Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี พิมพ์ครั้งที่ 4 : 2564 (แก้ไข 27 ต.ค. 64)

คู่มือกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี พิมพ์ครั้งที่ 4 : 2564 (แก้ไข 27 ต.ค. 64)

Published by นัยนา รัตนพันธุ์, 2021-10-31 12:53:53

Description: คู่มือกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี พิมพ์ครั้งที่ 4 ปี 2564
(แก้ไข ณ วันที่ 27 ต.ค. 64)

Search

Read the Text Version

คำนำ ตามท่ีได้มีระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๖ และได้มีการแต่งตั้งผู้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยรัฐมนตรีข้ึน เพื่อปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะกรรมการผู้ช่วย รัฐมนตรี ซึ่งจะต้องทางานร่วมกันเป็นคณะและในฐานะผู้ช่วยรัฐมนตรีซึ่งไปปฏิบัติงานในแต่ละ กระทรวงแยกกัน เพ่ือความเข้าใจและความสะดวกในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการผู้ช่วย รัฐมนตรี สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี จึงได้จัดทาคู่มือคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีและได้ จัดพิมพเ์ ผยแพร่คู่มือคณะกรรมการผู้ชว่ ยรัฐมนตรคี รัง้ แรกเมอื่ เดอื นกมุ ภาพันธ์ ๒๕๔๖ โด ย ที่ ส า นั ก เล ข า ธิ ก า ร น า ย ก รั ฐ ม น ต รี เป็ น ห น่ ว ย ง า น ที่ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ช อ บ เก่ี ย ว กั บ คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีจึงได้ทาการปรับปรุงแก้ไขคู่มือ คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีมาแล้วหลายคร้ัง การจัดพิมพ์หนังสือคู่มือคณะกรรมการผู้ช่วย รัฐมนตรีครั้งน้ีเป็นการพิมพ์คร้ังท่ีห้า ซ่ึงจัดพิมพ์โดยสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีได้มีการ ปรับปรุงข้อมูลแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวกับคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี เพ่ือให้สอดคล้องกับ กฎระเบียบที่มีการเปล่ียนแปลง เช่น ข้นั ตอนการแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี การกาหนด องค์ประชุมในการจัดประชุมคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีคร้ังแรก และการยื่นบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สนิ และหนี้สิน เป็นต้น ทั้งนี้ เพอื่ เผยแพร่ให้แกค่ ณะกรรมการผู้ช่วยรฐั มนตรี และหนว่ ยงานที่ เก่ียวข้องเพ่ือประโยชน์ในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีและผู้ท่ีได้รับการแต่งต้ัง เปน็ ผู้ชว่ ยรฐั มนตรี รวมถงึ ประโยชน์ในการอา้ งอิงตอ่ ไป สำนกั เลขำธกิ ำรนำยกรัฐมนตรี กันยำยน ๒๕๖๔



สำรบญั หมวด ๑ กำรแต่งตง้ั คณะกรรมกำรผูช้ ว่ ยรฐั มนตรี ๑ ๒ ๑.๑ ขั้นตอนการแต่งตั้งคณะกรรมการผ้ชู ่วยรัฐมนตรี ๑.๒ ข้ันตอนการเปลย่ี นแปลงการมอบหมายให้กรรมการผชู้ ่วยรฐั มนตรปี ฏิบตั ิหนา้ ที่ ๓ ๔ และมอบอานาจการบงั คับบญั ชา ๖ ๑.๓ ขั้นตอนการใหผ้ ชู้ ่วยรฐั มนตรีคงอยู่ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีต่ อ่ อีกหนง่ึ วาระ ๗ ๑.๔ คณุ สมบัตแิ ละลักษณะต้องหา้ มของผ้ชู ว่ ยรัฐมนตรี ๑.๕ การพ้นจากตาแหน่งของผู้ชว่ ยรฐั มนตรี ๑๑ ๑.๖ การเรยี กชือ่ ผชู้ ่วยรัฐมนตรี ๑๒ ๑๕ หมวด ๒ แนวทำงปฏิบตั เิ ม่อื เข้ำรับตำแหน่งแลว้ ๑๖ ๑๖ ๒.๑ สถานะของผู้ชว่ ยรัฐมนตรี ๒.๒ การปฏิบตั ิหน้าที่ของผชู้ ่วยรัฐมนตรี ๑๘ ๒.๓ วนิ ัยของผ้ชู ่วยรัฐมนตรี ๑๙ ๒.๔ การบงั คับบญั ชา ๒๐ ๒.๕ การยน่ื บญั ชีแสดงรายการทรัพย์สนิ และหน้สี ิน ๒๑ ๒๒ หมวด ๓ กำรประชมุ คณะกรรมกำรผู้ช่วยรัฐมนตรี ๒๒ ๓.๑ ระบบการประชุม ๒๓ ๓.๒ การประชมุ ครง้ั แรก ๒๓ ๓.๓ การจดั ระเบยี บวาระการประชุม ๓.๔ ลาดบั การประชมุ ๓.๕ การลาประชมุ ๓.๖ เจ้าหนา้ ที่ปฏบิ ัตงิ านในการประชมุ หมวด ๔ เรอ่ื งนำ่ รู้สำหรบั ผู้ชว่ ยรฐั มนตรี ๔.๑ ค่าตอบแทน ๔.๒ สิทธิประโยชน์และเกียรติยศอน่ื ๆ

๔.๓ การแตง่ กายในโอกาสเขา้ ร่วมงานพระราชพิธีหรือรัฐพิธี ๒๕ หมวด ๕ ข้อพงึ ระวงั สำหรบั ผู้ช่วยรัฐมนตรี ๒๘ ๒๘ ๕.๑ ผชู้ ่วยรฐั มนตรีเป็นผู้ทรงคุณวฒุ ิ ๕.๒ บญั ญัติ ๙ ประการสาหรับผู้ช่วยรัฐมนตรี หมวด ๖ หนว่ ยงำนของรัฐและองค์กรสำคัญท่เี กย่ี วข้องกับผูช้ ่วยรัฐมนตรี ๓๐ ๓๑ ๖.๑ ฝ่ายเสนาธกิ ารของคณะรัฐมนตรี ๓๔ ๖.๒ หน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งกับกรรมการผ้ชู ่วยรัฐมนตรี ๓๕ ๖.๓ ส่วนราชการท่ีมีงานสัมพนั ธก์ ัน ๓๖ ๖.๔ หน่วยงานทม่ี อี านาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดนิ ของคณะรฐั มนตรี ๖.๕ หน่วยงานทมี่ ีอานาจตรวจสอบการทางานของคณะรฐั มนตรี หรอื สง่ั การทีอ่ าจมผี ลกระทบตอ่ คณะรัฐมนตรไี ด้ ภำคผนวก ภำคผนวก ๑ - ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยคณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี พ.ศ. ๒๕๔๖ (ฉบับ สคก.) ๓๘ - QR Code ๔๔ ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยคณะกรรมการผูช้ ว่ ยรฐั มนตรี พ.ศ. ๒๕๔๖ ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยคณะกรรมการผชู้ ่วยรัฐมนตรี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๗ ระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วยรฐั มนตรี (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๗ ระเบียบสานกั นายกรฐั มนตรีว่าดว้ ยคณะกรรมการผชู้ ่วยรัฐมนตรี (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๙ - ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี (ฉบบั ท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๖๓ ๔๕ ภำคผนวก ๒ ๔๖ ๔๘ - ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยการเบกิ จ่ายเงนิ ค่าตอบแทนรายเดือนของผชู้ ่วยรัฐมนตรี ประจากระทรวง พ.ศ. ๒๕๔๖ - สาเนาหนังสอื สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนท่ีสดุ ที่ นร ๐๕๐๖/๑๗๑๙๖ ลงวันท่ี ๑๙ กนั ยายน ๒๕๕๗ เรือ่ ง การปรับอัตราค่าตอบแทนรายเดือนผชู้ ่วยรฐั มนตรี ประจากระทรวง

- สาเนาหนังสือกระทรวงการคลัง ท่ี ๐๔๐๖.๖/ว ๑๐๔ ลงวนั ท่ี ๒๒ กันยายน ๒๕๕๑ ๔๙ เรอ่ื ง การเทยี บตาแหนง่ ๕๔ - ระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรี วา่ ด้วยการขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ ริยาภรณอ์ ันเปน็ ท่ี เชิดชยู ่งิ ช้างเผอื กและเครอื่ งราชอิสรยิ าภรณอ์ นั มีเกยี รติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.ศ. ๒๕๖๔ ภำคผนวก ๓ - คาวินิจฉยั ของคณะกรรมการกฤษฎีกา เรอ่ื ง ฐานะและการดารงตาแหนง่ ของผู้ชว่ ยรฐั มนตรี ๑๑๖ - ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์และ ๑๒๔ วธิ ีการยืน่ บญั ชีทรพั ยส์ ินและหน้ีสินของเจา้ พนักงานของรัฐต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. พ.ศ. ๒๕๖๑ - ประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ เร่ือง กาหนดตาแหนง่ ๑๓๓ ของเจ้าพนกั งานของรัฐซง่ึ จะตอ้ งยนื่ บญั ชีทรัพย์สนิ และหนี้สนิ ตามมาตรา ๑๐๓ พ.ศ. ๒๕๖๑ ภำคผนวก ๔ ๑๕๔ - ประมวลจริยธรรมของข้าราชการการเมือง พ.ศ. ๒๕๖๔ ภำคผนวก ๕ - แบบแสดงขอ้ มูลประวัติผู้ได้รับการเสนอช่ือเพอ่ื ประกอบการแต่งตั้งเป็นผชู้ ่วยรัฐมนตรี ๑๕๘ (แบบ ผช.รมต. ๑) ๑๖๐ - แบบแสดงข้อมูลเก่ียวกบั คุณสมบตั ิและลักษณะต้องหา้ มสาหรับผไู้ ดร้ ับการเสนอชอ่ื เปน็ ผชู้ ่วยรัฐมนตรีใชต้ รวจสอบและรบั รองตนเอง (แบบ ผช.รมต. ๒) ภำคผนวก ๖ - พระราชกฤษฎกี า กาหนดเจา้ หนา้ ท่ขี องรัฐและผมู้ ีอานาจออกบตั รประจาตวั เจา้ หน้าท่ี ๑๖๑ ของรัฐ ตามพระราชบัญญัตบิ ตั รประจาตวั เจา้ หน้าท่ีของรฐั พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ - แบบคาขอมีบัตรประจาตัวหรอื ขอบตั รประจาตัวใหม่ ตามพระราชบัญญตั ิบัตรประจาตวั ๑๖๔ เจ้าหนา้ ที่ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๕๕

คูม่ อื คณะกรรมการผ้ชู ่วยรฐั มนตรี : ๑ หมวด ๑ สิง่ ทตี่ อ้ งทราบ การแต่งตงั้ คณะกรรมการผชู้ ่วยรฐั มนตรี - ผู้ช่วยรัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติ และไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม ๑.๑ ข้ันตอนการแต่งตง้ั คณะกรรมการผชู้ ่วยรฐั มนตรี ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่ า ด้ ว ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ผู้ ช่ ว ย ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ รัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๖ และ ๑. นายกรัฐมนตรีคัดเลือกบุคคลท่ีสมควรแต่งตั้งเป็น ท่ีแก้ไขเพม่ิ เตมิ ผู้ชว่ ยรฐั มนตรี จานวนไมเ่ กิน ๔๐ คน - ผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อให้เป็น ผชู้ ่วยรฐั มนตรีต้องกรอกประวัติ ๒. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีจัดทารายชื่อพร้อมด้วย ตามแบบแสดงข้อมูลประวัติท่ี ประวัติของผู้ได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้ช่วยรัฐมนตรี สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และสง่ ให้สานักเลขาธิการคณะรฐั มนตรี กาหนด (ตามภาคผนวก) ๓. สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีตรวจสอบคุณสมบัติ - ผู้ได้รับการเสนอช่ือเป็นผู้ช่วย ข อ ง ผู้ ไ ด้ รั บ ก า ร เส น อ ชื่ อ เป็ น ผู้ ช่ ว ย รั ฐ ม น ต รี แ ล้ ว รั ฐ ม น ต รี ต้ อ ง แ น บ ห ลั ก ฐ า น นาเสนอคณะรฐั มนตรใี ห้ความเห็นชอบ การลาออกจากตาแหน่งซ่ึงมี ลกั ษณะตอ้ งห้ามมาพร้อมประวัติ ๔. คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบรายชื่อ ผชู้ ่วยรฐั มนตรี - สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี จะมีหนงั สือแจ้งมติคณะรัฐมนตรี ๕. สานักเลขาธิการคณ ะรัฐมนตรี (สลค.) แจ้งมติ เห็นชอบรายชื่อผู้ช่วยรัฐมนตรี ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ให้ ส า นั ก เล ข า ธิ ก า ร น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ท่ี ได้ รับ แ ต่ งต้ั งส่ งไป ส านั ก (สลน.) จัดทาประกาศแต่งต้ังคณะกรรมการผู้ช่วย เลขาธิการนายกรัฐมนตรี และ รัฐมนตรี และส่งประกาศแต่งตั้งฯ ให้สานักเลขาธิการ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง คณะรัฐมนตรีลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษาแล้วแจ้ง ผูเ้ กยี่ วขอ้ งทราบ - สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จั ด ท า ป ร ะ ก า ศ แ ต่ ง ต้ั ง ผู้ ช่ ว ย ๖. เปิดเผยประวัติผู้ช่วยรัฐมนตรีต่อสาธารณ ชน รั ฐ ม น ต รี แ ล ะ ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ โดยติดประกาศหรอื โดยสือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ประจากระทรวงแล้ว แจ้งผู้ช่วย รฐั มนตรที ไ่ี ดร้ บั การแตง่ ต้งั ทราบ

คมู่ อื คณะกรรมการผชู้ ่วยรัฐมนตรี : ๒ ๑.๒ ข้ันตอนการเปลี่ยนแปลงการมอบหมายให้ กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าท่ีและมอบ อานาจการบังคับบัญชา ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ ๑. นายกรัฐมนตรีเห็นสมควรเปล่ียนแปลงการมอบหมาย ให้กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าท่ีและมอบ อานาจการบงั คับบัญชา ๒. สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีจัดทาประกาศ เปลีย่ นแปลงการมอบหมายให้กรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี ปฏิบัติหน้าที่และมอบอานาจการบังคับบัญชาเพ่ือ เสนอนายกรัฐมนตรีลงนาม และส่งสานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรีเพอื่ เสนอคณะรัฐมนตรที ราบ ๓. คณะรฐั มนตรีรับทราบการเปลยี่ นแปลงการมอบหมาย ให้กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีปฏิบัติหน้าท่ีและมอบ อานาจการบังคับบญั ชา รัฐมนตรี ๔. สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแจ้งมติคณะรัฐมนตรี ให้สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีทราบและจัดทา ประกาศแต่งตั้งกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี และส่งให้ สานักเลขาธิการคณ ะรัฐมนตรีเพ่ือลงพิมพ์ ใน ราชกจิ จานุเบกษาแล้วแจง้ ผู้เกย่ี วขอ้ งทราบ

คูม่ ือคณะกรรมการผชู้ ่วยรฐั มนตรี : ๓ ๑.๓ ข้ันตอนการให้กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีคงอยู่ สง่ิ ที่ต้องทราบ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีต่ อ่ อีกหน่งึ วาระ ก รรม ก ารผู้ช่ วยรัฐม น ต รี ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ มี ว า ร ะ ก า ร ด า ร ง ต า แ ห น่ ง ๑. นายกรัฐมนตรีเห็นสมควรให้กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี คราวละหนึ่งปีนับจากวันท่ีมี ประกาศแตง่ ต้งั ท่ีอยู่ในบังคับบัญชาซึ่งครบวาระคงอยู่ปฏิบัติหน้าท่ี ตอ่ อีกหนึ่งวาระ ๒. สานักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรีจัดทาบันทึกพร้อมด้วย ประวัติของกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีท่ีได้รับการเสนอช่ือ ให้คงอยู่ปฏิบัติหน้าท่ีต่ออีกหนึ่งวาระ ส่งสานัก เล ข า ธิ ก า ร ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี เพ่ื อ เส น อ ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ใหค้ วามเหน็ ชอบ ๓. สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีตรวจสอบคุณสมบัติ ข อ ง ผู้ ไ ด้ รั บ ก า ร เส น อ ชื่ อ เป็ น ผู้ ช่ ว ย รั ฐ ม น ต รี แ ล้ ว นาเสนอคณะรฐั มนตรีให้ความเห็นชอบ ๔. คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบให้กรรมการ ผชู้ ่วยรฐั มนตรคี งอย่ปู ฏบิ ัตหิ น้าที่ต่ออีกหนึง่ วาระ ๕. สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีแจ้งมติคณะรัฐมนตรี ให้สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีทราบและจัดทา ประกาศให้กรรมการผ้ชู ่วยรัฐมนตรีคงอยู่ปฏิบัติหน้าที่ ตอ่ อีกหนึ่งวาระ และส่งให้สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพ่ือลงพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา แล้วแจ้งผู้เกี่ยวข้อง ทราบ

คมู่ อื คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี : ๔ ๑.๔ คุณสมบตั แิ ละลกั ษณะต้องห้ามของผ้ชู ่วยรฐั มนตรี ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรีต้องมีคุณสมบตั แิ ละไมม่ ีลักษณะต้องหา้ ม ดังน้ี ๑.๔.๑ คณุ สมบัติ ตอ้ งมีคุณสมบตั ิ ดงั นี้ (๑) มสี ัญชาติไทย (๒) มีอายไุ มต่ ่ากว่าสามสิบหา้ ปบี รบิ รู ณ์ (๓) สาเร็จการศกึ ษาไมต่ า่ กวา่ ปรญิ ญาตรีหรอื เทยี บเทา่ (๔) มีประสบการณ์การทางานอย่างใดอย่างหนึง่ ดงั ต่อไปน้ี • เคยรับราชการและมีตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้อานวยการกองหรือเทียบเท่า หรือ ผพู้ พิ ากษาหวั หนา้ ศาล หรืออัยการจงั หวัด • เคยรับราชการตารวจหรือทหารมียศไม่ต่ากว่าพันตารวจเอก พันเอก นาวาเอก หรอื นาวาอากาศเอก • เคยดารงตาแหน่งทางวิชาการในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐหรือเอกชนไม่ต่ากว่า รองศาสตราจารย์ • เคยดารงตาแหน่งในรัฐวิสาหกิจหรือองค์การอ่ืนของรัฐไม่ต่ากว่าผู้บริหารลาดับ ทีส่ ามนบั จากตาแหน่งผู้บริหารสูงสุดลงมา • เคยดารงตาแหน่งข้าราชการการเมืองตาแหน่งเดียวหรือหลายตาแหน่งและ มีระยะเวลาครั้งเดียวหรือหลายคร้ังรวมกันไม่น้อยกว่าสามปี เว้นแต่เคยดารง ตาแหนง่ รัฐมนตรีก็ให้มรี ะยะเวลาน้อยกว่านน้ั ได้ • เคยได้รับเลือกต้ังหรือแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งสมาชิกรัฐสภาครั้งเดียวหรือ หลายคร้ังมรี ะยะเวลารวมกนั ไม่นอ้ ยกว่าสองปี • ปฏิบัติงานในธุรกิจภาคเอกชนแห่งเดียวหรือหลายแห่งมีระยะเวลาคร้ังเดียวหรือ หลายคร้ังรวมกันไม่น้อยกว่าสิบปี และเคยดารงตาแหน่งในองค์กรธุรกิจดังกล่าว ไม่ต่ากว่าระดับผู้ช่วยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน เว้นแต่หากเป็นการดารง ตาแหน่งระดับสูงในบริษัทขนาดใหญ่ท่ีมีทุนดาเนินการสูง มีผลกาไรมาก ประกอบกิจการต่อเน่ืองกันหลายปีจนเป็นที่รู้จักท่ัวไปในต่างประเทศและผู้น้ัน ประสบผลสาเร็จในการบริหารจัดการ การผลิต หรือการตลาดจนเป็นท่ียอมรับ ก็อาจอนุโลมวา่ มคี ณุ สมบตั ใิ นข้อน้ีได้

คู่มอื คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี : ๕ • ประกอบอาชีพอิสระ เช่น แพทย์ ทนายความ ท่ีปรึกษากฎหมาย นักหนังสือพิมพ์ นักเขียน เป็นต้น มีระยะเวลาคร้ังเดียวหรือหลายครั้งรวมกันไม่น้อยกว่าสิบปี และมีผลงานดเี ด่นเป็นทีป่ รากฏ • ปฏิบัติงานในองค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์แห่งเดียวหรือหลายแห่ง มีระยะ เวลาครั้งเดียวหรือหลายคร้ังรวมกันไม่น้อยกว่าสิบปี และเคยมีตาแหน่งสูง ในองคก์ รดงั กลา่ ว ตลอดจนมผี ลงานสาคญั เป็นประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม • ในกรณีมีประสบการณ์การทางานในต่างประเทศ ได้ปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อย กว่าสิบปี มีความรู้ความสามารถทางวิชาการ วิชาชีพ หรือมีความชานาญพิเศษ อันเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ในตาแหน่งผู้ช่วยรัฐมนตรี และเคยดารง ตาแหนง่ สาคญั ในหน่วยงานนัน้ ๆ ตลอดจนมีผลงานดเี ดน่ เปน็ ทปี่ รากฏ ๑.๔.๒ ลักษณะต้องห้าม ต้องไม่มลี ักษณะต้องหา้ ม กลา่ วคือ (๑) ติดยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (๒) เป็นบคุ คลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลลม้ ละลายทุจรติ (๓) เป็นเจา้ ของหรอื ผู้ถอื ห้นุ ในกิจการหนังสือพมิ พ์หรือส่ือมวลชนใด ๆ (๔) เป็นบคุ คลผูม้ ลี กั ษณะตอ้ งห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้งตามบทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนญู ดงั น้ี (๔.๑) เป็นภกิ ษุ สามเณร นกั พรต หรือนกั บวช (๔.๒) อยูใ่ นระหวา่ งถูกเพิกถอนสิทธิเลอื กตงั้ ไมว่ ่าคดีน้ันจะถึงทีส่ ุดแล้วหรือไม่ (๔.๓) วิกลจรติ หรอื จติ ฟ่นั เฟืองไม่สมประกอบ (๕) อยู่ระหว่างถูกระงับการใช้สิทธิสมัครรบั เลือกต้ังเป็นการชัว่ คราวหรือถูกเพิกถอนสิทธิ สมัครรับเลอื กต้งั (๖) ต้องคาพพิ ากษาใหจ้ าคกุ และถกู คุมขังอยู่โดยหมายของศาล (๗) เคยได้รับโทษจาคุกโดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึงสิบปีนับถึงวันเลือกต้ัง เว้นแต่ในความผิด อนั ไดก้ ระทาโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๘) เคยถกู ส่ังใหพ้ ้นจากราชการ หนว่ ยงานของรัฐ หรือรฐั วสิ าหกิจเพราะทุจริตต่อหน้าท่ี หรือถอื วา่ กระทาการทุจริตหรอื ประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ (๙) เคยต้องคาพิพากษาหรือคาสั่งของศาลอันถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ารวยผิดปกติ หรือเคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สุดให้ลงโทษจาคุกเพราะ กระทาความผดิ ตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ

คมู่ ือคณะกรรมการผ้ชู ่วยรฐั มนตรี : ๖ (๑๐) เคยต้องคาพพิ ากษาอันถงึ ที่สุดว่ากระทาความผิดต่อตาแหน่งหน้าทร่ี าชการ หรือต่อ ตาแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม หรือกระทาความผิดตามกฎหมายว่าด้วยความผิด ของพนักงานในองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ หรือความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทา โดยทุจริตตามประมวลกฎหมายอาญา ความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงิน ที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดในความผิดฐานเป็นผู้ผลิต นาเข้า ส่งออก หรือผู้ค้า กฎหมายว่าด้วยการพนันในความผิดฐานเป็นเจ้ามือหรือ เจ้าสานัก กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ หรือกฎหมาย ว่าด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงนิ ในความผดิ ฐานฟอกเงนิ (๑๑) เคยต้องคาพิพากษาอันถึงที่สดุ วา่ กระทาการอันเป็นการทจุ รติ ในการเลือกต้งั (๑๒) เป็นข้าราชการซึ่งมีตาแหน่งหรอื เงินเดือนประจานอกจากขา้ ราชการการเมือง (๑๓) เปน็ สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร สมาชกิ สภาท้องถิน่ หรือผูบ้ ริหารทอ้ งถ่นิ (๑๔) เป็นสมาชกิ วฒุ ิสภาหรอื เคยเปน็ สมาชิกวุฒสิ ภาและสมาชิกภาพสน้ิ สดุ ลงยงั ไมเ่ กินสองปี (๑๕) เป็นพนักงานหรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ หรือ เปน็ เจา้ หนา้ ท่ีอนื่ ของรัฐ (๑๖) เปน็ ตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู หรือผู้ดารงตาแหนง่ ในองค์กรอสิ ระ (๑๗) อยใู่ นระหว่างต้องหา้ มมิใหด้ ารงตาแหน่งทางการเมอื ง (๑๘) เคยพ้นจากตาแหน่งเพราะเหตุตามมาตรา ๑๔๔ หรือมาตรา ๒๓๕ วรรคสาม ของ รฐั ธรรมนญู หากขาดคุณสมบตั ิหรือมีลกั ษณะตอ้ งหา้ ม ก็ตอ้ งพน้ จากตาแหน่ง ๑.๕ การพ้นจากตาแหน่งของผ้ชู ว่ ยรัฐมนตรี ๑.๕.๑ พน้ ตามวาระ ๑ ปี นับแต่วันแตง่ ตง้ั ๑.๕.๒ พน้ ตาแหนง่ กอ่ นครบวาระ ในกรณีใดกรณีหน่งึ ดงั ต่อไปนี้ (๑) ตาย (๒) ลาออกต่อนายกรัฐมนตรี โดยการลาออกจะมีผลนับแต่วันที่ผู้ช่วยรัฐมนตรีประสงค์ ใหม้ ีผล (โดยผ้ชู ่วยรัฐมนตรจี ะตอ้ งย่ืนหนงั สือลาออกเรยี นรองนายกรฐั มนตรี หรอื รฐั มนตรี

คู่มอื คณะกรรมการผู้ช่วยรฐั มนตรี : ๗ ที่เป็นผู้บังคับบัญชา และนากราบเรียนนายกรัฐมนตรี โดยส่งให้สานักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรีเพอ่ื จดั ทาประกาศลาออกตอ่ ไป) (๓) นายกรัฐมนตรีผู้แต่งตั้งพ้นจากตาแหน่ง ในกรณีที่นายกรัฐมนตรียังต้องอยู่ใน ตาแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป ให้กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรียังคงปฏิบัติหน้าที่ ต่อไปได้เท่าระยะเวลาเดียวกัน ซ่ึงโดยปกติคือวันที่คณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้าเฝ้าฯ ถวาย สัตยป์ ฏิญาณก่อนเขา้ รับหน้าท่ี (๔) นายกรัฐมนตรีมีคาส่งั ใหผ้ ชู้ ่วยรัฐมนตรีออกจากตาแหน่งกอ่ นครบวาระก็ได้ตามดุลพินิจ ที่เห็นสมควร (ข้อ ๓ ของระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วย รัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๖) (๕) นายกรัฐมนตรีมีคาส่ังให้ผู้ช่วยรัฐมนตรีที่ฝ่าฝืนวินัยออกจากตาแหน่งก่อนครบวาระ โดยจะดาเนินการสอบสวนหรือไม่สอบสวนก็ได้ (ข้อ ๑๑ ของระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผชู้ ว่ ยรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๖) (๖) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม (ข้อ ๔ ของระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการผชู้ ว่ ยรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๖ และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ) อานาจวินิจฉัยและตคี วามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรวี ่าดว้ ยคณะกรรมการผู้ชว่ ยรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึง่ รวมถึงการใหพ้ น้ จากตาแหนง่ เปน็ ของนายกรัฐมนตรี ๑.๖ การเรียกช่อื ผชู้ ่วยรัฐมนตรี และคณะกรรมการผูช้ ่วยรัฐมนตรี ๑.๖.๑ กรณเี ปน็ ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรปี ระจานายกรัฐมนตรี ภาษาไทย ให้เรยี ก ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรีประจานายกรัฐมนตรี ภาษาองั กฤษ ให้เรยี ก Vice Minister attached to the Prime Minister ๑.๖.๒ กรณเี ป็นผู้ชว่ ยรฐั มนตรปี ระจานายกรัฐมนตรี (ปฏบิ ตั งิ านกระทรวง...) ภาษาไทย ใหเ้ รียก ผู้ช่วยรฐั มนตรีประจานายกรัฐมนตรี (ปฏิบตั ิงานกระทรวง...) ภาษาอังกฤษ ให้เรียก Vice Minister attached to the Prime Minister (assigned to the Ministry of ...)

คมู่ ือคณะกรรมการผู้ชว่ ยรัฐมนตรี : ๘ ๑.๖.๓ กรณีเป็นผู้ช่วยรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ไม่ว่าจะมีรัฐมนตรีประจาสานัก นายกรฐั มนตรหี รอื ไมม่ กี ต็ าม ภาษาไทย ให้เรยี ก ผูช้ ว่ ยรฐั มนตรปี ระจาสานักนายกรฐั มนตรี ภาษาองั กฤษ ใหเ้ รียก Vice Minister for Office of the Prime Minister ๑.๖.๔ กรณเี ปน็ ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีประจากระทรวง ภาษาไทย ให้เรียก ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวง + ชื่อกระทรวง เช่น ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจากระทรวงกลาโหม ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงการต่างประเทศ หรือ ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจากระทรวงพาณิชย์ เป็นต้น ภาษาอังกฤษ ให้เรียก Vice Minister for + ช่ือกระทรวง เช่น Vice Minister for Defence, Vice Minister for Foreign Affairs หรอื Vice Minister for Commerce ๑.๖.๕ คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี ภาษาองั กฤษใหเ้ รยี ก Commission of Vice Ministers ๑.๖.๖ กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี ภาษาอังกฤษให้เรียก Member of the Commission of Vice Ministers ชอ่ื ผู้ช่วยรฐั มนตรีประจาแต่ละกระทรวง หนว่ ยงาน ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ๑. นายกรฐั มนตรี ผู้ช่วยรฐั มนตรีประจา Vice Minister attached to นายกรฐั มนตรี the Prime Minister ๒. สานักนายกรัฐมนตรี ผ้ชู ่วยรัฐมนตรีประจาสานัก Vice Minister for Office of นายกรัฐมนตรี the Prime Minister ๓. กระทรวงกลาโหม ผูช้ ่วยรัฐมนตรีประจา Vice Minister for Defence กระทรวงกลาโหม ๔. กระทรวงการคลงั ผู้ชว่ ยรัฐมนตรีประจา Vice Minister for Finance กระทรวงการคลงั ๕. กระทรวงการต่างประเทศ ผชู้ ่วยรฐั มนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Foreign การต่างประเทศ Affairs ๖. กระทรวงการท่องเท่ียวและ ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Tourism กฬี า การทอ่ งเท่ียวและกีฬา and Sports

คมู่ อื คณะกรรมการผู้ชว่ ยรัฐมนตรี : ๙ หนว่ ยงาน ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ๗. กระทรวงการพฒั นาสงั คม ผู้ช่วยรฐั มนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Social และความมัน่ คงของมนุษย์ การพัฒนาสังคมและความมน่ั คง Development and Human ของมนษุ ย์ Security ๘. กระทรวงการอุดมศกึ ษา ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Higher วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และ การอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ Education, Science, นวัตกรรม วจิ ัยและนวตั กรรม Research and Innovation ๙. กระทรวงเกษตรและ ผู้ชว่ ยรฐั มนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Agriculture สหกรณ์ เกษตรและสหกรณ์ and Cooperatives ๑๐. กระทรวงคมนาคม ผ้ชู ่วยรัฐมนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Transport คมนาคม ๑๑. กระทรวงดจิ ิทัล ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Digital เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม ดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคม Economy and Society ๑๒. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ผู้ชว่ ยรฐั มนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Natural และสง่ิ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ Resources and สิ่งแวดลอ้ ม Environment ๑๓. กระทรวงพลงั งาน ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Energy พลังงาน ๑๔. กระทรวงพาณชิ ย์ ผู้ชว่ ยรัฐมนตรีประจากระทรวง Vice Minister for พาณิชย์ Commerce ๑๕. กระทรวงมหาดไทย ผู้ชว่ ยรฐั มนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Interior มหาดไทย ๑๖. กระทรวงยุตธิ รรม ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Justice ยตุ ิธรรม ๑๗. กระทรวงแรงงาน ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Labour แรงงาน ๑๘. กระทรวงวฒั นธรรม ผ้ชู ว่ ยรฐั มนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Culture วัฒนธรรม

คมู่ อื คณะกรรมการผูช้ ่วยรฐั มนตรี : ๑๐ หนว่ ยงาน ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ๑๙. กระทรวงศึกษาธกิ าร ผชู้ ่วยรัฐมนตรีประจา Vice Minister for Education ๒๐. กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศกึ ษาธิการ ๒๑. กระทรวงอตุ สาหกรรม ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Public สาธารณสขุ Health ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีประจากระทรวง Vice Minister for Industry อุตสาหกรรม

ค่มู ือคณะกรรมการผ้ชู ว่ ยรฐั มนตรี : ๑๑ หมวด ๒ แนวทางปฏิบัติเมื่อเขา้ รบั ตาแหน่งแล้ว ๒.๑ สถานะของผชู้ ว่ ยรัฐมนตรี เนื่องจากการแต่งตั้งผู้ช่วยรัฐมนตรีเป็นการใช้อานาจของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ในการแต่งตั้งกรรมการในฝ่ายบริหารตามมาตรา ๑๑ (๖)1 ของพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ไม่ใช่การแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งตามกฎหมาย คณะกรรมการและ ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีประจากระทรวงจึงไม่ใช่เจา้ พนักงานตามกฎหมายใด ๆ จงึ ไม่อาจใช้อานาจหนา้ ที่ ตามกฎหมายใด ๆ ไม่ว่าต่อข้าราชการหรือบุคคลภายนอกโดยตรง อน่ึง นายกรัฐมนตรีหรือ รัฐมนตรีจะมอบหมายให้ใช้อานาจตามกฎหมายซึ่งเป็นของนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีก็มิได้ เพราะพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๓๘ (๑) (๒) และ (๓)2 มิได้ให้อานาจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีท่ีจะมอบอานาจให้ผู้ช่วยรัฐมนตรีปฏิบัติร าชการแทน ซง่ึ หากฝา่ ฝืนก็จะทาใหก้ ารปฏบิ ตั ิราชการดงั กล่าวเสยี ไปเพราะกระทาลงโดยปราศจากอานาจ อนึ่ง เน่ืองจากเป็นการแต่งต้ังในฝ่ายบริหาร จึงแต่งต้ังให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและ สมาชิกวุฒิสภาดารงตาแหน่งไม่ได้ เพราะต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ หากฝ่าฝืนก็จะทาให้ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรและสมาชกิ วุฒิสภาน้ัน ต้องสนิ้ สมาชกิ ภาพแล้วแตก่ รณี 1 มาตรา ๑๑ นายกรฐั มนตรใี นฐานะหัวหน้ารัฐบาลมีอานาจหน้าท่ี ดังน้ี (๖) แต่งต้ังผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธานท่ีปรึกษา ท่ีปรึกษา หรือคณะท่ีปรึกษาของนายกรัฐมนตรีหรือเป็น คณะกรรมการเพอื่ ปฏิบัติราชการใด ๆ และกาหนดอัตราเบย้ี ประชุมหรอื คา่ ตอบแทนให้แกผ่ ซู้ ่งึ ไดร้ ับแต่งตั้ง 2 มาตรา ๓๘ (๑) นายกรัฐมนตรอี าจมอบอานาจใหร้ องนายกรัฐมนตรหี รือรฐั มนตรปี ระจาสานักนายกรัฐมนตรี (๒) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอาจมอบอานาจให้รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง ปลัดกระทรวง อธบิ ดี หรือหัวหน้า สว่ นราชการซงึ่ ดารงตาแหนง่ เทยี บเทา่ หรือผ้วู ่าราชการจงั หวัด (๓) รัฐมนตรวี ่าการทบวงอาจมอบอานาจให้รฐั มนตรชี ่วยว่าการทบวง ปลัดทบวง อธิบดี หรือหัวหน้าส่วนราชการ ซ่งึ ดารงตาแหนง่ เทยี บเทา่ หรือผู้ว่าราชการจงั หวัด

คมู่ ือคณะกรรมการผู้ชว่ ยรัฐมนตรี : ๑๒ ๒.๒ การปฏิบัติหน้าทขี่ องผู้ช่วยรฐั มนตรี 2.2 ๒.๒.๑ การปฏิบัตหิ น้าทข่ี องผ้ชู ่วยรฐั มนตรซี ง่ึ มีสองสถานะ ในการปฏิบัติหนา้ ทีผ่ ้ดู ารงตาแหน่งผ้ชู ่วยรัฐมนตรีตอ้ งปฏิบัตหิ นา้ ที่สองสถานะ คอื (๑) การปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี โดยต้องประชุมอย่างน้อย เดอื นละครง้ั (๒) การปฏิบตั หิ นา้ ท่ใี นฐานะผูช้ ่วยรฐั มนตรี (๒.๑) ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจานายกรัฐมนตรี อยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี โดยนายกรัฐมนตรีจะมอบหมายให้ผู้ช่วยรัฐมนตรีคนใดคนหน่ึงปฏิบัติภารกิจเฉพาะเร่ืองตามที่ มอบหมายเปน็ กรณีพเิ ศษ โดยถือวา่ เปน็ ผูช้ ่วยรฐั มนตรีประจานายกรัฐมนตรี และให้รายงานตรงต่อ นายกรฐั มนตรกี ไ็ ด้ (๒.๒) ผชู้ ่วยรัฐมนตรปี ระจาสานกั นายกรฐั มนตรี อยู่ในบังคับบญั ชาของรองนายกรัฐมนตรี หรอื รัฐมนตรปี ระจาสานกั นายกรฐั มนตรที ่นี ายกรัฐมนตรีมอบหมาย (๒.๓) ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวง อยู่ในบังคับบัญชาของรัฐมนตรีว่าการ ในกรณี กระทรวงหนึ่งมีผ้ชู ว่ ยรัฐมนตรีมากกว่า ๑ คน รฐั มนตรีวา่ การอาจบังคับบัญชาผ้ชู ว่ ยรัฐมนตรีทกุ คน หรือจะมอบหมายให้รัฐมนตรีช่วยว่าการบังคับบัญชาก็ได้ ตามมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และทแี่ ก้ไขเพม่ิ เติม อน่ึง ในกรณีท่ีนายกรัฐมนตรีหรอื รัฐมนตรีว่าการ มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี หรือ รัฐมนตรีช่วยว่าการเป็นผู้ดูแลผู้ช่วยรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีว่าการ ควรกาหนด ภารกิจและระบบการประสานงานให้ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อมิให้เกิดความสับสน ซ้าซ้อน ซึง่ จะกระทบถงึ ขา้ ราชการและประชาชน ๒.๒.๒ การปฏบิ ัติหน้าทใ่ี นมติ ิตา่ ง ๆ (๑) มติ ิดา้ นการเมือง (๑.๑) การประสานงานระหว่างนายกรัฐมนตรี และสานักนายกรัฐมนตรีกับรัฐมนตรี สานักงานรัฐมนตรี และกระทรวง ให้เป็นไปตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยคณะกรรมการ ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๖ (๑.๒) การมอบหมายภารกิจหรืองานใดให้แก่ผู้ช่วยรัฐมนตรี ควรจัดทาเป็น ลายลักษณ์อักษร โดยเฉพาะอย่างย่ิงกรณีต้องติดต่อกับข้าราชการและหน่วยงาน ไม่ว่าภายใน สานกั นายกรฐั มนตรี ภายในกระทรวง หรือต่างกระทรวง

คู่มือคณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี : ๑๓ (๑.๓) ในการติดต่อนัดหมาย ควรติดต่อล่วงหน้าและแสดงเอกสารที่ได้รับมอบหมาย เพอื่ ใหข้ ้าราชการหรือหนว่ ยงานสามารถเตรียมข้อมูลที่เกย่ี วข้องให้พรอ้ ม (๑.๔) ควรติดตามความเคล่ือนไหวของงานด้านนิติบัญญัติ โดยเฉพาะเร่ืองการพิจารณา รา่ งกฎหมายในคณะกรรมาธกิ าร เพอื่ รายงานให้รฐั มนตรีทราบและส่งั การตอ่ ไป ในการน้ี ควรประสานงาน อยา่ งใกล้ชดิ กบั หน่วยงานทีเ่ ป็นเจ้าของร่างกฎหมาย ในกรณที ่ีมกี ารแก้ไขเพิม่ เติมกฎหมายแตกตา่ งไป จากที่เสนอจนหน่วยงานเห็นว่ามีปัญหาก็สมควรแจ้งให้รัฐมนตรีทราบเพ่ือให้รัฐมนตรีแจ้งให้ คณะกรรมการประสานงานสภาผ้แู ทนราษฎร (ปปส.) ดาเนนิ การตามท่ีเหมาะสมต่อไป ขอ้ ควรระวัง การประสานงานดา้ นนติ บิ ัญญัตพิ ึงระมดั ระวงั มใิ ห้ก้าวล่วงเข้าไปในการทางานของรฐั สภา (๒) มติ ิดา้ นประชาชน (๒.๑) การปฏบิ ัตหิ น้าทใ่ี นมิตปิ ระชาชนต้องให้รฐั มนตรีเป็นผู้มอบอานาจซ่ึงอาจจะเป็น เร่ืองการรับฟังข้อเสนอแนะ การรับและพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ของประชาชน หรือการอื่นตามที่ ได้รบั มอบหมาย (๒.๒) อย่าตกปากรับคาใด ๆ ทั้งส้ิน เพราะผู้ช่วยรัฐมนตรีไม่มีอานาจกระทาการใด ในลักษณะผูกพนั รฐั มนตรี กระทรวง หรือทางราชการ (๒.๓) ควรตอ้ งขอนโยบายจากรฐั มนตรกี ่อนทุกคร้ังไป เวน้ แตเ่ ป็นกรณีฉกุ เฉิน (๓) มิตดิ า้ นกระทรวง (๓.๑) ผู้ชว่ ยรัฐมนตรีสามารถเปน็ ผู้แทนรฐั มนตรีในการเจรจา รว่ มเจรจา หรอื หารือในเร่ือง ที่ไม่ก่อให้เกิดพันธะทางกฎหมาย ผูกพันรัฐมนตรี กระทรวง หรือทางราชการ โดยรัฐมนตรีต้อง มอบหมายเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร (๓.๒) เข้ารับฟัง ประชุมแทน หรือประชุมร่วมกับรัฐมนตรีในการประชุมต่าง ๆ ของ ฝ่ายบริหารได้ โดยขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากประธานทุกครั้ง และควรตรวจสอบที่น่ังในการ เข้าประชุมกอ่ น การเสนอความเหน็ ต้องขอและไดร้ บั อนญุ าตจากประธานท่ีประชุมกอ่ น ข้อควรระวัง ข้อน้ีไม่ได้ใช้กับฝ่ายนิติบัญญัติ เพราะการเข้าร่วมประชุมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวฒุ ิสภาใหใ้ ชข้ อ้ บังคบั การประชุมรฐั สภา

คมู่ ือคณะกรรมการผูช้ ่วยรฐั มนตรี : ๑๔ (๔) มิตดิ า้ นตา่ งประเทศ (๔.๑) เข้าประชุมแทน หรือเข้าประชุมร่วมกับรัฐมนตรีในการประชุมกับต่างประเทศ หรอื ระหว่างประเทศ โดยมหี นงั สอื มอบหมายเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรจากรัฐมนตรี (๔.๒) ไมส่ ามารถก่อพันธะผูกพนั ทางกฎหมายใด ๆ (๔.๓) ให้ปฎิบตั ิตามแนวทางระเบยี บประเพณที ่กี ระทรวงการตา่ งประเทศกาหนด (๕) มติ ดิ ้านขา้ ราชการ (๕.๑) ประสานงานกับข้าราชการท้ังประจาและการเมืองในกระทรวงเพ่ือให้ภารกิจ ที่ไดร้ บั มอบหมายเปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย (๕.๒) ห้ามส่ังการ หรือใช้อานาจบังคับบัญชาข้าราชการ และห้ามก้าวก่ายในการ แต่งตงั้ โยกยา้ ย (๕.๓) ใช้อานาจแทนรัฐมนตรีตามกฎหมายไม่ได้ เน่ืองจากตามพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม ไม่ได้กาหนดให้รัฐมนตรี มอบอานาจใหผ้ ชู้ ่วยรัฐมนตรไี ว้ (๖) มติ ิด้านสังคม การปฏิบัติหน้าท่ีแทนรัฐมนตรีในงานพิธีการของทางราชการ หรือเอกชน หรืองาน สังคม ซึ่งหมายถึงงานพิธีการท่ัว ๆ ไป เช่น พิธีเปิดงานหรือกิจการต่าง ๆ ท่ีไม่ขัดต่อกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการ หรอื ขนบธรรมเนยี มประเพณอี ันดงี ามของไทย ขอ้ ควรระวัง ๑. ผู้ช่วยรัฐมนตรีไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่แทนรัฐมนตรีในการเข้าเฝ้าฯ รับเสด็จในโอกาส งานพระราชพิธีหรือรัฐพิธีต่าง ๆ ได้ เน่ืองจากรัฐมนตรีได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญให้มีหน้าท่ีบริหารราชการแผ่นดิน จึงมีตาแหน่งเฝ้าฯ โดยตรง เพ่ือกราบบังคมทูลฯ เก่ียวกับข้อราชการ หรือการบริหารราชการแผ่นดินอันเป็นไปตามโบราณ ประเพณี ๒. กรณีได้รบั มอบให้ปฏบิ ัติหน้าท่แี ทนรัฐมนตรีในงานพิธีการอื่นนอกจากพระราชพิธี หรือ รฐั พิธีควรประสานงานและแจ้งเจ้าภาพให้ทราบล่วงหนา้

คูม่ อื คณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี : ๑๕ (๗) มติ ดิ ้านอืน่ ๆ ในกรณีท่ีนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี ได้ริเร่ิมนโยบายใหม่ ๆ ซึ่งต้องการการกาหนด รายละเอียดเพื่อให้นาไปปฏิบัติได้ คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีควรรับผิดชอบในการประสานงาน เพ่ือทาให้นโยบายกว้าง ๆ เหล่านี้ มีรายละเอียดการปฏิบัติที่นาไปสู่การปฏิบัติที่มีผล ในการนี้ อาจมี การศกึ ษาและวจิ ัย และจัดให้มีการประชุมเพื่อประสานงาน ๒.๒.๓ ข้อแนะนาอน่ื ๆ ในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี (๑) ไม่ควรให้สัมภาษณ์ใด ๆ ในเรื่องนโยบายรัฐบาล หรือกระทรวง เว้นแตไ่ ด้รับมอบหมาย จากนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี หรือรฐั มนตรี (๒) ศึกษาแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ นโยบายรัฐบาล แนวนโยบายนายกรัฐมนตรี รองนายกรฐั มนตรี และรัฐมนตรี (๓) ศึกษางานในกระทรวง (๔) ศึกษากระบวนการตดั สินใจของคณะรฐั มนตรี (๕) ศึกษากระบวนงานดา้ นรฐั สภา ๒.๓ วินัยของผชู้ ว่ ยรฐั มนตรี 2.3 ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรีต้องปฏบิ ตั ิตามวินยั ดงั นี้ ๒.๓.๑ ซือ่ สตั ย์ สุจรติ ๒.๓.๒ รกั ษาประโยชน์และความลบั ของทางราชการ ๒.๓.๓ ไม่ให้สัมภาษณ์ในเร่ืองนโยบายของรัฐบาล หรือกระทรวง เว้นแต่จะได้รับมอบหมาย จากรัฐมนตรี ๒.๓.๔ ดารงตนเหมาะสมแก่ตาแหนง่ หน้าที่ ๒.๓.๕ ไม่ก้าวกา่ ยงานราชการประจา ๒.๓.๖ ไมแ่ ทรกแซงการแต่งต้ัง โยกย้าย และการบริหารงานบุคคล ๒.๓.๗ ไมใ่ ชต้ าแหน่งหนา้ ท่เี อือ้ ประโยชนต์ ่อตนเอง หรอื ผู้อ่ืน โดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย ๒.๓.๘ ต้องไม่ดารงตาแหน่งกรรมการ หรือท่ีปรึกษาของรัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือ องค์กรอ่ืนของรัฐ เว้นแต่การเป็นกรรมการตามที่กฎหมายบัญญัติ หรือได้รับแต่งต้ังในการบริหาร ราชการแผน่ ดนิ

คมู่ ือคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี : ๑๖ ๒.๓.๙ ต้องไม่เป็นคู่สัญญาอันมีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอน หรือมีผลประโยชน์ใด ๆ ขดั หรือแยง้ กับสว่ นราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือองค์กรอื่นของรฐั สงิ่ ทีต่ อ้ งทราบ ๑. กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีผู้ใดฝ่าฝืนวินัย นายกรัฐมนตรีจะมีคาส่ังให้ผู้นั้นพ้นจากตาแหน่ง โดยดาเนนิ การสอบสวนหรือไมก่ ็ได้ ๒. หากการฝ่าฝนื วินยั อาจเข้าขา่ ยเป็นความผิดทางอาญา ใหส้ ง่ เรื่องให้พนกั งานสอบสวนดาเนนิ คดีดว้ ย ๒.๔ การบงั คบั บัญชา 2.4 ๒.๔.๑ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจากระทรวงให้อยู่ในบังคับบัญชาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทีไ่ ดร้ บั มอบหมายให้ไปประจาอยดู่ ว้ ย ๒.๔.๒ ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรที ่ีมไิ ด้มอบหมายให้ปฏบิ ัติหน้าทปี่ ระจากระทรวงใดและผู้ช่วยรฐั มนตรีประจา สานักนายกรัฐมนตรีให้อยู่ในบังคับบัญชาของรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีประจาสานัก นายกรฐั มนตรคี นหน่งึ ตามท่ีนายกรัฐมนตรมี อบหมาย ๒.๕ การย่นื บัญชีแสดงรายการทรพั ยส์ ินและหนสี้ นิ 2.5 กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีเป็นตาแหน่งท่ีจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สิน ตามประกาศคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ เร่ือง กาหนดตาแหน่งของ เจ้าพนักงานของรัฐซ่ึงจะต้องยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามมาตรา ๑๐๓ พ.ศ. ๒๕๖๑3 แ ห่ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ป ร ะ ก อ บ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ ว่ า ด้ ว ย ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ทุ จ ริ ต พ.ศ. ๒๕๖๑4 การแสดงทรัพย์สินจะต้องแสดงทั้งของตน คู่สมรส และบุตรท่ียังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. โดยคู่สมรสให้หมายความรวมถึง ผู้ซ่ึงอยู่กินกันฉันสามีภริยา โดยไม่ได้ จดทะเบยี นสมรสด้วย ทั้งน้ี ตามหลกั เกณฑ์ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด 3 https://spm.e-office.cloud/d/68a397a7 4 https://spm.e-office.cloud/d/01648acf

ค่มู ือคณะกรรมการผู้ช่วยรฐั มนตรี : ๑๗ ผู้ช่วยรัฐมนตรีจะต้องยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินพร้อม เอกสารประกอบ จานวน ๒ ชุด ชุดหน่ึงเป็นต้นฉบับ อีกชุดหน่ึงเป็นสาเนาคู่ฉบับ โดยใช้แบบบัญชีทรัพย์สินและ หน้ีสินตามประกาศ ป.ป.ช. โดยผู้ยื่นบัญชีสามารถยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินได้ด้วยวิธีการใด วิธีการหนึ่ง ดังต่อไปน้ี (๑) จัดส่งด้วยตนเอง หรือมอบหมายให้บุคคลอ่ืนจัดส่งแทน (๒) จัดส่งทาง ไปรษณียล์ งทะเบยี นตอบรบั (๓) ยนื่ บัญชดี ้วยวธิ ีการทางอิเล็กทรอนิกส5์ ดงั นี้ ๑. ย่นื พร้อมหลกั ฐานท่พี ิสจู นค์ วามมอี ยู่จรงิ ของทรัพย์สินและหนส้ี ิน ๒. หลักฐานการเสียภาษีเงินไดบ้ คุ คลธรรมดาในรอบปีภาษีทผ่ี า่ นมา ๓. ผยู้ ่นื ต้องลงลายมือชือ่ กากับไว้ในบัญชที รพั ย์สนิ และหนี้สินและสาเนาหลักฐานท่ยี ื่นทกุ หนา้ ๔. ต้องจัดทารายละเอียดเอกสารประกอบบัญชีทรพั ยส์ ินและหนส้ี ินทย่ี ่นื ด้วย ๕. ทรัพย์สินและหน้ีสินที่แสดงให้รวมท้ังทรัพย์สินและหน้ีสินในต่างประเทศและให้รวมถึง ทรพั ย์สินของบุคคลดังกล่าวที่มอบหมายให้อยู่ในความครอบครองหรือดูแลของบุคคลอ่ืนไม่ว่าทางตรง หรอื ทางอ้อม ๖. ระยะเวลา การขยายระยะเวลา และวิธีการย่ืน ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กาหนด ซ่ึงต้องย่นื ภายในกาหนดเวลา ดงั น้ี ๖.๑ ในกรณีที่เป็นการเข้ารับตาแหน่ง ให้ยื่นภายในหกสิบวันนับแต่วันถัดจากวันเข้า รบั ตาแหน่ง ๖.๒ ในกรณีที่เป็นการพ้นจากตาแหน่งหรือพ้นจากการเป็นเจ้าหน้าท่ีรัฐ ให้ย่ืนภายใน หกสิบวันนับแตว่ นั ถัดจากวันพน้ จากตาแหนง่ หรอื พ้นจากการเป็นเจ้าหน้าทีข่ องรฐั ๖.๓ ในกรณีทุกสามปีตลอดเวลาท่ียังดารงตาแหน่งเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ให้ย่ืนภายใน หกสิบวนั นบั แต่วนั ถัดจากวันดารงตาแหนง่ ครบทุกสามปี ๗. ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองใหย้ ่นื เมอื่ เขา้ รับตาแหนง่ และพ้นจากตาแหนง่ ๘. ผู้ดารงตาแหน่งระดับสูง ผู้ดารงตาแหน่งอื่นตามที่กฎหมายกาหนด เช่น ตาแหน่ง กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี เป็นต้น ให้ย่ืนเม่ือเข้ารับตาแหน่ง และเมื่อพ้นจากการเป็นเจ้าหน้าท่ี ของรัฐและทกุ ๓ ปี ตลอดเวลาที่ดารงตาแหน่งเปน็ เจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐ 5 https://spm.e-office.cloud/d/70f8a88a

คมู่ ือคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี : ๑๘ หมวด ๓ การประชุมคณะกรรมการผ้ชู ่วยรฐั มนตรี ๓.๑ ระบบการประชมุ 2.6 วนั เวลา และสถานท่ี วนั เวลา และสถานที่ประชุม ให้เปน็ ไปตามทค่ี ณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรพี ิจารณากาหนด คู่มือฯ ฉบับเดิมกาหนดว่าผู้ช่วยรัฐมนตรีควรประชุมทุกวันพุธ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ ห้องประชุมในทาเนียบรัฐบาล เพ่ือให้คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีสามารถประชุมปรึกษา เกี่ยวกับเร่ืองที่นายกรัฐมนตรีได้มอบหมายคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีดาเนินการ และเรื่องท่ี นายกรัฐมนตรีหยิบยกขึ้นในทีป่ ระชมุ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันองั คารและยงั ไม่มผี ู้รับผิดชอบ เพื่อนามา ดาเนนิ การใหเ้ ป็นรูปธรรม จากการดาเนินการของคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีท่ีผ่านมา คณะกรรมการผู้ช่วย รัฐมนตรีจะจัดให้มีการประชุมเดือนละคร้ัง โดยจะเปลี่ยนสถานที่ประชุมไปยังกระทรวงต่าง ๆ เพ่ือรับทราบข้อมูลการดาเนินงานของแต่ละกระทรวง และแลกเปล่ียนความคิดเห็น รวมถึงให้ ข้อเสนอแนะทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ การดาเนนิ งานของกระทรวงดว้ ย ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ • กรรมการผชู้ ว่ ยรฐั มนตรีทุกคน • เลขานกุ ารและผู้ช่วยเลขานกุ าร - รองเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรีทนี่ ายกรัฐมนตรมี อบหมาย เป็นเลขานกุ าร - ผู้ช่วยเลขานุการ ไม่เกิน ๒ คน ท่ีคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีแต่งต้ังโดยความเห็นชอบ ของนายกรฐั มนตรี • ข้าราชการประจา - ผแู้ ทนสานักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี - ผแู้ ทนสานกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี - อาจเชญิ ส่วนราชการอื่นเขา้ รว่ มประชุมในกรณีท่ีมีความจาเปน็ เป็นคร้งั คราว • ขา้ ราชการการเมอื ง - ผแู้ ทนโฆษกประจาสานกั นายกรฐั มนตรี

คมู่ ือคณะกรรมการผูช้ ว่ ยรฐั มนตรี : ๑๙ การเลือกประธานที่ประชุม ท่ีประชุมคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีจะเลือกผู้ช่วยรัฐมนตรีคนหน่ึงเป็นประธานในที่ประชุม เฉพาะคราวน้ัน โดยการเลือกจะกระทาล่วงหนา้ หนง่ึ ครง้ั การประชมุ เพื่อให้ผ้ชู ่วยรัฐมนตรีที่จะตอ้ ง ปฏบิ ตั ิหนา้ ทป่ี ระธานทราบล่วงหน้าและสามารถเตรียมความพร้อมได้ ระเบยี บวาระการประชุม ฝ่ายเลขานุการฯ จะจัดส่งระเบียบวาระการประชุมให้ผู้ช่วยรัฐมนตรีก่อนวันที่กาหนดให้มี การประชมุ การเสนอเรือ่ งเขา้ ส่รู ะเบยี บวาระการประชุม ผู้ช่วยรัฐมนตรีที่ประสงค์จะเสนอเร่ืองให้คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีพิจารณา ต้องส่งเร่ือง ไปท่ีฝ่ายเลขานุการฯ โดยฝ่ายเลขานุการฯ จะตรวจสอบและจัดทาบัญชีรายชื่อเสนอให้ผู้ช่วย รฐั มนตรี ท่ีได้รับเลือกให้เป็นประธานในการประชุมครั้งต่อไป เป็นผู้พิจารณาและส่ังบรรจุในวาระ การประชมุ รายงานการประชมุ รายงานการประชมุ ท่ีได้รบั การรบั รองแล้ว จะต้องนาเสนอนายกรฐั มนตรที ราบ ๓.๒ การประชุมคร้ังแรก สิง่ ทต่ี อ้ งทราบ ๑. การประชมุ คณะกรรมการผชู้ ่วยรฐั มนตรีครงั้ แรก จะมีข้ึนภายหลงั จากมีการประกาศรายช่ือ คณะกรรมการผูช้ ว่ ยรฐั มนตรีในราชกจิ จานุเบกษาแลว้ อยา่ งน้อย ๒๕ คน ๒. คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรจี ะประชมุ อย่างน้อยเดอื นละคร้ัง เรือ่ งที่ปรากฏในระเบยี บวาระการประชุมคณะกรรมการผ้ชู ว่ ยรฐั มนตรีครั้งแรก ๓.๒.๑ แนวทางการประชุมคณะกรรมการผูช้ ว่ ยรัฐมนตรี (๑) วนั เวลา และสถานท่ีประชุม (๒) การเลอื กประธานทีป่ ระชมุ (๓) ผู้เข้าร่วมประชุม (๔) การจดั ระเบยี บวาระการประชุม

คมู่ อื คณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี : ๒๐ ๓.๒.๒ แนวทางปฏบิ ัตขิ องคณะรฐั มนตรี วาระน้ีจะเป็นการแจ้งแนวทางปฏิบัติในเร่ืองสาคัญท่ีเกี่ยวกับราชการของคณะรัฐมนตรี ใหค้ ณะกรรมการผู้ชว่ ยรัฐมนตรีทราบ เช่น ราชการของคณะรัฐมนตรีท่เี กี่ยวกบั ราชการในพระองค์ ราชการของคณะรัฐมนตรีท่ีเกี่ยวกับฝ่ายนิติบัญญัติ กระบวนการตัดสินใจของคณะรัฐมนตรีการ มอบอานาจของคณะรฐั มนตรี และอ่นื ๆ ๓.๒.๓ แนวทางปฏบิ ตั ขิ องคณะกรรมการผชู้ ว่ ยรฐั มนตรี วาระน้ีจะเป็นการหารือและกาหนดแนวทางการปฏิบัติและวิธี การทางานของ คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีเก่ียวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น การประสานงานเพื่อการนานโยบายท่ีได้รับ มอบหมายจากนายกรฐั มนตรี รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี ไปสู่การปฏิบัติ การรักษาความลับ ของทางราชการ การห้ามนาเอกสารลับของทางราชการ หรือระเบียบวาระการประชุม คณะรฐั มนตรไี ปเผยแพร่ และการให้สมั ภาษณต์ ่อสอื่ มวลชน เปน็ ตน้ ๓.๒.๔ การมอบหมายให้ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรีตรวจพจิ ารณามตคิ ณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี ใน ก า ร ย ก ร่ า ง ม ติ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ผู้ ช่ ว ย รั ฐ ม น ต รี ใน ว า ร ะ เพื่ อ พิ จ า ร ณ า ทุ ก เร่ื อ ง น้ั น เพื่อความรอบคอบและถูกต้อง สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีจะเสนอในการประชุม คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีครั้งแรกให้คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมน ตรีมีมติมอบหมายให้ผู้ช่วย รัฐมนตรีผใู้ ดผู้หน่งึ เปน็ ผูด้ าเนนิ การตรวจสอบก่อนดาเนินการต่อไป ๓.๓ การจัดระเบียบวาระการประชมุ สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในฐานะฝ่ายเลขานุการของที่ประชุม จะพิจารณาการจัด ระเบียบวาระการประชุม ดังนี้ ๓.๓.๑ วาระการเลอื กประธานการประชมุ ทจ่ี ะมขี ึ้นครงั้ ตอ่ ไป ๓.๓.๒ วาระประธานแจ้งตอ่ ทีป่ ระชมุ (ถา้ ม)ี ๓.๓.๓ วาระรบั รองรายงานการประชมุ ๓.๓.๔ วาระเรอ่ื งท่นี ายกรัฐมนตรีมอบหมาย (ถ้ามี) ๓.๓.๕ วาระเพือ่ ทราบ ๓.๓.๖ วาระเพ่ือพิจารณา ๓.๓.๗ วาระการตดิ ตามและประเมินผลการดาเนนิ การ ๓.๓.๘ เรือ่ งอืน่ ๆ (ถา้ มี)

ค่มู ือคณะกรรมการผชู้ ว่ ยรฐั มนตรี : ๒๑ ๓.๔ ลาดบั การประชุม ๓.๔.๑ วาระการเลือกประธานการประชุมท่จี ะมีขน้ึ ครงั้ ต่อไป เป็นการเลือกผู้ช่วยรัฐมนตรีท่ีจะปฏิบัติหน้าท่ีประธานที่ประชุมคณะกรรมการผู้ช่วย รัฐมนตรที จี่ ะมีข้นึ ในครั้งต่อไป ๓.๔.๒ วาระประธานแจง้ ตอ่ ทป่ี ระชมุ (ถ้าม)ี เปน็ เรอ่ื งท่ีประธานแจ้งให้คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรเี พื่อทราบ หรือเพื่อหารือ และ/หรือ เรอ่ื งที่ประธานขอให้ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรีรายงานเกี่ยวกบั ปญั หาเรง่ ดว่ นเพอ่ื การตดิ ตามเรอื่ ง ๓.๔.๓ วาระรบั รองรายงานการประชมุ เป็นการรับรองรายงานการประชุมครั้งท่ีผ่านมา ซึ่งได้จัดส่งให้ผู้ช่วยรัฐมนตรีแต่ละคน ตรวจพิจารณาล่วงหน้าพร้อมกับระเบียบวาระการประชุม ท้ังน้ี รายงานการประชุมท่ีได้รับการรับรอง แล้วจะเสนอนายกรฐั มนตรที ราบต่อไปทุกครงั้ ๓.๔.๔ วาระเรอ่ื งทนี่ ายกรัฐมนตรมี อบหมาย (ถ้าม)ี ได้แก่ เร่ืองท่ีนายกรัฐมนตรีได้มอบหมายให้คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีดาเนินการในการ ประชมุ คณะรฐั มนตรคี รง้ั ที่ผา่ นมา ๓.๔.๕ วาระเพื่อทราบ เรื่องท่ัว ๆ ไป ซ่ึงประธานท่ีประชุมได้พิจารณาแล้วเห็นว่าไม่มีประเด็นขัดแย้งหรือ ข้อพิจารณาอ่ืนใดและสามารถนาเสนอคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีทราบได้ หากผู้ช่วยรัฐมนตรี มีข้อทว้ งติง หรอื ความเห็นแตกต่างจะสามารถยกขึ้นมาพจิ ารณาในทปี่ ระชุมได้

คมู่ ือคณะกรรมการผู้ช่วยรฐั มนตรี : ๒๒ ๓.๔.๖ วาระเพ่ือพิจารณา เปน็ เรอ่ื งท่ีประธานพจิ ารณาแล้วมีคาสง่ั ให้เสนอคณะกรรมการผชู้ ่วยรฐั มนตรีพิจารณา ๓.๔.๗ วาระการตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ การ เปน็ การรายงานผลการดาเนนิ การในเรื่องต่าง ๆ เพ่อื ที่ประชมุ คณะกรรมการผู้ช่วยรฐั มนตรี ไดม้ ีมติมอบหมายใหผ้ ชู้ ่วยรฐั มนตรีไปดาเนนิ การ ๓.๔.๘ เรอ่ื งอ่นื ๆ (ถา้ ม)ี เป็นวาระที่มีผู้ช่วยรัฐมนตรีเสนอข้ึนในท่ีประชุมเพื่อให้คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีทราบ หรือพิจารณา ซง่ึ เปน็ เร่อื งทไี่ มป่ รากฏในวาระการประชมุ ๓.๕ การลาประชุม ผู้ช่วยรัฐมนตรีควรแจ้งให้สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีทราบเป็นหนังสือ เพื่อสานัก เลขาธิการนายกรัฐมนตรีจะได้รายงานให้ประธานทราบ และใช้เป็นหลักฐานในการจัดทารายงาน การประชุมคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี ซึ่งจะต้องแสดงรายช่ือผู้ช่วยรัฐมนตรีท่ีเข้าร่วมประชุม และไมเ่ ข้าร่วมประชมุ ด้วย ๓.๖ เจ้าหนา้ ทป่ี ฏบิ ตั งิ านในการประชุม ในการประชุมคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในฐานะ ฝ่ายเลขานุการของท่ีประชุม จะได้จัดเจ้าหน้าท่ีฝ่ายต่าง ๆ เพ่ือทาหน้าที่ประสานงานและ อานวยการให้การประชุมคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ได้แก่ การศึกษา วิเคราะห์และจัดทาความเห็นประกอบการพิจารณา การจัดทาวาระ/เอกสาร การประชุม การจัดทารายงานการประชุม การใช้อปุ กรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและโสตทัศนูปกรณ์ การติดต่อประสานงาน การต้อนรับและอานวยความสะดวกแก่ผู้ช่วยรัฐมนตรี ผู้เข้าร่วมประชุม และผู้ชี้แจงตลอดการประชุม

คู่มือคณะกรรมการผ้ชู ่วยรัฐมนตรี : ๒๓ หมวด ๔ เรื่องน่ารู้สาหรับผู้ช่วยรฐั มนตรี ๔.๑ ค่าตอบแทน ๔.๑.๑ เบย้ี ประชุมรายคร้ัง คณ ะ กรรมการผู้ช่วยรัฐม น ต รีแ ละ เลข านุ การจะ ได้ รับเบ้ี ยป ระ ชุม เป็ น รายค ร้ัง ตามอัตราท่ีกฎหมายว่าด้วยเบี้ยประชุมกรรมการ การรับเบี้ยประชุมให้รับจากสานักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี ๔.๑.๒ ค่าตอบแทนรายเดอื น ผู้ช่วยรัฐมนตรีจะได้รับค่าตอบแทนเป็นรายเดือนตามท่ีกระทรวงการคลังกาหนดโดยความ เหน็ ชอบของคณะรัฐมนตรี ๔.๒ สทิ ธปิ ระโยชน์และเกยี รตยิ ศอ่ืน ๆ ๔.๒.๑ การขอพระราชทานเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่ เชิดชูย่ิงช้างเผือกและเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศย่ิงมงกุฎไทย พ.ศ. ๒๕๖๔ ซ่ึงประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมอ่ื วนั ที่ ๖ ตลุ าคม ๒๕๖๔ กาหนด ดงั น้ี ๑. ข้อ ๑๔ ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐและบุคคลดังต่อไปน้ีเป็นผู้เสนอรายช่ือและรับรอง คุณสมบัติและคุณลักษณะตามข้อ ๘ และข้อ ๑๒ ของบุคคลท่ีสมควรได้รับการเสนอขอ พระราชทานเครื่องราชอสิ ริยาภรณต์ ามบญั ชที ้ายระเบียบนี้ (๑) นายกรัฐมนตรี สาหรับรัฐมนตรี และผ้ชู ่วยรัฐมนตรี ๒. บัญชที ้ายระเบียบฯ บญั ชี ๒ การขอพระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ให้แกข่ ้าราชการ การเมือง ผู้ช่วยรัฐมนตรี ผู้แทนการค้าไทย กรรมการประสานงานสภาผู้แทนราษฎร และกรรมการ ประสานงานวฒุ ิสภา QR Code ระเบยี บ นร. ว่าดว้ ยการขอเคร่ืองราชฯ พ.ศ. ๒๕๖๔

คมู่ ือคณะกรรมการผู้ชว่ ยรัฐมนตรี : ๒๔ ตาแหนง่ เคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ เง่ือนไขและระยะเวลา หมายเหตุ ท่ีขอพระราชทาน การเล่อื นชน้ั ตรา ผู้ชว่ ย ต้ อ ง มี ร ะ ย ะ เว ล า ก า ร รัฐมนตรี เร่มิ ตน้ ขอ เลือ่ นได้ถึง ดารงตาแหน่งติดต่อกัน มาแล้วไม่น้อยกว่า ๙๐ ต.ม. ป.ช. ๑. ต.ม. - ป.ม. ปเี วน้ ปี วันหรือดารงตาแหน่ง หลายตาแหน่งรวมกัน ๒. ได้ ป.ม. มาแล้ว ม า แ ล้ ว ไม่ น้ อ ย ก ว่ า ๑๒๐ วันนับต้ังแต่วันที่ ไม่น้อยกว่า ๓ ปบี ริบูรณ์ ดารงตาแหน่งจนถึงวัน ก่ อ น วัน พ ระ ราช พิ ธี ขอ ป.ช. เฉลิมพระชนมพรรษา ของปีที่จะขอพระราชทาน และให้ขอได้เฉพาะผู้ที่ ได้ รับ เงิน เดื อ น ห รื อ ค่ า ต อ บ แ ท น เป็ น ร า ย เดือนจากงบประมาณ แผน่ ดิน ๔.๒.๒ การจดั ทาบัตรประจาตัวเจ้าหน้าท่ขี องรัฐ พระราชกฤษฎีกากาหนดให้เจ้าหน้าที่ของรัฐและผู้มีอานาจออกบัตรประจาตัวเจ้าหน้าที่ ของรัฐตามพระราชบัญญัติบัตรประจาตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๒ (ฉบับที่ ๑๒) พ.ศ. ๒๕๕๕ กาหนดให้กรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีเป็นเจ้าหน้าท่ีของรัฐและนายกรัฐมนตรีเป็นผู้มีอานาจออกบัตร ประจาตวั เจ้าหนา้ ท่ขี องรฐั โดยใหผ้ ู้ชว่ ยรัฐมนตรสี ่งแบบคาขอมบี ัตรประจาตัวตามแบบที่แนบท้ายหนังสือน้ี เพ่ือสานัก เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรดี าเนินการจดั ทาบัตรประจาตัวตอ่ ไป

คมู่ อื คณะกรรมการผชู้ ว่ ยรัฐมนตรี : ๒๕ ๔.๒.๓ การใชบ้ ัตรแสดงตนและบตั รอนุญาตนายานพาหนะผ่านเขา้ – ออก บรเิ วณทาเนยี บรฐั บาล เพ่ือเป็นการแสดงฐานะของบุคคล และเป็นไปตามมาตรการรักษาความปลอดภัยบริเวณ ทาเนยี บรัฐบาล สานกั เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี จะดาเนินการ ดงั น้ี (๑) จัดทาบัตรแสดงตนให้แก่ผู้ช่วยรัฐมนตรีทุกคนตามจานวนที่รัฐมนตรีแจ้ง โดยบัตร ดงั กล่าวมีอายุการใช้งานตามทส่ี านักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรีกาหนด (๒) จัดทาบัตรอนุญาตนายานพาหนะผ่านเข้า – ออก บริเวณทาเนียบรัฐบาลสาหรับ รถยนต์ของผชู้ ว่ ยรฐั มนตรี ๑ คน ซ่งึ บตั รอนญุ าตดงั กลา่ วจะมอี ายกุ ารใช้งานเป็นเวลา ๑ ปี สิ่งท่ีตอ้ งทราบ ๑. ติดบัตรแสดงตนให้เหน็ ไดโ้ ดยชดั เจน และตลอดเวลาทีอ่ ยใู่ นบริเวณทาเนียบรัฐบาล ๒. ตดิ บัตรอนุญาตนายานพาหนะผ่านเข้า – ออก บรเิ วณกระจกหน้าด้านซ้ายในระดับท่ีสามารถ เหน็ ได้โดยชดั เจน ๔.๒.๔ การเทยี บตาแหนง่ กรรมการผูช้ ่วยรัฐมนตรีและผู้ช่วยรฐั มนตรี ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ท่ื กค ๐๔๐๖.๖/ว ๑๐๔ ลงวันท่ี ๒๒ กันยายน ๒๕๕๑ ได้เทียบตาแหน่งกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีและผู้ช่วยรัฐมนตรีเท่ากับข้าราชการพลเรือนตาแหน่ง ประเภทบริหารระดับสูง ๔.๓ การแตง่ กายในโอกาสเข้าร่วมงานพระราชพิธีหรอื รัฐพธิ ี ความหมายของพระราชพิธแี ละรฐั พธิ ี พระราชพิธี งานท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ กาหนดไว้เป็น ประจาตามราชประเพณี ซ่ึงจะเสด็จพระราชดาเนินไปทรงประกอบพระราชพิธีด้วยพระองค์เอง หรือจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้แทนพระองค์ไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ แล้วแต่กรณี โดยก่อนถึงงานพระราชพิธีจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีหมายกาหนดการ พระราชพิธีดังกล่าว ท้ังนี้ ผู้มีตาแหน่งเฝ้าฯ มีหน้าท่ีจะต้องไปเข้าเฝ้าฯ ในพระราชพิธีดังกล่าว เว้นแต่จะทรงกาหนดเป็นพระราชพิธีส่วนพระองค์หรือเป็นการภายใน อน่ึง ในช่วงโอกาสสาคัญ อาจทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระราชพิธีเน่ืองในโอกาสมหามงคลน้ัน ๆ เพิ่มจากพระราชพิธี

คมู่ อื คณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี : ๒๖ ประจาปีดังเช่นท่ีผ่านมา ได้แก่ พระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี และพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ โดยก่อนวันพระราชพิธีจะมี หมายกาหนดการ (เป็นเอกสารแจ้งกาหนดข้ันตอนของงานพระราชพิธีโดยเฉพาะ) ในการเสด็จฯ ไปทรงประกอบพระราชกรณียกิจ ซ่ึงโดยปกติแล้วคณะรัฐมนตรี และผู้มีตาแหน่งตามท่ีกาหนดให้ เฝ้าฯ ต้องมีหน้าที่ไปเข้าเฝ้าฯ ในพระราชพิธดี ้วย ยกเว้นพระราชพิธีส่วนพระองค์หรอื เป็นการภายใน พระราชพิธีท่ีบุคคลสาคัญหรือมีตาแหน่งต้องไปเข้าเฝ้าฯ ได้แก่ พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธี เฉลมิ พระชนมพรรษา พระราชพธิ ที รงบาเพ็ญพระราชกศุ ลถวายผา้ พระกฐิน เปน็ ต้น รฐั พิธี งานที่รัฐบาลกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระมหากรุณาใหท้ รงรบั ไว้เป็น งานรัฐพิธี มีหมายกาหนดการที่กาหนดไว้เป็นประจาเช่นเดียวกับพระราชพิธี ซ่ึงพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ ัวจะเสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงเป็นประธานในพธิ ีหรือทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้มี ผู้แทนพระองค์ไปในการประกอบรัฐพิธีดังกล่าวแล้วแต่กรณี ซ่ึงเห็นได้ว่าแตกต่างจากพระราชพิธี ที่ว่าแทนที่พระมหากษัตริย์จะทรงกาหนด กลับเป็นว่ารัฐบาลเป็นฝ่ายกาหนดแล้วขอพระราชทาน เชิญเสด็จพระราชดาเนิน นอกจากน้ี จะมีรัฐพิธีที่สาคัญและไม่ได้จัดขึ้นเป็นประจา ได้แก่ การเสด็จ พระราชดาเนินทรงเปิดประชุมรัฐสภา ซึ่งจะมีข้ึนหลงั จากมีการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแล้ว และได้นาความกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานเชิญเสด็จพระราชดาเนินทรงเป็นองค์ ประธานเปิดประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญคร้ังแรก ซ่ึงรัฐพิธีในปัจจุบันที่คณะรัฐมนตรีและ บุคคลสาคัญต้องไปเข้าเฝา้ ฯ ได้แก่ วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช (วันกองทัพไทย) วันพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และวันท่ีระลึกจักรีบรมราชวงศ์ วันปิยมหาราช และวันรัฐธรรมนูญ เปน็ ตน้ การแต่งกาย การแต่งกายในโอกาสเข้าร่วมงานพระราชพิธี งานรัฐพิธี หรืองานสาคัญต่าง ๆ หลักสาคัญท่ีต้องยึดถือปฏิบัติ คือ หมายกาหนดการ สาหรับผู้ช่วยรัฐมนตรีไม่มีข้อกาหนดในเรื่อง การแต่งกาย หรือเคร่ืองแบบไวเ้ ปน็ การเฉพาะ หากจะตอ้ งเขา้ เฝา้ ฯ ให้แต่งกาย ดงั นี้ ในฐานะที่เคยเป็นข้าราชการ รวมถึงผู้ที่เคยดารงตาแหน่งข้าราชการการเมืองและพนักงาน ของรัฐที่มีกฎหมายกาหนดเกี่ยวกับเคร่ืองแบบไว้ หากเป็นข้าราชการนอกประจาการให้แต่งกาย ตามหมายกาหนดการ หรือหมายรับสั่งของสานักพระราชวัง โดยมีลักษณะและส่วนประกอบ เช่นเดียวกับขณะประจาการ เพียงแต่ติดเครื่องหมาย นก (นอ – กอ อันหมายถึง นอกประจาการ ทาด้วยโลหะโปร่งสที องสงู ๒ เซนตเิ มตร) ดังนี้ - อดตี ข้าราชการการเมือง ให้ตดิ “นก” ที่อกเสอ้ื เบื้องขวา - อดตี ขา้ ราชการพลเรือน ให้ติด “นก” ที่ปกคอเส้อื ดา้ นหนา้ ขา้ งขวา

คมู่ ือคณะกรรมการผู้ช่วยรฐั มนตรี : ๒๗ ในฐานะอ่ืน (ผู้ท่ีมิใช่ข้าราชการและไม่อยู่ในกฎหมายหรือข้อบังคับของทางราชการให้มี เคร่ืองแบบเฉพาะการแต่งกายเข้าเฝ้าฯ ในโอกาสต่าง ๆ สามารถแต่งกายด้วยเคร่ืองแบบพิธีการ) ใหแ้ ตง่ กายด้วยชดุ ขอเฝา้ ฯ ดงั น้ี บุรุษ ให้แต่งกายด้วยชุดขอเฝ้าเต็มยศ ชุดขอเฝ้าครึ่งยศ ชุดขอเฝ้าปกติขาว แล้วแต่กรณี ลักษณะคือ เสื้อนอกเป็นเส้ือคอปิดสีขาวแบบราชการ แนวเส้ือมีกระดุมสีทองขนาดใหญ่ ๕ เม็ด กางเกงขายาวแบบสากลไมพ่ ับปลายขา โดยมีเครอื่ งประกอบชดุ คือ ดุมเสือ้ (เป็นดุมเกล้ียงทาด้วย โลหะสีทอง) แผ่นทาบคอ (พ้นื กามะหย่ีสีดามีก่ิงชัยพฤกษ์ ประกอบด้วย ใบขา้ งละห้าใบ ปกั ด้วยด้ิน สีทอง และท่ีก่ึงกลางมุมแหลมติดดุมโลหะสีทองขนาดเล็กข้างละหนึ่งเม็ด) ไม่มีอินทรธนูติดบ่า ประดบั เครื่องราชอิสรยิ าภรณต์ ามทีไ่ ด้รับพระราชทานหรอื ตามทีก่ าหนดในหมายฯ สตรี ให้แต่งกายตามท่ีกาหนดในหมายฯ เช่น ชุดไทยจิตรลดา ชุดไทยอมรินทร์ และชุดไทย บรมพิมาน ประดบั ด้วยเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ ที่มาข้อมูลบางส่วนได้มาจาก : สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงวัฒนธรรม http://www.culture.go.th/knowledge/study ข้อควรระวงั การเข้าเฝ้าฯ รับเสด็จในโอกาสงานพระราชพิธีหรืองานรัฐพิธี เป็นเรื่องที่ผู้ช่วย รัฐมนตรีไม่สามารถปฏบิ ตั ิหน้าที่แทนรฐั มนตร๒ี ๔

คมู่ ือคณะกรรมการผชู้ ่วยรัฐมนตรี : ๒๘ หมวด ๕ ขอ้ พึงระวงั สาหรบั ผู้ช่วยรัฐมนตรี ๕.๑ ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรีเป็นผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๖ กาหนดให้ผู้ช่วยรัฐมนตรีเป็นตาแหน่งผู้ทรงคุณวุฒิ จึงมิใช่ทั้งข้าราชการประจา หรือข้าราชการ การเมือง แต่อาจถือเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญวา่ ด้วยการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต ซึ่งอาจมีความผิดหากใช้อานาจหน้าท่ีโดยทุจริต หรือโดยมิชอบเหมือน กรรมการอื่น ๆ ในระบบราชการ เม่ือผู้ช่วยรัฐมนตรีเป็น “ผู้ทรงคุณวุฒิ” สังคมจึงคาดหวังให้มี คณุ วุฒิสมเกียรติ ท้ังนี้ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและศาลปกครองสูงสดุ ได้วินิจฉัยว่าผู้ช่วย รัฐมนตรีเปน็ ผ้ดู ารงตาแหน่งทางการเมืองดว้ ย ๕.๒ บญั ญัติ ๙ ประการสาหรบั ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรี เร่ืองท่ีผู้ช่วยรัฐมนตรีพึงระมัดระวังมิให้ปฏิบัติตัว หรือปฏิบัติหน้าที่ผิดพลาดไปจากท่ีกฎหมาย หรอื ระเบยี บประเพณวี ธิ ปี ฏิบตั กิ าหนด ได้แก่ เรื่องต่อไปน้ี ๕.๒.๑ ผู้ช่วยรัฐมนตรีพึงเป็นแบบฉบับที่ดีแก่ข้าราชการและประชาช น กล่าวคือ มีคุณธรรม ศีลธรรม และดารงตนสมเกียรติผู้ทรงคุณวุฒิ ท้ังนี้ สมควรจัดทาจรรยาบรรณของ ผู้ช่วยรัฐมนตรีข้ึนใช้บังคับต่อไป อย่างไรก็ดี ระหว่างท่ียังไม่มีการจัดทาจรรยาบรรณของผู้ช่วย รัฐมนตรีดังกล่าว สมควรนาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยมาตรฐานทางคุณธรรมและ จริยธรรมของขา้ ราชการการเมือง พ.ศ. ๒๕๔๓ มาบังคบั ใชไ้ ปพลางกอ่ น ๕.๒.๒ ผู้ช่วยรฐั มนตรีต้องดารงตนให้มีคุณสมบัติถูกต้องครบถ้วนและไม่มีลักษณะต้องห้าม ตลอดเวลาท่ีดารงตาแหน่ง ๕.๒.๓ ผู้ช่วยรัฐมนตรีต้องไม่รับเงินหรือผลประโยชน์ใดจากหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจเป็นพิเศษนอกเหนือไปจากที่หน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ปฏบิ ตั กิ ับบคุ คลอน่ื ๆ ในธุรกิจการงานตามปกติ

คูม่ อื คณะกรรมการผูช้ ว่ ยรฐั มนตรี : ๒๙ ๕.๒.๔ ผู้ช่วยรัฐมนตรีต้องไม่รับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดจากบุคคลอื่นซ่ึงมิใช่ญาติ และมีราคา หรอื มูลค่าในการรับจากแต่ละบุคคลแต่ละโอกาสเกินสามพันบาท ในกรณีได้รับไวแ้ ล้ว ไม่ว่าจากในหรือนอกประเทศและจาเป็นต้องรับไว้เพ่ือรักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธ์ อันดีระหว่างบุคคล ให้แจ้งผู้บังคับบัญชา เพ่ือวินิจฉัยว่าควรรับไว้เป็นสิทธิของตนหรือไม่ หลกั เกณฑน์ ้ใี ห้ใชบ้ งั คบั แมพ้ น้ จากการเป็นกรรมการผชู้ ว่ ยรัฐมนตรไี มถ่ งึ สองปีดว้ ย ๕.๒.๕ ผู้ช่วยรัฐมนตรีต้องเขา้ ประชุมคณะกรรมการผู้ชว่ ยรัฐมนตรีอย่างสม่าเสมอแม้ไม่มี เรื่องของกระทรวงตนบรรจุในวาระการประชุมก็ตาม ๕.๒.๖ ผู้ช่วยรฐั มนตรตี ้องระมัดระวังในการคัดเลือกบุคคลมาเป็นคณะทางาน เลขานุการ หรือที่ปรึกษา ไม่ว่าจะเป็นตาแหน่งทางการเมืองหรือไม่ก็ตาม เพราะอาจมีการนาเอาตาแหน่ง ไปใช้แอบอ้าง หรือแสวงหาประโยชน์โดยผิดกฎหมาย หรือไม่สมควร อันอาจนามาซึ่งความ เสยี หายต่อผู้ชว่ ยรฐั มนตรตี อ่ นายกรัฐมนตรีผู้แตง่ ต้งั และต่อรัฐบาลได้ ๕.๒.๗ ผู้ช่วยรัฐมนตรีต้องระมัดระวังมิให้มีผู้นาตาแหน่งผู้ช่วยรัฐมนตรีไปแสวงหา ประโยชน์โดยไม่ชอบ หรือปล่อยให้คนใกล้ชิดก่อให้เกิดความเดือดร้อนราคาญต่อผู้อื่น หรือ รบกวนผู้อื่น เช่น กีดกันการที่ประชาชนจะรับรู้ข้อมูลข่าวสารของทางราชการท้ังท่ีดาเนินการ ตามข้ันตอนของกฎหมายแล้ว การฝ่าฝืนกฎจราจร การแทรกแซงในการแต่งต้ังโยกย้าย หรือ ปูนบาเหน็จความชอบแก่ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐไม่ว่าใน กระทรวงนน้ั หรอื ต่างสว่ นราชการ ๕.๒.๘ ผู้ช่วยรัฐมนตรีต้องประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ในกรอบของรัฐธรรมนูญอย่าง เคร่งครดั โดยเฉพาะต้องไมม่ พี ฤติการณ์ร่ารวยผิดปกติ ส่อไปในทางทุจริตต่อหนา้ ท่ี สอ่ ว่ากระทา ผิดต่อตาแหน่งหน้าท่ีราชการ ส่อว่ากระทาผิดตอ่ ตาแหนง่ หนา้ ท่ีในการยุติธรรม หรือส่อว่าจงใจ ใชอ้ านาจหน้าทีข่ ัดต่อบทบัญญตั แิ ห่งรฐั ธรรมนญู หรอื กฎหมาย ๕.๒.๙ ผู้ช่วยรัฐมนตรีพึงราลึกว่า โดยเหตุที่ผู้ช่วยรัฐมนตรีเป็นตาแหน่งสาคัญ มีความ ใกล้ชิดรัฐมนตรีและมีส่วนอานวยให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องระมัดระวังการใช้อานาจหน้าท่ีทั้งในฐานะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรีและในฐานะผู้ช่วย รฐั มนตรไี ปในทางทไ่ี ม่สมควร

คมู่ ือคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี : ๓๐ หมวด ๖ หนว่ ยงานของรัฐและองคก์ รสาคญั ท่เี กีย่ วขอ้ งกบั ผ้ชู ่วยรัฐมนตรี ๖.๑ ฝา่ ยเสนาธกิ ารของคณะรฐั มนตรี ขอ้ มูลดา้ นแผนเศรษฐกจิ สงั คม ข้อมูลดา้ นคน-อัตรากาลัง สานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และ สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น สังคมแห่งชาติ (สศช.) (สานกั งาน ก.พ.) เลขาธกิ าร โทร. ๐-๒๒๘๒-๐๘๑๓ เลขาธกิ าร โทร. ๐-๒๕๔๗ ๑๕๐๒ ข้อมลู ด้านแผนความมนั่ คง ขอ้ มูลด้านเงนิ -งบประมาณ สานักงานสภาความมัน่ แห่งชาติ (สมช.) สานกั งบประมาณ (สงป.) เลขาธิการ โทร. ๐-๒๖๒๙-๘๐๙๖-๙๘ ผอู้ านวยการ โทร. ๐-๒๒๗๓-๙๔๒๓ ข้อมูลด้านกฎหมาย ขอ้ มลู ดา้ นมตคิ ณะรัฐมนตรี การประชุม-รฐั บาล-รฐั สภา-ราชสานัก สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า (สคก.) สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สลค.) เลขาธกิ าร โทร. ๐-๒๒๒๒-๐๒๐๖-๙ ต่อ ๑๔๓๗ เลขาธกิ าร โทร. ๐-๒๒๘๐-๙๐๕๑

คูม่ อื คณะกรรมการผ้ชู ่วยรฐั มนตรี : ๓๑ ๖.๒ หน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั กรรมการผชู้ ว่ ยรัฐมนตรี ๖.๒.๑ สานกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี สถานะ : สว่ นราชการระดับกรม สงั กัดสานักนายกรัฐมนตรี การบังคับบัญชา : เลขาธิการคณะรัฐมนตรี (นักบริหารระดับสูง) ซ่ึงเป็นข้าราชการ ประจาเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบและข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีรองเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และที่ปรึกษาประจาสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วย สั่งและปฏิบัติราชการแทน ตามที่ เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรีมอบหมาย ภารกิจ : มีภารกิจเก่ียวกับราชการของคณะรัฐมนตรี การประสานราชการ กบั รัฐสภา การประสานราชการกับส่วนราชการในพระองค์ การประสานราชการกับกระทรวง ทบวง กรม และหน่วยงานอื่น ๆ ของรัฐ และภารกิจเกี่ยวกับประชาชน โดยพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อการ ตัดสินใจของฝ่ายบริหาร พัฒนาการออกกฎ ระเบียบ คาส่ัง และมติคณะรัฐมนตรี ประสานการ ปฏบิ ัตติ ามนโยบายและมตคิ ณะรัฐมนตรีตามแผนการบรหิ ารราชการแผ่นดินเพ่ือนาไปสกู่ ารบรหิ าร ราชการแผน่ ดนิ ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ มุ่งผลสัมฤทธ์ิ และเปน็ ไปตามหลักการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองที่ดี สว่ นราชการภายใน ๑. สานักงานเลขาธกิ าร รับผิดชอบงานราชการทวั่ ไปของสานักเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ๒. กองการประชมุ คณะรัฐมนตรี รับผิดชอบเกย่ี วกับการประชุมคณะรฐั มนตรี ๓. กองนิติธรรม รบั ผิดชอบงานกฎหมายทกุ ประเภทและราชกิจจานเุ บกษา ๔. กองบริหารงานสารสนเทศ รับผิดชอบระบบสารสนเทศและข้อมูลมติคณะรัฐมนตรี ตา่ ง ๆ ๕. กองพัฒนายุทธศาสตร์และติดตามนโยบายพิเศษ รับผิดชอบการดาเนินการตาม ยุทธศาสตร์ของคณะรัฐมนตรี ๖. กองวิเคราะห์เรือ่ งเสนอคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบการนาเสนอเรือ่ งพิจารณาเร่ืองท่ัวไป ตอ่ คณะรฐั มนตรี และจดั ทามตคิ ณะรฐั มนตรี ๗. กองส่งเสริมและประสานงานคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบการจัดทาและเผยแพร่รายงาน ผลการดาเนินการตามแนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐและนโยบายรัฐบาล รวมทั้งการจัดทาข้อมูล สนบั สนุนการจัดทาคาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี

คมู่ ือคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี : ๓๒ ๘. กองอาลักษณ์และเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ รับผิดชอบการประสานราชการระหว่าง นายกรัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรีกับส่วนราชการในพระองค์ในเรื่องที่จะต้องขอพระราชทาน พระมหากรุณาตามกฎหมายหรือระเบียบประเพณี ๖.๒.๒ สานกั เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี สถานะ : สว่ นราชการระดบั กรม สังกัดสานกั นายกรฐั มนตรี การบังคบั บัญชา : เลข าธิก ารน ายก รัฐม น ต รี ซึ่ งเป็ น ข้ าราช ก ารก ารเมื อ ง เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบและข้ึนตรงต่อนายกรัฐมนตรี มีรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ฝ่ายบริหาร (นักบริหารระดับสูง) เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติราชการแทน ตามท่ีเลขาธิการ นายกรัฐมนตรีมอบหมาย ภารกจิ : มีภารกิจเก่ียวกับการปฏิบัติราชการด้านการเมือง ด้านวิชาการ ด้านเลขานุการ ตลอดจนเป็นศูนย์ประสานการบริหารราชการของนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี รวมท้ังข้าราชการการเมืองสังกัดสานักนายกรัฐมนตรี เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งผลสัมฤทธิ์ และเป็นไปตาม หลกั การบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองท่ดี ี สว่ นราชการภายใน ๑. สานักงานเลขาธิการ รับผิดชอบงานราชการทั่วไปของสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และการแต่งตง้ั ขา้ ราชการการเมืองสังกัดสานกั นายกรัฐมนตรี ๒. กองการต่างประเทศ รับผิดชอบเก่ียวกับการปฏิบัติงานด้านการต่างประเทศของ นายกรัฐมนตรี รองนายกรฐั มนตรี รฐั มนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี รวมท้ังข้าราชการการเมือง สังกดั สานกั นายกรัฐมนตรี ๓. กองงานนายกรัฐมนตรี รับผิดชอบการจัดทาสุนทรพจน์ของนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ในวาระต่าง ๆ รวมทั้งจัดทาคากราบ บังคมทูล และหนังสือถวายพระพรชัยมงคลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ และพระบรมวงศานุวงศ์ทกุ พระองค์ รวมทั้งงานเลขานุการให้แก่นายกรฐั มนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรปี ระจาสานกั นายกรัฐมนตรี ๔. กองประสานงานการเมือง รับผิดชอบเก่ียวกับการประสานงานกับรัฐสภา และองค์กร ตามรฐั ธรรมนูญ องค์กรทางการเมือง และองคก์ รที่เกย่ี วกบั การปฏริ ปู กฎหมาย

คมู่ อื คณะกรรมการผู้ช่วยรฐั มนตรี : ๓๓ ๕. กองประสานนโยบายและยุทธศาสตร์ รับผิดชอบเก่ียวกับการติดตาม ขับเคลื่อนและ ประสานงานตามนโยบายและการส่ังการของนายกรัฐมนตรี รวมถึงปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายเลขานุการ ใหแ้ ก่คณะกรรมการผูช้ ่วยรฐั มนตรี และคณะกรรมการอนื่ ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ๖. กองพิธีการ รับผิดชอบเกี่ยวกับงานพระราชพิธี รัฐพิธี ศาสนพิธี พิธีการทูต ในนามรฐั บาล นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจาสานกั นายกรฐั มนตรี ๗. กองสถานท่ี ยานพาหนะ และรกั ษาความปลอดภัย รับผดิ ชอบเกีย่ วกบั อาคาร สถานที่ ยานพาหนะ และการรักษาความปลอดภยั ในความรับผิดชอบของสานกั เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ๘. ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร รับผิดชอบเกี่ยวกบั การเป็นศูนย์กลางข้อมูล ระบบเครือข่ายและระบบสารสนเทศทางการบริหาร ๙. สานักโฆษก รับผิดชอบการเผยแพร่นโยบายและผลงานของรัฐบาล และเป็นศูนย์ข่าว ของรฐั บาลใหแ้ กป่ ระชาชนและส่ือมวลชน สานกั งานเลขาธิการ กองประสานนโยบายและยุทธศาสตร์ ผูอ้ านวยการ ๐ ๒๒๘๘ ๔๓๒๑ ผ้อู านวยการ ๐ ๒๒๘๘ ๔๔๐๗ ๑. งานแต่งตั้งกรรมการผู้ชว่ ยรัฐมนตรี งานคณะกรรมการผชู้ ว่ ยรัฐมนตรี โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๔๐๐๐ ต่อ ๔๖๖๑ โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๔๐๐๐ ตอ่ ๔๖๘๖, ๔๙๐๕ ๒. งานการเงินและบัญชี โทร. ๐ ๒๒๘๘ ๔๓๓๕

คมู่ อื คณะกรรมการผชู้ ่วยรัฐมนตรี : ๓๔ คณะรฐั มนตรี ๖.๓ ส่วนราชการทีม่ ีงานสมั พันธก์ นั นายกรัฐมนตรี สานักเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี สานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี รับผิดชอบงานการเมือง งานด้านพิธีการ รั บ ผิ ด ช อ บ งาน ที่ ก ระ ท าใน น าม ข อ ง และเลขานุการ และงานด้านการต่างประเทศ รั ฐบ าล ห รื อ ค ณ ะ รั ฐม น ต รี ร่ วม กั น ของนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และ งานประสานกับกระทรวง ทบวง กรม รัฐม น ต รีป ระ จาส านั ก น ายก รัฐม น ต รี รั ฐ ส ภ า แ ล ะ ร า ช ก า ร ใน พ ร ะ อ ง ค์ งานอาคารสถานท่ี การรักษาความปลอดภัย พระมหากษตั ริย์ ในทาเนียบรัฐบาล งานโฆษก งานรับเร่ืองราว รอ้ งทกุ ข์ และงานพิธกี ารของรัฐบาล หัวหนา้ สว่ นราชการ เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เป็นข้าราชการ หัวหน้าสว่ นราชการ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เป็นข้าราชการ พลเรือนสามญั นกั บรหิ ารระดบั สูง การเมอื ง

คมู่ ือคณะกรรมการผู้ช่วยรัฐมนตรี : ๓๕ ๖.๔ หนว่ ยงานที่มีอานาจควบคุมการบรหิ ารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรี สภาผแู้ ทนราษฎร วุฒสิ ภา คณะรฐั มนตรี ข้าราชการประจา

คมู่ ือคณะกรรมการผ้ชู ่วยรฐั มนตรี : ๓๖ ๖.๕ หนว่ ยงานท่ีมีอานาจตรวจสอบการทางานของคณะรัฐมนตรหี รอื สั่งการท่อี าจมี ผลกระทบต่อคณะรฐั มนตรีได้ ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง คณะรัฐมนตรี ศาลรฐั ธรรมนูญ คณะกรรมการการเลอื กตง้ั ผ้ตู รวจการแผน่ ดนิ คณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทจุ รติ แห่งชาติ คณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการ สทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ

คู่มอื คณะกรรมการผูช้ ่วยรัฐมนตรี : ๓๗ ภาคผนวก

คมู่ อื คณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี : ๓๘

ค่มู อื คณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี : ๓๙

คมู่ อื คณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี : ๔๐

ค่มู อื คณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี : ๔๑

คมู่ อื คณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี : ๔๒

ค่มู อื คณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี : ๔๓

คมู่ อื คณะกรรมการผู้ชว่ ยรฐั มนตรี : ๔๔