๔.๐๐ แสดงวาการดําเนินงานอยูใ นระดับ ดี คะแนนเฉลยี่ ๒.๐๐ - ๒.๙๙ แสดงวาการดําเนินงานอยใู นระดับ พอใช คะแนนเฉล่ีย ๑.๐๐ - ๑.๙๙ แสดงวาการดาํ เนินงานอยูใ นระดบั ปรบั ปรงุ สรุปผลการประเมินกจิ กรรม ระดบั ดี ระดับพอใช ระดับปรบั ปรงุ ลงชื่อ..............................................ผูประเมิน 57 55
ชอ่ื วิชา ลูกเสอื สํารองชอ สะอาดกบั การบันเทงิ (เกมเงยี บ) บทเรยี นที่ ๕ เวลา ๑๒๐ นาที ขอบขา ยรายวิชา ๑. ความมงุ หมายการแสดงเงียบ ๒. สถานทที่ ใ่ี ชแสดง ๓. การเตรียมการกอนการเรมิ่ การแสดง ๔. การจบั ฉลากบทบาทตัวละคร ๕. การจดั ทีน่ ัง่ เกมเงียบเปนรูปครึ่งวงกลม ๖. เลือกประธานในการจบั ฉลากการแสดง ๗. แตงต้งั กรรมการอยา งนอ ย ๓ คน เพื่อใหค ะแนนการแสดงแตล ะกลมุ ๘. กําหนดการหรือการแสดงเงียบ ๙. การเปรยี บอิริยาบถของผูเขา รว มการแสดง ๑๐. พิธปี ด จดุ มุง หมาย เพอื่ ใหลกู เสอื สาํ รองสามารถเขา รวมและปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามข้นั ตอนเกมเงียบได วัตถปุ ระสงค เมอ่ื จบบทเรยี นนี้แลว ลูกเสอื สาํ รองสามารถ ๑. จัดหาหรือแตง กายตามบทบาทที่ไดรับไดอ ยา งเหมาะสม ๒. ปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนการแสดงเงียบได ๓. นาํ ความรเู ก่ียวกับคุณธรรมท่ไี ดรับจากการแสดงไปใชในชวี ติ ประจาํ วันได วธิ สี อน/กจิ กรรม กจิ กรรมยอยท่ี ๑ (๓๐ นาที) ๑. วทิ ยากรอธิบายความหมาย ประโยชน ขนั้ ตอนการแสดงเงยี บ ๒. วิทยากรแสดงบทบาทสมมติใหลูกเสือดู และทายวาวิทยากรแตละคนแสดงเปนอะไร และเม่ือดู ภาพรวมทงั้ หมดชอ่ื เรอ่ื งอะไร ๓. หากลูกเสือทายไมถ ูก วทิ ยากรแสดงใหดใู หมอีกคร้งั และถามคาํ ถาม ๔. วิทยากรใหลูกเสือทุกคนจับฉลากคนละ ๑ ใบ แลวกลับเขาที่เพื่อเตรียมตัวแสดง โดยหามสมาชิก บอกชือ่ ตวั ละครท่ีจับสลากไดซ ง่ึ กนั และกัน ๕. เตรยี มสลากสําหรับประธาน ๖. เตรียมบุคคลที่จะเปนประธานกรรมการใหคะแนนชุดท่ีแสดง โดยประกอบดวย ประธาน ๑ คน และกรรมการใหค ะแนนอกี ๓ คน ๗. เตรียมสถานทีน่ ่งั สาํ หรับประธานและกรรมการใหคะแนน ๘. นดั หมายเวลาในการเขารวมการแสดงเงียบ ๙. ใหลูกเสอื ท่ีจะแสดงจบั สลากแลว ใหจดั หาเครื่องแตงกาย และแตงกายตามตัวละครที่จับสลากเทาที่ สามารถจะทาํ ได (ตามกําหนดเวลาท่ีกาํ หนด) 56 58
กิจกรรมท่ี ๒ (๙๐ นาที) ๑.ลกู เสือทกุ คนมานงั่ ประจาํ ทีบ่ รเิ วณรอบทแ่ี สดง ๒.พิธีกรอาจนํากิจกรรมเพ่ือเตรียมความพรอม ซักซอมวิธีการแสดงอีกคร้ัง แนะนําประธานในพิธี รวมถงึ คณะกรรมการใหค ะแนนทง้ั ๓ ทาน ๓.พิธกี รเชิญประธานและใหป ระธานจับฉลากหมายเลขการแสดง ๔.พธิ ีกรดําเนนิ การตามข้ันตอนของการแสดงเงยี บ จนลูกเสือแสดงครบทุกคนหรือทุกหมู ๕.ประธานประกาศผลเกมเงยี บ ๖.ผชู นะการแสดงจะเปนรายบคุ คลหรอื กลมุ ใหแสดงใหมอีกคร้งั หนงึ่ ๗.พิธกี รเชิญประธานมอบรางวัลแกล กู เสือหรือหมูทีไ่ ดร บั คะแนนเปน อนั ดบั ๑, ๒, ๓ ๘. เมอ่ื เสรจ็ ส้ินการแสดงเงยี บ พธิ กี รเชญิ ประธานในพธิ ใี หโอวาทเพ่อื เปน สิริมงคล พรอ มท้ังปดการแสดง สือ่ การสอน ๑.อุปกรณการแตง กาย ๒.เคร่ืองเสยี ง ๓.ใบความรูท ่ี ๖ เรอื่ งเกมเงยี บ การประเมนิ ผล ๑. วธิ ีการวัดผล : ประเมินการปฏิบัติกจิ กรรมกลมุ ๒. เคร่ืองมือวัดผล : แบบประเมนิ การปฏิบตั ิกิจกรรมกลุม ๓. เกณฑการประเมนิ : มีผลการประเมิน ผานเกณฑท่กี าํ หนด เนอ้ื หาวชิ า เกมเงยี บ การแสดงเงยี บของผเู ขา รบั การฝก อบรม 57 59
ใบความรู เกมเงียบ ๑. ความหมาย เกมเงียบ หมายถึง การออกทาทางตามบทบาทท่ีไดรับมอบหมายโดยไมมีการพูดหรือเปลงเสียง แตส ามารถส่ือความหมายใหผ ูดูทราบ และทายถกู ตอง ๒. ประโยชนข องเกมเงียบ เกมเงียบน้ี เพ่ือใหผูนํานันทนาการที่ไดเขารับการฝกอบรมไดนําวิธีการไปฝกอบรมสมาชิกใหเกิด ประโยชนและคณุ คา ดงั ตอ ไปนี้ ๑. เพ่ือใหสมาชกิ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลนิ ผอ นคลายความเครยี ด ๒. เพื่อเปนการทดสอบความทรงจําของสมาชกิ ท่ีเคยพบเห็นมา ๓. เพอื่ ปลกู ฝงในดา นการพจิ ารณา การสงั เกตและความจํา ๔. เพ่อื เปนการสง เสรมิ การแสดงออกเพ่ิมความกลาหาญ เปน การแกความอาย ๓. ข้นั ตอนเกมเงียบ เพ่ือใหการแสดงเงยี บดําเนนิ ไปดว ยความสนุกสนาน ควรจะดาํ เนนิ การ ดงั นี้ ๑. การเตรียมการ ๑.๑. ผูกํากบั จัดทาํ ฉลากขน้ึ มา และกําหนดการแสดงออกไวเทากับจํานวนของลูกเสือ หรืออาจ ใหล ูกเสือจบั กลมุ กนั ออกมาแสดงเงยี บ ตามเนอ้ื เร่อื งท่ีกาํ หนดไว เชน ลเิ ก ตาํ รวจจับผรู าย คนตาบอด เปนตน ๑.๒. ใหลูกเสือออกมาจับฉลากคนละ ๑ ใบ หรือกลุมละ ๑ ใบ แลวกลับเขาที่เพื่อเตรียมตัว แสดง โดยหามสมาชิกบอกชื่อตวั ละครที่จบั สลากไดซ ึง่ กันและกัน ๑.๓ การเตรียมสลากสําหรับประธานจับ โดยการเขียนสลากลําดับการแสดง เพื่อใหประธาน จับวาชุดใดจะแสดงกอน ๑.๔ เตรียมบคุ คลทจี่ ะเปนประธาน กรรมการใหคะแนนชุดที่แสดง โดยประกอบดวยประธาน ๑ คน และกรรมการใหคะแนนอีก ๓ คน ๑.๕ เตรียมสถานท่ีนงั่ สาํ หรบั ประธานและกรรมการใหค ะแนน ๑.๖ ใหส มาชกิ ท่ีจะแสดงจบั สลาก เมอ่ื จับสลากแลว ๑.๖.๑ ใหจัดหาเคร่ืองแตงกายและแตงกายตามตัวละครที่จับสลาก เทาที่สามารถ จะทาํ ได (ตามกําหนดเวลาที่กาํ หนด) ๑.๖.๒ เมอ่ื ถงึ กาํ หนดเวลาใหทุกคนมารวมกัน ณ ท่แี สดง ๒. เริม่ การแสดง ๒.๑ พิธีกรจะใหประธานจับสลากขึ้นมาวา หมายเลขใดท่ีตองแสดงกอน โดยเรียกหมายเลข จะไมเ รยี กช่ือตวั ละคร ๒.๒ หมายเลขตัวละครที่ถูกเรียกออกมาแสดง ใหยืนทําความเคารพประธาน โดยการคํานับ แลวเรม่ิ แสดงบทบาทตัวละครท่ีไดร บั มอบหมาย ๒.๓ เมอื่ มกี ารแสดงบทบาทของตัวละครไปพอควร พิธีกรจะสั่งหยุด (โดยใชสัญญาณนกหวีด) 58 60
๒.๔ สมาชิกที่แสดงบทบาทตัวละครอยูนั้น เมื่อไดยินสัญญาณนกหวีดหยุด จะตองทําทาทาง ทกี่ ําลังแสดงอยูคา งไว ๒.๕ สมาชิกผูชมผูใดตองการจะทายวา สมาชิกที่แสดงน้ันเขาแสดงอะไร ใหใชวิธีการยกมือ พธิ กี รกจ็ ะใหทาย ๒.๕.๑ เมอื่ สมาชิกผูชมทายแลววาแสดงอะไร พิธีกรจะถามผูแ สดงวา ถกู ไหม ๒.๕.๒ ถาทายถกู ตอ ง ใหผแู สดงพยกั หนาแลวทําความเคารพประธาน และกลับไปยัง ทีน่ ่งั สมาชกิ คนอื่น ๆ จะปรบมอื ให ๒.๕.๓ ถาทายผิด ผูแสดงก็จะใชวิธีการสายหนาแลวแสดงบทบาทตามตัวละคร เหมือนเดิมตอไป เพ่อื ใหสมาชกิ ผูชมทายใหม ๒.๖ สมาชกิ ท่ีออกมาแสดงแลว จะตองอยใู นชุดการแสดงนั้นตลอดไปจนกวาจะสน้ิ สุดรายการ ๓. คณะกรรมการใหค ะแนน ๓.๑ คณะกรรมการใหคะแนนจะพิจารณาวาสมาชิกผูแสดงคนใดแสดงไดดีท่ีสุด อาจจะให คะแนนเปนชดุ หรอื เปน บุคคล แลว แตบทบาททแ่ี สดง ๓.๒ เกณฑการใหค ะแนนของคณะกรรมการ แบงเปน ๓ สว น ดงั นี้ ๓.๒.๑ พิจารณาจากการแตงกายทีเ่ ขากบั บทบาท ๑๐ คะแนน ๓.๒.๒ พจิ ารณาจากการเตรยี มอปุ กรณป ระกอบการแสดง ๑๐ คะแนน ๓.๒.๓ พจิ ารณาจากการแสดงออกไดเหมอื นหรอื คลาย ๑๐ คะแนน ๔. สิน้ สดุ การแสดง ๔.๑ คณะกรรมการจะรวมคะแนนวาบคุ คลใดไดคะแนนเปน ที่ ๑, ๒, ๓ และมรี างวลั ให ๔.๒ ชุดแสดงหรือตวั ละครทไี่ ดค ะแนนเปน อันดับ ๑, ๒, ๓ กอนที่จะมารับรางวัลจากประธาน จะตองแสดงใหมอกี ครงั้ ๔.๓ กอนเสร็จส้ินการแสดงเงียบ ควรเชิญประธานในพิธีใหโอวาทเพ่ือเปนสิริมงคล พรอมท้ัง ปดการแสดง ๕. เรื่องท่ีควรนาํ มาแสดง ในการกําหนดตัวละคร เพื่อใหสมาชิกผูเขารับการฝกอบรมที่จับสลากไปแลวสามารถที่จะไป เตรยี มหรอื ทาํ สิง่ ตอ ไปนีไ้ ดส ะดวก ๕.๑. เคร่ืองแตงกาย ๕.๒. อุปกรณการแสดง ๕.๓. ลักษณะทา ทาง (บทบาท) ทีจ่ ะแสดงออกไดอยางถูกตอ งและเหมาะสม ๕.๔. เรือ่ งท่แี สดงหรอื ตัวละครที่แสดง ควรเปน เนอ้ื เรอ่ื ง หรอื ตัวละครที่สมาชิกเคยเรียนรูหรือ มีประสบการณจ ําไดจ ากเรอ่ื งตาง ๆ ๖. ตวั อยา งเร่อื งหรอื ตัวละครทีค่ วรแสดง • อาชีพตา ง ๆ เชน ตํารวจ หมอดู หมอนวด แพทย คนขายหนงั สอื พมิ พ หมอตาํ แย • นิทานอีสป เชน กระตายกบั เตา เทพารกั ษกบั คนตัดไม • โฆษณาทวี ี เชน ขายสบู แปง นม • เลยี นแบบ เชน สตั วต าง ๆ • ลิเก เชน จันทโครพ ฤๅษี โจรปา โมรา 59 61
• ดาราทช่ี อบ เชน นกั รอง นกั แสดง นกั เตน หางเคร่ือง • คนบา เชน บาสมบตั ิ บา แตงตวั บา หอบฟาง • นิยายองิ ประวตั ศิ าสตร เชน พันทายนรสิงห สงครามยุทธหัตถี ศึกบางระจัน ผูชนะสบิ ทิศ • ประเพณตี า ง ๆ เชน บวชนาค สงกรานต • ฟอ นรํา เชน ฟอ นเล็บ ราํ วง ระบาํ แขก มโนราห เซงิ้ ตาง ๆ • นักจิตรกร เชน เขยี นภาพ ปน สลัก • การแตง กายชาตติ าง ๆ เชน จีน ลาว ญป่ี ุน • นักกีฬา เชน ตะกรอ ฟตุ บอล วอลเลยบ อล • คนพกิ าร ขอทาน ตาบอด ขาเป • วรรณคดี เชน สงั ขทอง พระอภยั มณี อเิ หนา • อบายมุขตา ง ๆ คนด่มื สุรา คนตดิ ยาเสพตดิ • การแสดงตา ง ๆ เชน โขน ง้วิ ๗. การปฏบิ ัติตนในขณะชมการแสดงเงียบ ๗.๑ ปรบมือใหเ กยี รติผแู สดง ๗.๒ ต้ังใจชมการแสดง ๗.๓ ไมเลนหรอื ลกุ ขนึ้ เดนิ ไปมาในขณะชมการแสดง ๗.๔ ฝก สงั เกตและทายวาเพ่ือนแสดงเปนอะไรหรอื เร่อื งอะไร ๗.๕ สาํ รวจและนาํ ขอ บกพรองตา ง ๆ มาพฒั นาการแสดงของตน ตาราง แสดงการใหคะแนนเกมเงยี บ ชอื่ คณะกรรมการที่ใหค ะแนน............................... คะแนนทีใ่ ห การแตงกาย อุปกรณ บทบาท รวม ลาํ ดับท่ี หมายเลขแสดง/ชือ่ ชุด (๑๐) (๑๐) ที่แสดงออก (๓๐) (๑๐) ๑. ............................................... ๒. ............................................... ๓. ............................................... ๔. ............................................... ๕. ............................................... ๖. ............................................... ๗. ............................................... ลงชอ่ื ...................................กรรมการผตู ัดสิน 60 62
รูปภาพ แสดงตัวอยา งสลาก ๑ ๒ พระอภัยมณี ผีเส้ือสมุทร ภาพการแสดงเงยี บของผเู ขารับการฝก อบรมตามหัวขอ ที่ไดรบั มอบหมาย ประธานประกาศผล มอบรางวัล 61 63
แบบประเมินผลการปฏิบตั กิ ิจกรรม ชอ่ื วิชา การแสดงเงียบ ขอ รายการประเมนิ ๔ ระดับคุณภาพ ๑ ๓๒ ๑ แสดงไดเหมาะสมกบั บทบาททไ่ี ดรบั ๒ อุปกรณประกอบการแสดงและเครื่องแตง กาย ๓ เน้ือหามคี วามเหมาะสม ๔ การมีสว นรว มของสมาชิก รวม ....................................................... (.........................................................) ผูกาํ กบั ลกู เสือ เกณฑการประเมินผล หัวขอที่ประเมิน ดมี าก (๔) ระดบั คณุ ภาพ / คะแนน ปรับปรุง (๑) ดี (๓) พอใช (๒) แสดงไมสม ๑. แสดงได ทกุ คนแสดงไดส มบทบาท บทบาท ๓ คน เหมาะสมกับ แสดงไมสม แสดงไมสม ขึ้นไป บทบาทท่ีไดร ับ บทบาท ๑ คน บทบาท ๒ คน ปฏิบตั ิไมไ ดเลย ๒. อุปกรณ ๑. ประยุกตการแตงกาย ปฏบิ ัตไิ ด ๒ ขอ ปฏบิ ัตไิ ด ๑ ขอ ปฏบิ ตั ิได ๒ ขอ ประกอบ ๒. ประยุกตอ ุปกรณ การแสดงและ ๓. การแตงกายสอดคลอง ใน ๓ ขอ ใน ๓ ขอ สมาชิก ๓ คน เครื่องแตงกาย กบั เร่ืองท่แี สดง ขน้ึ ไป ไมใ ห ความรว มมอื ๓. เน้อื หามี ๑. คุณลกั ษณะอนั พงึ ปฏบิ ตั ิได ๔ ขอ ปฏิบตั ไิ ด ๓ ขอ ความเหมาะสม ประสงค ๘ ประการ ๒. จติ อาสา ๓. ความซ่อื สตั ย ๔. ความเออ้ื เฟอ เผ่ือแผ ๕. หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ๔. การมีสว นรว ม ทุกคนมสี วนรว ม สมาชกิ ๑ คน สมาชิก ๒ คน ของสมาชิก ไมใ ห ไมใ ห ความรว มมอื ความรว มมือ 62 64
ช่ือวชิ า ลกู เสือสาํ รองชอ สะอาดกับการรจู กั เคารพกฎหมาย บทเรียนที่ ๖ เวลา ๙๐ นาที ขอบขา ยรายวิชา ๑. สทิ ธิ หนาทีต่ ามรฐั ธรรมนญู ๒. การศกึ ษาเพ่ือสรา งความเปน พลเมืองในประเทศไทย จุดมุงหมาย เพื่อใหลกู เสือสาํ รองมีความรู ความเขา ใจ และสามารถปฏบิ ัติตนเปน พลเมอื งที่ดขี องชาตไิ ด วัตถุประสงค เมื่อจบบทเรียนน้ีแลว ลกู เสอื สํารองสามารถ ๑. บอกลกั ษณะของการเปน คนดี ๒. ระบสุ ิทธิ หนา ทีท่ ี่ถูกตอ งตามกฎหมายได ๓. นาํ ไปใชใ นชวี ิตประจาํ วนั ได วธิ สี อน/กิจกรรม ๑. นําเขาสูบทเรียน โดยการใหลูกเสืออานบทกลอนสุภาษิตที่เก่ียวกับการปลูกฝงใหเด็ก ๆ ศึกษา เลา เรยี น เชน เด็กเอย เด็กนอ ย ความรเู รายงั ดอ ยเรงศกึ ษา เมื่อเตบิ ใหญเราจะไดม ีวชิ า เปนเครอื่ งหาเลยี้ งชีพสาํ หรับตน ไดป ระโยชนหลายสถานเพราะการเรยี น จงพากเพียรไปเถดิ จะเกิดผล ถึงลําบากตรากตราํ กจ็ ําทน เกดิ เปนคนควรหมั่นขยันเอย ๒. ครใู หล กู เสอื แสดงความคิดเห็นวา บทกลอนดังกลาวมีจุดมุงหมายสําคัญอยางไร และขณะนี้ลูกเสือ ปฏิบตั ติ ามบทกลอนน้ีอยา งไรบา ง ๓. ครเู ชอื่ มโยงใหล ูกเสอื เขาใจวา การศึกษาเปน หวั ใจสําคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน และประเทศชาติ แตต นเอง สงั คม และประเทศชาตจิ ะเจริญมไิ ด หากเยาวชนไมร จู กั สทิ ธิและหนา ท่ีของตนเอง ๔. กจิ กรรมฉีกกระดาษ ๕. ครูแบงลูกเสือออกเปนหมูละ ๘ คน หรืออาจใชหมูเดิมก็ได แลวใหลูกเสือแตละหมูชวยกันทํา ใบงานท่ี ๑ เรือ่ ง สิทธิ โดยปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอน ดังน้ี ๕.๑ ลูกเสือแตละหมูจับคูกันเปน ๒ คู แตละคูชวยกันคิดคําตอบในใบงานและตรวจสอบ ความถกู ตอง ๕.๒ ลูกเสือ ๒ คู มารวมกันเปนหมู ผลดั กนั ตรวจสอบความถกู ตอ งในใบงาน ๖. ลูกเสือชวยกันเฉลยคําตอบของเร่ือง สิทธิ ในใบงาน สมาชิกในหมูแตละหมูตรวจใบงานดวย ความซ่ือสตั ย 63 65
๗. แบงลูกเสือออกเปนหมู โดยใชหมูเดิมก็ได แลวใหลูกเสือแตละหมูชวยกันทําใบงานท่ี ๕.๒ เรื่อง หนา ท่ี โดยปฏิบัตติ ามขนั้ ตอน ดังน้ี ๗.๑ ลูกเสือแตละหมูจับคูกันเปน ๒ คู แตละคูชวยกันคิดคําตอบในใบงานและตรวจสอบ ความถูกตอง ๗.๒ ลกู เสือ ๒ คู มารวมกนั เปน หมู ผลัดกันตรวจสอบความถกู ตอ งในใบงาน ๘. ลกู เสอื ชว ยกนั เฉลยคาํ ตอบของ เร่ือง หนาท่ี ในใบงาน สมาชิกในหมูแตละหมูตรวจใบงานดวยความ ซอื่ สัตย ๙. ชมเชย/ใหร างวัล หมทู ท่ี าํ ใบงานถกู ตองทุกขอ ๑๐. ผูสอนและลกู เสือชวยกันสรปุ ความสาํ คัญและประโยชนข องการปฏบิ ัติตนตามกฎหมายสทิ ธิ หนา ท่ี ส่ือการสอน ๑. ศกึ ษาใบความรูที่ ๑ เรอื่ ง สทิ ธแิ ละเสรีภาพ ๒. ศึกษาใบความรูท่ี ๒ เร่ือง หนาทีป่ วงชนชาวไทย ๓. ศกึ ษาใบความรทู ี่ ๓ เรือ่ ง กจิ กรรมฉกี กระดาษ ๔. ส่ือ Power Point เนื้อหาสาระ ๕. เพลง ๖. วดี ิทศั น การประเมินผล ๑. วิธีการวดั ผล : ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลมุ ๒. เคร่อื งมอื วดั ผล : แบบประเมินการปฏิบตั ิกจิ กรรมกลุม ๓. เกณฑการประเมนิ : มผี ลการประเมิน ผานเกณฑท ี่กําหนด เนื้อหาวิชา ๑. สทิ ธิ ๒. หนาที่ ๓. คุณลักษณะของพลเมืองท่ดี ี 64 66
ใบความรทู ี่ ๑ สิทธแิ ละเสรีภาพ สิทธิ คือ ส่ิงที่ไมมีรูปราง ซ่ึงมีอยูในตัวมนุษยมาต้ังแตเกิดหรือเกิดข้ึนโดยกฎหมาย เพื่อใหมนุษยไดรับ ประโยชน และมนุษยจะเปนผูเลือกใชส่ิงนั้นเอง โดยไมมีผูใดบังคับได เชน สิทธิในการกิน การนอน สิทธิใน ครอบครัว สิทธิความเปนอยูสวนตัว สิทธิในเกียรติยศ ช่ือเสียง สิทธิในการเลือกอาชีพ ถ่ินที่อยู การเดินทาง แตสิทธิบางอยางมนุษยไดรับโดยกฎหมายกําหนดใหมี เชน สิทธิในการมีการใชทรัพยสิน สิทธิในการรองทุกข เมือ่ ตนถูกกระทาํ ละเมิดกฎหมาย พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ อธิบายความหมาย “สิทธิ” ไววา“ความสําเร็จ หรือ อํานาจท่ีจะกระทําการใด ๆ ไดอยา งอสิ ระ โดยไดร ับการรบั รองจากกฎหมาย” เสรีภาพ เปนคําท่ีถูกใชเคียงคูกับคําวา “สิทธิ” เสมอ วา “สิทธิเสรีภาพ” จนเขาใจวามีความหมาย อยา งเดยี วกนั แทจ ริงแลว คาํ วา “เสรีภาพ” หมายถงึ อาํ นาจการตดั สนิ ใจดว ยตนเองของมนุษยที่จะเลือกดําเนิน พฤติกรรมของตนเอง โดยไมมีบุคคลอ่ืนใดอางหรือใชอํานาจแทรกแซงเกี่ยวของกับการตัดสินใจนั้น และเปน การตัดสินใจดวยตนเองที่จะกระทําหรือไมกระทําการส่ิงหนึ่งส่ิงใดอันไมเปนการฝาฝนตอกฎหมาย แตการที่ มนุษยดํารงชีวิตอยูในสังคม แลวแตละคนจะตัดสินใจกระทําการหรือไมกระทําการสิ่งใดนอกเหนือจากตอง ปฏิบัติตามกฎหมายแลว ยอมตองคํานึงถึงกฎเกณฑตาง ๆ ของสังคม ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม ดังเชน ศิลาจารึกหลักที่ ๑ สมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช บงบอกถึงเรื่องเสรีภาพในการประกอบอาชีพไวอยาง นาสนใจวา “เจาเมอื งบเ อาจกอบในไพรลทู าง เพ่ือนจูงวัวไปคา ข่ีมาไปขาย ใครจักใครคาชาง คา ใครจักใครคา มา คา ใครจะใครคา เงอื นคา ทอง คา …” สิทธิและเสรีภาพ จึงเปนปจจัยสําคัญอยางหนึ่งในการบงชี้วาสังคมหรือบานเมืองใด มีความสงบสุข มสี ันติ มีความเปนประชาธปิ ไตย หรือไม สิทธิเด็ก เปนสิทธิสากล (Universal Rights) และเปนสิทธิเด็ดขาด (Absolute Rights) ท่ีตองไดรับ การรับรองและคุมครอง ซ่ึงเด็กในที่น้ีหมายถึงมนุษยทุกคนที่มีอายุต่ํากวา ๑๘ ป ยกเวนผูที่แตงงานท่ีถูกตอง ตามกฎหมายของประเทศ เดก็ ทกุ คนไมว า จะเปนเด็กท่ีดอยโอกาสในลักษณะใดก็ตาม เชน เด็กพิการ เด็กท่ีถูกทอดท้ิง เด็กเรรอน เด็กถกู ทารณุ กรรม เด็กที่ถูกใชแรงงานอยางผิดกฎหมาย และโสเภณีเด็ก จะตองไดรับสิทธิพื้นฐาน ๔ ประการ ดังน้ี ๑. สิทธิในการมีชีวิต เด็กทุกคนเม่ือเกิดมาแลว มีสิทธิที่จะมีชีวิตอยูไมวาจะเกิดมามีรางกาย ท่ีสมบูรณหรือไมก็ตาม โดยเด็กที่เกิดมาตองไดรับการจดทะเบียนการเกิด มีสิทธิท่ีจะไดรับการเล้ียงดูอยางดี ท่ีสุด ทั้งดานสุขภาพรางกาย จิตใจ ท่ีพักอาศัย โภชนาการและการบริการทางการแพทยเมื่อปวยไข โดยบิดา มารดา ญาตพิ ่ีนอ ง หรอื รฐั เพ่ือใหอ ยรู อดและเจรญิ เตบิ โต สทิ ธิในการมชี ีวิต เชน สิทธิรับวัคซีนปองกันโรคตาง ๆ สิทธิท่ีจะไดรับอาหารในปริมาณที่เพียงพอและสะอาด สิทธิท่ีจะไดรับปจจัยพ้ืนฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต เชน อาหาร ทอ่ี ยอู าศัย เครือ่ งนุงหม ยารักษาโรค เปน ตน ๒. สทิ ธทิ ่จี ะไดร บั การคมุ ครองจากกฎหมาย เปน สิทธิที่เด็กไดรับปกปองคุมครองจากการทารุณกรรม ทกุ รปู แบบ เชน • การทารุณกรรมทางรางกาย เปนการกระทําตอรางกายเด็กที่เกิดจากการถูกทําโทษท่ี รุนแรงเกนิ ไป ทําใหเ ดก็ ไดรับความเจ็บปวด เกิดบาดแผลหรือรอยฟกซ้ํา เชน เฆี่ยนตี ตบ เตะ ตอย กระชาก กักขัง จบั มัด 65 67
• การทารุณกรรมทางดานจิตใจ เปนการกระทําที่แสดงดวยวาจาหรือทาทาง ทําใหเด็กรูสึก ขาดความรกั นอยใจ เสยี ใจ เกิดความหวาดระแวง เกดิ ความรสู กึ ไมดีตอตนเอง เชน การดุดา ตะคอก ประจาน ซึ่งการกระทําดังกลาวมคี วามรุนแรงมากกวาการวา กลา วตักเตือนหรอื ส่ังสอนโดยปกติ • การลวงเกินทางเพศ เปนการกระทําที่หาประโยชนทางเพศกับเด็ก โดยท่ีเด็กไมรูสึกวา เดือดรอนเพราะไมเขาใจวาเกิดอะไรขึ้น แตจะทําใหเด็กเกิดการเรียนรูและพัฒนาการทางบุคลิกภาพท่ีผิดปกติ เชน การแอบดเู ด็กขณะท่ีอาบน้ํา การมเี พศสมั พนั ธก ับเดก็ • การใชแรงงานเด็ก เปนการแสวงหาผลประโยชนจากการทํางานของเด็ก ทําใหเด็กขาด การเรียนรู การศึกษา การพัฒนาทางดานรางกาย จิตใจ ศีลธรรมและสังคมของเด็ก ในปจจุบันกฎหมายแรงงาน ของไทยกําหนดตามพระราชบญั ญตั ิ ๓. สิทธิในดานพัฒนาการ เด็กทุกคนจะไดรับสิทธิใหมีสภาพความเปนอยูท่ีเหมาะสมกับพัฒนาการ ดานรางกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความตองการ ความพึงพอใจ และความสุขของเด็ก ไดแก การมีสวนรวมใน กิจกรรมครอบครัว ของโรงเรียน และสังคมที่เด็กอยูไดอยางมีความสุข ไดมีโอกาสเลน พักผอน ไดรับขอมูล ขาวสาร มีอิสระในการคิดและการแสดงออก ไดรับการกลอมเกลาทางดานจิตใจ ความรู ความคิดท่ีเหมาะสม กับวัย ท่สี าํ คญั ท่ีสดุ เด็กทุกคนตอ งไดรับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ๑๒ ป ๔. สทิ ธิในการมีสว นรวม เปนสิทธทิ ใ่ี หค วามสําคัญกับการแสดงออกท้ังในดานความคิดและการกระทํา ของเด็ก ในการเปนสวนหนึ่งของสังคมที่อาศัยอยู รวมทั้งสิทธิในการปกปองเรียกรองผลกระทบที่เกิดกับชีวิต ความเปนอยูของเด็ก ดวยการอนุญาตใหเด็กไดมีสวนรวมในการตัดสินใจในเร่ืองตาง ๆ ที่เก่ียวของกับตนเอง และสามารถแสดงความคดิ เห็นโดยไมก ระทบสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอ่ืน 66 68
ใบความรทู ี่ ๒ หนา ทขี่ องปวงชนชาวไทย หนาท่ี หมายถึง การกระทําหรือการละเวน การกระทํา เพอ่ื ประโยชนโดยตรงของการมีสิทธิ หนาท่ีเปน ส่ิงที่บังคับใหมนุษยในสังคมตองปฏิบัติตามกฎเกณฑทางสังคมหรือกฎหมายบัญญัติไว จะไมปฏิบัติตามไมได สวนสิทธิและเสรภี าพเปนสิ่งที่มนุษยมอี ยแู ตจะใชห รือไมก็ได หนาที่ของประชาชนชาวไทย ๑. บคุ คลมหี นา ทร่ี กั ษาไวซ ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมขุ ๒. บคุ คลมหี นา ที่ปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ๓. บุคคลมีหนาท่ีไปใชสิทธิเลือกต้ัง บุคคลซ่ึงไมไปเลือกต้ังโดยไมแจงเหตุผลอันสมควร ยอมเสียสิทธิ ตามท่ีกฎหมายบญั ญัติไว ๔. บคุ คลมีหนา ท่ปี องกนั ประเทศ รบั ราชการทหาร ๕. บคุ คลมีหนาท่ีเสียภาษีใหรัฐ ๖. บุคคลมีหนาท่ีชวยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม ปกปองและสืบสานวัฒนธรรมของชาติ ภูมปิ ญญาทองถิ่น รวมถึงการอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม ๗. บุคคลผูเปนขาราชการ พนักงาน หรือลูกจางหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ราชการสวนทองถ่ิน มีหนาท่ีดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย เพ่ือรักษาประโยชนสวนรวม อํานวยความสะดวกและใหบริการแก ประชาชน คุณลกั ษณะของพลเมืองท่ีดี ของประเทศชาตแิ ละสังคมโลก ๑. เคารพกฎหมายและปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บ ขอ บังคับของสังคม เมื่อพลเมอื งทกุ คนปฏบิ ัติตามกฎระเบยี บ ขอบังคับของสงั คม และบทบัญญัติของกฎหมาย เชน ไมลวง ละเมิดสิทธิของผูอื่น หรือไมกระทําความผิดตามที่กฎหมายกําหนด ก็จะทําใหรัฐไมตองเสียงบประมาณใน การปองกันปราบปรามและจับกุมผูท่ีกระทําความผิดมาลงโทษ นอกจากน้ียังทําใหสังคมมีความเปนระเบียบ สงบสุขทกุ คน อยรู วมกันอยา งสมานฉนั ท ไมหวาดระแวง คดิ รา ยตอกนั ๒. เปนผูมีเหตุผลและรบั ฟงความคิดเหน็ ของผอู ื่น ทุกคนยอมมีอิสระ เสรีภาพในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางกัน ซ่ึงการรูจักการใชเหตุผลใน การดําเนินงาน จะทําใหช วยประสานความสมั พนั ธ ทําใหเกิดความเขา ใจอนั ดงี ามตอกัน ๓. ยอมรบั มตขิ องเสยี งสว นใหญ เมื่อมคี วามขดั แยง กนั ในการดาํ เนินกจิ กรรมอันเกิดจากความคิดเห็นที่แตกตางกัน และจําเปนตองตัดสิน ปญหาดวยการใชเสียงขางมากเขาชวย และมติสวนใหญตกลงวาอยางไร ถึงแมวาจะไมตรงกับความคิดของเรา เรากต็ อ งปฏบิ ัตติ าม เพราะเปน มติของเสียงสวนใหญน้ัน 67 69
๔. เปนผูนํามีนา้ํ ใจประชาธิปไตยและเหน็ แกประโยชนส วนรวม ผูที่มีความเปนประชาธิปไตยนั้น จะตองมีความเสียสละในเรื่องที่จําเปนเพ่ือผลประโยชนของสวนรวม และรักษาไวซึ่งสังคมประชาธิปไตย เปนการสงผลตอความมั่นคงและความกาวหนาขององคกร ซึ่งสุดทายแลว ผลประโยชนดังกลาวก็ยอนกลับมาสูสมาชิกของสังคม เชน การไปใชสิทธิ์เลือกต้ัง ถึงแมวาเราจะมีอาชีพ บางอยางท่ีมีรายไดตลอดเวลา เชน คาขาย แตก็ยอมเสียเวลาคาขายเพ่ือไปลงสิทธิเลือกตั้ง บางครั้งเราตองมี นํา้ ใจชวยเหลอื กจิ กรรมสวนรว ม เชน การสมัครเปนกรรมการเลือกต้งั หรือสมาคมบาํ เพ็ญประโยชนสวนรวม ๕. เคารพในสทิ ธเิ สรภี าพของผูอน่ื ควรรจู กั เคารพในสิทธิเสรีภาพของผอู ่ืน เชน บคุ คลมเี สรภี าพในการแสดงความคิดเห็น การพูด แตตอง ไมเ ปนการพูดแสดงความคิดเห็นทใ่ี สรา ยผูอน่ื ใหเ สยี หาย ๖. มีความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง สังคม ชมุ ชน ประเทศชาติ ในการอยูรวมกันในสังคม ยอมตองมีการทํางานเปนหมูคณะ จึงตองมีการแบงหนาที่ความรับผิดชอบ ในงานนัน้ ๆ ใหส มาชิกแตละคนนาํ ไปปฏิบตั ิตามที่ไดร ับหมอบหมายไวอยางเต็มท่ี ๗. มีสว นรวมในกจิ กรรมการเมอื งการปกครอง ในสังคมประชาธปิ ไตยนัน้ สมาชกิ ทุกคนตอ งมสี วนรวมในกิจกรรมการเมอื งการปกครอง เชน การเลอื กตงั้ ๘. มสี ว นรวมในการปอ งกนั แกไขปญ หาเศรษฐกจิ สังคม และการเมืองการปกครอง ชวยสอดสองพฤติกรรมมั่วสุมของเยาวชนในสถานบันเทิงตาง ๆ ไมหลงเช่ือขาวลือคํากลาวรายโจมตี ไมม องผูท ่ไี มเ หน็ ดว ยกับเราเปนศัตรู รวมถึงสงเสริมสนบั สนนุ การแกไขปญหาความขดั แยง ตา ง ๆ ดวยสันติวิธี ๙. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรม ทกุ คนควรมีศีลธรรมไวเปน หลักในการควบคมุ พฤติกรรมของบุคลใหดําเนินไปอยางเหมาะสม ถึงแมจะ ไมม ีบทลงโทษใด ๆ ก็ตาม 68 70
ความรเู พ่มิ เติม หนา ทพ่ี ลเมือง พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย คือ คนที่ยึดหลักประชาธิปไตยในการดํารงชีวิต ปฏิบัติตนอยูใน จริยธรรมที่ดีงาม ประพฤตติ นในกรอบของสิทธิ เสรีภาพและหนาที่ของการเปนพลเมือง รวมทั้งชวยสงเสริมให ผูอ่ืนปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี การมองเห็นคุณคาของวิถีประชาธิปไตยจะชวยใหสังคมมีความมั่นคง ปลอดภัย และสงบสขุ มากขึน้ วถิ ปี ระชาธิปไตยของพลเมืองดี มลี กั ษณะทสี่ าํ คญั ดังนี้ ๑. การคํานึงถึงประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนตัว ไดแก การลดความเห็นแกตัวและ เสียสละแรงกายและใจเพ่ือทําประโยชนใหแกสวนรวม ชวยกันดูแลรักษาทรัพยสินที่เปนสาธารณสมบัติ เชน ตูโทรศัพทสาธารณะ หองสมุดประจําหมูบาน ชวยกันอนุรักษส่ิงแวดลอม เชน ปาไม แมนํ้าลําธาร รวมท้ัง ชว ยกนั ตักเตือนหรือหามปรามบุคคลไมใ หทําลายสาธารณะสมบัติหรือสงิ่ แวดลอ ม ๒. วินัย ไดแก การฝกกาย วาจา และใจ ใหสามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเองใหอยูในระเบียบ แบบแผนทีด่ งี าม เพอ่ื ใหการปฏบิ ัติงานและการอยูรว มกันของกลมุ ในสังคมนนั้ เปน ไปดวยความเรียบรอย ๓. ความรับผิดชอบตอหนาที่ ไดแก การเอาใจใส ต้ังใจ และมุงม่ันปฏิบัติหนาที่ตามบทบาทของตน อยา งเตม็ ความสามารถ ทง้ั นี้ เพื่อใหง านบรรลุผลตามเปา หมายตรงตามระยะเวลาท่กี ําหนด ๔. ความอดทน ไดแก การมีจิตใจหนักแนน เยือกเย็น ไมหุนหันพลันแลน สามารถควบคุมอารมณ และพฤตกิ รรมใหเปนปกติ เม่อื ตองเผชิญกบั ปญหาหรือสิ่งท่ไี มพงึ พอใจ ๕. การประหยัดและอดออม ไดแก การรูจักใชจายตามความจําเปนอยางคุมคาและเกิดประโยชน สงู สดุ ไมฟุงเฟอ ฟมุ เฟอ ย รูจักเกบ็ ออมเอาไวใ ชเมอื่ ยามจาํ เปน ใชชีวิตใหเ หมาะสมกบั ฐานะความเปน อยขู องตน ๖. การมีนํ้าใจเปนนักกีฬา ไดแก การมีจิตใจเปดเผย รูจักรูแพ รูชนะ และใหอภัยกันและกัน ทํางาน ในลักษณะชว ยเหลือเกือ้ กลู กัน ไมแขง ขันหรือแกงแยงชิงดกี นั ๗. ความซ่ือสัตยสุจรติ ไดแ ก มีความจริงใจ ไมมีอคติ ปฏิบัติตน ปฏิบัติงานตรงไปตรงมาตามระเบียบ ปฏิบัติ ไมใ ชเลหเ หลย่ี มหรอื กลโกง ไมทาํ แบบ “คดในขอ งอในกระดกู ” นอกจากนี้ การทํางานตองอยูบนพื้นฐาน ของความไววางใจและมีไมตรจี ิตตอ กนั ไมหวาดระแวงแครงใจกนั หรือไมเ ชอ่ื ถือผูอืน่ นอกจากตนเอง ๘. การอนุรักษความเปนไทย ไดแก มีจิตสํานึกในความเปนไทย เชน พูด เขียน และใชภาษาไทย ใหถูกตอง อนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยและนําความเปนไทยมาใชใหเกิดประโยชน รวมทั้งคิดคน ปรับปรุงดัดแปลงความเปนไทยใหเขากับสภาพการณท่ีเปนอยูจริง ทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ตลอดจนถายทอดความเปนไทย สืบตอไปยังคนรนุ หลงั ไดอยา งถกู ตองเหมาะสม พลเมืองของแตละประเทศยอมมีสิทธิและหนาที่ตามกฎหมายของประเทศน้ัน บุคคลตางสัญชาติที่ เขาไปอยูอาศัยซ่ึงเรียกวาคนตางดาว ไมมีสิทธิเทาเทียมกับพลเมืองและมีหนาที่แตกตางออกไป เชน อาจมี หนา ทเี่ สยี ภาษี หรอื คาธรรมเนียมเพ่มิ ข้ึนตามท่กี ฎหมายของแตละประเทศบญั ญตั ิไว สิทธิและหนาท่ีเปนสิ่งคูกัน เม่ือมีสิทธิก็ตองมีหนาที่ พลเมืองของทุกประเทศมีท้ังสิทธิและหนาท่ี แตจะมีมากนอยเพียงใดข้ึนอยูกับกฎหมายของประเทศน้ัน ๆ และแนนอนวาประเทศที่ปกครองดวยระบอบ ประชาธิปไตย ประชาชนมีสิทธิมากกวาการปกครองในระบอบอ่ืน เพราะมีสิทธิที่สําคัญท่ีสุด คือ สิทธิใน การปกครองตนเอง พลเมืองดี หมายถึง ผูทป่ี ฏิบตั หิ นาท่ีพลเมอื งไดค รบถวน ทั้งกจิ ทต่ี อ งทาํ และกจิ ที่ควรทํา 69 71
หนาท่ี หมายถึง กิจท่ีตองทําหรือควรทํา เปนสิ่งที่กําหนดใหทําหรือหามมิใหกระทํา ถาทําก็จะ กอใหเกิดผลดี เกิดประโยชนตอตนเอง ครอบครัว หรือสังคมสวนรวมแลวแตกรณี ถาไมทําหรือไมละเวน การกระทําตามท่ีกาํ หนด จะไดร ับผลเสียโดยตรง คือ ไดรับโทษหรือถูกบังคับ เชน ปรับ จําคุก หรือประหารชีวิต เปนตน โดยทว่ั ไปสิ่งทร่ี ะบกุ ิจท่ีตองทาํ ไดแก กฎหมาย กิจท่ีควรทํา คือ สิ่งที่คนสวนใหญเห็นวาเปนหนาท่ีที่จะตองทําหรือละเวนการกระทํา ถาไมทําหรือ ละเวนการกระทําจะไดรับผลเสียโดยทางออม เชน ไดรับการดูหม่ินเหยียดหยาม หรือไมคบคาสมาคมดวย ผูกระทํากิจท่ีควรทําจะไดรับนับการยกยองสรรเสริญจากคนในสังคม โดยทั่วไปส่ิงท่ีระบุกิจท่ีควรทํา ไดแก วฒั นธรรมประเพณี พลเมืองดีมหี นาที่ตองปฏิบัตติ ามกฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวฒั นธรรมของชาติ คําสั่งสอน ของพอแม ครู อาจารย มีความสามัคคี เอื้อเฟอเผ่ือแผซึ่งกันและกัน รูจักรับผิดชอบช่ัวดีตามหลักจริยธรรม และหลักธรรมของศาสนา มีความรอบรู มีสติปญญา ขยันขันแข็ง สรางความเจริญกาวหนาใหแกตนเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติ ความสําคัญของการปฏบิ ตั ิตนเปนพลเมอื งดี การปฏบิ ัตติ นเปน พลเมืองดีของสังคม มคี วามสาํ คัญตอประเทศ เชน ๑. ทาํ ใหส ังคมและประเทศชาติมกี ารพฒั นาไปไดอยางม่นั คง ๒. ทําใหส งั คมมคี วามเปน ระเบียบเรยี บรอ ย ๓. ทําใหเกดิ ความรกั และความสามคั คใี นหมูค ณะ ๔. สมาชกิ ในสังคมอยูรว มกันอยา งมีความสขุ แนวทางการพัฒนาตนเองเพื่อเปนสมาชกิ ทีด่ ขี องครอบครัว โรงเรยี น และชุมชน แนวทางการพฒั นาตนเองเพื่อเปนสมาชิกท่ดี ี มีแนวทางปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี ๑. การเปน สมาชิกที่ดขี องครอบครัว ๒. การเปนสมาชกิ ท่ีดีของโรงเรียน ๓. การเปน สมาชิกท่ีดีของชุมชน คณุ ธรรมของการเปนพลเมอื งดี ๑. การเห็นแกประโยชนสวนรวม ๒. การมีระเบยี บวนิ ยั และรบั ผิดชอบตอ หนาท่ี ๓. รับฟงความคดิ เปนของกันและกันและเคารพในมติของเสยี งสวนมาก ๔. ความซอ่ื สตั ยส จุ รติ ๕. ความสามัคคี ๖. ความละอายและเกรงกลัวในการกระทาํ ชว่ั ๗. ความกลาหาญและเชอ่ื มน่ั ในตนเอง ๘. การสงเสริมใหค นดีปกครองบา นเมอื ง และควบคมุ คนไมด ีไมใหม อี าํ นาจ จรยิ ธรรมของการเปน พลเมืองดี คุณธรรม จริยธรรม หมายถึง ความดีที่ควรประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ คุณธรรม จริยธรรมทส่ี ง เสริมความเปน พลเมืองดี ไดแก 70 72
๑. ความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย หมายถึง การตระหนักในความสําคัญ ของความเปน ชาติไทย การยึดมนั่ ในหลักศลี ธรรมของศาสนา และการจงรกั ภกั ดตี อพระมหากษัตริย ๒. ความมีระเบียบวินัย หมายถึง การยึดม่ันในการอยูรวมกันโดยยึดระเบียบวินัย เพ่ือความ เปน ระเบียบเรียบรอ ยในสังคม ๓. ความกลา ทางจรยิ ธรรม หมายถงึ ความกลาหาญในทางที่ถกู ทีค่ วร ๔. ความรับผิดชอบ หมายถึง การยอมเสียผลประโยชนสวนตนเพ่ือผูอ่ืนหรือสังคมโดยรวม ไดร ับประโยชนจากการกระทําของตน ๕. การเสียสละ หมายถึง การยอมเสียผลประโยชนสวนตนเพ่ือผูอื่นหรือสังคมโดยรวมไดรับ ประโยชนจ ากการกระทําของตน ๖. การตรงตอเวลา หมายถึง การทาํ งานตรงตามเวลาทีไ่ ดรับมอบหมาย การสงเสรมิ ใหผ อู ืน่ ปฏบิ ตั ิตนเปนพลเมอื งดี การที่บุคคลปฏิบัติตนเปน พลเมืองดใี นวิถปี ระชาธิปไตยแลว ควรสนบั สนนุ สงเสริมใหบุคคลอื่น ปฏิบัติตนเปน พลเมอื งดีในวิถีประชาธิปไตยดว ย โดยมีแนวทางการปฏบิ ตั ิ ดังนี้ ๑. การปฏิบัติตนใหเปนพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตย โดยยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรมของ ศาสนาและหลักการของประชาธิปไตยมาใชใ นวิถีการดํารงชีวิตประจําวนั เพ่ือเปนแบบอยา งที่ดีแกค นรอบขาง ๒. เผยแพร อบรม หรือส่ังสอนบุคคลในครอบครัว เพ่ือนบาน คนในสังคม ใหใชหลักการทาง ประชาธิปไตย เปนพนื้ ฐานในการดํารงชวี ติ ประจาํ วัน ๓. สนับสนุนชุมชนในเร่ืองที่เก่ียวกับการปฏิบัติตนใหถูกตองตามกฎหมาย โดยการบอกเลา เขยี นบทความเผยแพรผ านสอ่ื มวลชน ๔. ชกั ชวนหรือสนบั สนุนคนดี มคี วามสามารถในการมีสวนรวมกับกิจกรรมทางการเมือง หรือ กิจกรรมสาธารณประโยชนของชุมชน ๕. เปน หเู ปน ตาใหก ับรัฐหรอื หนว ยงานของรัฐในการสนับสนุนคนดี และกําจัดคนที่เปนภัยกับ สังคม การสนับสนุนใหผูอ่ืนปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีในวิถีประชาธิปไตยควรเปนจิตสํานึกท่ีบุคคลพึงปฏิบัติ เพ่ือใหเกิดประชาธิปไตยอยางแทจ รงิ วทิ ยากรบรรยายและชแี้ จงวัตถปุ ระสงค 71 73
ใบความรทู ี่ ๓ กจิ กรรมฉีกกระดาษ กิจกรรมฉกี กระดาษ ๑. ครูใหลูกเสือนัง่ เปน วงกลมตามหมูสี ๒. ครแู จกกระดาษ A4 กลมุ ละหนงึ่ แผน ๓. ครใู หลกู เสอื ฉีกกระดาษแบง กนั คนละหนงึ่ ช้ินจากกระดาษท่ีแจกให โดยบอกวาใหสมาชิกภายในหมู มีกระดาษคนละหน่ึงชนิ้ ๔. ครูใหล กู เสอื ชว ยกันนํากระดาษทตี่ นเองถอื ตอเปน รูป ดังน้ี • ตนไม • ปลา • บา น • ภูเขา • ภาพอิสระตามทส่ี มาชกิ ภายในหมคู ดิ ๕. ครใู หลูกเสอื แตละหมูชว ยกนั สรุปวา ไดขอ คดิ อะไรจากการทาํ ครั้งนี้ ๖. ครูชวยเสริมความรูโดยเปรียบเทียบกับสิทธิ หนาท่ี ความเปนพลเมืองตามกฎหมาย คุณธรรม จริยธรรม และการนําไปใชใ นชวี ิตประจาํ วัน ตามจุดมงุ หมายของลกู เสือชอ สะอาด กจิ กรรมฉกี กระดาษ 72 74
ใบงานกิจกรรมที่ ๑ ลกู เสอื สํารองชอสะอาดกับการรูจักเคารพกฎหมาย “สิทธิ” ชือ่ หมู/กลมุ ............................... คาํ ช้แี จง ใหสมาชิกภายในหมูจ บั คูก นั แลวดาํ เนินการ ดงั ตอไปน้ี ๑. ใหผเู ขา รับการฝกอบรมอภปิ ราย เรอ่ื ง สิทธิ ๒. ใหผเู ขารับการฝกอบรมบนั ทกึ ลงในใบงานตามหัวขอ ทกี่ ําหนดให ๑. สทิ ธิ คือ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๒. สทิ ธพิ ื้นฐานสาํ หรบั เด็ก มีดงั น้ี ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 73 75
ใบงานกิจกรรมที่ ๒ ลกู เสอื สาํ รองชอสะอาดกบั การรูจ กั เคารพกฎหมาย “หนาท่ี” ชอื่ หมู/กลุม............................... คาํ ชแี้ จง ใหส มาชกิ ภายในหมูรว มกนั ดําเนินการ ดังตอ ไปน้ี ๑. ใหผูเขารับการฝก อบรมอภิปราย เรอ่ื ง หนา ท่ี ๒. ใหผเู ขารับการฝกอบรมบันทกึ ลงในใบงานตามหัวขอ ที่กําหนดให ๑. หนาท่ี คือ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๒. หนาท่ีของปวงชนชาวไทย มีดงั นี้ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ๓. คณุ ลักษณะพลเมืองที่ดขี องประเทศชาติและสงั คมโลก ประกอบไปดวย ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 74 76
แบบประเมนิ การปฏิบตั กิ จิ กรรม ช่อื วชิ า ลูกเสือสํารองชอ สะอาดกบั การรูจักเคารพกฎหมาย หมู............................... รายการประเมิน ระดบั คะแนน ๑. การแบงหนาทรี่ ับผิดชอบในกลมุ ๔ ๓๒๑ ๒. การวางแผนการทาํ งานรว มกัน ๓. การใหค วามรวมมือของสมาชกิ ๔. การยอมรบั ฟงความคดิ เห็นของผูอนื่ และการแสดงความคิดเห็น ๕. การแกปญ หาภายในกลุม รวม (ผลรวมทุกชอง) รวมเฉลยี่ คาเฉล่ยี คะแนนการประเมนิ ผลการบริหารโครงการ (คะแนนผลรวม ÷ ๕) = ........................ คะแนนเฉลยี่ ๓.๐๐ - ๔.๐๐ แสดงวา การดําเนินงานอยูในระดบั ดี คะแนนเฉลี่ย ๒.๐๐ - ๒.๙๙ แสดงวาการดําเนินงานอยใู นระดับ พอใช คะแนนเฉลยี่ ๑.๐๐ - ๑.๙๙ แสดงวาการดาํ เนนิ งานอยูใ นระดับ ปรับปรุง สรุปผลการประเมินกจิ กรรม ระดับดี ระดบั พอใช ระดับปรบั ปรงุ ลงชอื่ ………………………………..ผปู ระเมิน 75 77
ชื่อวิชา ลูกเสอื สาํ รองชอสะอาดกับการสรา งจิตอาสา (กิจกรรมบําเพ็ญประโยชน) บทเรยี นที่ ๗ เวลา ๙๐ นาที ขอบขา ยรายวชิ า ๑. จติ อาสา ๒. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ จุดมุงหมาย เพื่อใหลูกเสือสํารองมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ จิตอาสาตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ และยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐) วัตถปุ ระสงค เม่ือจบบทเรยี นน้ีแลว ลูกเสอื สํารองสามารถ ๑. บอกคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ ตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ได ๒. ระบุคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมของจิตอาสา ตามแผนยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและ ปราบปรามการทุจรติ ได ๓. ประพฤตปิ ฏิบัติตนใหเ ปน ประโยชนต อตนเอง ครอบครวั สงั คม และนําไปใชในชวี ติ ประจําวันได วธิ สี อน/กจิ กรรม ๑. นําเขาสูบทเรียนโดยการดูวีดิทัศน/เกม/รองเพลงเก่ียวกับคุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ เชน รักชาติ ความซื่อสัตย มีวินัย หนาท่ีเด็กไทย กฎลูกเสือ ๑๐ ขอ แลวแบงกลุมผูเขารับการฝกอบรมเปน ๘ กลุม (๓๐ นาที) ศึกษาใบความรูที่ ๑ ใหแตละหมูสงตัวแทนจับสลากวาจะไดปฏิบัติงานตามใบงานกิจกรรมท่ี ๑ หรอื ใบงานกจิ กรรมที่ ๒ ในเวลา ๑๐ นาที สงตัวแทนนําเสนอในเวลา ๓ นาที ๒. ใหแตละหมูปฏิบัติงานตามใบงานกิจกรรมท่ี ๓ คือ ชวยกันแตงนิทานเกี่ยวกับจิตอาสา (กิจกรรม บําเพ็ญประโยชน) โดยกําหนดเน้ือเรื่องใหมี ชายหนุม ๑ คน ชายแก ๑ คน หญิงแก ๒ คน เด็กชาย ๓ คน เดก็ หญงิ ๓ คน ลูกสนุ ัข ๓ ตวั (กลุมละ ๑๐ นาที) ตามใบงานกิจกรรมท่ี ๓ สื่อการสอน ๑. ใบความรูท ่ี ๑ คุณลกั ษณะอันพึงประสงคตามหลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒. ใบความรทู ่ี ๑ จิตสาธารณะ ๓. วดี ิทัศน เกม ๔. เพลงที่เกยี่ วกบั คุณลกั ษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ ๕. ใบงานกิจกรรมที่ ๑ - ๓ การประเมินผล ๑. วธิ กี ารวดั ผล : ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลมุ ๒. เครอ่ื งมือวดั ผล : แบบประเมนิ การปฏิบตั ิกิจกรรมกลุม ๓. เกณฑก ารประเมิน : มผี ลการประเมนิ ผา นเกณฑท ก่ี ําหนด เน้ือหาวชิ า คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ๘ ประการ จติ อาสา (การบําเพ็ญประโยชน) 76 78
ใบความรทู ่ี ๑ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค ๘ ประการ คุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ระบุ ดงั นี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย ๒. ซื่อสตั ยส ุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝเรียนรู ๕. อยอู ยา งพอเพยี ง ๖. มงุ มนั่ ในการทาํ งาน ๗. รกั ความเปน ไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. รักชาติ ศาสน กษตั รยิ ๑.๑ รักชาติ คําวา ชาติ หมายถงึ ประเทศและแผนดินท่ีมีประชาชนยึดครอง มีเขตแดนหรืออาณาเขต ที่แนนอน มีการปกครองเปนสัดสวน มีผูนําเปนผูปกครองประเทศและประชาชนท้ังหมดดวยกฎหมายท่ี ประชาชนในชาติน้ัน ๆ กําหนดขึ้น เชน ประเทศไทย เปนประเทศท่ีมีอาณาเขต มีเน้ือที่ประมาณ ๕๑๓,๑๑๕ ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณกวา ๖๔ ลานคน (พ.ศ. ๒๕๕๗) มีการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีศาสนาพุทธเปนศาสนาประจําชาติ มีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มและจารีตประเพณีเปนเอกลักษณประจําชาติของตนเอง สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษเปนเวลา ยาวนาน ผูที่จะมีความรักชาติไดนั้น ตองมีคุณธรรมประจํากาย วาจา ใจ คือ ความกตัญู กตเวที หมายถึงผูที่ รูค ณุ ของแผนดินแลวตอบแทนคุณแผนดิน ดังน้ัน เราตองรักชาติ คําวา รักชาติ หมายถึงตองรักษาแผนดินไทย อันเปนแผนดินเกิด ที่บรรพบุรุษของไทยมีความทุกขยากลําบาก ตองเสียสละเลือดเนื้อและชีวิตเพ่ือปกปอง รักษาไวใหลกู หลานไทยไดมีแผน ดนิ อยอู าศยั มาจนถึงปจจุบันน้ี เพราะฉะน้ัน ทุกคนตองรักชาติ ชวยกันปกปอง รักษาชาตไิ วไ มใ หอริราชศัตรูมารุกราน หรือมาทํารายทําลายดวยประการใด ๆ ก็ตาม ตองตอสูปองกันแผนดิน นี้ไวดวยเลือดเนื้อและชีวิต เพื่อใหลูกหลานไดอยูอาศัยตอไป ตองทํานุบํารุงสรางชาติบานเมืองใหเจริญรุงเรือง ใหอ ยูรวมกันดว ยความสงบสุขสืบไป นี้คือ ผูท่รี ักชาติ ผทู ีไ่ มรกั ชาติ หมายถงึ ผทู ไ่ี มม ีคณุ ธรรม ความกตญั ู กตเวที ประจํากาย วาจา ใจ เนรคุณตอชาติ เชน ขายชาติ ทรยศตอชาติ เปนไสศึกใหอริราชศัตรูเขามาทํารายทําลายแลวยึดครองประเทศชาติ สราง ความแตกแยกใหคนในชาติ นําความเส่ือมเสยี มาใหประเทศชาติบา นเมือง นีค้ อื ผทู ่ีไมรกั ชาติ ๑.๒ รกั ศาสนา คําวา ศาสนา หมายถึง คําสอนขององคพระศาสดาแตละพระองค เชน • ศาสนาครสิ ต คือ คาํ สอนของพระเยซเู จา • ศาสนาอิสลาม คือ คําสอนของพระอัลลอฮ มีศาสดาชื่อมุฮัมมัด นับถือพระเจาองคเดียว คือ พระอลั ลอฮ • ศาสนาพทุ ธ คือ คําสอนขององคสมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจา 77 79
• ศาสนาอ่ืน ๆ ก็คือ คําสอนขององคศาสดาแตละพระองคตามศาสนาหรือลัทธิความเช่ือ ของศาสนานั้น ๆ ศาสนามีไวเ พ่อื อะไร • ศาสนาทกุ ศาสนามีไวเพื่อสอนใหม นษุ ยล ะชัว่ ประพฤติดี • ศาสนาพุทธ มีไวเพ่ือสอนใหมนุษยละชั่ว ทางกาย วาจา ใจ ใหประพฤติแตความดี ดวยกาย วาจา ใจ แลว ชาํ ระจติ ใจใหสะอาดบริสุทธิ์จากกิเลสทั้งสามอยาง คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ทคี่ รอบงาํ จติ ใจใหห มดสิน้ ไป หลักของพระพุทธศาสนามีอะไรบาง หลักของพระพุทธศาสนา มีไวเพ่ือใหพุทธศาสนิกชนปฏิบัติตาม โดยแบงลาํ ดบั ขนั้ จากระดับตน ถงึ ระดับสูง คือ ทาน ศีล สมาธิ และปญ ญา ทาน คอื การให แบงได ๔ ประเภท ดงั น้ี ๑. อามิสทาน คือ การใหทรัพยสินเงินทองแกผูท่ีควรให เชน พระภิกษุ สามเณร พอแม ครู อาจารย ผยู ากจน และผดู อ ยโอกาส เปนตน (ใหดว ยความบรสิ ุทธใิ์ จ ไมห วังสง่ิ ตอบแทนใด ๆ) ๒. วิทยาทาน คือ การใหวิชาความรูตาง ๆ แกผูอ่ืนโดยไมหวังสิ่งตอบแทนใด เพื่อใหสามารถ นําไปประกอบอาชีพเลย้ี งตนเองและครอบครวั (ใหว ทิ ยาทานดวยความบริสทุ ธ์ใิ จ) ๓. อภัยทาน คือ การใหอภัยสําหรับผูท่ีมีความประพฤติผิดพลาดบางคร้ังบางโอกาส ดวยเหตุ ใด ๆ ก็ตาม เราควรใหอภัย ไมถือโทษโกรธเคือง ไมอาฆาตพยาบาทปองราย (ใหอภัยดวยความบริสุทธ์ิใจ เพือ่ ใหเขามโี อกาสกลับตัวกลับใจเปนคนดตี อ ไป) ๔. ธรรมทาน คือ การใหพระธรรมคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาแกผูอ่ืน เพื่อให ละเวนจากการทําความช่ัว แลวทําความดีดวยกาย วาจา ใจ และชําระจิตใจใหสะอาดบริสุทธ์ิจากกิเลสทั้ง สามอยาง คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ใหหมดไปจากจิตใจ ใหธรรมะเปนทานเหนือการใหสิ่งใด ๆ (ใหธ รรมทาน ดว ยความบริสทุ ธ์ใิ จ ไมหวงั ส่งิ ตอบแทนใด ๆ) ศีล คือ ของดเวนจากการทําชั่วทางกาย วาจา (ไมคลุมถึงใจ ตองมีคุณธรรมประจําใจ) ผูใดงดเวนจาก การทําความช่ัวไดมาก กาย วาจา ก็จะสะอาดปราศจากความช่ัว สวนผูใดทําผิดศีลมาก กาย วาจา ก็จะมีมลทิน มัวหมอง ไมบ ริสทุ ธิ์ แลว แตผูใดจะนําศีล หมวดใดมารกั ษากาย วาจา ใหสมควรแกต น ดงั นี้ ศีล ๕ (สําหรับพทุ ธศาสนิกชนท่ัวไป) ศลี ๘ (สําหรับ อุบาสก อุบาสกิ า) ศีล ๑๐ (สําหรับสามเณร) ศีล ๒๒๗ (สําหรับพระภิกษุ) ในทน่ี จ้ี ะขออธิบายถึง ศีล ๕ และธรรม ๕ ประการเทา น้นั ซ่งึ มีรายละเอียด ดงั น้ี ศีลขอ ท่ี ๑ ปาณาตปิ าตา เวระมณสี ิกขาปะทัง สะมาทยิ ามิ หา มฆา สัตว หามทรมานสตั ว หามเบียดเบียนสัตว ธรรมประกอบศีลขอที่ ๑ มเี มตตา คอื ความรกั มกี รณุ า คือ ความสงสาร ศีลขอ ท่ี ๒ อะทนิ นาทานา เวระมณสี ิกขาปะทงั สะมาทิยามิ หามลักทรัพยข องผอู นื่ มาเปน ของตน ธรรมประกอบศลี ขอที่ ๒ มสี ัมมาอาชวี ะ ประกอบอาชพี สจุ รติ 78 80
ศลี ขอท่ี ๓ กาเมสมุ ิจฉาจารา เวระมณีสิกขาปะทัง สะมาทยิ ามิ หามประพฤติผดิ ในกาม หา มเปนชสู สู มกบั สามีหรือภรรยาผอู ื่น ธรรมประกอบศีลขอ ที่ ๓ มคี วามสาํ รวมในกาม พอใจในคคู รองของตน ศลี ขอที่ ๔ มุสาวาทา เวระมณสี ิกขาปะทงั สะมาทิยามิ หา มพดู เท็จ หลอกลวง หามพูดสอเสยี ด พดู เพอเจอ พูดคําหยาบ ธรรมประกอบศีลขอ ท่ี ๔ มีสจั จะ พดู แตค วามจรงิ พดู เรื่องทดี่ ีมปี ระโยชน ศีลขอ ท่ี ๕ สรุ าเมระยะมชั ชะ ปะมาทฎั ฐานา เวระมณีสิกขาปะทงั สะมาทยิ ามิ หา มด่มื สุรา เครอ่ื งดองของเมา หรอื เสพยาเสพตดิ ใหโทษตาง ๆ ธรรมประกอบศลี ขอ ที่ ๕ มสี ตอิ นั รอบคอบ ระลกึ รผู ิดชอบ ชั่วดี สมาธิ หมายถึง การทําจิตใหสงบ มั่นคง อยูที่ใดที่หน่ึง จิตเปนนามธรรมมีหนาท่ีคิด เหตุท่ีองคสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงสอนใหฝกสมาธิ เพราะพระองคทานรูวาตามธรรมชาติจิตใจของมนุษยมีกิเลส ความโลภ ความโกรธ ความหลง เปนเครื่องปรุงแตงจิตใหฟุงซานอยูตลอดเวลา พระองคทานจึงทรงหาอุบายให ใชสติควบคุมจิตใหสงบ โดยการฝกสมาธิ แลวนํามาพิจารณาไตรตรองคําสอน จนเกิดปญญา ปญญา คือ ความรู หรอื ความรอบรู ทีไ่ ดมาจากการศกึ ษามอี ยู ๒ อยางดว ยกัน คือ ปญ ญาทางโลก และปญญาทางธรรม ๑. ปญ ญาทางโลก คอื การศึกษาหาความรูจากโรงเรียน หรือสถานศึกษาตาง ๆ ท่ีเปนรูปธรรม ท่ีสัมผัสได เชน การเรียนรูเร่ืองตนไม พืชชนิดตาง ๆ การเรียนรู ดิน ฟา อากาศ หรือเชื้อโรค การเรียนรูเรื่อง ชางฝมือและศิลปะ เปนตน เพ่ือนํามาประกอบอาชีพเล้ียงตนเองและครอบครัว หรือสรางความเจริญรุงเรือง ใหกับประเทศชาติบานเมือง ถาทานไดศึกษาอยางละเอียดในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง ทานก็จะเปนผูมีความรู ความชํานาญ ในเร่ืองน้ัน ๆ ท่ีทางโลกเรียกวาเปนผูเช่ียวชาญท่ีมีความชํานาญ ในแตละสาขาอาชีพ นี้คือ ปญ ญาทางโลก ๒. ปญญาทางธรรม คือ การเรียนรูจากคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ซึ่งพระองค ทรงสอนใหเ รารูจ กั ตวั เองวา อะไรเปนรูป อะไรเปนนาม เชน ตัวตนของเรา ประกอบไปดวย ธาตุ ๔ (ดิน นํ้า ลม ไฟ) ขนั ธ ๕ (รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ) พระผมู ีพระภาคเจาตรัสรูแ จง เหน็ จริง ทั้งอดตี ปจ จุบัน และอนาคต จึงทรงวางหลักพระพุทธศาสนาไว ๔ ประการ คือ ทาน ศีล สมาธิ ปญญา เพื่อใหมนุษยไดประพฤติปฏิบัติตาม พระองคทานตรัสสอนใหมนุษย ใหทาน นําศีลมารักษา กาย วาจา เจริญสมาธิและวิปสสนาเพ่ือใหเกิดปญญา จะไดมีคุณสมบัติท้ัง ๔ ประการ ติดตวั ตามตนไปในชาติหนาหรอื ชาตติ อ ๆ ไป เมื่อไปเกิดเปน มนุษยอกี จะสง ผลใหม ีฐานะราํ่ รวย มีรูปรางหนาตา สวยงาม และมปี ญ ญาดี อันจะเก้ือหนุน เอื้ออํานวยใหสามารถปฏิบัติธรรมในขั้นสูงขึ้นไป จนรูแจงเห็นจริงตาม พระองคทาน เราตองรักและเคารพนับถือบูชาพุทธศาสนา เพราะพระพุทธเจาทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ พระบรสิ ุทธคิ ุณ พระปญญาธิคุณ หมายถึง พระพุทธองคทรงมีความสงสารสรรพสัตวท้ังโลกดวยความบริสุทธิ์ใจ และมีปญญาเปนเลิศ รูแจงเห็นจริงในสัจธรรม พระพุทธองคจึงมีคําสอนมากมายถึง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ เพ่ือเปนอุบายใหมนุษยนํามาประพฤติปฏิบัติตาม ใหทุกคนเปนคนดี มีความเปนอยูอยางสุขสบาย ถาผูใด ประพฤติปฏิบัติตามจนกิเลส ความโลภ ความโกรธ ความหลงหมดไปจากจิตใจ เขาสูแดนวิมุตหลุดพน ไมตอง มาเวียนวา ย ตาย เกดิ อีกตอ ไป ผูที่รักศาสนา ตองมีคุณธรรมประจํากาย วาจา ใจ คือ มีความกตัญู กตเวที ตอพระองคทาน โดย การประพฤติปฏบิ ตั ิตามพระธรรมคําสอนดวยความบรสิ ทุ ธ์ใิ จ เพื่อใหรูแจงเห็นจริงในสัจธรรมตามพระองคทาน แลวนาํ คาํ สอนทีร่ ตู ามไปสอนใหผูอื่น ละชัว่ ประพฤติดี และชําระจิตใจใหสะอาดปราศจากเครื่องเศราหมอง คือ 79 81
ความโลภ ความโกรธ ความหลง เราจึงตองเคารพนับถือบูชาพระพุทธศาสนา และทํานุบํารุงใหเจริญรุงเรือง สบื ตอ ไป น้ีคอื ผูท ร่ี กั ศาสนา ผูที่ไมรักศาสนา หมายถึง ผูที่ไมรักเคารพนับถือบูชาพุทธศาสนาและพระพุทธเจา ไมประพฤติปฏิบัติ ตามพระธรรมคําสอนของพระองคทาน ไมละชั่วประพฤติดี ไมชําระจิตใจใหสะอาดปราศจากกิเลส ปลอยให ความโลภ ความโกรธ ความหลง ครอบงําจิตใจ ไมมีการใหทาน ไมนําศีลและธรรมมารักษา กาย วาจา ใจ ใหสะอาด ไมเจริญสมาธิเพื่อใหจิตสงบ ไมวิปสสนา คือ ไมนําพระธรรมคําสอนมาพิจารณาเพ่ือใหเกิดปญญา ท่ีจะเอาชนะกิเลสท้ัง ๓ อยางได จึงเปนผูท่ีมีความโลภ คือ มีความอยากไดไมมีที่สิ้นสุด มีความโกรธ คือ ความไมพอใจ ความอาฆาต พยาบาท ปองราย มีความหลง คือ ความเขาใจผิด มีความรักใครพอใจในส่ิงตาง ๆ คิดวาจะเปนสุข แทที่จริงแลวความโลภ ความโกรธ ความหลง ลวนแลวแตเปนเหตุของการเกิดทุกขท้ังส้ิน ไมเคารพนับถือ เหยียบย่ําทําลายและอาศัยศาสนาหากินใหเกิดความเส่ือมเสีย ตอตานหรือบิดเบือนคําสอนของ พระพุทธองค ใหพุทธศาสนิกชนเกิดความเสื่อมศรัทธาตอพระพุทธศาสนาเปนอยางย่ิง น้ีคือ ผูที่เนรคุณ ไมรัก ไมน ับถือในพุทธศาสนา ๑.๓ รักพระมหากษัตริย คําวา พระมหากษัตริย หมายถึง พระเจาแผนดินผูเปนพระประมุข (ผูเปน ใหญ) ของประเทศ มีหนาท่ีปกครองประชาชนพลเมืองในประเทศน้ัน ๆ ใหอยูดีมีสุขตามกฎหมาย ตามทํานอง คลองธรรม จารีตประเพณีวัฒนธรรมของชาตินั้น ๆ เชน ประเทศไทยมีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เปนพระประมขุ ทรงปกครองแผนดินโดยธรรม เพือ่ ประโยชนส ุขแหง มหาชนชาวสยาม ตามทศพธิ ราชธรรม ทศพธิ ราชธรรม หมายถงึ จริยาวตั รทพ่ี ระเจาแผน ดินทรงประพฤติเปนหลักธรรมประจําพระองค หรือ คุณธรรมผปู กครองบา นเมืองทด่ี ี มี ๑๐ ประการ ดงั น้ี ๑. ทาน คอื การให ใหเปนประจําเปนปกติ เชน ใหอามิสทาน ใหวิทยาทาน ใหอภัยทานและ ใหธรรมทาน ๒. ศลี คอื การรักษา กาย วาจา ใหเ รยี บรอย หมายถึง การงดเวนจากการทําความช่ัวทางกาย ทางวาจา ๓. บริจาค คือ ความเสียสละ หมายถึง การสละทรัพยสินเงินทองเปนบางคร้ังบางคราว เม่ือมีความจําเปน เชน บริจาคเงนิ สรางสาธารณประโยชน หรือบรจิ าคเงินชว ยเหลือผูประสบภัย ๔. อาชชวะ คือ ความซื่อตรง หมายถึง ประพฤติตรงไมเอนเอียงไปฝายใดฝายหน่ึง เชน ซื่อตรงตอ หนา ท่ี ซอ่ื ตรงตอ ตนเอง ไมทจุ ริตคดโกง ๕. มัททวะ คอื ความออ นโยน หมายถึง มกี ิรยิ าวาจานมุ นวล ๖. ตบะ คือ การขมกิเลส หมายถึง ระงับยับยั้งกิเลสไว ไมยอมเปนทาสของความโลภ ความโกรธ ความหลง ๗. อักโกธะ คือ ความไมโกรธ หมายถึง การใหอภัย ไมถือโทษโกรธเคือง ไมอาฆาตพยาบาท ปองรา ย ๘. อวิหิงสา คือ ความไมเบียดเบียน หมายถึง การมีจิตใจโอบออมอารี ชวยเหลือเผื่อแผ ไมส รา งความทกุ ข ความเดือดรอนใหกับผใู ด ๙. ขันติ คือ ความอดทน หมายถึง อดทนตอความเหนื่อยยากลําบาก ทั้งกาย ท้ังใจ เพ่อื ประโยชนของสว นรวม และประเทศชาติบานเมอื ง ๑๐.อวิโรธนะ คือ ความไมคลาดเคลื่อนจากธรรม หมายถึง ความไมประมาท ประพฤติปฏิบัติ ถูกตอ งตามครรลองคลองธรรม 80 82
ในปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงเปนพระมหากษัตริย ผูประเสรฐิ ยง่ิ ซ่งึ พระองคทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ ทรงมีเมตตา กรุณา ตอพสกนิกรชาวไทยอยางหาท่ีสุดมิได ทรงปกครองแผนดินโดยธรรมเพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม ทรงยึดหลักทศพิธราชธรรม นําแนว พระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตของปวงชนชาวไทย นําความเจริญรุงเรือง ความผาสุกมาสูพสกนิกรถวนหนา นอกจากนั้น พระองคทานทรงพระปรีชาสามารถจนเกียรติประวัติเล่ืองลือ ไกลหาท่ีสุดมิได เปนที่ประจักษแกนานาอารยประเทศท่ัวโลก นําช่ือเสียงเกียรติยศ มาสูประเทศไทยอยาง ยง่ิ ใหญ ผูท่ีจะรักพระมหากษัตริยได ตองมีคุณธรรมประจํากาย วาจา ใจ คือ ความกตัญู กตเวที รูคุณและ ตอบแทนบุญคณุ ของพระองคท าน ดวยชีวติ จติ ใจท่ีบริสทุ ธ์ิ เพราะฉะน้นั ตองรักพระมหากษัตริย นับวาชาวไทย ทกุ คนมีความภาคภูมิใจที่ไดเกิดมาใตรมพระโพธิสมภาร มีความเปนอยูอยางรมเย็นเปนสุข มีความรูรักสามัคคี กลมเกลียว รวมนํ้าใจไทยทั้งชาติใหเปนน้ําหน่ึงใจเดียว ประพฤติตนเปนคนดี เพ่ือถวายเปนพระราชกุศล และ ถวายความจงรักภักดี ปกปอ งพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ฯ และราชบัลลังก นีค้ อื ผทู ีร่ ักพระมหากษตั รยิ ผูที่ไมรักพระมหากษัตริย หมายถึง ผูท่ีไมมีความจงรักภักดี ไมมีความเคารพนับถือตอสถาบัน พระมหากษัตริย คิดทํารายทําลาย จาบจวงลวงละเมิด หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ และยุยงสงเสริมใหผูอื่น ทําตาม รวมไปถึงเจาหนาท่ีบานเมือง เจาหนาท่ีของรัฐ ขาราชการทหาร ตํารวจ บางคน ที่มีหนาที่รับผิดชอบ แตกลับปลอยปละละเลย ไมดําเนินการยับยั้งหรือปราบปรามจับกุมผูกระทําผิดดังกลาว และยังปลอยใหมี ขบวนการเพ่อื ลมลา งสถาบันพระมหากษตั ริยดําเนินการอยางตอเนื่อง โดยเพียงเพ่ือใหกลุมบุคคลบางกลุมหรือ กลุมของตนเอง ไดผลประโยชนและมอี าํ นาจโดยมชิ อบธรรม ไมปกปอ งสถาบันพระมหากษัตริยและราชบัลลังก ดังที่ไดกลา วถวายคําสัตยปฏิญาณไว เพราะขาดคุณธรรม คือ ไมมีสัจจะ ไมมีความกตัญูกตเวที ไมรูคุณ และ ยงั เนรคุณตอพระองคท าน น้คี อื ผูท ไ่ี มจ งรกั ภกั ดีตอ สถาบนั พระมหากษัตริย สถาบนั ทง้ั ๓ สถาบันนี้ มบี ุญคณุ อยางใหญหลวง เชน ชาติ คือ แผนดินท่ีอยูอาศัย ศาสนา คือ คําสอน ของพระพุทธเจา สอนใหเปนคนดี พระมหากษัตริย คือ ผูปกครองบานเมืองโดยธรรม เพ่ือความสงบสุขของ พสกนิกรชาวไทย ตองรกั ชาติ รกั ศาสนา รกั พระมหากษัตรยิ ดว ยใจอนั บริสุทธ์ิ จะไดอยูรวมกันอยางรมเยน็ เปนสขุ ผูที่ไมรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ดูหม่ินเหยียดหยาม เหยียบยํ่าทําลาย ประณามใหเกิด ความเส่ือมเสียแกชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนคนชวั่ จะอยอู ยา งทกุ ขท รมานตลอดไป ๒. ซ่อื สตั ยส จุ รติ ความซื่อสัตยสุจริต หมายถึง ผูท่ีมีความประพฤติตรงตอเวลา ตอหนาที่ และตอวิชาชีพ มีความจริงใจ ไมมีความลําเอียง ไมทุจริตคดโกง ท้ังทางตรงและทางออม รูหนาท่ีการงานของตนเอง ปฏิบัติเต็มกําลัง ความสามารถ ดวยความบริสทุ ธิ์ใจ ผูทจี่ ะมีความซ่ือสัตยส ุจรติ ได ตอ งมคี ณุ ธรรมประจาํ กาย วาจา ใจ คอื ๑. มีสัจจะ หมายถึง การคิด การพูด การทําแตความจริง ผูที่มีสัจจะ คือผูท่ีมีความจริงใจ ซื่อสัตยตอ ตนเองและผูอื่น เชน จะคิด จะพูด จะทํา ส่ิงใดก็ตองทําส่ิงน้ันใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี ส่ิงนั้นตองเปนความจริง มีประโยชนกับตนเอง ผูอื่น และสวนรวม จะประกอบกิจการใด ๆ ก็มีความจริงจัง จริงใจตอเนื่อง มีความ ซ่อื ตรงตอ เวลาตอหนาท่ี มคี วามซอื่ สตั ยสุจริต ไมทจุ ริตคดโกงทั้งทางตรงและทางออม มีความประพฤติดี ท้ังกาย วาจา ใจ ไมส รางความเดอื ดรอ นใหกับตนเอง ผอู น่ื องคกร สังคม และประเทศชาติบา นเมือง ๒. มีความเปนธรรม หมายถึง มีใจเปนกลาง มีความเปนธรรม เปนผูท่ีรูเหตุ รูผล รูผิด รูถูก รูช่ัว รูดี เขาใจในธรรมชาติของมนุษย ยอมทําถูกบาง ผิดบาง เพราะมีสติปญญาแตกตางกัน ผูที่มีใจเปนกลาง ตองสงเสริม สนับสนุนผูที่ทําถูกทําดีแลวใหเจริญรุงเรืองตอไป และใหโอกาสผูที่ทําผิดทําช่ัว โดยชวยอบรมส่ังสอนให 81 83
ปรับปรุงแกไขตนเอง ใหละชั่วประพฤติดี ใครผิดก็วาไปตามผิด ใครถูกก็วาไปตามถูก น้ีคือ คุณสมบัติของผูท่ีมี คณุ ธรรมประจําใจ คือความเปนธรรม ๓. ไมมีอคติ หมายถึง ไมมีความลําเอียงเขาขางใดขางหนึ่ง มี ๔ ประการ คือ ไมลําเอียงเพราะรัก ไมล ําเอยี งเพราะเกลียด ไมลาํ เอยี งเพราะกลัว และไมล าํ เอียงเพราะโงเขลา • ไมลําเอียงเพราะรัก หมายถึง คนท่ีเรารักทําความผิด ก็ตองตัดสินวาผิด คนท่ีเรารัก ทาํ ถกู เรากต็ ัดสนิ วาถูก เพราะมคี วามซือ่ สตั ยต อ ตนเองและผูอ ื่น • ไมลําเอียงเพราะเกลียด คนท่ีเราเกลียดทําถูก เราตองตัดสินวาถูก คนท่ีเราเกลียดทําผิด เรากต็ อ งตัดสนิ วา ผดิ เพราะมีความซ่อื สัตยต อตนเองและผูอ่นื • ไมลาํ เอยี งเพราะกลัว ผูที่มีอํานาจทําผิด เราก็ตองตัดสินวาผิด ผูท่ีมีอํานาจ มีอิทธิพลทําถูก เรากต็ องตัดสินวา ถูก เพราะมคี วามซือ่ สัตยตอตนเองและผูอ่นื ไมเกรงกลัวอาํ นาจอทิ ธพิ ลใด ๆ • ไมลําเอียงเพราะโงเขลา ผูใดท่ีกระทําความผิด เราตองใชสติปญญาพิจารณาใหรอบคอบ ไมห เู บาเชือ่ คนงาย ไมต ดั สินคดีความดวยความโงเขลาเบาปญญา ตองมีความเปนธรรม เปนกลาง และซ่ือสัตย ตอ ตนเองและหนา ทีข่ องตน ผูที่มีคุณธรรมดังท่ีกลาวมาแลวน้ี คือ มีสัจจะ การคิด การพูด การทําแตความจริง มีความเปนธรรม คือ มีใจเปนกลาง ไมมีอคติ คือ ไมลําเอียงเขาขางใดขางหน่ึง ผูท่ีมีคุณธรรมท้ัง ๓ อยางนี้ จะเปนผูที่มี ความซ่ือสัตยตอ ตนเอง ตอ ผอู นื่ ตอหนา ทกี่ ารงาน ตอ องคก ร ตอสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ผทู ี่มีอคติ คือ มีความลําเอียงหรือเอนเอียงเขาขางใดขางหน่ึง ไมมีความเปนธรรม ไมมีความเปนกลาง มดี ังนี้ • ลําเอียงเพราะรกั คอื คนทตี่ นรักทาํ ผิด ก็ตดั สินวา ถกู • ลําเอยี งเพราะเกลียด คอื คนที่ตนเกลยี ดทาํ ถกู ก็ตัดสินวาผดิ • ลาํ เอยี งเพราะกลัว คือ ผทู ี่มอี ํานาจมีอิทธิพลทาํ ความผิด กต็ ัดสินวาถกู • ลําเอียงเพราะโงเขลา คือ จะตัดสินปญหาใด ๆ ก็ผิด เพราะเปนคนหูเบาเชื่อคนงาย ไมมี สตปิ ญ ญา ไมมคี ุณธรรม ตัดสินปญหาตาง ๆ ดวยอารมณ ไมมีเหตุผล ไมมีความซ่ือสัตยตออาชีพ หนาท่ีการงาน ไมมีความจริงใจตอตนเองและผูอ่ืน ทําใหสังคมเส่ือมโทรม ไมควรเคารพนับถือ ไมควรคบคาสมาคม น้ีคือ ผทู ่ีขาดคุณธรรมทัง้ ๓ อยา ง ๓. มีวนิ ยั มีวนิ ัย หมายถึงผูท ่ปี ฏบิ ัตติ นในขอบเขต กฎระเบียบทต่ี ง้ั ไวใ หปฏบิ ัติตาม เชน วินยั ของพระพุทธศาสนา ของสถาบัน องคกร สังคม และประเทศ โดยท่ีตนเองยินดีปฏิบัติตามอยางเต็มใจ และต้ังใจยึดม่ันในระเบียบ แบบแผนขอบังคับและขอปฏิบัติ รวมถึงการมีวินัยทั้งตอตนเองและสังคม วินัย คือ ขอบังคับใหปฏิบัติตาม ระเบยี บแบบแผน ทีส่ ถาบนั และองคก รตา ง ๆ ไดกําหนดไว ผทู จี่ ะมีวนิ ยั ไดน้นั ตองมคี ณุ ธรรมประจํา กาย วาจา ใจ ตองปฏิบัติตามคําสอนของพระผูมีพระภาคเจา คอื สุจริต ๓ ไดแก ๑. กายกรรม ๓ หมายถึง การประพฤตชิ อบทางกาย เรยี กวา “กายสจุ ริต” คอื • เวน จากการฆาสัตว • เวน จากการลักทรพั ย • เวน จากการประพฤตผิ ิดในกาม (เปนชูกับสามภี รรยาผอู ืน่ ) 82 84
๒. วจีกรรม ๔ หมายถงึ การประพฤตชิ อบทางวาจา เรียกวา “วจีสจุ รติ ” คือ • เวนจากการพูดเท็จ (โกหกหลอกลวง) • เวนจากการพดู สอ เสียด • เวน จากการพูดคําหยาบ • เวนจากการพดู เพอเจอ ๓. มโนกรรม ๓ หมายถึง การประพฤติชอบทางใจ เรียกวา “มโนสุจรติ ” คือ • ใจไมคิดโลภอยากไดข องผูอ ่ืน • ใจไมอ าฆาตพยาบาทปองรายผอู น่ื • ใจมีความเห็นชอบตามทาํ นองคลองธรรม ผูท่ีมีคุณธรรมทั้ง ๓ อยางนี้ เปนคุณธรรมที่สรางใหผูน้ันมีนิสัยท่ีดี มีระเบียบวินัยประจํากาย วาจา ใจ จะไมประพฤตผิ ิด ทางกาย ทางวาจา ทางใจ เรียกวาเปนผูที่มีกาย วาจา ใจ อันบริสุทธ์ิ เม่ือมีความบริสุทธ์ิแลว จะไปอยู ณ ท่ีใด สถานศึกษา สถาบัน องคกร สังคม และประเทศใด ๆ ในโลกนี้ สามารถปฏิบัติตามขอบเขต กฎระเบียบแบบแผน ขอบังคับอยางเต็มใจ และต้ังใจปฏิบัติอยางจริงใจ จริงจัง และตอเนื่องไดอยางสมบูรณ เพราะมีคุณธรรมประจําใจ ซ่ึงตางกบั ผทู ี่ขาดคุณธรรมทง้ั ๓ อยา ง คอื ๑. ประพฤติผิดทางกาย คือ ฆาสัตว ลักทรัพย หรือทุจริตคดโกง ประพฤติผิดในกาม (เปนชูกับสามี ภรรยาผอู ่นื ) ๒. ประพฤตผิ ดิ ทางวาจา คอื พูดเทจ็ โกหก หลอกลวง พดู สอ เสยี ด พูดคําหยาบ และพูดเพอ เจอ ๓. ประพฤติผดิ ทางใจ คอื ใจคิดโลภอยากไดข องผอู ื่น ใจคดิ อาฆาตพยาบาทปองรายผูอื่น ใจมีความคิด เหน็ ผดิ จากครรลองคลองธรรม ไมม คี ุณธรรมประจําใจ จึงเปนผทู ขี่ าดระเบียบวินยั ยอ มทําผิด คิดชั่วไดทุกอยาง บุคคลเหลาน้ีจะไปอยูในสถานศึกษา สถาบัน องคกร สังคม ประเทศใด ก็ไมสามารถประพฤติตนใหอยูใน ระเบียบวินัยของสถาบันนั้น ๆ ได ไมเต็มใจที่จะปฏิบัติตาม และไมตั้งใจที่จะยึดมั่นในระเบียบ แบบแผน ขอบังคับ มีการทําผิดระเบียบวินัยอยูเสมอ ดังที่ไดปรากฏแลวในสังคมปจจุบัน น้ีคือ ผูท่ีไมมีคุณธรรมทั้ง ๓ อยาง ประจําใจน่นั เอง ตัวอยางเชน ลูกเสือที่ไดรับการอบรมส่ังสอน และศึกษาพระธรรมคําสอนของพระผูมีพระภาคเจา แลว ปฏบิ ตั ติ าม จึงมีคุณธรรมประจาํ ใจ คอื ๑. มีความประพฤติดีทางกาย คือ ไมฆาสัตว นับตั้งแตมนุษยและสัตวทุกชนิด ไมลักขโมยทรัพยของ ผูอ ื่นมาเปนของตน ไมมเี พศสัมพนั ธก อ นวยั อนั ควรหรอื ขณะอยใู นวยั เรียน ๒. มีความประพฤติดที างวาจา คือ ไมพูดเท็จ ไมพูดสอเสียดใหผูอื่นเสียใจ ไมพูดคําหยาบ คําไมสุภาพ ไมพูดเพอเจอ เรื่องไรสาระ ๓. ไมประพฤติผิดทางใจ คือ ใจไมคิดโลภอยากไดของผูอ่ืนมาเปนของตน ใจไมคิดอิจฉาริษยา อาฆาต พยาบาท ปองรายผูอื่น ใจมีความคิดเห็นถูกตองตามทํานองคลองธรรม ถูกกฎหมาย ถูกจารีตประเพณี วัฒนธรรมไทย เพราะฉะน้ัน จะตองสรางวินัยใหเกิดข้ึนกับตนเองเสียกอน คือ หามทําผิดทางกาย วาจา ใจ โดยนํา คําสอนของพระผมู ีพระภาคเจา ทัง้ ๓ อยาง ดงั ที่ไดกลา วมาแลว มาปฏบิ ตั ิตามใหไดผล คือ สามารถควบคุมกาย วาจา ใจ ไมใ หคดิ ช่วั พูดชั่ว ทําชัว่ ใหเ ปน ผูท ีม่ ีความคิดดี พดู ดี ทําดี จึงเรียกไดว า เปนผูมรี ะเบยี บวินยั ดี 83 85
๔. ใฝเรียนรู ใฝเรียนรู หมายถึง ผูท่ีต้ังใจศึกษาหาความรู ผูที่จะศึกษาหาความรูไดสําเร็จดวยดีน้ัน ตองมีคุณธรรม ประจํากาย วาจา ใจ คือ อิทธิบาท ๔ หมายถึง คุณธรรมท่ีผูปฏิบัติตามยอมถึงความสําเร็จไดตามประสงค ประกอบดวย ฉันทะ วริ ยิ ะ จติ ตะ และวิมงั สา ๑. ฉนั ทะ คือ ความพอใจรักใครในส่งิ นนั้ ตวั อยา งเชน เด็กลูกเสือที่มีความพอใจรักในการศึกษาเรียนรู เขากจ็ ะเอาใจใสขยันในการเรียน มีสติ คือ การระลึกรูวาขณะน้ีกําลังเรียน มีสมาธิ คือ ตั้งใจม่ันอยูกับบทเรียน ในขณะท่ีครูกําลังสอน ต้ังใจฟงและจดจําในเรื่องตาง ๆ ที่ครูกําลังอธิบาย เอาใจจดจอ ไมคุย ไมเลน ไมหลับ ในหองเรียน มีความอดทน ขยันหม่ันเพียร ไมเกียจครานในการเรียน มีความรูสึกสุข สนุกสนานในการเรียน ไมเบอ่ื หนา ยในการสอนของครู ทําใหมีความรู เปนคนฉลาดรอบรูในวิชาตาง ๆ เพราะมีฉันทะ คือ ความพอใจ รักในการเรยี น จึงมคี วามจริงใจ จริงจัง และเรียนอยางตอเน่ือง จึงเปนเด็กดีของครูอาจารย ของโรงเรียน และ เปน ตัวอยางทดี่ ีของเพือ่ นลกู เสือดว ยกัน ๒. วิริยะ คือ ความเพียรพยายามประกอบส่ิงน้ัน ๆ เชน ลูกเสือที่มีความพอใจในการเรียนแลว มคี วามอดทนขยนั หมั่นเพยี รในการศึกษาหาความรู พยายามหมั่นทบทวนวิชาความรูตาง ๆ ท่ีครูสอนผานมาแลว ใหเขาใจอยางถองแท การบานหรือกิจกรรมตาง ๆ ท่ีครูมอบหมายใหทํา ตองมีความอดทน ขยันหมั่นเพียร พยายามทาํ งานนั้นใหสําเร็จและถกู ตอง สะอาด เปนระเบียบ เรียบรอย และสมบูรณ แมจะมีอุปสรรคใด ๆ ก็จะ ไมทอถอย ตองขยันหม่ันเพียร พยายามเอาใจใสในวิชาความรูที่ครูสอน ทั้งในเวลาเรียน และนอกเวลาเรียน ผูใดท่ีมีคุณธรรมในขอนี้ คือ วริ ยิ ะ หมายถึงความขยันหม่ันเพียร ก็จะมีความสําเร็จตามความประสงคในส่ิงนั้น ๆ อยางแนนอน ๓. จิตตะ คือ เอาใจฝก ใฝใ นสิ่งน้ันไมว างธรุ ะ (ไมวางธรุ ะ หมายถึง ไมทอดทิง้ งาน) ตัวอยางเชน เม่ือเรา มีความพอใจ มีความเพียรในการเรียนแลว เราตองตั้งใจใหม่ันคง เอาใจฝกใฝในการเรียน และวิชาการตาง ๆ ที่เรียนมาแลว และท่ียังไมไดเรียน ไมผัดวันประกันพรุงวาประเดี๋ยวคอยทํา หรือพรุงนี้คอยทําก็ได ไมทําทิ้ง ทาํ ขวา ง ทาํ บางไมท ําบา ง ใหเ กิดความเสอ่ื มเสยี ในงานน้ัน ๆ เราตอ งต้งั ใจใหม ่ันคง มีความอดทนขยันหมั่นเพียร วา จะตองทาํ งาน ชนิ้ นี้ ช้ินนั้นใหสําเร็จไปดวยดี ความสําเร็จเกิดข้ึนเพราะมีความพอใจ มีความเพียร มีใจฝกใฝ ในงาน และสิ่งน้ัน ๆ ผูใดมีคุณธรรมในขอน้ี คือจิตตะ หมายถึงมีใจฝกใฝ ไมวางธุระ ก็จะมีความสําเร็จตาม ความประสงคใ นสิ่งนั้น ๆ ๔. วิมังสา หมายถึง หม่ันตริตรองพิจารณาหาเหตุหาผลในสิ่งที่ทํา ตัวอยางเชน การที่จะศึกษาเรียนรู วิชาใด ๆ ลูกเสือตองใชสติปญญาพิจารณา ไตรตรองใหละเอียดถ่ีถวนดวยเหตุดวยผล วาวิชาท่ีกําลังจะเรียน มีประโยชนกับตนเอง สังคม ประเทศชาติบานเมืองอยางไร ตองรักและเอาใจใสในวิชาท่ีครูสอนทุกวิชา และ มีวริ ิยะ คอื ความขยนั หม่นั เพยี ร ท่จี ะเรียนรูวิชาน้ัน ๆ อยางไมยอทอตออุปสรรคใด ๆ มีความเพียรพยายามจะ แกไขปญหาท่ีเกิดข้ึนใหผานไปดวยดี และมีจิตตะ คือ ความต้ังใจม่ันเอาใจฝกใฝในวิชาน้ัน ๆ อยางไมวางธุระ ไมทิ้งกลางคัน และตองมีวิมังสา คือ หมั่นตริตรองพิจารณาหาเหตุผล วาถูกตอง เรียบรอย สมบูรณหรือไม ดว ยเหตดุ ว ยผลไมเ ขา ขา งตนเองวาถกู แลว ดแี ลว ลูกเสอื ท่ีประพฤติปฏิบัตติ ามคําสอนของพระผูมีพระภาคเจาได ดงั ทก่ี ลาวมาแลว น้ี ก็จะมีความสาํ เรจ็ ในการเรยี นตามความประสงคทุกคน อทิ ธบิ าท ๔ เปน ธรรมท่หี นนุ เน่อื งกนั จึงตอ งปฏบิ ัตใิ หครบทง้ั ๔ ประการ ก็จะสําเร็จประโยชนได ไมวา จะเปนงานในทางโลก หรือจะเปนการปฏิบัติธรรม ก็สามารถสําเร็จไดดวยคุณธรรมท้ัง ๔ ประการ น้ีคือ คณุ ธรรมของผูใ ฝเ รยี นรู 84 86
๕. อยูอยา งพอเพยี ง ความพอเพียง ตามแนวพระราชดําริในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ คําวา “พอ” หมายถึง รับมา ตามท่ีตองการ คําวา “เพียง” หมายถึง รับมาเทาท่ีกําหนดไว ไมใหขาดไมใหเกิน ความพอเพียง หมายถึง รับไว เทาที่กําหนดไวไมขาดไมเกิน การที่จะมีความพอเพียงไดตองมีคุณธรรม ๒ ประการ คือ รูจักประมาณและมี ความสนั โดษ ๑. รจู กั ประมาณ หมายความวา รจู ักใชปจ จัย ๔ อยางมีขอบเขตไมเกินตัว ตัวอยางเชน รูจักประมาณ ในการรับประทานอาหาร รูจักประมาณในการใชเงิน รูจักประมาณในการแตงกาย รูจักประมาณในที่อยูอาศัย ไมทํากิจการใด ๆ ที่เกินตัว เชน รูจักประมาณในการรับประทานอาหาร หมายถึงรับประทานอาหารที่เปน ประโยชนต อรา งกาย และรบั ประทานแตพอดี ไมมากหรือไมนอยจนเกินไป ถามากหรือนอยเกินไปจะทําใหเกิด อาการทองเสียได รจู กั ประมาณในการใชเงนิ หมายถงึ การรูจกั ใช รจู ักจายในสงิ่ ทจี่ ําเปน ไมใชมากจนเกินฐานะ ของตน จะทําใหเกิดเปนหน้ี มีความเดือดรอน รูจักประมาณในการแตงกาย หมายถึง เสื้อผาเคร่ืองนุงหม แตงกายตามฐานะ ไมฟงุ เฟอเหอเหมิ ไมท ําตามสังคมนิยม รูจักประมาณในท่ีอยูอาศัยหมายถึง สรางท่ีอยูอาศัย ตามฐานะของตน ไมสรางบานใหญโตเกินฐานะเปนเหตุใหเดือดรอน ดังคําท่ีวา “นกนอยทํารังแตพอตัว” จะไมมี ความเดือดรอน รูจักประมาณในการทํามาหากิน หมายถึง ทํากิจการใด ๆ ไมใหเกินกําลังสติปญญา กําลังทรัพย และกาํ ลังกาย เพื่อไมใ หเ กิดความเดือดรอนภายหลงั น้ีคอื ผทู ี่รูจักประมาณ ๒. มีความสันโดษ หมายความวา มีความมักนอย พอใจในส่ิงมี ท่ีได ท่ีเปน พอใจในส่ิงท่ีมี เชน มีบาน เพียงหลังเดียวพออยูอาศัย มีที่ดินพอทํากิน มีรถพอที่จะอํานวยความสะดวกยามเจ็บไขไดปวย หรือมีไวใชใน ธุรกจิ บางอยาง การมีคูครองเพียงคนเดียวเทานี้ก็เพียงพอแลว ไมทะเยอทะยาน มักใหญใฝสูง อยากมีส่ิงตาง ๆ มากมายเกินกําลังทรัพย กําลังสติปญญา กําลังกาย มากจนทําใหเกิดทุกข หรือมียศถาบรรดาศักดิ์ มีตําแหนง หนาท่ีการงานหรือมีธุรกิจใด ๆ ก็จงพอใจในสิ่งที่มี และควรทําสิ่งท่ีมีอยูแลวนั้น ใหเจริญรุงเรืองยิ่ง ๆ ข้ึนไป โดยสุจริต ไมทุจริตตออาชีพ มีนอยก็ใชนอยอยาใหเกินรายไดท่ีมี มีมากก็ใชตามความจําเปน เหลือไวเพ่ือเปน ทุนตอไป ถึงแมใครจะมีมากกวาเรา ก็ไมคิดอิจฉาริษยา อนุโมทนาในบุญวาสนาในความเจริญรุงเรืองของทาน นีค้ อื ตัวอยางความพอเพยี งในสิ่งทีม่ ี ๓. พอใจในสิ่งที่ได หมายถึง การทํามาหากินท่ีมีรายไดประจําวัน ประจําเดือน ประจําป จะไดมาก หรือนอย ควรพอใจในส่ิงท่ีได รูจักประหยัดอดออม ใชจายแตส่ิงที่จําเปน ไมฟุงเฟอ เหอเหิม ทะเยอทะยาน มักใหญใฝสูง ใชจายเกินรายได รสนิยมสูงรายไดต่ํา มีรายไดนอยก็ใชจายนอย แตควรจะเหลือเก็บไวบาง เผ่ือวนั ขา งหนาจะไดมีใชจา ยเมือ่ ยามเจบ็ ไขไ ดปวย หรือถาหากมีมาก ก็ใชจายพอควร ตองมีสวนที่เหลือเก็บไวบาง ตองรูจักประมาณในการบริโภคทรัพย เม่ือทุกคนพอใจในสิ่งท่ีไดแลว ความโลภก็จะลดนอยลง การเบียดเบียน ปลน จี้ ลักทรัพย ทจุ รติ คดโกง ก็จะไมเกิดข้ึน ถาทุกคนพอใจในส่ิงที่ได ก็จะอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข บานเมืองก็จะไมเดือดรอนวุนวาย นี้คือ ตัวอยางความพอเพียงในสิ่งที่ได ดังกลอนทานสุนทรภูกลาวไว (พอเพียง) ๔. พอใจในส่ิงท่ีเปน หมายถึง พอใจในอาชีพการงานของตน ตัวอยางเชน ขาราชการ หรือ นักการเมือง มียศระดับใดก็ตาม ก็พอใจในตําแหนงหนาที่นั้น ๆ ตั้งใจประพฤติปฏิบัติหนาที่ใหดีที่สุด มีความขยันหม่ันเพียร ซื่อสัตยสุจริตตอหนาที่ ไมทุจริต คดโกง ไมเบียดเบียนเวลาของราชการ เพ่ือหา ความสนุกสนานและหาประโยชนสวนตน เมื่อเราประกอบแตกรรมดี ความดีก็จะสงผลใหไดเลื่อน ยศถาบรรดาศักดิ์ตามลําดับ โดยไมตองว่ิงเตนเสียเงินเสียทอง ใหเกิดความเดือดรอนแกตนเองและผูอ่ืน ดังที่ ปรากฏแลวในปจ จบุ ัน 85 87
อกี ตวั อยา งหน่ึง เปนชาวไรชาวนา ก็พอใจในความเปนชาวไรชาวนา จะมีไรมีนามากหรือนอย ก็พอใจ ในส่ิงท่ีมี ทํามาหากินตามกําลังสติปญญา ตามกําลังทรัพย กําลังกาย มีความตั้งใจม่ัน มีความขยันหม่ันเพียร มีความอดทนตอความเหน่ือยยากลําบากกาย ไมมักใหญใฝสูง ไมเบียดเบียนกัน พอใจในส่ิงที่ได ที่มี ท่ีเปน ชาวไรชาวนากอ็ ยูรวมกันอยา งมคี วามสุข เปนพอคาแมคา ก็มีความพอใจในอาชีพคาขาย จะมีกิจการคาขายใหญนอยตางกันก็ตาม ตองมี ความซื่อสัตยตออาชีพการงานของตน ไมคากําไรเกินควร ไมเอาเปรียบผูบริโภค ไมโกงตาช่ัง ไมคาของเถื่อน ไมค า ยาเสพติด ไมข ายสงิ่ ผิดกฎหมาย ไมขายอาวุธ ถึงแมจะทําใหรํ่ารวยทรัพยสมบัติเงินทองมากเพียงใดก็ตาม กไ็ มยอมทุจรติ ตออาชีพของตน ถา ทาํ การคา ขายโดยสจุ ริต ไมผิดกฎหมาย แมไดกําไรมากหรือนอยก็พอใจ รูจัก กนิ รูจักใช รูจักประหยัดอดออมใหเหมาะสมกับรายได ก็จะมีความสุขกับการเปนพอคา ไมสรางความเดือดรอน ใหกับตนเองและผูอื่น รวมทงั้ สังคมประเทศชาติบานเมือง น้ีคือ ความพอเพียง เพราะมีคณุ ธรรม ๒ ประการ คอื ๑. รจู ักประมาณ ๒. มีความสันโดษ สว นผูใดจะมีคุณธรรมมากกวาน้ี ก็ขออนุโมทนา น้ีคือ ความพอใจในสิ่งที่มี ที่ได ท่ีเปน ผูใดมีคุณธรรม เหลานี้จะมีความเปนอยูอยางพอเพียง มีความสุขตามแนวพระราชดําริในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ประเทศชาตบิ านเมืองกจ็ ะรมเย็นเปน สขุ และมีความเจรญิ รุงเรือง ผูใดมีคุณธรรมท้ัง ๒ ประการน้ี คือ รูจักประมาณ มีความสันโดษ จะมีชีวิตอยูอยางพอเพียง มี ความสุขสบายตามอัตภาพ ไมเดือดรอน แตถาผูใดไมมีคุณธรรมทั้ง ๒ ประการน้ี ไมรูจักประมาณและไมมี ความสันโดษ จะมคี วามเปนอยูอยา งไมพอเพยี ง จะมีแตความทกุ ข ความเดือดรอนวุนวายตลอดเวลา ๖. มงุ มน่ั ในการทาํ งาน ความมุงมั่นในการทํางาน หมายถึง มีความต้ังใจมั่นในการทํางานใหสําเร็จลุลวงไปดวยดี ผูท่ีจะมี ความมุงม่ันในการทํางานไดน้ัน จะตองมีคุณธรรมประจํากาย วาจา ใจ คือ พละ ๕ หมายถึง กําลังธรรมทั้ง ๕ ท่ีช่ือวา พละ เพราะเม่ือใจมีคุณธรรมท้ัง ๕ น้ีเปนกําลังแลว ยอมเขมแข็งในการทํางาน และทําความดีตาง ๆ ตามทต่ี นปรารถนา ประกอบดว ย ศรทั ธา วริ ิยะ สติ สมาธิ และปญ ญา ๑. ศรัทธา คือ ความเชื่อ หมายถึง เชื่อในสิ่งท่ีควรเช่ือ เปนความเชื่อท่ีเกิดจากสติปญญา เพราะรูเหตุ รูผ ล วาเหตุใด คิด พดู ทํา แลว สงผลใหเกิดทุกข เหตุใด คิด พูด ทํา แลวสงผลใหเกิดสุข ไมเช่ือตามคําบอกเลา ของผูอื่น ไมเช่ืออะไรงาย ๆ โดยที่ยังไมไดพิจารณาใครครวญใหดีเสียกอน เชื่อเรื่องกฎแหงกรรม เชื่อวาทําดี ไดดี ทําช่ัวไดช่ัว เชื่อผลของกรรม เชื่อวาบุคคลท่ีไดรับความสุขหรือไดรับความทุกขก็เปนเพราะกรรมดี หรือ กรรมช่ัวของแตละบุคคล เช่ือวามนุษยและสัตวมีกรรมเปนของตน เช่ือพระปญญาตรัสรูของพระพุทธเจา วาประเสริฐสุดกวาส่งิ ใดในโลกน้ี นคี้ อื ศรัทธาความเชอ่ื ทถี่ ูกตอง เปน เหตใุ หเ กิดพลงั สติปญญา และเปนกําลังใจ ใหท ํางานสําเรจ็ ลุลว งไปดวยดี ผูท่ีไมมีศรัทธา หมายถึง ไมเชื่อในคําสอนของพระพุทธองค วาทําดี ไดดี ไมเชื่อวาชาติกอน ชาติน้ี ชาตหิ นา มจี ริง ไมเชือ่ เร่อื งกฎแหงกรรม ไมเ ช่ือวาเรามกี รรมเปนของตน มีกรรมเปนผูใหผล มีกรรมเปนแดนเกิด มีกรรมเปนผูติดตาม มีกรรมเปนท่ีพ่ึงอาศัย ผูที่ไมเช่ือในคําสอนของพระพุทธองค จะไมกลัวบาป กลัวโทษ สามารถทําชั่วไดทุกอยาง เชน ฆาสัตว ลักทรัพย ประพฤติผิดในกาม พูดปด หลอกลวง ด่ืมสุรา เสพยาเสพติด เลน การพนนั ทจุ ริตคดโกง ทาํ สิง่ ท่ผี ิดกฎหมาย ผดิ ครรลองคลองธรรม ผิดวัฒนธรรม จารีตประเพณี และอื่น ๆ ไดท ุกอยา ง นีค้ อื ผูทไ่ี มม ีศรทั ธา ไมเ ช่ือในคําสอนของพระพทุ ธเจา 86 88
๒. วิริยะ คือ ความเพียร หมายถึง ความเพียรพยายาม กลาที่จะลงมือทํางานตามท่ีตนเองชอบ ทําดวย ความมานะบากบั่น ไมยอทอตอปญหาอุปสรรคใด ๆ ที่เผชิญ ทําดวยใจท่ีรูสึกสนุกกับงาน แมจะมีอุปสรรค กพ็ ยายามแกไ ข โดยไมย อมแพ ทาํ เร่อื ยไปจนกวาจะพบกับความสําเร็จ ผูท่ีไมมีความเพียรพยายาม หมายถึง ผูที่ไมกลาจะลงมือทํางาน เพราะความเกียจคราน ไมมี ความอดทน ขยันหมั่นเพียร มีแตความทอถอยตอปญหาที่เกิดขึ้น ยอมพายแพตออุปสรรคตาง ๆ จึงไมมี ความสําเร็จในการทํางานใด ๆ ๓. สติ คือ ความระลึกได หมายถึง ระลึกรูอยูตลอดเวลาวา ขณะนี้กําลังคิดอะไร กําลังพูดอะไร กําลัง ทําอะไร เชน ครูท่ีกําลังสอนลูกเสือในวิชาใดวิชาหน่ึง ก็ตองใชสติระลึกรูอยูตลอดเวลา วาครูจะตองนําวิชา ความรูตาง ๆ มาสอนและถายทอดใหลูกเสือ ตองใชสติควบคุมจิตใหอยูกับเร่ืองราวที่กําลังสอน เพื่อใหลูกเสือ เขาใจและมีความรูตามในเร่ืองนั้น ๆ ครูทานใดที่มีสติควบคุมจิตในขณะที่ทําการสอน จะทําใหลูกเสือมีความรู ความฉลาดเพิม่ ขน้ึ เปนเหตุใหเ กิดพลงั และมีความมุง มัน่ ทําใหก ารสอนของครูน้นั สาํ เรจ็ ลลุ ว งไปดว ยดี สวนครูที่ขาดสติ เหมอลอย ระลึกไมได ขณะท่ีทําการสอนวิชาใดวิชาหนึ่ง ทําใหการสอนวิชาน้ัน คลาดเคลื่อนจากความเปนจริง เปนเหตุใหลูกเสือไมไดรับความรู ความฉลาดจากครู นี้คือ ครูที่ขาดสติ เด็กลูกเสือก็เชนกัน ตองมีสติระลึกรูวาครูกําลังสอนเร่ืองอะไร ก็จะจําไดและเขาใจเปนอยางดี ขณะที่เด็ก ขาดสติระลึกไมไ ดว ากําลงั เรียน แตก ลบั เลน ไมสนใจในวิชาท่ีครสู อน ทาํ ใหไ มมีความรูใ นวิชานั้น ๔. สมาธิ คือ ความตั้งใจมั่น หมายถึง ใชสติควบคุมจิตใหคิดอยางเดียว ต้ังใจม่ันจดจออยูกับงาน ท่ีกําลังทํา หรือทําดวยความต้ังใจ งานน้ันยอมสําเร็จไดโดยงาย แตถาขาดสมาธิ คือ ไมแนวแน ลังเล สองจิต สองใจ ความผิดพลาดก็เกิดขึ้นไดโดยงาย สมาธิจึงเปนกําลังของใจใหมีความต้ังใจม่ันในการทํางานใหเปนไป โดยสมํา่ เสมอจนกวาจะสาํ เรจ็ เพราะใจมสี มาธติ ้ังม่ันในการทํางาน จิตไมฟ ุง ซา น ๕. ปญญา คอื ความรอบรู หมายถงึ ความรอบรทู ้ังทางโลกและทางธรรม ในส่ิงที่ควรรู เชน รูเหตุ รูผล รูวา เหตุใดทาํ แลว เกิดทกุ ข รูว าเหตใุ ดทําแลวเกดิ สุข ผูมีสติปญญากจ็ ะเลือกทาํ แตสิ่งที่เกิดสุข หลีกเล่ียงเหตุท่ีทํา ใหเกิดทุกข และยังไดศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากคําสอนของพระผูมีพระภาคเจา เพื่อใหเกิดปญญามากขึ้น เปนพลงั สง เสริมใหม คี วามมงุ มั่นในการทาํ งานใหส ําเรจ็ ลุลว งไปดว ยดี เพราะมีปญ ญา ผูท่ีไมมีปญญา หมายถึง ผูที่ไมรอบรูท้ังทางโลกและทางธรรม เปนเหตุใหทําในสิ่งท่ีผิดกฎหมาย ผิดครรลองคลองธรรม ผิดวัฒนธรรม และจารีตประเพณี สรางความเดือดรอนใหกับตนเองและผูอ่ืน เชน ฆาสัตว ลักทรัพย ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ พูดสอเสียด พูดคําหยาบ พูดเพอเจอ ดื่มสุรา เสพยาเสพติด เปนตน เพราะขาดสติ สัมปชัญญะ ขาดหิริ โอตตัปปะ สามารถทําความช่ัวได ท้ังกาย วาจา ใจ เพราะไมมี ปญญาที่จะพิจารณาไดวาอะไรผิด อะไรถูก อะไรชั่ว อะไรดี เปนเหตุใหเกิดความผิดพลาดในการทํางาน นาํ ความเสือ่ มเสยี มาใหตนเองและผอู ่ืน รวมทัง้ สังคมประเทศชาตบิ า นเมอื ง ผูท่ีมคี ุณธรรมทงั้ ๕ ขอน้ี จะมีพลงั กาย พลังใจ สงเสริมใหทําการงานใด ๆ ก็สําเร็จตามความปรารถนา ทุกประการ และยังสงเสริมใหเปนผูท่ีมีความคิดดี พูดดี ทําดี เปนคนดีของสังคมและประเทศชาติบานเมือง ตอ ไป น้ีคอื คณุ ธรรมทเี่ ปน กําลงั สงเสรมิ ใหผูท ี่มคี วามมงุ มั่นในการทํางาน ใหส าํ เรจ็ ลุลว งไปดวยดี ๗. รกั ความเปนไทย รักความเปนไทย หมายถึง รักแผนดินไทย รักการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รักพระพุทธศาสนาอันเปนศาสนาประจําชาติ รักพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ รักพระบรมราชินีนาถฯ และรักพระบรมวงศานุวงศทุกพระองค รักวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี ของไทย รักเผาพนั ธุความเปน ไทย 87 89
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150