Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือวิสามัญช่อสะอาด

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือวิสามัญช่อสะอาด

Published by ปริญญา, 2021-11-17 10:36:44

Description: คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือวิสามัญช่อสะอาด

Keywords: ลูกเสือ, ลูกเสือช่อสะอาด,ลูกเสือวิสามัญ

Search

Read the Text Version

๕. ไมตรจี ติ (Goodwill) ลูกเสือ ชื่อน้ีมีความหมายและมีศาสตรท่ีสําคัญท่ีแฝงอยูในทุกแขนงและในทุกประเภทของลูกเสือ ชื่อลูกเสือเปนตัวบงบอกวาเปนกิจกรรม และตองเปนกิจกรรมที่ตอบสนองพรอมทั้งสรางความพึงพอใจใหกับ ผูเขารวมในกิจกรรมนั้น ๆ ไดอยางสนุกสนาน เพลิดเพลิน ท้ังเกิดการเรียนรู แตในความเปนจริงของกิจกรรม ลูกเสือน้ัน “วิชาการ” อันบงบอกท่ีมาที่ไป คุณสมบัติ คุณลักษณะ เน้ือหาสาระของแตละกิจกรรม ลวนเปน พื้นฐานกอกําเนิดมาจากความเปนวิชาการทั้งนั้น ผิดกันท่ีตรงกิจกรรมลูกเสือเปนวิชาการที่เคลื่อนไหวไดและ เปนวิทยาศาสตร หมายความวาเปนปจจุบันอยูตลอดเวลา ทักษะตาง ๆ ของลูกเสือ คนไมเขาใจดูวาเปน กิจกรรมทล่ี าสมยั แตในความเปนจรงิ แลวกิจกรรมลูกเสือ เชน บุกเบิก การผจญภัย การบันเทิง แผนที่ - เข็มทิศ ฯลฯ ลวนแลวแตมีปรัชญาของการดํารงชีวิตอยูรอดอยางชาญฉลาดและสามารถนําไปแกปญหาเฉพาะหนาได ความลํ้าลึกของการลูกเสือกาวหนาไปไกลมากกวา ซึ่งในเรื่องน้ีถือวาตนแบบท่ีมาจากประเทศอังกฤษที่เปน ประเทศมหาอํานาจในทุก ๆ เร่ือง ต้ังแตอดีตท่ียาวนานจนถึงปจจุบันโดยเฉพาะกิจกรรมลูกเสือ ไดคํานึง ในเรือ่ งของการวางตวั การประพฤตปิ ฏิบัติตวั ท่ีถกู ตองตามกาลเทศะ ซ่งึ กิจกรรมและวิธีการปฏิบัติที่ดีงามเชนน้ี ลวนมีผลสืบเนื่องมาจาก Scout Protocal หรือจะพูดอยางตรงไปตรงมาคือ “รูจักกาลเทศะและท่ีตํ่าที่สูง” การรูจักการวางตัว การรูจักประพฤติปฏิบัติตอผูอ่ืน การเขาสังคม การใหเกียรติแกสุภาพสตรี การครองสติ ไดเปนอยางดี แมกระทั่งเวลาท่ีตองรวมอยูในรายการที่มีเคร่ืองด่ืมที่คอนขางแรง ก็สามารถวางตัวไดอยาง เหมาะสม ซึ่งถือเปนการทูตทางการลูกเสือท่ีถือปฏิบัติมาคูกับการลูกเสือดวยดีและมีประสิทธิภาพตลอดมา และน่คี อื “ไมตรจี ติ (Goodwill)” ถาภาพพจนของเราดี บุคคลอื่น ๆ ทั่วไปเมื่อมาพบเจอ ก็จะทําใหเขาเหลานั้น เกดิ ศรัทธาและอยากจะมไี มตรีจิตตอเรา ซึ่งในการลกู เสือถอื เปนมมุ มองและแอบแฝงท่ีทรงคุณคา ดังเชน ไมตรีจิต (Goodwill) ไมตรีจิต (Goodwill) คือ ความหวงั ดี ความปรารถนาดี เชน เขามีไมตรจี ติ กบั คนทุกคน ไมตรี (Friendship) คือ ความเปนเพื่อน ความเปนมติ ร ๑๐๘ วิธีสรา งไมตรีจิต โลกนีจ้ ะนา อยขู ึน้ อีกเยอะท่ีเดียว ถา เรารจู กั สรา งไมตรีจติ มอบน้ําใจใหแกกัน ดวยวิธีงาย ๑๐๘ วิธี ดงั นี้ มองและย้ิม • มองผูอน่ื ดวยสายตาท่ีเปนมิตร • ย้ิมใหผ ูอนื่ ดวยสายตา ใบหนา และจติ ใจ • ทาํ ความรจู กั กบั ผอู น่ื ดว ยการย้ิมและกลาวคําทักทาย • โบกมอื สงยม้ิ ใหเ ด็ก ๆ • มองคนในแงดี • มองวาคนเราเปนมิตรกนั ได แมจะมีความคิดเห็นทีแ่ ตกตา งกัน ทักทาย • ทกั ทายคนอื่นเม่ือพบกนั • สนทนาทักทายกบั เพ่อื นรวมงานเสมอ ๑๓๗ 139

ฟง • ตง้ั ใจฟง คนอื่นพูด • รับฟงในสิ่งที่เขากําลังทาํ หรือสง่ิ ท่ีเขากําลังสนใจ พดู • ใชคําพูด ๔ คํานีใ้ หต ดิ ปาก ขอบคุณ ขอโทษ ดี ชวย • พูดดว ยคาํ สุภาพ • พูดชมเชยบุคคลอน่ื เปนประจาํ • ผถู งึ คนอื่นในดานดี • รจู กั ขัดโดยไมใหคนอื่นเสยี น้าํ ใจ • หาเรื่องพูดคยุ กับคนท่ีขาดเพื่อน • พดู ดวยเสยี งดังพอสมควร • พดู คยุ ในส่ิงท่เี ขาสนใจ • ไมพูดหาเรอ่ื งจบั ผดิ คนอน่ื • หาทางพดู คยุ กบั คนที่ไมเ คยพูดดวย • โทรศพั ทไปหาเพอื่ นทไี่ มไดตดิ ตอกนั มาเกิน ๑ ป • ละเวน การพูดคาํ ไมดี และไมโ กรธ ไมโ มโห อยางนอยสัปดาหละ ๑ วัน เขียน • เขียนจดหมายหรอื ไปเย่ยี มคนทกี่ ําลังกลุมใจเสยี ใจ • เขียนจดหมายแสดงความขอบคุณผูทท่ี าํ คณุ ใหแกเ รา • เขยี นจดหมายหรอื การด แสดงความยินดใี นโอกาสพเิ ศษของผอู ืน่ • เขียนจดหมายหรอื การด แสดงความเสยี ใจกบั ผูสญู เสีย • เขียนคําชมเชยหรือมอบรางวัลใหกับผูท ําดี • เขียนจดหมายชมเชยการกระทําความดเี ปน พเิ ศษและประกาศตอสาธารณะชน • เขยี นปายเตอื นอันตรายไวใ นท่ที ี่สมควรเตือน • เขยี นจดหมายหรือสงบตั รอวยพรเพ่ือนเกาในวนั ปใ หม ปด • ปด โทรศัพทมือถอื ในที่ ๆ ไมค วรพดู โทรศัพท • ปด หรอื หร่เี สยี งดังจากวิทยุหรือโทรทศั น เม่ือมนั รบกวนผูอื่น ทํา • เลอื่ นจานอาหารไปใหคนท่ีเอ้ือมไมถ ึง • หาทางปลอบใจคนที่กําลังทุกข • ทําความประหลาดใจใหคนในกรณีพิเศษ เชน วา เขาอยากได แตหามาเองไมได • พยายามทาํ ใหศ ตั รูกลายเปนมิตร • ทาํ ใหผูอ ื่นประทบั ใจดว ยคุณสมบตั พิ ิเศษที่มี • สนับสนนุ การปอ งกนั ปญหาตาง ๆ อยา งเชน สารเสพติด ๑๓๘ 140

ชว ยเหลอื คนรูจัก • สรางความสมั พนั ธท ี่ดีในครอบครัว • ชว ยรับคนรูจักข้นึ รถ • ทกั ทาย แนะนําตวั กับเพ่ือนบาน • สงอาหารหรอื ผลไมใหเ พอื่ นบานในบางโอกาส • ชว ยกวาดใบไมหนา บานใหเพื่อนบา นบาง • ชวนเพอื่ นบา นและครอบครัวเทย่ี วในวันหยุด • รับฝากหรอื ดแู ลเด็กเล็กใหเพื่อนบานบาง • ใหค วามสนใจกบั กลมุ เยาวชนในหมูบ า น • ไปเย่ยี มคนแกท่ีอยูใ กลบ านบาง • จายเงินคา อาหารหรอื เครอ่ื งด่ืมใหเ พื่อนรวมงานเปน ครั้งคราว • ชว ยคนขาดแคลน • เมอื่ เจอขา วของคนรูจักในหนังสอื พิมพกต็ ัดไปใหเขาบาง • สงอาหาร เคร่ืองดมื่ หรือขนมไปใหเจาหนาที่บรกิ ารประชาชน เชน ตํารวจสีแ่ ยก • ซอื้ ของใหเด็กขา งบา นเลน บาง • ซอื้ ของฝากใหคนอน่ื เมื่อเห็นวา มันเหมาะกับเขา • สงหนงั สือท่อี านแลว ไปใหกบั คนท่ีคดิ วา เขาตองการ • ชวยเหลอื หอ งสมดุ โรงเรียนท่ีขาดแคลน • หาของขวัญปใหมใหคนทต่ี องตดิ ตอ กันเปน ประจาํ • หาของขวญั ของฝากใหล ูกนอ งหรือเพื่อนรว มงาน • บรจิ าคสิ่งของ • ชวยเหลือผมู ีหนส้ี ้ินบางตามสมควร • ชวยเหลอื คนไมรจู ัก • ชว ยผทู ป่ี ระสบความยากลําบาก อยางเชน คนหลงทาง คนท่ปี ระสบอบุ ัตเิ หตุ • บริจาคเงินและสง่ิ ของชวยผูป ระสบสาธารณภยั • บอกเตือนสิ่งผิดปกตขิ องคนอื่น เชน ยางแบน ซบิ ไมรูด • ชว ยจับประตูทเ่ี ปดเดินออกไป ไมใ หไปตคี นท่ีเดินมาขา งหลงั • ชวยบอกทาง นําทางใหค นตางถน่ิ • ชวยคนท่กี าํ ลงั หาของหาย หาไมพบ หรอื เก็บของคืนเจาของ • ชว ยคนถือของพะรุงพะรัง • ชวยเอือ้ มหยบิ ของใหคนทีห่ ยิบไมถึง • ชวยเขน็ รถผทู ีร่ ถเสีย • หาของฝากผปู วยตามโรงพยาบาลทข่ี าดคนเย่ียมเยยี น • ชว ยเหลือผปู ระสบอบุ ัติเหตุดวยความระมดั ระวัง ๑๓๙ 141

• ชว ยคนตกนาํ้ อยางรอบคอบ ไมใหตัวเองเดือดรอน • ชว ยแนะนาํ งานใหคนตกงาน • แนะนําการประกอบอาชีพใหผูทตี่ องการ • จดั กจิ กรรมเพอ่ื เด็ก คนพกิ าร และคนชราท่ีขาดการดูแล • ชวยเหลือแจง ขาวสารตอเจา หนาที่เมอื่ พบผูที่กาํ ลังทะเลาะวิวาท • สนับสนนุ หนว ยงานท่สี รา งประโยชนใหกับสงั คม • จัดกลมุ อาสาสมัครชวยกจิ กรรมทีเ่ ปนประโยชน • สนับสนุนผูดอยโอกาสทางสงั คม ยอม เสียสละ ให • ดแู ลความสะอาดของหองนา้ํ สาธารณะเมื่อเราใชเสรจ็ • เมอ่ื เขาควิ รอรับบริการและเห็นผูท่ีรีบเรง ใหเ สียสละใหเขาเขา คิวกอน • ไมรีบรอนในการขบั รถ • ใหเ งินทําทานขอทานบา ง • ชวยเหลือผูใชโทรศัพทสาธารณะที่ขาดเหรียญ โดยยอมใหแลกเงินหรือใหเศษเหรียญ ในกรณที จ่ี ําเปน • สง ของขวญั ใหคนที่ไมเ คยไดรับอะไรเลย • ใหของคนทเ่ี หน็ แกต ัวไมเคยใหใคร • ใหความเห็นใจ ปลอบใจคนมีทกุ ข • บริจาคโลหติ อวยั วะ หรือเงิน มคี วามเกรงใจ • เม่ือโทรศัพทถงึ ใครควรถามเขากอ นวา เขายุงอยูหรือเปลา • เม่อื มีใครฝากเบอรใหโ ทรกลบั ควรรีบโทร • ไมข อหรือยืมของรกั ของหวงของคนอนื่ • เมื่อยืมของจากใครใหร ีบคืนเม่อื ใชเ สร็จ น้ําใจของเด็ก • ยิ้มหวานและพูดเพราะกับทกุ คน • ไหว ทักทาย สวัสดผี ใู หญ • เก็บเสอื้ ผา ของเลน ของตนเองใหเ รยี บรอ ย • รักษาความสะอาด • ชวยงานบาน • มอบนา้ํ ใจใหทกุ คนในบาน • ไมแ ยงดูทีวี • ดแู ลผูสงู อายใุ นบาน • ติดตอ กับญาติผใู หญ • ไมรังแกเพ่ือน ๑๔๐ 142

• ชวยเหลือเพ่ือนท่ีไมส บายหรือเปนทกุ ข • แบง ขนมใหเพื่อน • ชว ยครูยกของ • ตงั้ ใจทําตัวเปน เด็กดีเสมอ เร่ืองของไมตรีจิตถือเปนประเด็นสําคัญประเด็นหน่ึงในหาประเด็น ในการนี้ เราจะเดินทางสู ความสําเร็จ ไมตรีจิตน้ันเปนเรื่องท่ีไมตองซ้ือหา แตมันอยูในตัวเราตลอดเวลา สําคัญท่ีเราจะหยิบมาใชใหเกิด ประโยชนในชว งเวลาใด ดังเชน “สมเด็จพระนเรศวรมหาราช” พระองคทานมีพระกระแสรับส่ังกับขาราชการวา ในโอกาสท่ีมบี รรดาทตู านุทูตจากตางแดนมาเขาเฝาพระองคทานเพื่อเจริญสัมพันธไมตรี ใหเขาเหลาน้ันเดินมา เขาเฝาได และใหนั่งบนพระเกาอ้ี ใหเกียรติเขา ไมตองหมอบกราบเขามา น่ีคือไมตรีจิตที่ลํ้าลึกและทรงคุณคา ย่ิง ลูกเสือกําเนิดข้ึนในประเทศอังกฤษท่ีมีพระมหากษัตริยเปนพระประมุขสูงสุดของประเทศจนถึงปจจุบัน ลูกเสือของประเทศไทยก็ถือกําเนิดข้ึนโดยองคพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงเปน พระมหากษตั ริยป กครองประเทศไทยในหวงเวลานั้น “กจิ การลูกเสอื จงึ เปนกิจการท่ีมีไมตรีจิต” สืบตอมาจนถึง ปจ จุบัน ๑๔๑ 143

เอกสารประกอบท่ี ๑ (ในเรอื่ งการนาํ เขาสบู ทเรยี น) ในการนาํ เขาสูบทเรยี นท่ีเปน เนือ้ หาทางวิชาการเชิง “พฤติกรรม” น้ี การนําเขาสูการบรรยายจะตองมี การสรางบรรยากาศ เพ่ือทําใหผูเขารับการอบรมทุกคนมีการผอนคลายทั้งทางดานอารมณ ดานรางกาย ดา นจติ ใจ หรือเรยี กนวตั กรรมนวี้ า “การทาํ SPA ทางดานอารมณรวม” โดยเพลงท่ีจะนํามารวมการขับรองกัน ตองเปนเพลงที่ตรงกับเนื้อหาสาระที่ไดจัดเตรียมไว ซ่ึงเพลงในลักษณะนี้มีใหเลือกมากมาย แตมีขอสังเกต ท่ีตองระลึกเสมอวา เพลงทนี่ าํ มาใชต องดูใหตรงยุคหรืออายุของผูเขารับการอบรมดวย อยานําเอาเพลงท่ีตกยุค หรอื ลํา้ ยคุ เกนิ ไปมารอ ง จะไมท ําใหเกดิ ความศรัทธาตอ นวัตกรรมดังกลา วได เพลงท่ี ๑ เพลงกําลงั ใจ ในยามที่ทอแท ขอเพียงแคคนหนึ่ง จะคิดถึง และคอยหวงใย ในยามท่ีชีวิต หมน หมองรอ งไห ขอเพียงมใี คร ปลอบใจ สกั คน ในวันท่ีโลกราง ความหวังใหวาด มันขาดมันหาย ใครจะชวยเติม เพ่ิมพลังใจ ใหฉนั ไดเรมิ่ ตอ สอู ีกครง้ั บนหนทางไกล กํา ลัง ใจ จากใครหนอ ขอเปนทาน ใหฝนใหใฝ ใหชีวิต ไดมีแรงใจ ใหดวงใจ ลกุ โชนความหวงั กํา ลัง ใจ จากใครหนอ ขอเปนทาน ใหฉันไดไหม ดั่งหยาดฝน บนฝากฟาไกล ท่หี ยาดรนิ สพู ้นื ดนิ แหง ผาก........ เพลงที่ ๒ เพลงศรัทธา ไมมี ก็คงตองมีสักวัน ความฝนเปนจริงตองทนสูไป ไมนาน เราคงจะไดสมใจ มุงม่ัน ทมุ เทเพียงใดกวา จะไดมา เสนชัย ไมมาตองไปหามัน รางวัล มีไวใหคนตั้งใจ ขวากหนาม ท่ิมแทงก็ผานพนไป โลกนี้ไมม อี ะไรไดมางา ยดาย ใจสูห รอื เปลา ไหวไหมบอกมา โอกาสของผกู ลา ศรทั ธาไมม ที อ ที่มา รูดีไมรูท่ีไป คนเรามันเลือกเกิดเองไมได แตเราเลือกไดจะเปนเชนไร เลือกไดจะ ทําตามใจดวยตวั ของเรา หลายคน เชื่อในเรื่องโชคชะตา บางคนเช่ือม่ันในตัวเอง ชีวิต เรากําหนดของเราเอง จะแพช นะไมเกรงจะสกั เทาไร ใจสูหรือเปลา ไหวไหมบอกมา โอกาสของผกู ลา ศรัทธาไมมีทอ เร่ืองราวมากมายท่ีทํา ไดใจโอบก็หว่ันไหว แตก็มีเหตุผลสําคัญ ใหบางคนยอมถอดใจ ใจสูห รือเปลา ไหวไหมบอกมา โอกาสของผกู ลา ศรัทธาไมม ที อ .......... ในการนําเพลงเขา รวมนี้ ผูนาํ ควรมคี วามพรอมในการสรางความประทับใจ คือ การเตรียมเครื่องดนตรี มารองคลอเพลง เชน กีตาร เมาทออรแกน ขลุย ฯลฯ และควรรองนําไปกอนครึ่งเพลง เพ่ือดูอารมณและ พฤติกรรมทงั้ หมด แลวจึงใหสัญญาณทีจ่ ะตองรองพรอ มกนั (ไมควรปรบมือ) ๑๔๒ 144

เอกสารประกอบท่ี ๒ การนําเขาสูบทเรียนชวงท่ีสอง ถือเปนการเปล่ียนอิริยาบถของทุกคน ควรเปนการเลมเกมที่มาสู จดุ หมายปลายทาง เพ่อื เขา กบั ช่ือหวั ขอ ทีบ่ รรยาย คือ “เกมการเดนิ ทางสคู วามสําเร็จ” วิธเี ลน แบงผเู ขารบั การฝกอบรมออกเปน ๒ ทมี ควรใหม ีจํานวนท่ีเทา กัน และใหผ ูเลนท้ัง ๒ ทีมนอนควํ่าหนา ลงกับพื้นเปน ๒ แถว หันหัวเขาหากัน ระหวางแถวมีระยะหางกัน ๑ เมตร ภายในแถวของแตละแถวนอนให ลําตัวชิดกนั เหยียดขาตรง เอามอื ทั้งสองขางประสานวางลงท่ีพ้นื แลวเอาคางวางบนมือที่ประสานนั้น ใหแตละ ทีมเลือกผูเลนทีมละ ๑ คน (ควรเลือกตัวเล็ก ๆ) เสร็จแลวใหผูที่ไดรับเลือกน้ันนอนลงบนแถวของแตละแถว (ลักษณะการนอนเหมอื นไมห มอนรถไฟ) หันศีรษะไปทางเดียวกนั เหยยี ดแขนตรงไปขา งหนา (นอนควํา่ ) พอสัญญาณเริ่มเลน ใหแตละแถวพลิกตัวของตัวเองไปทิศทางเดียวกัน เพ่ือเปนการสงคนที่นอนอยู ขางบนเคลื่อนไปขางหนา (เหมือนตัวหนอนเคลื่อน) ใครถึงที่หมาย คือ สงจนผูเลนที่อยูขางบนลงไปถึงพื้น ถือวาเปนผูชนะ แตจะมีลักษณะการสงตัวหนอนที่ตางกันคือ ในแตละแถวจะบิดตัวไมเหมือนกัน เวลาสง ตัวหนอนแถวหน่งึ ถาบดิ เอาสีขา งดานซา ยขึ้นไปทางขวาง อกี แถวหนึง่ จะบิดเอาสีขา งดานขวาไปทางซา ย ขอควรระวัง ควรมีการสาธิตใหเขาใจเสียกอน เกมนี้อยูที่ความพรอมเพรียง จังหวะของผูเลน และความรวมมือ ถึงจะเดินทางสูเปาหมายปลายทางใหสาํ เร็จได กตกิ า หามผูเลนท่ีอยูดานบนใชมือตะกุยเพ่ือเคล่ือนตัวไปขางหนา ใหเพียงนอนตัวตรงและแขนท้ังสองขาง ชี้ไปตรงหนา ศรี ษะผงกข้ึนมองไปตรงหนา ทา ยบท ปรชั ญาและแนวคดิ ของวิชา “การเดนิ ทางสูความสาํ เร็จ” (Rovering to Success) คําวา “การเดนิ ทางสคู วามสําเร็จ” หรือ “การทองเท่ียวสูความสําเร็จ” คําน้ีเปนคําที่กําหนดขึ้นใน หนังสือทางวิชาการของลูกเสือซึ่งมีมานานแลว และหลาย ๆ ประเทศท่ีมีกิจการลูกเสือ ตางใชความหมายของ คํานี้ไปสรางเปนบทเรียนและออกแบบเปนกิจกรรมของลูกเสือในลักษณะตาง ๆ กัน ซึ่งเปนเรื่องที่ผูนําไปใช จะพินิจพิเคราะหถึงคุณสมบัติและส่ิงที่ตองการที่จะใหเกิดผลดีขึ้นในเชิงบูรณาการ พูดงาย ๆ คือแลวแต เหตุการณและความจําเปน เปนท่ีเชื่อวาคําวา “Rovering to Success” ถือกําเนิดมาจากพ้ืนฐานของการจัด กิจกรรมใหกับลูกเสือ ลักษณะคลาย ๆ กับ Walk Rally น่ันเอง แตความลึกซึ้งและกลวิธีนั้น ของลูกเสือถือวา แยบยลมาก สามารถจะใชไดทุกรูปแบบ ทุกเรื่อง ทุกกลุมคน ทุกเพศ ทุกวัย แมกระท่ังนําไปใชในเร่ืองของ การพัฒนาองคกรหนวยงานของภาครัฐและเอกชน ดังนั้น วิชาการเดินทางสูความสําเร็จจึงไดรับการพิจารณา บรรจเุ ขา ในหลักสูตรการฝกอบรมลูกเสือของกรมราชทัณฑ ซ่ึงคณะทํางานหลักสูตรลูกเสือกรมราชทัณฑ มีมติ ที่จะใชหลักสูตรการฝกอบรมวิชาผูกํากับลูกเสือวิสามัญขั้นความรูเบ้ืองตนเปนแกนหลัก และมีการผสมผสาน ในเร่ืองของวิชาเนอ้ื หาสาระอ่นื ๆ เรอื่ งกจิ กรรมประกอบสาระ แนวปฏิบัติตาง ๆ ที่ใชใหเกิดประโยชนสูงสุดตอ กรมราชทัณฑ และหนวยงานหรือองคกรอื่น ๆ ก็สามารถนําไปใชในการฝกอบรมไดเปนอยางดี แตตองปรับ ในเรอื่ งเวลาเทานัน้ ดังนั้น เม่ือมีแนวคิดและปรัชญาในเชิงลกู เสอื เชนน้ี จงึ เกดิ ขอ กําหนดทพ่ี งึ สงั วร ๑๔๓ 145

ขอ แนะนําในการเปน ผรู ับผดิ ชอบวิชาการเดินทางสูความสาํ เร็จ ๑. เวลา ผูรบั ผิดชอบวชิ านตี้ องไมใ ชเวลาเกนิ กวา เวลาที่กําหนด ๒. คุณลกั ษณะของผูร ับผดิ ชอบวิชา ๒.๑ เปนบุคคลท่ีไดร ับเคร่ืองหมายวูดแบดจ อยางนอ ย ๓ ทอน ๒.๒ เปน บุคคลที่มีอารมณขนั คลองแคลว วอ งไว กลาแสดงออก ๒.๓ เปนบคุ คลท่ีมคี วามรูรอบตัวในเร่อื งอืน่ ๆ อนั จะเปน ประโยชนต อ การเรียนการสอน ๒.๔ เปนบุคคลที่เลนเครื่องดนตรีได รองเพลงได การเตนในจังหวะตาง ๆ ได และเปนผูที่มี ความเปน ผนู าํ (Leadership) ๒.๕ ไมใชคําพูดท่ไี มสภุ าพหรือหยาบโลนในเวลาสอน ๒.๖ เปน ผูม เี ชาวน ไหวพรบิ สามารถแกปญหาเฉพาะหนา ไดเ ปน อยางดี ๒.๗ เปนผทู ี่สามารถใชเ ครือ่ งมอื สือ่ การเรยี นการสอนได ๒.๘ เปนบคุ คลท่ีมจี ติ อาสาและมีความเสยี สละเปนทตี่ ง้ั ๓. สถานที่สําหรับฝก อบรม ๓.๑ การจัดสถานท่ีในการฝกอบรม ควรจัดเปนครึ่งวงกลม อยาใหขยายออกไปกวาง เพราะไมสามารถควบคมุ ใหอยใู นระบบท่ดี ีได ๓.๒ ควรใหมที วี่ า งพอสมควร พรอ มทจ่ี ะทํากจิ กรรมได ๓.๓ เครอื่ งเสียง แสงสวา ง ส่ือตา ง ๆ ตอ งพรอม ๓.๔ ถาเปนเยาวชนควรใหทุกคนน่ังพิงกับพ้ืนหองท่ีสะอาด เพราะเวลาไมมากและตอง เคล่ือนไหวอยูตลอดเวลา อยา ใหน ่ังพงิ อยางเดยี ว ๓.๕ อุปกรณอ่นื ๆ ถา มีควรจัดวางใหเ หน็ เดน ชัด เชน กลอง ไมโครโฟน กระดาน และทีมงาน กค็ วรยืนใหเ หน็ อยางชัดเจน ๔. กจิ กรรม ๔.๑ กจิ กรรมที่จดั ข้นึ เม่ือนําออกมาใหเ ลนรว มกันแลว อยา ทาํ ซา้ํ ซากหลาย ๆ ครั้ง จนนาเบ่ือ ควรเปล่ียนกจิ กรรมไปเรอ่ื ย ๆ ๔.๒ ควรใหผ เู ขารับการฝก อบรมไดมีสวนรวมในกิจกรรมมาก ๆ อยาใหเพียงนั่งพิงอยางเดียว ควรใหไ ดมกี ารเคลอ่ื นไหวอยูตลอดเวลา ๔.๓ ควรมีการยกยอง ชมเชย ถาเปนไปไดควรจัดหารางวัลเล็ก ๆ นอย ๆ เนนเปนเรื่องสนุก และเปนขวัญกาํ ลงั ใจของผเู ขา รับการฝก อบรม ๔.๔ ควรหลีกเล่ียงคําพูดท่ีทําใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรูสึกนอยเน้ือต่ําใจ คําพูดทุกคํา ควรเสรมิ แรงบวก เปน กาํ ลงั ใจ ชีจ้ ุดหมายปลายทาง ทุกขัน้ ตอนจัดออกแบบใหต อเนอ่ื งกนั เอกสารประกอบท่ี ๓ (กิจกรรมกลมุ สมั พันธ) การจดั กิจกรรมกลุมสัมพันธ จัดไดหลายวธิ ี หลายรูปแบบ แตขอ ทค่ี วรคํานึง คือ ใหทุกคนไดมีสวนรวม กนั ทาํ งาน มีอุปกรณท่สี มบูรณ ชดั เจน ไมก อใหเกิดปญหาในการเลนกิจกรรม การอธิบายความตองชัดเจนและ เปนที่เขา ใจ หลังจากเลนกิจกรรมเสร็จแลว ถาเปนกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนและสําเร็จโดยแตละกลุมเปนคนทํา ควรต้ัง หรือจัดแสดงโชว จะเปนความภาคภูมิใจของพวกเขาเหลานน้ั กิจกรรมกลุมสัมพันธท่ีเตรียมนําเสนอนั้น ผูสอนควรเตรียมการอยางนอย ๓ กิจกรรม ทั้งน้ี ควรดู พฤตกิ รรมของผเู ขา รับการฝกอบรมในชว งแรก ๆ กอ น จากน้นั จึงเลือกกจิ กรรมทีเ่ ตรยี มมาตอบสนองทนั ที ๑๔๔ 146

ช่อื วิชา บทบาทหนา ที่และความรบั ผิดชอบของลกู เสอื วสิ ามัญชอสะอาด บทเรยี นท่ี ๑๔ เวลา ๖๐ นาที ขอบขา ยวิชา ๑. ใหเ ขาใจถึงหนาท่ขี องลูกเสอื วิสามัญชอสะอาด ๒. ใหเขา วาควรจะไดรบั การฝกอบรมในเรือ่ งใดบางและวธิ ใี ด จดุ หมาย บทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบ เปนเรื่องท่ีลูกเสือวิสามัญจะตองเรียนรูและเขาใจ จนสามารถ นาํ ไปปฏบิ ัติตามบทบาททไ่ี ดรับมอบหมายไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ วตั ถุประสงค เม่ือจบบทเรียนน้ีแลว ลูกเสอื วสิ ามญั สามารถ ๑. บรรยายถงึ บทบาท หนาที่ และความรบั ผิดชอบของลูกเสอื วิสามัญชอสะอาดได ๒. อธิบายวิธีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับบทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบของลูกเสือวิสามัญ ชอ สะอาดได ๓. ระบุความตองการของตนเองเก่ียวกับบทบาท หนาท่ี และความรับผิดชอบตอลูกเสือวิสามัญ ชอ สะอาดได วิธีสอน/กิจกรรม ๑๐ นาที ๑. บรรยาย ๒๐ นาที ๒. ทาํ งานตามโครงการ ๒๕ นาที ๓. รายงาน ๕ นาที ๔. สรุป สือ่ การสอน/เอกสารประกอบ ๑. การเปน ลูกเสือชอ สะอาดท่ีมคี ุณภาพ ๒. ตวั อยา งการศึกษารายกรณี ๓. คณุ ลักษณะของลูกเสือชอสะอาดที่ดี การประเมินผล ๑. สงั เกตพฤติกรรม ๒. นําเสนอผลงาน ๓. อภิปราย ซักถาม เน้อื หาวชิ า บรรยายนํา กิจการลูกเสือวิสามัญตองการใหลูกเสือจัดทํากําหนดการดวยตนเอง ปกครองตนเอง มีความนึกคิด เชนผใู หญ ฉะน้ัน การเปน ผนู ําของลูกเสือวิสามัญชอ สะอาด จึงเปน เร่ืองที่ทาทายความสามารถอยูมาก ซ่ึงจะตอง คํานงึ ถงึ บทบาทและทกั ษะของเราอยูตลอดเวลา เพราะสถานการณย อมเปลี่ยนแปลงไป นอกจากน้ี กองลูกเสือ วิสามัญก็พัฒนาไปตามกาลเทศะดวย ในฐานะที่เปนผูใหญและผูนํา จะตองสนใจในเร่ืองความเจริญเติบโตของ คนหนุมในทางรางกาย สติปญญา จิตใจ และสังคมเปนสําคัญ กิจกรรมที่ลูกเสือปฏิบัติ ลวนเปนองคประกอบ ๑๔๕ 147

เพื่อนําไปสูหลักการสําคัญดังกลาวขางตนท้ังสิ้น รวมทั้งการยอมรับคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือไปใชใน ชีวิตประจําวนั ลกู เสอื วิสามญั ชอ สะอาดจะตอ งมีบทบาทสําคญั ๓ ประการ คอื ๑. บทบาทตองาน ซงึ่ งานในความรับผิดชอบ จาํ แนกเปน หลักใหญ ๓ ทาง คอื ก. ทางการบรหิ าร ข. ทางการปกครองบังคับบัญชา ค. ทางวิชาการ ๒. บทบาทตอกลุม คําวา “กลุม” ในที่น้ี หมายถึงกองลูกเสือ กลุมลูกเสือ ผูปกครอง บิดามารดา และกลุมบุคคลท่ีเก่ียวของกับกองลูกเสือ ลูกเสือวิสามัญชอสะอาดมีภาระท่ีจะตองรักษากลุมใหอยูรวมกัน มีความสามัคคีกัน ดูแลใหกลุมน้ันมีความสุข และสามารถทํางานรวมกัน ประสานกิจกรรมตาง ๆ ใหเขากัน ลกู เสอื จะตองปฏิบัติภาระความรับผิดชอบในประเด็นเหลาน้ีรวมกับผูกํากับอื่น ๆ และพยายามสงเสริมใหผูอ่ืน เปนผูนํา สงเสริมใหผูอ่ืนทํางานดวยตนเอง และนอยคร้ังมากที่ผูกํากับจะสั่งใหทํา หลักความจริงน้ัน ปุถุชน ธรรมดาไมชอบรับคําส่ัง แตพอใจท่ีจะไดรับความสนับสนุนใหทํางานท่ีมีความลําบากดวยตัวเอง จะไมยอม ละทิ้งความรับผิดชอบงานท่ีมีตอกลุม ลูกเสือวิสามัญชอสะอาดจะรูเปนอยางดีวากลุมของตนจะรับผลสําเร็จ อยา งไร ถงึ แมว า เขาไมป รากฏตวั คอยออกคาํ ส่ังอยูเสมอ ๓. บทบาทตอ บุคคล ลูกเสอื วิสามญั ชอสะอาดจะตองมีความรูสึกไวตอปญหา และความรูสึกของทุกคน ในกลุม โดยการยอมรับวาคนมีความแตกตางกัน ลูกเสือวิสามัญชอสะอาดจะตองทําใหทุกคนเกิดความรูสึกวา เปน พวกเดยี วกัน ทําใหเห็นวาทุกคนมีความสําคัญและมีโอกาสที่จะมีสวนรวมในกิจกรรม ซึ่งเปนการทําใหเกิด ความอบอุนและภราดรภาพ ลูกเสือใหมจะซาบซึ้งถึงบรรยากาศที่มี ตั้งแตการตอนรับครั้งแรกท่ีเขามาในกอง ถานายหมมู ีความรูสึกเหมือนผูกํากับของเขาแลว ลูกเสือใหมท่ีเขามาก็อยากจะอยูดวย ลูกเสือวิสามัญชอสะอาด ที่รูจักและเขาใจลูกเสือแตละคนเปนอยางดี จะชวยใหมองเห็นความตองการของเด็กแตละคนและสามารถ หาทางสนองความตองการได การมีบทบาทตอลูกเสือเปนรายบุคคลก็คือ หนาที่ที่จะตองฝกอบรมลูกเสือใหเปนพลเมืองดี เปนประโยชนตอสังคม ดวยการพัฒนา ๘ ประการ คือ พัฒนาทางกาย ทางสติปญญา ทางจิตใจและศีลธรรม การสรางคานิยมและเจตคติ พัฒนาทางดานสัมพันธภาพระหวางบุคคล พัฒนาทางดานสัมพันธภาพทางสังคม สัมพนั ธภาพตอชุมชน และดานความรบั ผิดชอบตอสงิ่ แวดลอ ม ความตองการในการฝกอบรมของผูกาํ กบั ลกู เสือวสิ ามัญชอสะอาด (Training Needs) มี ๕ ประการ คอื ๑. ความเขาใจเร่ืองกิจการลกู เสือ (Understanding) ๒. ทักษะเก่ยี วกบั มนษุ ยสัมพันธ (Relationship Skills) ๓. ทกั ษะเกย่ี วกับวชิ าลูกเสอื (Scouting Skills) ๔. ทกั ษะเก่ยี วกบั การวางแผน (Planning Skills) ๕. ทักษะเก่ียวกบั การนาํ ไปใช (Implementing Skills) การฝกอบรมดังกลา วทาํ ได ดงั นี้ ๑. การฝกฝนตนเอง (Self -Training) ๒. การศกึ ษาจากการสอบถามจากผูมีความรู (Personal Support) ๓. การเขา รับการฝก อบรมในวิชาการลูกเสือโดยตรง (Training Course) ๔. การเขา รวมประชมุ สัมมนาหรือสนทนาอยางไมเ ปน ทางการ (Informal Training) ๕. ศกึ ษาโดยตอบคาํ ถามจากเอกสารในการฝกอบรมแตล ะครั้งเพ่ิมเติม (Training Study) ๑๔๖ 148

โครงการทาํ งานในหมู ก. การศึกษารายกรณี (๒๐ นาที) ใหจ ัดทําเรื่อง โดยใชว ิธกี ารศกึ ษารายกรณี เร่ืองท่ีจะทํานั้นใหแสดงถึงความสัมพันธของลูกเสือวิสามัญ ชอสะอาดกับกองลูกเสือวิสามัญชอสะอาดทั้งหมด หรือใหสัมพันธกับคณะกรรมการประจํากองลูกเสือวิสามัญ ชอสะอาด เรื่องเก่ียวกับคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ อาจจะใชเปนปจจัยในการเขียนเรื่องเพ่ือการศึกษาได อยา งดี หรอื จะใชเ ร่ืองดังที่พิมพไวเ ปนเอกสารประกอบทางการศกึ ษา บทบาทของวิทยากรประจําหมูในการอภิปราย คือการชวยเหลือใหหมูไดพิจารณาปญหาตาง ๆ ที่ เกยี่ วของ ใหศึกษาวิธีการท่ีเขาสูปญหานั้น ๆ แลวทําการทดสอบโดยวิธีการแสดงบทบาท (Role Play) ถาเห็น วาเปนการเหมาะสม ครนั้ แลว ใหส รุปเปน หลกั การทั่วไปเก่ียวกับการเปนผูกํากับลูกเสือ จากเน้ือหาสาระท่ีมาจาก การศึกษาน้ี หรอื ข. โครงการ “ภาพพจนของลกู เสือวสิ ามัญชอสะอาด” (๒๐ นาที) ใหแจกบัญชีขอความเกี่ยวกับ “ลักษณะของลูกเสือวิสามัญชอสะอาดท่ีดี” ดังเอกสารประกอบ ใหสมาชิกแตล ะคนในหมูประเมนิ ขอความท่เี ขยี นทลี ะขอ และใหคะแนนตามความสาํ คญั มากนอ ย กลาวคอื ๑ = ไมส ําคัญ ๒ = สําคญั ๓ = สาํ คัญมาก ใหลงมติกนั วา ที่สาํ คญั มาก ๑๐ ขอนั้นมอี ะไรบาง เม่ือไดม ตริ วม ๑๐ ขอแลว ใหยกแตล ะขอ มาอภปิ ราย บทบาทของวิทยากรประจําหมู คอื การสนับสนุนใหแตล ะคนแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับเรื่องนนั้ ๆ หรอื ค. โครงการ “ประชาสมั พนั ธ” (๒๐ นาท)ี ใหแ ตล ะหมจู ัดทําดังตอ ไปน้ี ๑. ทําคาํ ประกาศแจงความประชาสัมพันธ ลงหนังสือพิมพเชิญชวนบุคคลใหเขามาเปนลูกเสือวิสามัญ ชอสะอาด ๒. บรรยายงานและหนาที่ของลูกเสือวิสามัญชอสะอาดสําหรับใชในโอกาสตอไป เมื่อมีใครสนองตอบ คาํ ประชาสัมพนั ธข างตน ๓. ทําบัญชีคุณลักษณะท่ีดี ๕ ประการ และทักษะ ๕ ประการ ซ่ึงผูแสดงความจํานงจะสมัครเขามา เปน ลูกเสือวสิ ามญั ชอสะอาด พึงจดั เตรียมสาํ หรบั การสัมภาษณ เพ่ือเขารบั งานทป่ี ระกาศแลว คาํ แนะนาํ สาํ หรบั วทิ ยากร การอภิปรายในหมู ภายหลังการทํางานตามโครงการ ใหใชเอกสารประกอบเร่ือง “การเปนลูกเสือ ชอ สะอาดที่มคี ุณภาพ” เปน แนวการอภิปราย แนวความคิดอันหนึ่งเกี่ยวกับบทบาทลูกเสือวิสามัญชอสะอาด คือ มีภาระหนาท่ีสําคัญท่ีตองปฏิบัติ อยู ๓ ประการ กลาวคอื ๑. ภารกจิ ตามหนา ที่ ๒. ภารกิจตอ ความตอ งการและทักษะของหมลู กู เสอื ที่เกี่ยวขอ ง ๓. ภารกจิ ความตองการและทกั ษะของลกู เสือแตล ะคน ใหเราวิเคราะหหารือหนาท่ีทั้ง ๓ ประการน้ีทีละขอ เม่ืออภิปรายใหทําบัญชีขอตาง ๆ ที่หมูหารือรวมกันเปน หลกั ฐาน จงึ ใหผเู ขารบั การฝก อบรมทาํ คําตอบ คําถามทีใ่ หไวใ นเอกสารประกอบใหแลว เสรจ็ เชน คําถามวา ๑๔๗ 149

๑. อะไรเปนภารกิจตามหนาท่ีของเราในฐานะเปนลูกเสือวิสามัญชอสะอาด อะไรควรมากอนมาหลัง มีลําดับอยางไร (เชน ดูใหการฝกอบรมลูกเสือใหบรรลุตามจุดประสงคของคณะลูกเสือแหงชาติ ชวยเหลือตาม กําหนดการ กิจกรรมตาง ๆ การเดนิ ทางสํารวจ ฯลฯ รูจักแหลงทรัพยากรท่ีมีอยูในชุมชนอันจะนํามาชวยเหลือ กจิ การลูกเสอื ) ๒. ลูกเสอื วสิ ามญั ชอสะอาดมสี วนเก่ียวของกับกลุมลูกเสืออยางไรบาง ในกิจการลูกเสือวิสามัญ เราใน ฐานะลูกเสือวิสามัญชอสะอาดควรจะมีบทบาทอยางไร (เชน คณะกรรมการประจํากองลูกเสือวิสามัญชอสะอาด ตองการความชวยเหลือประการใดบาง เราจะชวยเหลือไดอยางไร เก่ียวกับลูกเสือวิสามัญอ่ืนในกองเดียวกัน ในกลุม ในอําเภอ ในจังหวัด ดูแลใหไดมีการสื่อสาร สัมพันธระหวางกันอยางไดผล กลุมมีความสนใจในเร่ือง หนงึ่ เรือ่ งใด สงเสรมิ - ชมเชย) ๓. เรามคี วามสัมพันธก บั ลูกเสือวิสามัญชอสะอาดแตละคนในกองอยางไรบาง (เชน ชวยใหมีการพัฒนา สงเสริมใหลูกเสือไดปฏิบัติประสบการณใหม ๆ การใหคําปรึกษา มองเห็นความสามารถของลูกเสือแตละคน และรูจ กั ใชค วามสามารถน้นั ๆ ใหถ ูกทาง) เราในฐานะท่ีเปนลูกเสือวิสามัญชอสะอาด จําเปนตองมีทักษะอะไรบาง เพื่อที่จะปฏิบัติหนาท่ีเหลานี้ให ไดผลดี ? ใหทําเปนบัญชีหัวขอตาง ๆ ซ่ึงที่ประชุมกลุมไดแสดงความคิดเห็นไว (เชน ความสามารถในการส่ือสาร สัมพันธ การรูจักลักษณะนิสัยและความตองการของลูกเสือวิสามัญชอสะอาดแตละคน) เราจะไดทักษะเหลานี้ อยางไร (เชน “ดว ยการสงั เกต” “การเขา รับการฝก อบรม” “การอา นหนงั สอื เร่อื งทเี่ ก่ยี วของ” เราในฐานะท่ีเปนผูกํากับลูกเสอื วสิ ามัญชอสะอาด จะกําหนดเปาหมายการทํางานอะไรสัก ๓ อยาง ในกอง ลูกเสอื สําหรับเวลา ๖ เดอื นขางหนาน้ี ? “จะปรบั ปรงุ ทกั ษะในการใหคําปรกึ ษา” “จะใหร จู กั เขา ใจลูกเสือวิสามญั ชอสะอาดใหมากขนึ้ ” “จะใหความรบั ผิดชอบแกค ณะกรรมการประจาํ กองลกู เสือวิสามัญชอสะอาดใหมากข้ึน โดยใหควบคุม การเงิน” “จะศึกษาใหกวางขวางถึงเรื่องทรัพยากรในชุมนุม” วิทยากรประจาํ หมคู วรสง เสริมใหฝกหดั ทาํ การกําหนดเปาหมายการทาํ งานท่เี ปนจริง และเปนไปได การสรุปผล ใหแตละหมูร ายงานผลตอ ที่ประชมุ ใหญ ผูบ รรยายบทเรยี นน้จี ะกลา วเพิ่มเตมิ อีกก็ได บทเรียนนี้จะนําไปสูการปราศรัยครั้งสุดทายของผูอํานวยการฝกอบรม การกลาวปราศรัยครั้งสุดทาย ควรจะใหส้นั ยว่ั ยใุ หเกดิ กาํ ลังใจ และควรพดู ถงึ เร่อื งการศึกษาเพ่มิ เตมิ ฉบบั ท่ี ๒ โอกาสท่ีจะเขารับการฝกอบรมตอไปขางหนา (จะเปนการฝกอบรมภายนอกหรือภายในกิจการลูกเสือ ก็ได) และความชวยเหลือซึ่งอาจจะมาจากผูตรวจการลูกเสือ คณะผูใหฝกอบรมหรือจากเพื่อนผูกํากับลูกเสือ วิสามัญชอสะอาดดว ยกัน ๑๔๘ 150

บทบาทของผกู ํากับลูกเสอื วิสามัญชอสะอาด เอกสารประกอบ (๑) การเปน ลูกเสือวสิ ามญั ชอสะอาดที่มีคณุ ภาพ ลกู เสอื วสิ ามัญชอสะอาดท่ีจะปฏบิ ตั ิหนา ทอี่ ยา งไดผลดีนัน้ ควรคํานึงถงึ การจัดใหส มดุลกนั ในเรือ่ งตอไปนี้ • ภารกิจหนาท่ี • ความตองการและทักษะของกลมุ ลกู เสือทเ่ี ก่ียวของ • ความตองการและทักษะของลูกเสือแตล ะคน ทัง้ เปนผูที่มีทกั ษะ และไดรับการฝกอบรมวิชาการเพ่ือสนองความตองการนั้น ๆ และรูจักใชทรัพยากรท้ังที่เปน บคุ คลและวัสดุ ตามลาํ ดบั กอนหลงั เหมาะสมกบั สภาวการณ กลุม บุคคล ภารกจิ • อะไรบางเปนภารกิจตามหนาท่ีของเราในฐานะที่เปนลูกเสือวิสามัญชอสะอาด อะไรควรมากอน มาหลงั มลี าํ ดับอยา งไร • กองลูกเสือวิสามัญชอสะอาดของเรามีสวนเกี่ยวของกับกลุมลูกเสืออะไรบาง กองของเรามีบทบาท อะไรบาง • เรามคี วามสัมพนั ธก บั ลูกเสอื วสิ ามัญชอ สะอาดแตล ะคนในกองของเรา อยา งไรบาง • เราในฐานะที่เปนลูกเสือวิสามัญชอสะอาดจําเปนตองมีทักษะอะไร เพ่ือท่ีจะปฏิบัติหนาท่ีเหลานี้ ใหไดผลดี • เราจะไดท ักษะเหลา นอ้ี ยางไร ? ทกั ษะ ไดมาอยางไร จงกาํ หนดเปาหมายการทํางานของทา นสัก ๓ อยา ง ในฐานะทท่ี านเปน ผูกาํ กบั ลูกเสอื วิสามัญชอสะอาด สําหรับ เวลา ๖ เดือนขางหนานี้ ๑๔๙ 151

บทบาทของลูกเสอื วสิ ามัญชอสะอาด เอกสารประกอบ (๒) ตวั อยา งการศกึ ษารายกรณี ใหจัดทําเรื่องเพื่อพิจารณา โดยใชวิธีการศึกษารายกรณี เรื่องที่จะทํานั้นใหแสดงถึงความสัมพันธของ ผูก าํ กบั ลูกเสอื วิสามัญกบั กองลกู เสอื วิสามญั ท้ังหมด หรอื ใหสมั พันธกับคณะกรรมการประจํากองลูกเสือวิสามัญ เรื่องเกยี่ วกับคาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ อาจจะใชเปนปจจัยในการเขียนเรื่องเพ่ือศึกษาไดอยางดี หรือจะใช เรอื่ งดงั ขางลางน้ี ทาํ การศึกษากไ็ ด “คณะกรรมการประจํากองลกู เสือวิสามญั ประชุมกนั วางแผนจะนําลูกเสือวิสามัญไปยังแมนํ้าแควนอย อําเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ในการนี้ กองลูกเสือจะตองทําการจัดหาเงิน โดยวิธีนําส่ิงของมาจําหนาย สัก ๓ - ๔ คร้ัง ลูกเสือสมพรอายุ ๑๗ ป ไดนําผาตัดเคร่ืองแบบราชการขนาดยาว ๑๐ เมตร มาขาย ๒ - ๓ คร้ัง ซึ่งไดเงินดี พ่ีชายของสมพรซึ่งมีอายุ ๒๔ ป และออกจากการเปนลูกเสือแลว ต้ังรานตัดเส้ือผูชาย กลาวพลาง หัวเราะวา ผาที่สมพรนํามาขายเลหลังน้ัน เปนผาท่ี “แอบ” เอามาจากรานของเขา เม่ือผูกํากับลูกเสือวิสามัญ ซกั ถามสมพร สมพรบอกวา ผาเหลา นี้บางช้ินเปนเศษผาและจะท้งิ แลว ผาบางช้ินที่พ่ีชายซื้อไปก็เพียงเปนราคา เลก็ นอ ยเทานน้ั ซง่ึ ถอื เสมอื นวาพ่ีชายบริจาคในการขายเลหลัง เมื่อผูกํากับลูกเสือวิสามัญสนทนากับบิดาสมพร อยางเปนกันเอง ทราบวา ผานั้นถกู ขโมยมา แตบดิ าของสมพรเห็นวาไมเ ปน การผิดอะไรในการทําเชน น้นั ” ผูกาํ กบั ลกู เสอื วิสามัญ และ/หรอื คณะกรรมการประจาํ กองลูกเสือวิสามญั ควรจะดําเนนิ การอยา งไร บทบาทของลูกเสือวิสามัญชอสะอาด เอกสารประกอบ (๓) คุณลักษณะของลกู เสือวิสามัญชอสะอาดที่ดี ๑. จดั สมาชิกใหเ ขาอยตู ามหมู ๒. ชว ยสมาชกิ เก่ยี วกบั ปญหาสว นตัวเขา ๓. ใหความรบั ผิดชอบแกสมาชกิ ๔. ดูใหเปนทแ่ี นนอนวากจิ กรรมตาง ๆ ไมมอี นั ตรายหรอื ไมกอ ใหเ กิดความเสยี หาย ๕. เลอื กสมาชิกในกองลกู เสอื วสิ ามญั ดว ยตนเอง ๖. สง เสรมิ ใหสมาชิกพัฒนาทักษะสวนตัว ๗. ดแู ลใหม ีการชาํ ระคา บํารุงอยา งสมาํ่ เสมอ ๘. หวังวาสมาชกิ จะมาประชุมอยา งสมํ่าเสมอ ๙. ดแู ลวา สภาพทั่วไปของกองลูกเสอื อยใู นเกณฑด ี ๑๐. เขา ใจสมาชิกแตละคน ๑๑. ดูแลวาขอเสนอแนะของตนมีความสัมพันธกับกองลูกเสือวิสามัญอ่ืนและกับกลุมและสัมพันธกับองคการ เยาวชนอน่ื ๑๒. รูวากองลูกเสือวิสามัญของตนมีความสัมพันธกับกองลูกเสือวิสามัญอ่ืนและกับกลุมและสัมพันธกับองคการ เยาวชนอืน่ ๑๓. ดูแลและสนทนากบั สมาชิกแตละคนอยาสม่ําเสมอ ๑๔. ทํางานเก่ียวกบั การวางแผนและการจัดงานอยา งดี ๑๕๐ 152

๑๕. เครงครัดในการตรงตอเวลาเกยี่ วกบั งานกําหนดการของกอง ๑๖. บันทึกเปน ลายลกั ษณอักษรในเรอ่ื งท่ีเกย่ี วกับส่ิงตา ง ๆ ที่เกิดข้ึนแกกอง ๑๗. บอกใหสมาชกิ ทราบวา เขาจะตองทาํ อะไรบาง เพียงไร ๑๘. ฝก อบรมสมาชิกใหร วมมือกันทํางาน ๑๙. แจงใหส มาชกิ ทราบถงึ เรื่องท่จี ะมีการเปลี่ยนแปลงอะไร ๒๐. มอบใหค ณะกรรมการประจาํ กองลกู เสอื วสิ ามัญปฏิบตั งิ านตามความรับผดิ ชอบของคณะกรรมการ ๒๑. รักษาความเปนระเบียบเรียบรอยในกองอยางดี ๒๒. อนญุ าตใหสมาชกิ มสี วนรว มในการแสดงความคดิ เห็น ลงมติ ๒๓. รจู กั “ภมู ิหลงั ” ของสมาชิกแตละคน ๒๔. บอกใหส มาชิกรักษาสถานท่ใี หส ะอาดและเปนระเบยี บ ๒๕. รูวาเม่อื ไรบางสง่ิ บางอยา งกอ ใหเกดิ อะไร หรอื อาจจะกอใหเกดิ ความยงุ ยาก ๒๖. จดั ใหมีการติดตอและการแขง ขนั กับกองลกู เสือวสิ ามัญอืน่ ๒๗. ดูแลวา อุปกรณไดเ กบ็ รักษาไวอยา งเรยี บรอ ย ๒๘. จดั การประชุมสมาชกิ อยางสมาํ่ เสมอ เพื่อทําความตกลงกันในเรอ่ื งตาง ๆ ๒๙. ตรวจสอบเรื่องตา ง ๆ ทเ่ี กี่ยวกบั การเงิน ๓๐. ยอมรบั ผิดและไมตาํ หนผิ ูอืน่ ๓๑. แสดงความคิดเห็นของตนอยางแจงชดั เปน ลายลักษณอกั ษร ๓๒. เปนนกั ปาฐกท่ีดี ๓๓. ไมยอมใหมีการรวมกลุมรวมแกง ในกองลูกเสือวสิ ามญั ๓๔. ไมม ีใครเปนคนรกั โดยเฉพาะ ๓๕. ไมเปน เพอื่ นจนเกนิ ไปกับสมาชกิ ๓๖. แบงสมาชกิ ใหทาํ งานตามทถ่ี นดั ๓๗. อธบิ ายกฎและขนบธรรมเนยี มประเพณีของกองใหสมาชิกทีม่ าใหมทราบ ๓๘. บอกกับผชู ว ยทํางานวา เขาทํางานไดดหี รือไม ๓๙. รูวา ตนเองมีความรบั ผดิ ชอบตอใคร ๔๐. มคี วามสามารถอยางดใี นกจิ กรรมแทบทุกอยางของกอง ๔๑. ขจัดสมาชิกที่กอ ความยุงยากใหหมดไป ๔๒. ทาํ ใหส มาชิกตองการยอมรับคา นิยมท่ีดี ๔๓. มกี ารควบคุมตวั เองอยางดี ๔๔. เขากบั ผูบังคบั บญั ชาลกู เสอื อน่ื ไดด ี ๔๕. ขจดั ความเดือนรอนตาง ๆ ซึ่งทุกฝา ยพอใจ ๔๖. แจง คณะกรรมการกลุมทราบวา มอี ะไรเกิดขึน้ บา ง ๔๗. ใชเ วลา ณ ท่ที ํางานที่กองลกู เสือวสิ ามัญ อยา งสม่ําเสมอแตล ะสัปดาห ๔๘. จะหาตัวไดเสมอ ณ ทท่ี าํ งานกองลูกเสือวิสามัญ เมื่อมีการประชมุ ในเวลาที่กาํ หนด ๔๙. ฟง ความคิดเหน็ ของสมาชกิ ๕๐. ไมตระหนกตกใจ ๑๕๑ 153

ส่วนที่ ๓ กิจกรรมเสนอแนะ 154

การประดบั เครื่องหมายลูกเสือวิสามญั ชอสะอาด ตราสญั ลกั ษณล ูกเสือชอสะอาด ช่อื เครอื่ งหมาย “ลกู เสือชอสะอาด” ประดบั ท่ีอกเสื้อดานขวาเหนือกระเปา สญั ลักษณ “ชอสะอาด” เปนสัญลกั ษณสง เสริมคณุ งามความดี ซง่ึ ไดรวบรวมทุกลานมือขาวใสสะอาด ของคนบนแผนดินไทย ท้ังในและนอกราชอาณาจักร โดยไมจํากัดเพศ วัย เชื้อชาติ และศาสนาใด ๆ ท้ังสิ้น รวมเขาไวเปน หนึ่งเดยี วกนั ผูกดวยโบวสธี งชาตไิ ทย แสดงถงึ การรวมพลงั ไทยทาํ ดที ุกคนเขาไวดว ยกัน สัญลักษณ “วงเชือกผูกเง่ือนพิรอด” หมายถึง ความสามัคคีและความเปนพี่นองกันของขบวนการ ลูกเสอื โลก สัญลักษณ “ลูกเสือ” ประกอบดวย สัญลักษณลูกเสือโลก คือ รูปเฟอรเดอลีส (Fleur-de-lis) ประกอบกับรปู หนา เสือ มีอกั ษรจารึกดา นลา งวา “เสยี ชพี อยา เสยี สตั ย” พื้นสขี าว แสดงถงึ ความบรสิ ุทธิ์ ความซ่ือสตั ยส ุจรติ เชือกสีมวง แสดงถึง ความเปนผูนําและการชวยเหลือผูอ่ืน และเปนสีของวันท่ีมีการประกาศใช รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซ่ึงเปนวนั เสาร คําขวัญ “เสียชีพอยาเสียสัตย” สื่อถึง ความภูมิใจในลูกเสือไทย มีจิตสํานึกในการทําความดี และ ความมคี ณุ ธรรม จริยธรรมของลูกเสือ ๑๔๕ 155

แนวทางการจัดต้ังกองลูกเสือวิสามญั ในสถานศึกษา การจัดตัง้ กองลกู เสอื - เนตรนารีในสถานศกึ ษา การจัดกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารีในสถานศึกษาตามหลักสูตรที่สถานศึกษากําหนด ควรดําเนินการ ใหเปนไปตามขอบงั คับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ พ.ศ. ๒๕๐๙ ผูบริหาร โรงเรียนและผรู บั ผดิ ชอบกิจกรรมลกู เสือ ควรสาํ รวจขอ มูลลกู เสือ - เนตรนารี และดําเนนิ การดังน้ี ๑. รับสมัครนักเรียนและรวบรวมจํานวนลูกเสือ - เนตรนารี แตละประเภทแลวเขียนใบสมัครเขาเปน ลกู เสือ (ใชแ บบ ลส.๓) ดังนี้ ๑.๑ กองลูกเสือสํารอง หมายถึง นักเรียนชายท่ีเรียนระดับชวงชั้นท่ี ๑ ตามหลักสูตร การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหน่ึงมีลูกเสือ ๔ - ๖ คน รวมท้ังนายหมูและรองนายหมูดวย (ขอบังคับฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ขอ ๗๒) กองลูกเสือสํารองมีลูกเสือ ตงั้ แต ๘ - ๓๖ คน (ขอบังคบั ฯ พ.ศ. ๒๕๐๘ ขอ ๖) ๑.๒ กองเนตรนารีสํารอง หมายถึง นักเรียนหญิงท่ีเรียนระดับชวงช้ันที่ ๑ ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหน่ึงมี เนตรนารี ๔ - ๖ คน รวมท้ังนายหมูและรองนายหมูดวย (ขอบังคับฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ขอ ๗๒) กองเนตรนารีสํารอง มเี นตรนารตี ั้งแต ๘ - ๓๖ คน ๑.๓ กองลูกเสือสามัญ หมายถึง นักเรียนชายท่ีเรียนระดับชวงช้ันที่ ๒ ตามหลักสูตร การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๔ - ๖ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหนึ่งมีลูกเสือ ๖ - ๘ คน รวมทั้งนายหมูและรองนายหมูดวย (ขอบังคับฯ ฉบับท่ี ๑๓ พ.ศ. ๒๕๒๕ ขอ ๘๔) กองลูกเสือสามัญ มีลูกเสือตงั้ แต ๑๒ - ๔๘ คน (ขอบังคบั ฯ พ.ศ. ๒๕๐๘ ขอ ๖) ๑.๔ กองเนตรนารีสามัญ หมายถึง นักเรียนหญิงที่เรียนระดับชวงชั้นท่ี ๒ ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๔ - ๖ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหน่ึงมี เนตรนารี ๖ - ๘ คน รวมทัง้ นายหมแู ละรองนายหมูด ว ย กองเนตรนารสี ามัญมเี นตรนารีต้งั แต ๑๒ - ๔๘ คน ๑.๕ กองลูกเสือสามัญรุนใหญ หมายถึง นักเรียนชายที่เรียนระดับชวงช้ันท่ี ๓ ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหนึ่งมีลูกเสือ ๖ - ๘ คน รวมทงั้ นายหมูและรองนายหมดู วย กองลูกเสอื สามญั รุนใหญมีลูกเสือต้ังแต ๘ - ๔๘ คน (ขอบังคับฯ ฉบบั ท่ี ๑๔ พ.ศ. ๒๕๒๘) ๑.๖ กองเนตรนารีสามญั รนุ ใหญ หมายถงึ นักเรียนหญิงที่เรียนระดับชวงชั้นท่ี ๓ ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหน่ึงมี เนตรนารี ๔ - ๘ คน รวมท้ังนายหมแู ละรองนายหมดู วย กองเนตรนารสี ามัญรุนใหญมีเนตรนารีตง้ั แต ๘ - ๔๘ คน ๑.๗ กองลูกเสือวิสามัญ หมายถึง นักเรียนหรือนักศึกษาชายที่เรียนระดับมัธยมศึกษาปท่ี ๔ - ๖ หรอื ประกาศนียบัตรวิชาชีพ - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือระดับอุดมศึกษา ประกอบดวยลูกเสือ วิสามัญอยางนอ ย ๑๐ คน ไมเ กนิ ๔๐ คน กองลกู เสอื วสิ ามัญจะแบง เปนชดุ หรือหมูตามความตองการก็ได และ ควรมลี กู เสอื วิสามัญชุดหรือหมลู ะ ๔ - ๖ คน รวมท้งั นายหมแู ละรองนายหมูดวย ๑.๘ กองเนตรนารวี ิสามัญ หมายถึง นักเรียนหรือนักศึกษาหญิงที่เรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ ๔ - ๖ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ - ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันสูง หรือระดับอุดมศึกษา ประกอบดวยเนตรนารี วสิ ามัญอยา งนอ ย ๑๐ คน ไมเกิน ๔๐ คน กองลูกเสือวิสามัญจะแบงเปน ชุดหรือหมูตามความตองการก็ได และ ควรมีลูกเสือวิสามญั ชุดหรือหมลู ะ ๔ - ๖ คน รวมทง้ั นายหมแู ละรองนายหมูดวย ๑๔๖ 156

๒. เรมิ่ ทาํ การสอนวชิ าลกู เสือ - เนตรนารีตามหลักสูตรกาํ หนด ๓. มีผูบังคับบัญชาที่ผานการฝกอบรมวิชาผูกํากับลูกเสือประเภทนั้น ๆ อยางนอยขั้นความรูเบ้ืองตน ๑ คน ทําหนาท่ีเปนผูกํากับกับ มีรองผูกํากับอีก ๑ คน ขึ้นไปเปนผูชวย (วิธีปฏิบัติของสํานักงานฯ กลุมลูกเสือ ๑ กลมุ มีกรรมการกลมุ ไมเ กิน ๔๐ คน และกองลูกเสือ ๑ กอง มรี องผกู ํากับไมเ กนิ ๑๐ คน) ๔. ดําเนนิ การขออนุญาต โดยกรอกลงแบบคาํ ขอตอไปนี้ แบบละ ๓ ชุด ๔.๑ ล.ส.๑ ใบคาํ รองขอต้ังกลุมลกู เสอื หรอื กองลูกเสอื ๔.๒ ล.ส.๒ ใบสมัครขอเปน ผบู งั คับบญั ชาลกู เสือ ๔.๓ ทาํ หนงั สือนําของผูบังคับบัญชา/ผูขออนุญาต สงผานหนวยงานตนสังกัดเพ่ือขออนุญาต ตอผมู อี ํานาจแตงต้ังแลวแตกรณี ถึงเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติหรือผูอํานวยการลูกเสือจังหวัด สงใบ แตงตง้ั ใหเปนเจาหนาท่ลี กู เสือ (ลส.๑๓) ตาํ แหนงผกู าํ กับหรือรองผูก ํากับมาใหโรงเรียน ๕. เม่ือไดรับอนุมัติใหตั้งกองไดแลว ใหทําพิธีเขาประจํากองและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตามปกตอิ ยางตอเนื่อง (โรงเรียนจะไดรับ ลส.๑๑ หรือ ลส.๑๒ ใหต้ังกลุมหรือกองลูกเสือจากสํานักงานลูกเสือ แหง ชาตหิ รือสํานกั งานคณะกรรมการลกู เสือจงั หวัด) ๑๔๗ 157

เกณฑการจดั ต้ังลูกเสอื วิสามัญชอสะอาดในสถานศกึ ษา ๑. สถานศกึ ษาตอ งจัดการอบรมหลักสูตรลูกเสือวิสามญั ชอ สะอาด อยางนอ ย ๒ หมู ๆ ละ ๔ - ๘ คน ๑.๑ ฝกอบรมหลกั สูตรลูกเสอื วิสามญั ชอ สะอาด ๓ วัน ๒ คืน (ไดรบั วฒุ ิบตั ร) ๑.๒ ทดสอบความรูดานความซื่อสัตยสุจริต ความโปรงใส ความเปนพลเมืองดี และจิตอาสา จากคณะกรรมการ ๑.๓ เขารวมกิจกรรมรณรงค เผยแพร ประชาสัมพันธความซ่ือสัตยสุจริต ความโปรงใส ความเปนพลเมืองดีและจิตอาสา รวมกับสถานศึกษา ครอบครัว และชุมชน หรือมีสวนรวมกิจกรรม สาธารณประโยชน อยางนอ ย ๓ กิจกรรม (ภายในระยะเวลา ๓ เดือน) ๑.๔ ผูบ ังคบั บญั ชาลกู เสือวิสามัญชอ สะอาดรบั รองผลการปฏบิ ตั ิงาน ๒. ตองมีผูบงั คับบัญชาลกู เสือวิสามัญชอสะอาดในโรงเรยี น อยา งนอย ๑ คน ๓. การดําเนินการขอมีลกู เสอื วิสามญั ชอสะอาดในสถานศกึ ษา ๓.๑ ผบู งั คับบัญชาลูกเสือในสถานศึกษา ทําหนังสือแจงผลการอบรมหลักสูตรลูกเสือวิสามัญ ชอสะอาดผานสถานศึกษา ผานสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด จากนั้น สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด สง ไปยงั สํานักงาน ป.ป.ช. (สวนกลาง) รวบรวมและพิจารณานําเสนอตอไปยังสํานักงานลูกเสือแหงชาติ ในการน้ี ใหสถานศกึ ษาทําสาํ เนาแจงสาํ นักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาทีด่ ูแล รับทราบอกี ทางหน่งึ ดว ย ๓.๒ สํานักงานลูกเสือแหงชาติ เมื่อไดรับหนังสือและพิจารณาเห็นสมควรรับรองให สถานศึกษามีลูกเสอื วิสามัญชอสะอาดได กจ็ ะมีหนงั สอื ตอบกลบั ไปยังสถานศกึ ษาที่มหี นังสอื ขออนุญาตมา ๓.๓ สถานศกึ ษาสามารถจดั อบรมขยายผลหลกั สูตรลกู เสอื วิสามัญชอ สะอาดตอไปได ๑๔๘ 158

ปณธิ านลกู เสือวสิ ามัญชอสะอาด ขอบขา ยวิชา มคี วามรสู ึกท่ีดี ประทบั ใจตอ การตั้งปณิธานในการทําความดเี พื่อสังคม เพื่อชาติบานเมอื ง จดุ หมาย นาํ ปณิธานลูกเสอื ชอ สะอาดไปใชใ นชวี ติ ประจาํ วันและเผยแพรหลกั การลูกเสอื ชอสะอาด วัตถปุ ระสงค ๑. อธิบายความหมายของคาํ วา ปณิธานได ๒. ลาํ ดับขั้นตอนพิธีต้งั ปณิธานของลกู เสือชอสะอาดได ๓. บอกความสําคญั ของพธิ ีตั้งปณิธานของลูกเสือชอสะอาดได วธิ ีสอน/กิจกรรม ๑. นาํ เขา สบู ทเรยี น “เพลงความฝนอันสูงสุด” ๒. บรรยายความหมายและความสาํ คัญของคาํ ปณธิ าน ๓. กิจกรรม “การต้งั ปณธิ านลูกเสือชอสะอาด ๔. สรปุ ส่ือการสอน ๑. เพลงความฝน อันสูงสุด ๒. เอกสารประกอบ ๓. เอกสารสาํ รองตนเอง ๔. เอกสาร คาํ ปณธิ านของลูกเสือวสิ ามัญชอสะอาด การประเมินผล สงั เกต/สอบถาม ความฝน อนั สูงสดุ ขอฝนใฝในฝนอันเหลอื เชื่อ ขอสูศึกทุกเมือ่ ไมหวั่นไหว ขอทนทุกขรุกโรมโหมกายใจ ขอฝาฟน ผองภัยดว ยใจทะนง จะแนวแนแกไขในสง่ิ ผิด จะรักชาติจนชีวิตเปน ผยุ ผง จะยอมตายหมายใหเ กียรตดิ าํ รง จะปดทองหลังองคพระปฏมิ า ไมท อถอยคอยสรางสง่ิ ที่ควร ไมเ รรวนพะวาพะวังคิดกงั ขา ไมเ คืองแคนนอ ยใจในโชคชะตา ไมเสียดายชีวาถาส้นิ ไป ๑๔๙ 159

น่ีคือปณธิ านที่หาญมงุ หมายผดุงยุติธรรมอันสดใส ถึงทนทุกขทรมานนานเทาใด ยังมัน่ ใจรกั ชาติองอาจครนั โลกมนษุ ยยอ มจะดีกวานีแ้ น เพราะมีผไู มยอมแพแมถ ูกหยัน คงยืนหยัดสไู ปใฝประจัญ ยอมอาสัญก็เพราะปองเทิดผองไทย บรรยายนํา กิจการลูกเสือนั้น ส่ิงที่สําคัญอยางหนึ่ง คือ ความเปนผูมีความเช่ือม่ัน พึ่งพาตนเอง ไมหวังในโชคลาภ ในส่ิงที่มองไมเห็น ทุกอยางของลูกเสือเปนเร่ืองที่ตองทําข้ึนเอง ดวยความอุตสาหะ พากเพียร เพื่อใหบรรลุ เปาหมายท่ีวางไว ดังคําวา “Revering to Success” การเดินทางไปสูความสําเร็จ อันเปนแนวปฏิบัติของ ลูกเสอื วิสามัญ สําหรบั ลกู เสือวสิ ามัญชอสะอาด การตัง้ ใจทีจ่ ะประพฤติใหเ ปนบคุ คลทซี่ ือ่ สตั ย สุจริต รักความยุติธรรม การตัง้ ใจคือการตัง้ ปณธิ าน และการที่จะไดเขา ใจและซาบซงึ้ ถึงความหมายของการต้ังปณิธาน ก็คือการเขารวม พธิ ีกรรมเพ่อื โนมนา วจติ ใจ สรา งความประทบั ใจใหศรทั ธา ยึดมัน่ ในปณธิ านตลอดไป กิจกรรมการตงั้ ปณธิ าน (๙๐ นาที) ๑. ทาํ ความเขาใจ (๓๐ นาที) สมาชิกผูเขารับการอบรมพรอมกัน ควรจัดสถานท่ีใหเหมาะสมกับบรรยากาศดี สบาย สงบ อาจใหนั่ง บนพ้ืนท่ีมีรองนั่งเพื่อลองฟงคําบรรยายหรือปาฐกถาในเร่ืองของคําปณิธาน โดยผูมีความรูหรือทักษะใน การบรรยาย (อาจเปนผูนาํ ทางศาสนา หรอื แตล ะศาสนากไ็ ด) ๒. สํารวจความตั้งใจ เม่ือเสร็จพิธีการทําความเขาใจแลว มาสงลําดับข้ันที่สอง คือ สํารวจความต้ังใจ ใหสมาชิกผูเขารับ การอบรมทําใจใหสงบ อยูในอาการสํารวม คณะวิทยากรแจกเทียนและแจกเอกสารการพิจารณาตนเองของ ลูกเสือวิสามัญชอสะอาด (เอกสาร ๔) ใหผูเขารับการอบรมตอเทียนจากวิทยากร แลวอานเอกสารภายใต แสงเทียน เมอ่ื อา นจบและมีความมั่นใจจะตั้งปณิธาน ใหด บั เทียนแลว เตรยี มตัวเดนิ ตามผูนํา ๓. การเดินทางไปสปู ณิธาน สมาชิกผูเขารับการอบรมออกเดินทางไปสูพิธีกรรมการต้ังปณิธาน ภายใตการนําของผูเปนประธาน ในพิธี ระหวางทางท่ีเดินไปสูพิธีกรรม ประธานจะใหโอวาทถึงผลดีของการตั้งปณิธาน และการทําปณิธานให ประสบความสําเร็จ ๔. พธิ กี รรมปณิธาน เม่ือสมาชกิ ผเู ขา รบั การฝกอบรมมาลงคูหาลูกเสือวิสามัญ ประธานในพิธีกราบพระรัตนตรัย และถวาย บงั คมวางพวงมาลาท่ีพระรูปพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจาอยูหัว เสร็จแลวผูเขารับการฝกอบรมกราบพระ แลวรับปณิธานชอสะอาดจากพานหนาพระรูปฯ แลวกลับเขาท่ี ประธานนํากลาวคําปณิธาน สมาชิกกลาวตาม ประธานมอบของทรี่ ะลกึ แลว และใหโ อวาท เปน การเสร็จพิธี ๑๕๐ 160

\\ พธิ ีปณธิ านลูกเสอื วิสามัญชอ สะอาด ๑๕๑ 161

บรรณานกุ รม กาญจนา หาสิตะพนั ธ. (๒๕๓๕) “การควบคุมตนเอง” ในชมุ ชนทางวชิ ากรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพครุ สุ ภา คณะกรรมการลูกเสอื ฝา ยพฒั นาบุคลากร. สํานักงานลูกเสือแหง ชาติ, คมู อื การฝกอบรมผูบังคบั บัญชาลูกเสอื ขั้นผชู ว ยผูใ หก ารฝกอบรมฯ. เอกสารอัดสําเนา งานสงเสริมเครอื ขาย, องคป ระกอบของเครือขา ย, การพฒั นาเครือขายสูความยั่งยืน. กองสง เสรมิ และพฒั นา เครือขาย สาํ นักงานสงเสริมสวัสดภิ าพและพิทกั ษเ ด็ก เยาวชน ผดู อยโอกาส คนพิการ และผสู งู อายุ กระทรวงพฒั นาสงั คมและความม่นั คงมนษุ ย จรรยา เกษศรีสงั ข. (๒๕๓๗) วิธีเผชญิ ปญ หาของนกั เรยี นนายรอ ยตาํ รวจ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (จติ วทิ ยาการแนะแนว) กรุงเทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ. เฉลิมพล โสมอินทร. (๒๕๔๗) “การใชช ีวิตของวยั รุน ไทยในปจจุบนั ” พิมพค ร้งั ท่ี ๑. กรงเทพฯ: สํานกั พมิ พ สตู รไพศาล. ชาํ เลอื ง วฒุ จิ นั ทร. (๒๕๒๒). คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม: หลกั การและวธิ กี ารพัฒนาจริยศึกษาในสถานศกึ ษา สังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร. กรุงเทพฯ: กรมศาสนา. ดวงเดือน พนั ธุมนาวิน. (๒๕๒๗, กุมภาพนั ธ-มนี าคม). “จติ วทิ ยาการปลกู ฝงวนิ ัยแหง ตน” แนะแนว ๑๘ (๙): ๕๘-๗๑. ธนา ประมุขกุล. เครือขา ยวารสารสงเสรมิ สขุ ภาพและอนามยั สิ่งแวดลอม ปท ี่ ๒๔ ฉบบั ท่ี ๓, ก.ค.-ก.ย. พ.ศ. ๒๕๔๔ นายแพทย กติ ิ ตยคั คานนท. เทคนคิ การสรางภาวะผนู าํ ประวีณ ณ นคร และเสนาะ ติเยาว. (๒๕๒๕). เอกสารสอนชุดวชิ าการบรหิ ารงานบุคคลในโรงเรยี นหนว ยที่ ๑๑ นนทบรุ ี: มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. ไพศาล ภูไพบูลย องั คณา ตติรตั น และปนัดดา มสี มบัตงิ าม. หนา ทีพ่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนนิ ชีวติ ใน สังคม ม.1. พิมพครง้ั ท่ี 1. กรุงเทพฯ: อักษรเจรญิ ทศั น. ลัดดาวรรณ ณ ระนอง. (๒๕๒๒) การทดลองใชกจิ กรรมกลุมเพื่อพฒั นาความมวี ินัยในตนเอง. ปริญญานิพนธ. กศ.ม. (วชิ าเอกจิตวทิ ยาการแนะแนว ). กรุงเทพฯ: บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. อัดสาํ เนา สชุ า จนั ทรเ อม. (๒๕๔๒) จติ วทิ ยาวัยรุน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณชิ ย สํานักการลกู เสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรยี น, สารานกุ รมลกู เสอื เลม ที่ ๑-๔, โรงพิมพค รุ ุสภา ลาดพราว สํานกั งานลกู เสือแหง ชาติ, พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑, โรงพิมพค รุ สุ ภา ลาดพรา ว สํานกั งานลูกเสือแหง ชาติ, คมู ือการชมุ นุมรอบกองไฟ, เอกสารอดั สาํ เนา สํานักงานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแหง ชาติ, คมู ือการฝกอบรมวิชาผูกํากบั ลกู เสือวสิ ามัญข้นั ความรูเบื้องตน โรงพิมพครุ สุ ภา ลาดพรา ว, ๒๕๔๕ สํานกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแหงชาติ, คมู ือการฝกอบรมขนั้ ผูชว ยผใู หการฝกอบรมวชิ าผกู ํากับลกู เสือ โรงพมิ พคุรสุ ภา ลาดพรา ว, ๒๕๔๕ สํานกั งาน ป.ป.ช., คูมอื กฎหมาย ป.ป.ช. และกฎหมายท่เี ก่ียวของ, เอกชยั ศรวี ลิ าศ, พลเอก. การสรางเครือขา ยและการประสานงาน. สาํ นกั สันติวธิ ีและธรรมาภบิ าล สถาบัน พระปกเกลา ๑๕๒ 162

เอนกกลุ กรแี สง. (๒๕๐๒). จิตวทิ ยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พพิฆเนศ. เอกวทิ ย ณ ถลาง. (๒๕๓๕) “หลกั การและโครงสรา งของหลักสตู รประถมศึกษา” ประชากรศกึ ษา ถา ยเอกสาร แหลงขอมูล www.bureausrs.org สบื คนเมื่อวนั ท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๕๖ แหลง ขอมูล www.scoutthailand.org สืบคนเม่ือวันท่ี ๒๒ ตลุ าคม ๒๕๕๖ แหลง ขอ มูลwww.nacc.go.th สบื คน เมอ่ื วนั ท่ี ๙ กนั ยายน ๒๕๕๖ แหลง ขอ มูล www.oppn.opp.go.th/research01.php สืบคน เมอ่ื วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๕๖ Ausubel, David P. (1968). Education psychology: A Cognitive View. New York: Hoet, Rinehart and Winston. Mussen,Paul H. and others. (1969). Chsld Development and Personality. 3rd ed. New York: Harper & Row. ๑๕๓ 163

ภาคผนวก 164

คาํ สั่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ี 73/2556 เรอ่ื ง แตง ตัง้ คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลกู เสอื ชอสะอาด คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุมคร้ังท่ี 152 - 17/2556 เม่ือวันท่ี 28 กุมภาพันธ 2556 มมี ตเิ ห็นชอบใหแ ตง ต้ังคณะอนกุ รรมการบรหิ ารโครงการลูกเสอื ชอสะอาด ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 19 (16) แหงพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2554 จึงใหแ ตงต้งั คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอ สะอาด ประกอบดวย 1. ศาสตราจารย (พิเศษ) วิชา มหาคุณ ทป่ี รกึ ษา 2. นายศุภกร วงศปราชญ ประธานอนกุ รรมการ 3. รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรือ ผูชวยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. (กลุมภารกจิ ดา นสง เสรมิ จริยธรรม คุณธรรม และ ปองกนั การทุจริต) อนกุ รรมการ 4. นายนคิ ม อนิ ทรโสภา อนุกรรมการ 5. นายคงวฒุ ิ ไพบลู ยศิลป อนุกรรมการ 6. นายเดช วรเจรญิ ศรี อนกุ รรมการ 7. นางวรรณภา พรหมถาวร อนกุ รรมการ 8. นายสมมาต สงั ขพันธ อนกุ รรมการ 9. นายโอฬาร เกง รกั ษสตั ว อนุกรรมการ 10. ผอู าํ นวยการสํานักปองกนั การทจุ ริตภาครฐั อนกุ รรมการ 11. ผูอ าํ นวยการสํานกั ปอ งกันการทุจริตภาคประชาสงั คม และการพฒั นาเครอื ขาย อนุกรรมการ 12. ผอู าํ นวยการสํานักปอ งกนั การทุจรติ ภาคการเมือง อนุกรรมการและเลขานกุ าร 13. นางสวุ ฒั นา ธรรมประภาส อนกุ รรมการและผชู วยเลขานกุ าร 14. นางสาวสุพชิ ญา อาภาวศนิ อนกุ รรมการและผูชว ยเลขานกุ าร 15. นางขวญั ใจ กลิน่ ขจาย อนุกรรมการและผชู วยเลขานุการ 16. นายศุภสิทธิ์ รกั ไทยดี อนุกรรมการและผชู ว ยเลขานุการ /โดยมอี ํานาจหนาท่ี... ๑๕๓ 165

โดยมอี าํ นาจหนาท่ี ดังน้ี (1) ประสานความรวมมือในการดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาดระหวางสํานักงานลูกเสือ แหงชาติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานกั งาน ป.ป.ช. และหนวยงานอ่นื ท่เี กีย่ วของ (2) พิจารณาจัดทําคูมือแนวทางปฏิบัติในการดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด จัดทํา หลกั สตู ร “ลูกเสือชอ สะอาด” ท่เี หมาะสมกบั กจิ กรรมลกู เสอื ในแตล ะชวงชนั้ เรียน (3) ดําเนินงานตามกรอบแนวทางปฏิบัติหรือข้ันตอนการดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด ตามท่กี ําหนด (4) ดําเนินการอ่ืนตามท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย ทงั้ น้ี ตั้งแตวันท่ี 28 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2556 เปน ตนไป ส่ัง ณ วันที่ 11 มนี าคม พ.ศ. 2556 (นายปานเทพ กลาณรงคร าญ) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ๑๕๔ 166

คําสัง่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ 220/2556 เร่อื ง แตงตงั้ คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด (เพม่ิ เติม) ตามคําส่ังคณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ี 73/2556 ลงวันที่ 11 มีนาคม 2556 แตงต้ัง คณะอนกุ รรมการบรหิ ารโครงการลกู เสือชอ สะอาด นน้ั บัดนี้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุม ครั้งที่ 481 - 46/2556 เม่ือวันที่ 20 มิถุนายน 2556 มีมติเห็นชอบใหแตงตั้งคณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด (เพ่ิมเติม) จํานวน 5 ราย ฉะน้ัน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 19 (16) แหงพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2554 จึงใหแตงตัง้ คณะอนุกรรมการบรหิ ารโครงการลูกเสอื ชอสะอาด (เพิ่มเตมิ ) จาํ นวน 5 ราย ดังน้ี 1. พลโทสมหมาย วงษมาก อนกุ รรมการ 2. นายวายุ พยคั ฆันตร อนกุ รรมการ 3. นายศจั ธร วัฒนะมงคล อนุกรรมการ 4. นายกฤษณ โกไศยกานนท อนกุ รรมการ 5. นางสธุ ินี ขาวออ น อนุกรรมการ ท้งั นี้ ต้ังแตว ันที่ 20 มถิ ุนายน พ.ศ. 2556 เปนตน ไป สั่ง ณ วันท่ี 28 มิถุนายน พ.ศ. 2556 (นายปานเทพ กลาณรงคร าญ) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ๑๕๕ 167

คําสงั่ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตรว าดวยการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ โดยใชก ลไกทางการศึกษา ท่ี 3/2556 เร่ือง แตงตั้งคณะทํางานจัดทําหลักสตู รและคูมือการฝก อบรมลูกเสอื ชอสะอาด ตามที่ คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตรวาดวยการปองกันและปราบปรามทุจริต โดยใชก ลไกทางการศึกษา เห็นชอบใหดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด และคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดมีคําส่ัง แตงต้ังคณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด เพ่ือพิจารณาการดําเนินงานตามกรอบแนวทาง การดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด ซ่ึงการจัดทําหลักสูตรและคูมือการฝกอบรมลูกเสือชอสะอาด เปนขัน้ ตอนหนงึ่ ของการดาํ เนนิ โครงการลูกเสือชอสะอาด นน้ั ดงั นน้ั เพอื่ ใหการจดั ทาํ หลกั สตู รและคูมอื การฝกอบรมลกู เสอื ชอสะอาด สําหรับลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ เปนไปดวยความเรียบรอย จึงใหแตงตั้งคณะทํางาน จดั ทาํ หลกั สตู รและคมู อื การฝก อบรมลูกเสอื ชอ สะอาด ประกอบดวย นายศุภกร วงศปราชญ ทป่ี รึกษา นายพะนอม แกวกาํ เนิด ทปี่ รกึ ษา พลเรือเอกสุชาติ กลศาสตรเสนี ทป่ี รกึ ษา นายนคิ ม อนิ ทรโสภา ท่ีปรกึ ษา นายคงวุฒิ ไพบูลยศิลป ที่ปรึกษา 1. นายวายุ พยัคฆันตร ประธานคณะทาํ งาน 2. นายกฤษณ โกไศยกานนท คณะทํางาน 3. นางสาวจตพุ ร พลู แกว คณะทํางาน 4. นางสาวจิราภรณ วงศถิรวฒั น คณะทํางาน 5. นางสาวจริ าภรณ ภูอดุ ม คณะทํางาน 6. นายชมุ พล ชมุ จิตร คณะทํางาน 7. นายเดช วรเจรญิ ศรี คณะทาํ งาน 8. นายทวศี ักด์ิ ทวรี ตั นธรรม คณะทาํ งาน 9. นายทองชุบ ศรแกว คณะทํางาน 10. นายพรัชฌ ผุดผอง คณะทํางาน 11. นายไพฑูรย พันธุชาตรี คณะทาํ งาน 12. นางวรรณภา พรหมถาวร คณะทาํ งาน ๑๕๖ 168

13. นายวลฺลภ ยตุ ธิ รรมดํารง คณะทาํ งาน 14. นายวิรชั บญุ ชัยศรี คณะทาํ งาน 15. นายศัจธร วฒั นะมงคล คณะทาํ งาน 16. นางศริ ิณี บญุ ปถมั ภ คณะทํางาน 17. นางสวุ ัฒนา ธรรมประภาส คณะทาํ งาน 18. นายสมเกยี รติ ฮะวังจู คณะทํางาน 19. นายสมเจตน พงษว สิ ุวรรณ คณะทาํ งาน 20. นายสภุ โชค เกษมจิต คณะทํางาน 21. นายเสนห  ภูสวา ง คณะทาํ งาน 22. นายโอฬาร เกง รกั ษส ตั ว คณะทาํ งาน 23. นายบญุ แสง ชีระภากร คณะทํางานและเลขานกุ าร 24. นางขวญั ใจ กลน่ิ ขจาย คณะทํางานและผูชวยเลขานกุ าร 25. นายสุทศั น สมนอ ย คณะทํางานและผชู วยเลขานุการ โดยมอี าํ นาจหนาท่ี ดงั นี้ (1) จัดทําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด สําหรับลูกสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลกู เสือวิสามญั (2) จดั ทาํ คมู ือสาํ หรับครูผปู ฏิบัตกิ ารสอนหลักสตู รลกู เสือชอสะอาด (3) พิจารณากําหนดแนวทางการนําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด เขาเปนวิชาบังคับเลือก ในการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา เชน การทดลองใชหลักสูตรลูกเสือ ชอสะอาดทั้ง 4 ประเภท การฝกอบรมครูผูปฏิบัติการสอนหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด การจดั ตงั้ หนวยลกู เสอื ชอ สะอาดในสถานศกึ ษา ฯลฯ (4) ดําเนนิ การอ่นื ตามท่คี ณะอนุกรรมการบริหารโครงการลกู เสือชอสะอาด มอบหมาย ทั้งน้ี ตง้ั แตบดั นี้เปนตน ไป สงั่ ณ วนั ที่ 21 สงิ หาคม พ.ศ. 2556 (ศาสตราจารย (พเิ ศษ) วชิ า มหาคุณ) ประธานอนุกรรมการขับเคล่ือนยุทธศาสตรช าติ วาดวยการปอ งกันและปราบปรามการทุจริต โดยใชกลไกทางการศกึ ษา ๑๕๗ 169

เพลง คานยิ ม ทาํ นอง หลงเสียงนาง คํารอ ง นางศริ ิณี บุญปถัมภ (หลา ลา.....) คานิยม คุณธรรม ลูกเสือไทย/เทิดทูนไวในชาติ ศาสน กษัตริย/เสียสละ อดทน คนประหยัด/ตอ งซ่อื สตั ย รูสติ รคู ิดทํา (หลา ลา.....) ดาํ รงตน เศรษฐกิจ ใหพ อเพียง/อยาหลีกเล่ียง จงรักษา ระเบียบวินัย/อุดมการณ เพอื่ สว นรวมท่ดี ไี ว/จงสนใจใฝร หู ม่นั ศกึ ษา (หลา ลา.....) รักษาวัฒนธรรมประเพณี/เปนคนดีมีความกตัญู/บิดา มารดา ผูปกครองและ คุณครู/อกี เรียนรเู ขา ใจ ประชาธิปไตย (หลา ลา.....) ใหเ ขม แข็งท้ังจติ ใจและรางกาย/จงละอายไมใ ฝต ํา่ มกี เิ ลส/มีศีลธรรม เปนคนดีของ ประเทศ/ใหสมเจตนลกู เสือชอ สะอาด เพลง ชอสะอาด ทาํ นอง เดือนเพ็ญ คาํ รอ ง นางศิริณี บญุ ปถัมภ สัญลักษณคุณธรรมความดี/ชอดอกไมนี้ ชอแหงความดี “ลูกเสือชอสะอาด” มอบผทู าํ ความดี/ ของขวัญชอ นี้ เพอ่ื คนดีมคี ุณธรรม เรามารวมการอยูคาย/ดวยใจที่หมาย จะทําใหตน เปนคนสะอาด/กลาทําสิ่งที่ ถูกตอ ง/ซอ่ื สจุ ริตดงั ปอง ทําความดใี หม นี าํ้ ใจ ตองเคารพกติกา/ทุจริต คดโกงนั้นหนา จงเลี่ยงหลีกมาใหไกลใหหาง/ทําสิ่งใดตอง ตง้ั จิต/ยอมรับฟง ความคดิ คําเพอื่ นเตือนจติ ตองยอมรบั ฟง อันคําปฏิญาณและกฎ/เราจะจําจด นําไปปฏิบัติใหได/มีคุณธรรม นําวินัย/ จติ อาสาทาํ ไป/รวมมอื รวมใจสามคั คี เพลง ทาํ ความดี ทํานอง หลงเสียงนาง คาํ รอ ง นางศริ ิณี บญุ ปถมั ภ (หลา ลา....) พวกเราลูกเสือชอสะอาด มุงมาตรกระทําแตความดี ทุจริตคดโกง เล่ียงหลีกหนี สามคั คี มวี ินัย ใจสะอาด (หลา ลา....) มีน้ําใจทําในสิ่งถูกตอง ตามครรลอง ซ่ือสัตยสุจริต กลาคิดทําในส่ิงที่ไมผิด สุจริต เทยี่ งธรรมในหนาท่ี (หลา ลา....) ป.ป.ช. นั่นหนอขอชื่นชม ใหกับสมท่ีนําล้ําสมัย กอต้ังลูกเสือชอสะอาดอยางฉับไว สรางเด็กไทยใหเปน พลเมืองดี ๑๕๘ 170



สนับสนนุ การจดั พิมพโดย สำนักงานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ เลขที่ ๓๖๑ ถนนนนทบรุ ี ตำบลทา ทราย อำเภอเมอื งนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร ๐ ๒๕๒๘ ๔๘๐๐-๔๙ , ๐ ๒๒๘๒ ๓๑๖๑-๕ สายดว น ๑๒๐๕ www.nacc.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook