Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พัฒนาการและการสร้างสรรค์ในทวีปยุโรป222

พัฒนาการและการสร้างสรรค์ในทวีปยุโรป222

Published by student9044, 2020-06-25 10:30:19

Description: พัฒนาการและการสร้างสรรค์ในทวีปยุโรป222

Search

Read the Text Version

ด.ช.อติรุจ สุทธิพนั ธุ์ ม.3/3 ดส.

ทวีปยุโรปเป็นทวีปท่ีมีขนาดเล็กเป็นอนั ดบั ๒ ของโลกรองจากทวีปออสเตรเลียและโอ เชียเนียมีพ้ืนท่ีทงั้ หมดประมาณ ๑๐,๕๒๕,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร และดินแดนทางดา้ น ตะวนั ออกติดตอ่ เป็นผืนเดียวกบั ทิศตะวนั ตกของทวีปเอเชีย จึงเรียกทวีปทง้ั สองรวมกนั วา่ ยูเร เซีย โดยมีเทือกเขาคูร่ ัก และเทือกเขาคอเคซสั เป็นแนวแบง่ เขต ปัจจุบนั ทวีปยุโรป ประกอบดว้ ย ประเทศ รฐั และนครอิสระกวา่ ๔๐ แหง่ มีประชากร ประมาณ ๗๓๐ ลา้ นคน โดยมีสหพนั ธรฐั รสั เซียเป็นประเทศท่ีใหญท่ ่ีสุด และนครรัฐวาติกนั ซ่ึงมีสนั ตะปาปาเป็นองคป์ ระมุข เป็นนครอิสระท่ีเล็กท่ีสุด

พฒั นาการดา้ นการเมืองการปกครอง โดยทว่ั ไปกลา่ วไดว้ า่ ในอดีตดินแดนสว่ นใหญข่ องทวีปยุโรปมีกษตั ริยเ์ ป็นประมุขสูงสุด แมแ้ ตใ่ น สมยั กรีกเรืองอานาจเม่ือกวา่ ๕๐๐ ปีกอ่ นคริสตศ์ กั ราช ระบอบการปกครองแบบกษตั ริยก์ ็เป็น ท่ีรูจ้ กั กนั แพร่หลายแลว้ ในสมยั จกั รวรรดิโรมนั (๒๗ ปีกอ่ นคริสตศ์ กั ราช-ค.ศ.๔๗๖) พระ ประมุขสูงสุด เรียกวา่ ซีซารห์ รือจกั รพรรดิซ่ึงทรงปกครองอาณาบริเวณกวา้ งขวางครอบคลุม พ้ืนท่ีในยุโรปและบางสว่ นของเอเชียและแอฟริก

เม่ือจกั รวรรดิโรมนั ลม่ สลายลงใน ค.ศ. ๔๗๖ ยุโรปไดเ้ ขา้ สูส่ มยั กลาง ค.ศ. ๔๗๖-๑๔๙๒)ท่ี ระยะแรกๆบา้ นเมืองแตกแยกจากการเขา้ รุกรานของพวกอนารยชนเผา่ กอท หรือชนเผา่ เยอรมนั ท่ีอพยพลงมาจากตอนเหนือ ระบอบการปกครองแบบรวมศูนยอ์ านาจของโรมสลายตวั บา้ นเมืองไรข้ ่ือแป ประมวลกฎหมายโรมนั ท่ีใชบ้ งั คบั ทว่ั ทง้ั จกั รวรรดิถูกละท้ิงเกิดเป็นระบอบการ ปกครองแบบฟิวดลั หรือการปกครองแบบกระจายอานาจการปกครองตกอยูใ่ นมือของขุนนาง เจา้ ของท่ีดิน และมีการใชก้ ฎหมายจารีตประเพณีของพวกอนารยชนแทนประมวลกฎหมายโรมนั อยา่ งไรก็ดี กษตั ริยก์ ็ยงั คงไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เป็นเจา้ ของแผน่ ดินและไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ เป็นพระ ประมุข (แตไ่ มม่ ีอานาจ) แตใ่ นปลายสมยั กลางกษตั ริยต์ า่ งสามารถสถาปนาอานาจปกครองแบบ รวมศูนยอ์ านาจและสรา้ งรฐั ชาติ ท่ีรวมดินแดนตา่ งๆ เขา้ เป็นชาติเดียวกนั ได้ ซ่ึงพระราชอานาจ ในการปกครองของกษตั ริยใ์ นดินแดนตา่ งๆ มีพฒั นาการท่ีแตกตา่ งกนั ดงั น้ี

ระบอบกษตั ริยภ์ ายใตร้ ฐั ธรรมนูญ ในองั กฤษ พระเจา้ จอหน์ (ค.ศ.๑๑๙๙-๑๒๑๖) ทรงยอมรบั แมกนาคารต์ า (ค.ศ.๑๒๑๕) หรือมหากฎบตั ร ท่ี ขุนนาง พระ พอ่ คา้ และประชาชนรวมตวั กนั บีบบงั คบั ใหพ้ ระองคย์ อมรบั ขอ้ ตกลงท่ีเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรใน การจากดั พระราชอานาจไมใ่ หใ้ ชพ้ ระราชอานาจเกินขอบเขตในการเก็บภาษีอากร การลงโทษและอ่ืนๆ ตอ่ มา ไดเ้ กิดรัฐสภา ท่ีประกอบดว้ ย สภาขุนนาง และ สภาสามญั ท่ีมีสว่ นสาคญั ในการลดอานาจสิทธขิของกษตั ริย์ ระบอบกษตั ริยแ์ บบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ สว่ นฝร่งั เศสและประเทศมหาอานาจในอดีตอ่ืนๆ ไดแ้ ก่ ปรัสเซีย (รัฐหน่ึงในดินแดนเยอรมนั ตอ่ มามีบทบาท เป็นผูน้ าในการรวมชาติเยอรมนีใน ค.ศ.๑๘๗๑) ออสเตรีย และรัฐเซียนั้น กลบั มีพฒั นาการระบอบการ ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ฝร่งั เศสใน ค.ศ. ๑๖๑๔ หลงั เกิดเหตุความวุน่ วายและสงครามกบั สเปน สภาฐานันดร ซ่ึงเป็นตวั แทนของชนชนั้ ตา่ งๆ ไดป้ ระกาศยุบตวั และประกาศให้ “อานาจอธิปไตรสูงสุดเป็น ของกษตั ริยเ์ พราะทรงเป็นผูไ้ ดร้ บั มงกุฎจากพระเป็นเจา้ ” จึงทาใหไ้ มม่ ีการเรียกประชุมสภาฐานันดรอีกเลยเป็น เวลา ๑๗๕ ปี จนกอ่ นเกิดการปฏิวตั ิฝร่งั เศส ค.ศ. ๑๗๘๙ ทาใหก้ ษตั ริยฝ์ ร่งั เศสไมม่ ีสภาท่ีจะควบคุมการใช้ พระราชอานาจ พระราชอานาจของกษตั ริยจ์ ึงไดเ้ พ่ิมพูนข้ึนอีก

ระบอบการปกครองในทวีปยุโรปสมยั ปัจจุบนั ๑) ระบอบประชาธิปไตย เป็นระบอบท่ีเนน้ ความเป็นปัจเจกบุคคลนิยม เหตุผลนิยม และเสรีภาพ หลกั การ สาคญั ของแนวความคิดประชาธิปไตย คือ สิทธิ เสรีภาพของประชาชน ประชาชนเป็นท่ีมาของอานาจอธิปไตย ทุก คนมีสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคภายใตก้ ฎหมาย การปกครองระบอบประชาธิปไตยมีตน้ กาเนิดมาตงั้ แตส่ มยั กรีกโบราณ เม่ือกวา่ ๕๐๐ ปีกอ่ นคริสตศ์ กั ราช โดยนครรัฐเอเธนสเ์ ป็นดินแดนแหง่ แรกท่ีใหส้ ิทธิแกพ่ ลเมืองเพศ ชายท่ีเป็นเสรีชนทุกคนมีสิทธิในการเลือกตงั้ และเขา้ น่ังในสภา ทงั้ ยงั ดารงตาแหน่งผูป้ กครองได้ ระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองท่ีประชาชนมีอานาจสูงสุด โดยมีรฐั สภาทาหนา้ ท่ีเป็นตวั แทน ของประชาชน ๒) ระบอบเผด็จการคอมมิวนิสต์ เป็นระบอบการปกครองท่ีอา้ งอดุ มการณข์ องลทั ธิมากซใ์ นการสรา้ งสงั คมท่ี ปราศจากชนชนั้ และมีความเสมอภาคกนั ในดา้ นตา่ งๆ โดยชนชนั้ แรงงานเป็นผูป้ กครองประเทศระอบเผด็จการ คอมมิวนิสตม์ ีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว ผูน้ าพรรคคอมมิวนิสตแ์ ละผูน้ ารฐั เป็นคนเดียวกนั

พฒั นาการดา้ นเศรษฐกิจ ระหวา่ ง ค.ศ. ๔๗๖-๑๐๕๐ หรือสมยั กลางตอนตน้ ชาวไร่ชาวนาสว่ นใหญต่ า่ งสูญเสียอิสรภาพและ กลายเป็นทาสติดท่ีดิน ตอ้ งอยูใ่ นสงั กดั ของขุนนางเจา้ ของท่ีดินและดารงชีวิตอยูใ่ นเขตแมเนอร์ ซ่ึงเป็นเขตท่ีดินในปกครองของขุนนาง และเป็นท่ีเพาะปลูกและอยูอ่ าศยั โดยมีเขตท่ีเป็นท่ีตง้ั ปราสาท ของขุนนางเจา้ ของท่ีดิน และเขตหมูบ่ า้ นซ่ึงเป็นเขตท่ีอยูอ่ าศยั ของพวกทาสติดท่ีดินและชาวไร่ ชาวนาบางคนท่ีเป็นเสรีชน เศรษฐกิจในเขตแมเนอรเ์ ป็นเศรษฐกิจพอเล้ียงตนเอง ท่ีชาวไร่ชาวนา ตา่ งประกอบอาชีพพอกินพอใชแ้ ละผลิตสินคา้ เพ่ือใชเ้ องหรือแลกเปล่ียนกนั การคา้ ท่ีเคยรุ่งเรืองใน สมยั จกั รวรรดิโรมนั ตอ้ งหยุดชะงกั เป็นเวลากวา่ ๕๐๐ ปี กอ่ นท่ียุโรปจะฟ้ืนตวั จนสามารถสรา้ ง ความเป็นปึกแผน่ และปลอดภยั จากการรุกรานของพวกอนารยชน จานวนประชากรไดเ้ พ่ิมมากข้ึน และสามารถผลิตสินคา้ เพ่ือการคา้ ขายทง้ั ภายในประเทศและสง่ ออกได้

เศรษฐกิจแบบพาณิชยนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจท่ีเกิดข้ึนและพฒั นาพรอ้ มๆ กบั การกอ่ ตวั ของรฐั ชาติ เป็นรูปแบบของเศรษฐกิจคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๖-๑๘ โดยรฐั เขา้ ควบคุมอุตสาหกรรมและการคา้ ภายในประเทศ สง่ เสริมการดาเนินธุรกิจของพอ่ คา้ การสง่ สินคา้ ออก และกีดกนั การนาเขา้ สินคา้ จากตา่ งประเทศลทั ธิพาณิชยนิยมเป็นผลจากความเช่ือวา่ การควบคุมและการ ดาเนินธุรกิจตา่ งๆ จะทาใหร้ ัฐมน่ั คง เขม้ แข็ง ดงั น้ัน จึงถือเป็นหนา้ ท่ีและความจาเป็นของรฐั ท่ีจะตอ้ งดาเนินการทุก วิถีทางเพ่ือเป็นเจา้ ของทรพั ยากรและโภคทรัพยต์ า่ งๆ และเขา้ ครอบครองดินแดนตา่ งๆ แลว้ จดั ตง้ั เป็นอาณานิคม เผย แผศ่ าสนา เศรษฐกิจแบบทนุ นิยม ปลายคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๘ ไดเ้ กิดแนวคิดทางเศรษฐศาสตรแ์ ละการเมืองท่ีสาคญั คือ แนวคิด ไลสเ์ ซ-แฟร์ เป็นคา ฝร่งั เศส หมายถึง ปลอ่ ยใหเ้ ป็นเอง) และแนวคิดการคา้ เสรี ของแอดมั สมิท ชาวสกอต เจา้ ของผลงาน ท่ีกาหนดให้ อปุ สงค์ และอปุ ทาน เป็นตวั กาหนดกลไกของตลาด ดา้ นเศรษฐกิจน้ัน ไลสเ์ ซ-แฟร์ หมายถึง การดาเนินนโยบาย ภายในท่ีรฐั บาลไมค่ วรเขา้ ไปกา้ วกา่ ยกบั การคา้ เป็นธุรกิจของภาคเอกชนทง้ั ในดา้ นอุตสาหกรรมและการเงิน ระบบ เศรษฐกิจแบบเสรีนิยมสง่ เสริมใหน้ ายทุนแขง่ ขนั กนั อยา่ งเสรี ผูบ้ ริโภคจะทาใหก้ ลไกของตลาดเคล่ือนไหวและนา ความมง่ั คง่ั มาสูร่ ัฐได้

เศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจท่ีพฒั นามาจากแนวความคิดทางการเมืองของคารล์ มากซ์ นักสงั คมนิยมท่ีมี ช่ือเสียงของยุโรป เกิดข้ึนกลางคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙ เพ่ือตอบโตก้ ารขยายตวั ของลทั ธิทุนนิยมและ การเอารดั เอาเปรียบชนชน้ั แรงงาน เขาตอ้ งการสรา้ งระบบเศรษฐกิจท่ีเสมอภาค คือ การยกเลิก กรรมสิทธขิทรพั ยส์ ินสว่ นบุคคล และใหม้ ีการจดั การทางการผลิตโดยชนชน้ั แรงงาน ซ่ึงชนชน้ั แรงงาน จะใชอ้ านาจเผด็จการในการปกครองเพ่ือผลกั ดนั นโยบายสงั คมนิยมใหบ้ รรลุผลสาเร็จ

พฒั นาการดา้ นสงั คมและศิลปวฒั นธรรม กาเนิดของชนชน้ั กลาง ในสมยั กลางตอนตน้ สงั คมของตะวนั ตกประกอบดว้ ย ชนชนั้ ๓ ฐานนั ดร ไดแ้ ก่ กษตั ริย-์ ขุนนาง นักบวช และ ชาวไร่-ชาวนา (ทาสติดท่ีดิน) แตเ่ ม่ือมีการฟ้ืนตวั ของเศรษฐกิจและเมืองข้ึนในคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๑ สงั คมยุโรปก็ เกิดชนชน้ั ใหม่ คือ ชนชน้ั กลางหรือชนชนั้ กระฎุมพี ท่ีประกอบอาชีพตา่ งๆ เชน่ ชา่ งฝีมือ ลูกจา้ ง พอ่ คา้ อาจารย์ นักศึกษา โดยอาศยั อยูใ่ นเขตเมือง ถือวา่ เป็น ชนชน้ั ใหม่ ของสงั คมตะวนั ตก ชนชน้ั กลางเหลา่ น้ีไดร้ ่วมกนั วางรากฐานความเจริญใหแ้ กส่ งั คมยุโรปและปลูกฝงั อดุ มการณแ์ ละวิธีการปฏิบตั ิในการอยูร่ ่วมกนั เชน่ สิทธิและ หนา้ ท่ีของชาวเมือง การจดั เก็บภาษีและคา่ ปรบั เป็นตน้ เพ่ือนารายไดม้ าบริหาร การทานุบารุงแลการป้องกนั เมือง สง่ เสริมและขยายการศึกษาการจดั ตง้ั มหาวิทยาลยั และเกิดการฟ้ืนฟศู ิลปวิทยาการและความเจริญอ่ืนๆ ตลอดจนสง่ เสริมคุณธรรมและใหค้ วามสาคญั แกส่ ิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคปัจเจกบุคคล ซ่ึงเป็นพ้ืนฐาน สาคญั ท่ีทาใหส้ งั คมยุโรปสามารถพฒั นาระบอบการปกครองแบบระบอบประชาธิปไตย

การขยายตวั ของเมืองในยุคปฏิวตั ิอุตสาหกรรม เดน่ ชดั ข้ึนในกลางคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙ กลา่ วคือใน ค.ศ. ๑๘๕๑ การสารวจสามะโนครัวใน องั กฤษบง่ ช้ีใหเ้ ห็นเป็นคร้งั แรกวา่ มีประชากรอาศยั อยูใ่ นเขตเมืองมากกวา่ อยูใ่ นเขตชนบท ขณะท่ี ประเทศอ่ืนๆ ก็มีแนวโนม้ ของสงั คมเมืองในลกั ษณะเดียวกนั น้ีดว้ ย แตเ่ ม่ือส้ินคริสตศ์ ตวรรษท่ี ๑๙ มีเมืองกวา่ ๕๐ แหง่ ท่ีมีประชากรมากกวา่ ๑ ลา้ นคน ปัจจุบนั ประชากรสว่ นใหญใ่ นทวีปยุโรป มากกวา่ รอ้ ยละ ๕๐-๖๐ อาศยั อยูใ่ นเขตเมืองซ่ึงมีขนาดใหญ่

การสรา้ งสรรคท์ างศิลปวฒั นธรรม แมว้ า่ ศิลปวฒั นธรรมของกรีก-โรมนั คือ รากเหงา้ ของอารยธรรมตะวนั ตก แตค่ ริสตศ์ าสนาซ่ึงเป็นท่ี ยอมรบั ในจกั รวรรดิมนั ตง้ั แตต่ น้ คริสตศ์ ตวรรษท่ี ๔ และมีอิทธิพลอยา่ งมากในโลกตะวนั ตกจนสมยั กลางไดช้ ่ือวา่ ยุคแหง่ ศรัทธา ก็คือ พลงั ท่ีแตง่ เติมใหศ้ ิลปวฒั นธรรมของยุโรปบรรลุความงามและความ สมบูรณแ์ บบ ทงั้ มีการสรา้ งมหาวิหาร ดว้ ยศิลปะแบบกอทิกไปทว่ั ยุโรปในระหวา่ ง ค.ศ. ๑๑๐๐-๑๓๐๐ มีจานวนมากกวา่ ๕๐๐ แหง่ ตอ่ มาในยุคฟ้ืนฟศู ิลปะวิทยาการ ท่ีเร่ิมตน้ ในอิตาลีในกลางคริสตศ์ ตวรรษ ท่ี ๑๔ ยุโรปสามารถฟ้ืนฟกู ารศึกษาและผลงานสรา้ งสรรคท์ างดา้ นวิจิตรศิลป์ ของกรีก-โรมนั ข้ึนมาใหม่

The end


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook