Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore what is computer

what is computer

Published by natnaree2805, 2017-07-11 23:07:09

Description: what is computer

Search

Read the Text Version

คอมพวิ เตอรค์ ืออะไร คอมพิวเตอรเ์ ขา้ มามีบทบาททส่ี าคัญยิง่ ตอ่ สังคมของมนษุ ยเ์ ราในปจั จุบัน แทบทกุ วงการลว้ นนาคอมพวิ เตอร์เขา้ ไปเก่ียวข้องกับการใชง้ าน จนกล่าวไดว้ า่ คอมพวิ เตอร์เป็นปัจจยั ที่สาคัญอย่างย่ิงตอ่ การดาเนินชีวติ และการทางานในชวี ิตประจาวัน ฉะนนั้ การเรียนร้เู พ่ือทาความรจู้ ักกบัคอมพิวเตอรจ์ งึ ถือเป็นส่ิงทม่ี ีความจาเปน็ เปน็ อยา่ งยง่ิ เพ่อื ทจ่ี ะทราบวา่ คอมพิวเตอร์คืออะไร ทางานอย่างไร และมคี วามสาคญั ตอ่ มนษุ ยอ์ ยา่ งไรเราจึงควรทาการศกึ ษาในหวั ขอ้ ต่อไปน้ี1.ความหมายของคอมพิวเตอร์2. การทางานของคอมพิวเตอร์3.ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์4.ประโยชน์ของคอมพวิ เตอร์ ความหมายของคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซง่ึ หมายถงึ การนบั หรือ การคานวณ พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ใหค้ วามหมายของคอมพวิ เตอร์ไว้วา่\"เคร่ืองอิเล็กทรอนกิ ส์แบบอัตโนมัติ ทาหนา้ ท่ีเหมือนสมองกล ใช้สาหรบั แก้ปัญหาต่างๆ ท่ีง่ายและซบั ซอ้ นโดยวธิ ีทางคณิตศาสตร์\" คอมพวิ เตอรจ์ งึ เป็นเครือ่ งจกั รอิเล็กทรอนิกสท์ ี่ถกู สรา้ งข้ึนเพ่อื ใช้ทางานแทนมนษุ ย์ ในด้านการคิดคานวณและสามารถจาขอ้ มลู ทงั้ ตัวเลขและตัวอักษรได้เพ่ือการเรยี กใช้งานในคร้ังต่อไป นอกจากน้ี ยงั สามารถจัดการกบั สัญลกั ษณไ์ ด้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบตั ติ ามข้ันตอนของ

โปรแกรม คอมพิวเตอรย์ ังมคี วามสามารถในด้านตา่ งๆ อีกมาก อาทเิ ช่น การเปรียบเทยี บทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจดั เกบ็ ข้อมูลในตัวเคร่ืองและสามารถประมวลผลจากข้อมลู ตา่ งๆได้การทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอรไ์ ม่วา่ จะเป็นประเภทใดก็ตาม จะมีลักษณะการทางานของส่วนตา่ งๆที่มีความสัมพันธก์ ันเปน็ กระบวนการ โดยมอี งคป์ ระกอบพื้นฐานหลกัคือ Input Process และ output ซงึ่ มีขน้ั ตอนการทางานดังภาพขั้นตอนท่ี 1 : รับข้อมลู เขา้ (Input)เริม่ ต้นด้วยการนาข้อมูลเข้าเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถผา่ นทางอุปกรณช์ นดิ ตา่ งๆ แล้วแต่ชนิดของขอ้ มูลท่จี ะปอ้ นเข้าไป เช่น ถ้าเปน็ การพิมพ์ข้อมลู จะใช้แผงแป้นพมิ พ์ (Keyboard) เพือ่ พิมพ์ขอ้ ความหรือโปรแกรมเขา้ เคร่อื ง ถา้ เปน็ การเขียนภาพจะใช้เครอื่ งอ่านพกิ ัดภาพกราฟิค (GraphicsTablet) โดยมปี ากกาชนดิ พิเศษสาหรบั เขยี นภาพ หรอื ถ้าเป็นการเล่นเกมกจ็ ะมกี า้ นควบคมุ(Joystick) สาหรบั เคลื่อนตาแหน่งของการเล่นบนจอภาพ เป็นต้นขน้ั ตอนท่ี 2 : ประมวลผลขอ้ มลู (Process)เมอื่ นาข้อมลู เขา้ มาแล้ว เคร่ืองจะดาเนินการกับข้อมลู ตามคาสัง่ ท่ีได้รบั มาเพอ่ื ให้ได้ผลลพั ธ์ตามท่ีต้องการ การประมวลผลอาจจะมีได้หลายอยา่ ง เช่น นาข้อมลู มาหาผลรวม นาขอ้ มลู มาจัดกลุม่นาขอ้ มูลมาหาคา่ มากท่ีสดุ หรือน้อยทส่ี ดุ เป็นตน้ขัน้ ตอนท่ี 3 : แสดงผลลัพธ์ (Output)



1. งานธรุ กจิ เชน่ บรษิ ัท รา้ นค้า หา้ งสรรพสนิ คา้ ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพวิ เตอรใ์ น การทาบญั ชี งานประมวลคา และตดิ ต่อกบั หนว่ ยงานภายนอกผา่ นระบบโทรคมนาคม นอกจากนง้ี านอตุ สาหกรรม สว่ นใหญก่ ใ็ ชค้ อมพิวเตอรม์ าชว่ ยในการควบคุมการผลิต และ การประกอบชนิ้ สว่ นของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซ่งึ ทาใหก้ ารผลติ มี คณุ ภาพดีขึน้ บริษทั ยังสามารถรบั หรืองานธนาคาร ที่ให้บรกิ ารถอนเงนิ ผา่ นตฝู้ ากถอนเงิน อตั โนมัติ ( ATM ) และใชค้ อมพวิ เตอรค์ ิดดอกเบ้ยี ใหก้ บั ผูฝ้ ากเงิน และการโอนเงนิ ระหว่างบัญชี เชอื่ มโยงกนั เป็นระบบเครอื ขา่ ย2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสขุ สามารถนาคอมพวิ เตอร์มาใชใ้ น นามาใชใ้ นส่วนของการคานวณท่คี ่อนขา้ งซับซ้อน เชน่ งานศกึ ษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการ โคจรของการสง่ จรวดไปสอู่ วกาศ หรอื งานทะเบียน การเงนิ สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรบั การตรวจรกั ษาโรคได้ ซง่ึ จะให้ผลท่แี ม่นยากว่าการตรวจด้วยวิธเี คมแี บบเดิม และให้การ รกั ษาไดร้ วดเรว็ ขึ้น3. งานคมนาคมและสอ่ื สาร ในส่วนทเ่ี ก่ยี วกบั การเดินทาง จะใชค้ อมพิวเตอร์ในการจองวัน เวลา ทนี่ ่ัง ซง่ึ มกี ารเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทาให้สะดวกต่อผู้ เดินทางทไ่ี ม่ต้องเสียเวลารอ อีกท้งั ยังใชใ้ นการควบคุมระบบการจราจร เชน่ ไฟสญั ญาณ จราจร และ การจราจรทางอากาศ หรอื ในการสื่อสารก็ใชค้ วบคมุ วงโคจรของดาวเทยี ม เพ่ือให้อยู่ในวงโคจร ซง่ึ จะช่วยสง่ ผลตอ่ การสง่ สัญญาณใหร้ ะบบการสือ่ สารมีความชดั เจน4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนกิ และวศิ วกรสามารถใช้คอมพิวเตอรใ์ นการ ออกแบบ หรือ จาลองสภาวการณ์ ตา่ งๆ เช่น การรับแรงสนั่ สะเทือนของอาคารเมื่อเกดิ แผน่ ดินไหว โดยคอมพวิ เตอรจ์ ะคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทงั้ การใช้ควบคุมและตดิ ตามความก้าวหน้าของโครงการตา่ งๆ เช่น คนงาน เคร่ืองมอื ผลการทางาน5. งานราชการ เป็นหน่วยงานทีม่ กี ารใช้คอมพวิ เตอร์มากท่ีสุด โดยมีการใช้หลายรปู แบบ ทงั้ น้ขี ึ้นอยู่กับบทบาทและหนา้ ทข่ี องหน่วยงานนนั้ ๆ เชน่ กระทรวงศกึ ษาธิการ มกี ารใช้ ระบบประชุมทางไกลผา่ นคอมพิวเตอร์ , กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ จดั ระบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตเพ่อื เช่ือมโยงไปยงั สถาบันตา่ งๆ , กรมสรรพากร ใช้จัดใน การจดั เกบ็ ภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น6. การศกึ ษา ได้แก่ การใช้คอมพวิ เตอรท์ างด้านการเรียนการสอน ซงึ่ มีการนาคอมพิวเตอร์ มาช่วยการสอนในลกั ษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบยี น ซ่งึ ทาให้สะดวกต่อการ ค้นหาข้อมูลนกั เรียน การเกบ็ ขอ้ มลู ยืมและการสง่ คนื หนงั สือหอ้ งสมุด

ประวัติความเป็นมาของคอมพวิ เตอร์คอมพิวเตอรท์ เี่ ราใช้กันอยู่ทุกวันนเี้ ปน็ ผลมาจากการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือในการคานวณซึง่ มีววิ ฒั นาการนานมาแล้ว เร่มิ จากเคร่ืองมือในการคานวณเครอื่ งแรกคอื \"ลกู คดิ \" (Abacus) ทส่ี รา้ งขึ้นในประเทศจีน เมอื่ ประมาณ 2,000-3,000 ปีมาแลว้





ลกั ษณะเฉพาะของเครอ่ื งคอมพิวเตอรย์ ุคที่ 2 ใช้อุปกรณ์ ทรานซสิ เตอร์ (Transistor) ซงึ่ สร้างจากสารก่ึงตวั นา (Semi-Conductor) เป็นอุปกรณ์ หลัก แทนหลอดสุญญากาศ เนื่องจากทรานซสิ เตอร์เพียงตัวเดียว มปี ระสทิ ธภิ าพในการทางาน เทียบเทา่ หลอดสุญญากาศได้นบั ร้อยหลอด ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคนมี้ ีขนาดเล็ก ใช้พลงั งาน ไฟฟา้ น้อย ความร้อนต่า ทางานเร็ว และได้รบั ความนา่ เชื่อถือมากยิ่งข้ึน เก็บข้อมูลได้ โดยใชส้ ่วนความจาวงแหวนแม่เหล็ก (Magnetic Core) มีความเรว็ ในการประมวลผลในหน่ึงคาสง่ั ประมาณหน่ึงในพันของวินาที (Millisecond : mS) สงั่ งานได้สะดวกมากข้ึน เนอื่ งจากทางานด้วยภาษาสัญลักษณ์ (Assembly Language) เรม่ิ พฒั นาภาษาระดบั สูง (High Level Language) ขน้ึ ใช้งานในยคุ ยุคที่ 3 พ.ศ. 2507-2512 คอมพิวเตอร์ในยุคน้เี ริม่ ตน้ ภายหลงั จากการใชท้ รานซสิ เตอรไ์ ด้เพียง 5 ปี เนื่องจากได้มี การประดษิ ฐค์ ิดคน้ เก่ยี วกบั วงจรรวม (Integrated-Circuit) หรอื เรยี กกนั ย่อๆ ว่า \"ไอซี\" (IC) ซ่ึงไอซี น้ที าใหส้ ว่ นประกอบและวงจรต่างๆ สามารถวางลงไดบ้ นแผน่ ชปิ (chip) เลก็ ๆ เพียงแผน่ เดยี ว จงึ มี การนาเอาแผ่นชปิ มาใช้แทนทรานซสิ เตอร์ทาให้ประหยัดเน้อื ท่ีได้มาก

นอกจากนีย้ ังเร่มิ มีการใชง้ านระบบจดั การฐานข้อมลู (Data Base Management Systems : DBMS) และมกี ารพัฒนาเครื่องคอมพวิ เตอร์ให้สามารถทางานรว่ มกันได้หลายๆ งานในเวลา เดยี วกนั และมรี ะบบทผี่ ้ใู ชส้ ามารถโต้ตอบกบั เครื่องได้หลายๆ คน พรอ้ มๆ กัน (Time Sharing) ลกั ษณะเฉพาะของเครื่องคอมพวิ เตอรย์ คุ ที่ 3 ใช้อุปกรณ์ วงจรรวม (Integrated Circuit : IC) หรอื ไอซี และวงจรรวมสเกลขนาดใหญ่ (Large Scale Integration : LSI) เปน็ อปุ กรณห์ ลกั ความเร็วในการประมวลผลในหน่ึงคาสั่ง ประมาณหน่งึ ในลา้ นของวนิ าที (Microsecond : mS) (สงู กวา่ เครื่องคอมพวิ เตอรใ์ นยุคที่ 1 ประมาณ 1,000 เท่า) ทางานไดด้ ว้ ยภาษาระดบั สงู ทั่วไป ยุคท่ี 4 พ.ศ. 2513-2532 เปน็ ยุคทีน่ าสารกึ่งตวั นามาสรา้ งเปน็ วงจรรวมความจุสงู มาก (Very Large Scale Integrated : VLSI) ซงึ่ สามารถย่อสว่ นไอซีธรรมดาหลายๆ วงจรเข้ามาในวงจรเดียวกนั และมีการ ประดษิ ฐ์ ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ข้ึน ทาใหเ้ ครื่องมีขนาดเลก็ ราคาถกู ลง และมี ความสามารถในการทางานสูงและรวดเร็วมาก จงึ ทาใหม้ คี อมพิวเตอร์สว่ นบคุ คล (Personal Computer) ถือกาเนิดข้ึนมาในยุคนี้





ประเภทของคอมพิวเตอร์จากประวตั ิความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีทางด้านคอมพวิ เตอรม์ กี ารพฒั นาเปลีย่ นแปลงไปอยา่ งรวดเร็วมาก ทาให้ปัจจุบันมีเครอ่ื งคอมพวิ เตอรใ์ ห้เลอื กใชม้ ากมายหลายรปู แบบตามความต้องการของผูใ้ ช้การแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์นั้น สามารถจาแนกออกได้เปน็ 3 กลุ่มหลกั ดงั นี้1. ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามหลักการประมวลผล2.ประเภทของคอมพิวเตอร์ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการใชง้ าน3.ประเภทของคอมพวิ เตอร์ตามความสามารถของระบบ แบ่งตามหลักการประมวลผล จาแนกได้เป็น 3 ประเภท คือคอมพิวเตอร์แบบแอนะล็อก (Analog Computer) หมายถึง เครอื่ งมือประมวลผลข้อมูลที่อาศัยหลกั การวดั (Measuring Principle) ทางานโดยใช้ขอ้ มลู ทมี่ ีการเปลีย่ นแปลงแบบต่อเน่ือง(Continuous Data) แสดงออกมาในลกั ษณะสญั ญาณทเ่ี รียกว่า Analog Signal เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ประเภทนมี้ กั แสดงผลด้วยสเกลหน้าปทั ม์ และเขม็ ชี้ เชน่ การวัดคา่ ความยาว โดยเปรียบเทยี บกบัสเกลบนไมบ้ รรทดั การวัดค่าความรอ้ นจากการขยายตัวของปรอทเปรยี บเทียบกบั สเกลข้างหลอดแกว้ นอกจากน้ยี งั มตี ัวอย่างของ Analog Computer ทีใ่ ชก้ ารประมวลผลแบบเป็นข้ันตอนเช่น เครอ่ื งวดั ปรมิ าณการใช้น้าด้วยมาตรวัดนา้ ทเี่ ปลย่ี นการไหลของน้าให้เปน็ ตวั เลขแสดงปรมิ าณอุปกรณว์ ัดความเรว็ ของรถยนต์ในลกั ษณะเข็มชี้ หรือเครื่องตรวจคลื่ยสมองทแ่ี สดงผลเป็นรูปกราฟเปน็ ต้นคอมพิวเตอร์แบบดจิ ทิ ัล (Digital Computer) ซ่ึงกค็ ือคอมพิวเตอร์ที่ใชใ้ นการทางานทว่ั ๆ ไปนนั่ เอง เปน็ เคร่ืองมอื ประมวลผลขอ้ มูลท่ีอาศยั หลกั การนับ ทางานกบั ข้อมลู ท่ีมลี กั ษณะการเปลี่ยนแปลงแบบไม่ต่อเนื่อง (Discrete Data) ในลักษณะของสญั ญาณไฟฟา้ หรือ DigitalSignal อาศยั การนบั สญั ญาณข้อมูลที่เป็นจงั หวะด้วยตัวนับ (Counter) ภายใตร้ ะบบฐานเวลา (ClockTime) มาตรฐาน ทาให้ผลลัพธเ์ ป็นที่นา่ เช่ือถอื ทั้งสามารถนับข้อมลู ให้ค่าความละเอยี ดสงู เช่นแสดงผลลัพธเ์ ปน็ ทศนิยมไดห้ ลายตาแหนง่ เป็นต้นเน่ืองจาก Digital Computer ตอ้ งอาศยั ขอ้ มลู ที่เปน็ สญั ญาณไฟฟา้ (มนษุ ย์สัมผสั ไมไ่ ด้) ทาใหไ้ มส่ ามารถรบั ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต้นทางได้โดยตรง จึงจาเปน็ ตอ้ งเปลี่ยนข้อมลู ตน้ ทางที่รับเขา้ (Analog Signal) เป็นสญั ญาณไฟฟา้ (DigitalSignal) เสยี ก่อน เม่ือประมวลผลเรียบร้อยแลว้ จึงเปล่ยี นสญั ญาณไฟฟา้ กลบั ไปเปน็ AnalogSignal เพือ่ สื่อความหมายกับมนษุ ย์ต่อไปโดยสว่ นประกอบสาคญั ทเี่ รยี กวา่ ตวั เปลี่ยนสัญญาณ

ข้อมลู (Converter) คอยทาหนา้ ทใ่ี นการเปล่ียนรปู แบบของสญั ญาณข้อมลู ระหว่าง DigitalSignal กับ Analog Signalคอมพวิ เตอร์แบบลกู ผสม (Hybrid Computer)เครื่องประมวลผลข้อมูลท่ีอาศยั เทคนิคการทางานแบบผสมผสาน ระหว่าง Analog Computer และ Digital Computer โดยทัว่ ไปมักใช้ในงานเฉพาะกจิ โดยเฉพาะงานดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เชน่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในยานอวกาศ ท่ีใช้ AnalogComputer ควบคุมการหมุนของตัวยาน และใช้ Digital Computerในการคานวณระยะทาง เปน็ ต้นการทางานแบบผสมผสานของคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ ยงั คงจาเป็นต้องอาศยั ตัวเปลี่ยนสัญญาณ(Converter) เชน่ เดิม แบง่ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการใชง้ าน จาแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอืเคร่อื งคอมพวิ เตอร์เพ่อื งานเฉพาะกจิ (Special Purpose Computer) หมายถงึ เคร่ืองประมวลผลขอ้ มูลท่ถี กู ออกแบบตัวเคร่อื งและโปรแกรมควบคมุ ใหท้ างานอยา่ งใดอย่างหนึ่งเปน็ การเฉพาะ(Inflexible) โดยทั่วไปมกั ใชใ้ นงานควบคุม หรอื งานอุตสาหกรรมท่ีเนน้ การประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอรค์ วบคมุ ลฟิ ท์ หรือคอมพวิ เตอร์ควบคุมระบบอัตโนมัติในรถยนต์ เป็นต้นเครื่องคอมพวิ เตอร์เพือ่ งานอเนกประสงค์ (General Purpose Computer) หมายถงึเคร่ืองประมวลผลข้อมูลท่ีมคี วามยดื หย่นุ ในการทางาน (Flexible) โดยได้รับการออกแบบให้สามารถประยุกตใ์ ชใ้ นงานประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทางานตามคาสงั่ ในโปรแกรมที่เขยี นขึน้ มา และเมื่อผใู้ ช้ตอ้ งการใหเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ทางานอะไร ก็เพียงแตอ่ อกคาส่ังเรียกโปรแกรมที่เหมาะสมเข้ามาใชง้ าน โดยเราสามารถเก็บโปรแกรมไว้หลายโปรแกรมในเคร่อื งเดียวกันได้ เช่น ในขณะหนึง่ เราอาจใชเ้ ครอ่ื งนีใ้ นงานประมวลผลเกยี่ วกับระบบบญั ชี และในขณะหนึ่งกส็ ามารถใช้ในการออกเชค็ เงนิ เดือนได้ เป็นต้น แบง่ ตามความสามารถของระบบ จาแนกออกได้เป็น 4 ชนดิ โดยพจิ ารณาจาก ความสามารถในการเกบ็ ข้อมลู และ ความเรว็ ในการ ประมวลผล เปน็ หลัก ดงั นี้ซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอร์ (Super Computer) หมายถงึ เคร่ืองประมวลผลข้อมูลท่ีมคี วามสามารถในการประมวลผลสงู ท่ีสุด โดยท่ัวไปสรา้ งขนึ้ เป็นการเฉพาะเพ่ืองานดา้ นวิทยาศาสตรท์ ่ีต้องการการ





องคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร์ในความเปน็ จริงแล้ว ตวั เคร่อื งคอมพิวเตอร์ท่เี ราเห็นๆ กันอยนู่ เ้ี ปน็ เพยี งองค์ประกอบสว่ นหนึง่ ของระบบคอมพวิ เตอรเ์ ท่านั้น แตถ่ ้าต้องการใหเ้ ครอื่ งคอมพิวเตอร์แตล่ ะเครื่องสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธภิ าพตามทเ่ี ราตอ้ งการนนั้ จาเปน็ ตอ้ งอาศัยองคป์ ระกอบพ้นื ฐาน 4 ประการมาทางานประสานงานรว่ มกัน ซึ่งองค์ประกอบพนื้ ฐานของระบบคอมพิวเตอรป์ ระกอบไปดว้ ย1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)2. ซอฟตแ์ วร์ (Software)3. บคุ ลากร (Peopleware)4. ข้อมลู (Data)ฮารด์ แวร์ (Hardware) หมายถงึ อุปกรณ์ต่างๆ ทป่ี ระกอบขนึ้ เปน็ เครื่องคอมพิวเตอร์ มลี กั ษณะเปน็ โครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รปู ธรรม) เช่น จอภาพ คยี บ์ อร์ด เคร่ืองพิมพ์เมาส์ เปน็ ต้น ซึ่งสามารถแบง่ ออกเป็นสว่ นต่างๆ ตามลกั ษณะการทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หนว่ ยรบัขอ้ มลู (Input Unit) หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล(Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage) โดยอปุ กรณ์แตล่ ะหน่วยมหี น้าที่การทางานแตกต่างกันซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สมั ผัสไมไ่ ดโ้ ดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสัง่ ทีถ่ ูกเขียนขน้ึ เพอื่ ส่ังใหเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟตแ์ วร์จงึ เป็นเหมือนตัวเชือ่ มระหวา่ งผู้ใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์และเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เรากไ็ มส่ ามารถใช้เคร่อื งคอมพวิ เตอรท์ าอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สาหรบั เครื่องคอมพิวเตอรส์ ามารถแบง่ ออกได้เป็น 1. ซอฟต์แวรส์ าหรับระบบ (System Software) คอื ชดุ ของคาสั่งที่เขียนไวเ้ ป็นคาส่ังสาเร็จรูป ซึ่งจะทางานใกลช้ ิดกบั คอมพิวเตอรม์ ากทส่ี ดุ เพื่อคอยควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทกุอย่าง และอานวยความสะดวกให้กบั ผู้ใชใ้ นการใช้งาน ซอฟตแ์ วร์หรือโปรแกรมระบบทรี่ ูจ้ ักกนั ดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทง้ั โปรแกรมแปลคาสงั่ ทเ่ี ขียนในภาษาระดบั สูง เช่นภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เปน็ ตน้ นอกจากน้ีโปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเชน่ Norton’s Utilities ก็นบั เป็นโปรแกรมสาหรับระบบด้วยเชน่ กนั 2. ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ (Application Software) คอื ซอฟต์แวรห์ รือโปรแกรมทีม่ าให้คอมพิวเตอรท์ างานตา่ งๆ ตามท่ีผใู้ ช้ตอ้ งการ ไม่วา่ จะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้นซอฟต์แวรป์ ระยุกต์สามารถจาแนกได้เปน็ 2 ประเภท คือ

2.1 ซอฟตแ์ วร์สาหรบั งานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซงึ่ เขยี นขึน้ เพ่ือการทางานเฉพาะ อยา่ งท่เี ราต้องการ บางท่ีเรยี กว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชจี า่ ยเงินเดือน โปรแกรม ระบบเช่าซอ้ื โปรแกรมการทาสนิ คา้ คงคลงั เปน็ ตน้ ซึง่ แต่ละโปรแกรมก็มักจะมเี งื่อนไข หรือ แบบฟอรม์ แตกตา่ งกนั ออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานทใ่ี ช้ ซ่ึง สามารถดดั แปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกบั ความ ตอ้ งการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ทีเ่ ขยี นขึน้ นโี้ ดยสว่ นใหญ่มักใชภ้ าษาระดบั สูงเป็นตวั พฒั นา 2.3 ซอฟต์แวร์สาหรับงานท่ัวไป เป็นโปรแกรมประยกุ ต์ทีม่ ีผูจ้ ัดทาไว้ เพือ่ ใชใ้ นการ ทางานประเภทตา่ งๆ ท่วั ไป โดยผใู้ ช้คนอ่ืนๆ สามารถนาโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใชก้ บั ข้อมลู ของ ตนได้ แต่จะไมส่ ามารถทาการดัดแปลง หรือแกไ้ ขโปรแกรมได้ ผใู้ ชไ้ ม่จาเป็นต้องเขยี นโปรแกรม เอง ซึง่ เป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และคา่ ใชจ้ ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยงั ไม่ตอ้ ง เวลามากในการฝกึ และปฏิบตั ิ ซ่งึ โปรแกรมสาเร็จรูปนี้ มักจะมกี ารใชง้ านในหน่วยงานมราขาด บคุ ลากรท่ีมคี วามชานาญเปน็ พิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนน้ั การใช้โปรแกรมสาเร็จรปู จงึ เป็น ส่งิ ทอ่ี านวยความสะดวกและเปน็ ประโยชน์อยา่ งยง่ิ ตวั อย่างโปรแกรมสาเร็จรูปที่นิยมใช้ไดแ้ ก่ MS- Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เปน็ ต้น บุคลากร (Peopleware)หมายถึง บุคลากรในงานดา้ นคอมพิวเตอร์ ซึง่ มีความร้เู กย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ สามารถใช้งาน ส่งั งานเพ่อื ให้คอมพิวเตอรท์ างานตามทต่ี ้องการ แบง่ ออกได้ 4 ระดบั ดังน้ี1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คอื ผวู้ างนโยบายการใช้คอมพวิ เตอรใ์ ห้เป็นไปตามเป้าหมาย ของหน่วยงาน2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)คอื ผูท้ ี่ศกึ ษาระบบงานเดิมหรอื งานใหมแ่ ละทาการวิเคราะห์ ความเหมาะสม ความเปน็ ไปได้ในการใชค้ อมพวิ เตอรก์ ับระบบงาน เพ่ือให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่ เขยี นโปรแกรมให้กับระบบงาน3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)คอื ผู้เขยี นโปรแกรมส่งั งานเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพ่ือใหท้ างานตาม ความตอ้ งการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังท่ีนักวเิ คราะห์ระบบไดเ้ ขียนไว้4. ผู้ใช้ (User)คือ ผ้ใู ช้งานคอมพวิ เตอรท์ ่วั ไป ซง่ึ ต้องเรียนรูว้ ธิ กี ารใชเ้ คร่ือง และวิธีการใช้งาน โปรแกรม เพ่ือใหโ้ ปรแกรมทม่ี ีอยสู่ ามารถทางานไดต้ ามท่ีต้องการเนื่องจากเป็นผูก้ าหนดโปรแกรม และใช้งานเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ มนุษย์จงึ เป็นตัวแปรสาคัญในอนั ที่จะทาใหผ้ ลลพั ธ์มคี วามน่าเชอ่ื ถอื เน่อื งจากคาส่งั และขอ้ มูลท่ีใชใ้ นการประมวลผลไดร้ ับจากการกาหนดของมนษุ ย์ (Peopleware) ทั้งส้ิน





ส่วนประกอบของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์เครือ่ งคอมพิวเตอร์ คอื ส่วนของฮารด์ แวรซ์ ึง่ เป็นหนึ่งในองคป์ ระกอบของระบบคอมพวิ เตอร์เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ประกอบดว้ ย 5 หน่วย คอื1. หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit :CPU)2. หนว่ ยความจาหลกั (MainMemory)3. หนว่ ยความจาสารอง (External Storage)4. หนว่ ยรับข้อมลู (Input Unit)5. หน่วยส่งออกข้อมลู (Output Unit) 1. หนว่ ยประมวลผลกลาง (หรือ Processor) หน่วยประมวลผลในเครื่องคอมพิวเตอรเ์ รยี กว่า หนว่ ยประมวลผลกลาง หรอื ซีพียู มหี นา้ ทเ่ี ปน็ ศูนยก์ ลางในการทางานของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ทาหน้าท่ีคานวณ ประมวลผลข้อมลู ต่าง ๆ รวมท้งั เปน็ ศูนย์ควบคุมการทางาน การติดต่อสือ่ สารระหว่างองค์ประกอบภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกได้ว่าซีพยี นู ีเ้ ปรียบเหมอื นสมองของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ คอยควบคมุ การทางานทั้งหมดของคอมพิวเตอร์ 2. หน่วยความจาหลกั หนว่ ยความจาหลกั มหี นา้ ทใ่ี นการเกบ็ ข้อมลูและโปรแกรมท่จี ะใหซ้ ีพยี ูเรียกใชง้ านไดห้ นว่ ยความจาหลักทใ่ี ช้กับไมโครคอมพิวเตอรแ์ บ่งได้เปน็ 2 ส่วน คือ แรม กบั รอม

แรม เปน็ หน่วยความจาหลักทเี่ ก็บข้อมลู สาหรบั ใช้งานทัว่ ไป หนว่ ยความจาประเภทนี้จะเก็บขอ้ มูลตราบเทา่ ที่ยังเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ หรือยงั มกี ระแสไฟฟ้าจ่ายให้วงจรอยู่ แต่หากเม่ือปดิ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ หรือเกดิ ไฟฟ้าดับเมือ่ ใด ข้อมลู กจ็ ะสญู หายทันที3. หน่วยความจาสารอง หนว่ ยความจาสารอง มีหนา้ ท่ีในการเก็บขอ้ มลู และโปรแกรมตา่ งๆ ไว้ตามทผ่ี ้ใู ชต้ ้องการ หากถกู เรียกใช้งานเมื่อใด ก็ถ่ายขอ้ มลู จากหน่วยความจาสารองมาไวท้ ี่หน่วยความจาหลักนั่นคอื แรม เพือ่ ให้หน่วยประมวลผลทางานติ่ไป หนว่ ยความจาประเภทนี้หากมีการปดิ เครอ่ื งคอมพิวเตอรห์ รือไฟดบั ข้อมลู ก็จะยงั คงอยู่ ไม่สูญหายไปไหน หน่วยความจาสารองทใ่ี ชก้ นั ในระบบคอมพิวเตอร์มอี ยู่หลายประเภท เช่น – แผ่นบันทกึ (หรือ Floppy Disk) แผ่นบันทึกขอ้ มูลในปัจจบุ นั มขี นาด 3.5 นว้ิตวั แผน่ บันทกึ เปน็ แผ่นบาง ฉาบผิวด้วยสารแม่เหล็กอยใู่ นกรอบพลาสตกิ แขง็ เพ่ือป้องกันการขีดข่วน สามารถบรรจขุ ้อมลู ได้ 1.44 เมกะไบต์ ปัจจุบันไม่ค่อยนิยมใชแ้ ลว้ เนอ่ื งจากบรรจุข้อมลู ได้นอ้ ย และชารุดง่าย – ฮารด์ ดสิ ก์ ฮาร์ดดิสก์ประกอบด้วยแผ่นบนั ทกึ แบบแข็งที่เคลือบสารแม่แหล็กหลายแผ่นเรียงซ้อนกัน หวั อ่านของเครอ่ื งขับจะมีหลายหวั ในขณะทีแ่ ผ่นบนั ทึกแต่ละแผ่นบนั ทึกหมนุ หัวอ่านจะเคลือ่ นทเ่ี ขา้ ออกเพื่ออ่านข้อมูลท่ีเกบ็ บนพื้นผวิ แผ่น การเกบ็ ข้อมลูในแตล่ ะแผ่นจะเป็นวง เรยี กแตล่ ะวงของทุกแผน่ ว่า ไซลินเดอร์ แตล่ ะไซลินเดอร์จะแบง่ เปน็เซกเตอร์ แตล่ ะเซกเตอร์แบ่งขอ้ มูลเปน็ ชุดๆ ฮาร์ดสิ กเ์ ป็นอุปกรณ์เก็บขอ้ มลู ทม่ี ีความจุสงู มาก มีความจุเป็นกกิ ะไบต์ เช่น 320 กิกะไบต์ การอ่านและเขยี นข้อมลู จะกระทาได้เรว็ มาก





– เครื่องพมิ พ์ (หรอื Printer) เป็นอุปกรณ์ท่ีสง่ ออกขอ้ มลู ในรปู ของการพิมพห์ มกึ ลงบนกระดาษหรือวัตถตุ า่ งๆ ปัจจุบนั มีการพัฒนาเคร่ืองพิมพ์ออกมาหลายลักษณะตามความต้องการของผู้ใชง้ าน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook