Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.PNMKS-Model

1.PNMKS-Model

Published by วฤมน เหลาบัว, 2020-03-13 04:38:09

Description: 1.PNMKS-Model

Search

Read the Text Version

0

1 รปู แบบการบรหิ ารสถานศึกษา PNMKS Model รูปแบบการบริหารสถานศึกษา เป็นกลยุทธ์สาคัญที่ใช้ในการบริหารโรงเรียน ซ่ึงบริบทของโรงเรียน แต่ละแห่ง มีความแตกต่างกัน และไม่มีรูปแบบการบริหารใดดีที่สุด สาหรับกาหนดรูปแบบการบริหาร โรงเรียนวดั พืชนมิ ติ (คาสวัสดิร์ าษฎร์บารุง) ได้มีการศึกษาวิเคราะห์ สภาพภายใน ภายนอก จุดเด่น จุดท่ีควร พัฒนา จากผทู้ ม่ี สี ว่ น เกย่ี วข้อง โดยใช้เทคนิค SWOT และกระบวนการวงจรคณุ ภาพ P-D-C-A พบว่า 1. โรงเรยี นวดั พชื นมิ ติ (คาสวสั ดิ์ราษฎร์บารงุ ) เป็นโรงเรยี นเกา่ แก่ ก่อต้งั มา 87 ปี ครูเกา่ ทีอ่ ยู่มานาน เกนิ 15 ปี มีจานวน 2 คน ครูบรรจใุ หม่ไม่เกนิ 4 ปี มี 17 คน 2. ครูและบุคลากร คนุ้ เคยกบั ปฏิบตั งิ านโดยการรบั คาส่งั การจากผู้บงั คบั บัญชา 3. ขอ้ มูล ความรู้ ขาดการจดั เก็บอย่างเป็นระบบ ข้อมลู ความรูเ้ ดิมตอ้ งสอบถามจากครูเก่า 4. ขอ้ มลู ที่สาคัญบางอยา่ งไมส่ ามารถสืบค้นได้ 5. โรงเรยี นมชี มุ ชนทเี่ ข้มแขง็ มหี นว่ ยงาน ภาครฐั เอกชน ทพี่ รอ้ มสนบั สนนุ การใหค้ วามสาคญั ในการมสี ่วนรว่ มในการทางานเป็นเร่อื งทสี่ าคัญ คณุ ภาพของโรงเรยี นต้องเกิดจากการ ทางานของบคุ ลากรในโรงเรียน โดยบคุ คลภายนอกใหก้ ารสนบั สนุน ผบู้ รหิ าร ครู ผู้ปกครอง และชมุ ชนตอ้ ง ตระหนกั ถงึ การ พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา การพฒั นาคนดมี ีคณุ ภาพออกส่สู งั คม และการมีสว่ นรว่ มรบั ผิดชอบ สงั คมแบบย่ังยืน รูปแบบบรหิ ารงาน ( Puednimitkumsawad School : PNMKS Model ) ประกอบดว้ ย P : Participation การมสี ่วนรว่ มของครู บคุ ลากร คอื รว่ มคดิ ร่วมทา ร่วมแก้ปญั หา รว่ ม รับผดิ ชอบและรว่ มภาคภูมิใจในการทางาน N : Network การสร้างภาคเี ครอื ขา่ ยชมุ ชน เอกชน หน่วยงานรฐั เข้ามาเปน็ เครือข่ายในการพฒั นา คุณภาพการศกึ ษา M : M 1 : Moral การยึดหลกั คุณธรรม หลกั ธรรมาภบิ าล M 2 : Man การพฒั นาครใู หม้ ปี ระสิทธิภาพ จดั การเรียนร้ใู หผ้ ู้เรียนสู่ยุค 4.0 k : Knowledge Management การจดั การความรู้เพือ่ พัฒนางาน พัฒนาคน พฒั นาองค์กร S : student นักเรยี นมีคุณภาพ เปน็ พลเมอื งทเี่ ข้มแขง็ มคี วามสขุ มที ักษะที่จาเปน็ ในศตวรรษที่ 21 ข้ันตอนของการกาหนดรปู แบบการบริหาร ขั้นท่ี 1 หาข้อมลู ศกึ ษาวิเคราะห์สภาพปจั จุบัน ปัญหา เกย่ี วกับการบรหิ าร จัดการดา้ นตา่ งๆ ของโรงเรียนโดยใช้ เทคนิค SWOT Analysis จากผทู้ ี่มีส่วนเก่ยี วขอ้ งทุกฝ่ายทาใหท้ ราบถงึ บรบิ ท ของโรงเรยี นว่าขณะนอ้ี ยู่ ณ จดุ ใด เพอื่ จัดลาดับความสาคญั และกาหนดกรอบในการบริหารงาน

2 ข้ันที่ 2 การวางแผน (Plan) ออกแบบนวตั กรรมรูปแบบการบรหิ ารโรงเรียน คุณภาพโดยใช้ PNMKS MODEL ท่สี อดคลอ้ งกับ บริบทของโรงเรียน จากผลสรุปของการวเิ คราะหจ์ ดุ แขง็ จุดอ่อน โอกาส และ อุปสรรคการพัฒนาโรงเรยี น กาหนดตวั ชี้วดั ความสาเรจ็ เพอ่ื การพัฒนาเป็นโรงเรยี นไปสู่จดุ หมายทตี่ ้องการ ขัน้ ที่ 3 ขน้ั ปฏิบตั ติ ามแผน (Do) การสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจกบั ครูบคุ ลากร เพ่ือนานวตั กรรมรูปแบบการบรหิ าร โดยใช้ PNMKS MODEL เนน้ กระบวนการ การพฒั นาศักยภาพของครู ให้สามารถทางานเป็นทมี เพื่อสรา้ งคณุ คา่ ให้กบั โรงเรยี นผ่านกระบวนการการจดั การความรใู้ นโรงเรียนอย่างเปน็ ระบบ กาหนดตวั ช้วี ดั การพฒั นาครู ดว้ ย รูปแบบ CHANGE Model ในประเดน็ จะตอ้ งเปลยี่ นแปลง เปล่ยี นแปลงอะไรเพื่อไปถงึ จุดเป้าหมายของการ ประกันคุณภาพการศกึ ษา การพฒั นาความกา้ วหนา้ ในวิชาชีพ การเลื่อนวทิ ยฐาน และการเลือนเงินเดือน โดย การดาเนินงานตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี มีโครงการ กจิ กรรม สอดคลอ้ งกบั รูปแบบของการบริหารที่ กาหนดไว้ ขั้นที่ 4 ข้นั ตรวจสอบ (Check) ประเมินผลและตรวจสอบ รูปแบบการบริหารโรงเรยี น โดย ใช้ PNMKS MODEL โดยยึดการ ประเมินตามตัวชว้ี ดั ท่กี าหนด ข้นั ท่ี 5 ปรับปรงุ แกไ้ ข (Action) สะทอ้ นผลการดาเนนิ งานตามสภาพจรงิ (Reflection) วเิ คราะห์วา่ มปี ัญหา อปุ สรรคการบรรลผุ ล ตามเป้าหมายทีก่ าหนดไว้ สามารถประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่และขยายผลการดาเนนิ งานต่อไป รูปแบบการบริหารสถานศกึ ษา PNMKS MODEL

3 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพครใู นการจดั การเรียนรู้เพื่อพฒั นาผเู้ รียน กรอบการดาเนนิ งาน กาหนด ตัวช้วี ัดความสาเรจ็ การเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพครู ( KPI : Key Performance Indicators) สู่ เป้าหมายของความสาเรจ็ มุ่งเนน้ ใหค้ รูมีการเปล่ยี นแปลงตนเองไปสกู่ ารเปน็ ครูยคุ 4.0 โดยยดึ คาขวญั ว่า“เราพรอ้ มทจี่ ะเปลี่ยนแปลง ( CHANGE)” จงึ กาหนดรปู แบบการทางาน ช่อื วา่ “CHANG MODEL” เป็นตัวช้ีวดั ความสาเรจ็ ของการทางาน “CHANG MODEL” ประกอบดว้ ย 1. C = Classroom Action Research วจิ ยั ในชนั้ เรยี น 2. H = Head การสอนกระบวนการคดิ 3. A = Active Learning การเรยี นร้ดู ว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั ิ 4. N = Newness นวตั กรรมการเรยี นการสอน 5. G = Google Education การใช้เทคโนโลยี เพื่อการศกึ ษา Google App 6. E = Evaluation ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน สะทอ้ นผลการทางาน 1. วจิ ัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research : CAR) การวิจัยในชั้นเรียนเปน็ แนวทางในการเพือ่ วิจยั และพัฒนา การเรียนการสอน เพอื่ แกป้ ญั หา หรือจัดกิจกรรมนักเรียนท่มี ปี ัญหาในการเรยี น การวจิ ยั ปฏบิ ัติการใช้ตวั ช้ีวัดมี 4 สถานการณ์ 1. CAR 1 การรายงานพฒั นาแผนการจดั การเรยี นรู้/คุณภาพผู้เรยี น 2. CAR 2 การพฒั นานวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ /PLC 3. CAR 3 การศึกษาคณุ ลกั ษณะ (วเิ คราะหผ์ ู้เรยี นรายบุคคล) / 4. CAR 4 การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน / บทบาทครูประจาชน้ั 2. การสอนกระบวนการคดิ (Head :H ) การจดั การเรยี นการสอนเพ่อื พัฒนากระบวนการคดิ การจดั ประสบการณเ์ รยี นรทู้ ่เี นน้ กระบวนการ มากกวา่ เนอื้ หาสาระวชิ า ครผู ู้สอนสง่ เสรมิ ความคดิ ของผู้เรียน พฒั นาความคดิ ในตวั ผเู้ รียน ดว้ ยเทคนคิ และ วิธีการสอนของครู ช่วยกระตนุ้ สง่ เสริม และพฒั นาความคดิ ของผูเ้ รียนใหง้ อกงามข้ึน ดว้ ยเทคนคิ วธิ กี ารสอน ใหม่ ๆ แปลก ๆ เพอื่ ช่วยให้ผู้เรยี นพัฒนาความคดิ โดยเฉพาะความคดิ สรา้ งสรรค์ ท่ีจาเป็นในยคุ ศตวรรษท่ี 21 3. การเรยี นรูแ้ บบลงมอื ปฏิบตั ิ (Active Learning :A) การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ที่เน้นใหน้ ักเรียน เรียนรู้ผา่ นการปฏบิ ัติ หรอื การลงมอื ทาซง่ึ ความรู้ ที่ เกิดข้ึน เปน็ ความรู้ท่ไี ดจ้ ากประสบการณ์ กระบวนการในการจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ผ่ี เู้ รยี นตอ้ งไดม้ ีโอกาสลง มอื กระทา มากกวา่ การฟังเพียงอย่างเดียว จดั กจิ กรรมให้ผ้เู รยี นไดก้ ารเรยี นร้โู ดยการอ่าน การเขียน การ โตต้ อบ และการ วเิ คราะห์ปญั หา ใช้กระบวนการคดิ ขัน้ สงู เชน่ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการ สร้างสรรค์

4 4. นวตั กรรม (Newness : N) ครูผสู้ อนคดิ คน้ วธิ ีการสอน หรือจดั กิจกรรมเรยี นรู้ รูปแบบใหม่ ๆ ทีเ่ หมาะสมกบั ผเู้ รยี น สรา้ ง เป็นรูปแบการสอนของตนเอง เปลย่ี นการสอนแบบเดมิ สรา้ งนวัตกรรมเพอ่ื พัฒนาผู้เรียน และพัฒนา ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน 5. การใชเ้ ทคโนโลยีมาใช้เพ่ือการศึกษา (Google Education : G) การประยุกตน์ าเทคโนโลยมี าใชใ้ นการเรียนการสอนมคี วามจาเป็นมากสาหรับครยู คุ 4.0 Google Education เปน็ Application ทีไ่ ดร้ บั การสง่ เสริมจาก สพฐ. ตามนโยบาย การพฒั นาคุณภาพ การศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ DLIT (Distance learning information technology ) 6. ประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน สะท้อนผลการทางาน (Evaluation : E) การประเมินผลการปฏบิ ัติงาน สดุ ท้ายครูรวมรวมสะทอ้ นผลการทางาน 1. การสร้างชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี PLC 2. นาเสนอ Best practice ............................................................................................................................................

5 KPI : Key Performance Indicators ตวั ชีว้ ดั ความสาเร็จ Classroom Action Research CHANGE Head MODEL การวจิ ยั ในช้นั เรียน การสอนกระบวนการคดิ CAR 1 = รายงานผลการสอน การคิดสร้างสรรค์ CAR 2 = รายงานนวตั กรรม การคดิ วเิ คราะห์ CAR 3 = ศึกษาผู้เรียนรายบคุ คล การคดิ สงั เคราะห์ CAR 4 = รายงานผลสมั ฤทธิ์ นร. ปจช. การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ ฯลฯ Active Learning Newness นวตั กรรม การเรียนรแู้ บบลงมือปฏบิ ัติ นวัตกรรมสื่อการสอน การเรียนรู้แบบใช้เกม นวตั กรรมการจดั การเรียนการสอน การเรียนรแู้ บบแผนผังความคดิ นวัตกรรมการวดั ผลประเมินผล การเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน การสอนโดยใชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์เป็นฐาน ฯลฯ Evaluation Google Education การประเมนิ ผลการทางาน การใช้เทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) นาเสนอผลงาน Best practice Google App Google site Google Education

6 ผลของการใช้รูปแบบการบรหิ ารสถานศกึ ษา PNMKS Mode p : participation การมสี ว่ นรว่ มในการทางาน รว่ มคดิ รว่ มทา รว่ มแกป้ ัญหา ร่วมยินดใี นความสาเรจ็

7 N : Network เครือข่ายภาครัฐ เอกชน ชมุ ชน ผ้ปู กครอง ร่วมสง่ เสริมการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั วลยั อลงกรณ์ ฯ ชมรมประดษิ ฐ์ของเลน่ ขจากวสั ดเุ หลอื ใช้

8 M : Moral & Man การยดึ หลกั คณุ ธรรม หลกั ธรรมาภิบาล/ การพฒั นาครูใหม้ ีประสิทธภิ าพ - ผู้บริหารมีหลกั ธรรมาภบิ าล - ครมู คี ุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี - มุ่งมน่ั ในการจดั การเรยี นรู้ สรา้ งชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี

9 k : Knowledge Management การจดั การความรู้เพอ่ื พฒั นางาน พฒั นาคน พฒั นาองคก์ ร - จัดทาขอ้ มลู อาคาร สถานที่ ไฟฟา้ นา้ ประปา - ข้อมลู สารสนเทศประจาปี - ครเู ก็บข้อมูลใน website - วารสารประชาสัมพนั ธ์

10 S : student ผู้เรียนมคี ณุ ภาพ เปน็ พลเมอื งท่ีเขม้ แขง็ มคี วามสุข มที กั ษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 - คณุ ภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการประกนั คณุ ภาพ - สง่ เสริมคณุ ธรรม กิจกรรมตกั บาตรทกุ วนั พระ และวนั สาคญั ทางศาสนา กิจกรรมสวดมนต์ทกุ วนั ศกุ ร์ - สง่ เสริมความเป็นพลเมืองทด่ี ี กิจกรรมคา่ ยสภานกั เรียน จิตอาสา ประกวดมารยาท ห้องเรียนสะอาด เขตพืน้ ท่คี วามรับผิดสอบสะอาด ใช้สญั ลกั ษณ์ธง เขียว เหลือง แดง สร้างแรงจงู ใจ - สง่ เสริมทกั ษะการคิด กิจกรรม สร้างนกั คิด ประดิษฐ์นวตั กรรม

11


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook