Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RF Plant

RF Plant

Published by vall61962, 2018-05-10 00:30:16

Description: RF Plant

Search

Read the Text Version

การตอบสนองของพชืการตอบสนองของพชื ต่อสิ่งแวดล้อม 1. การเคลอ่ื นไหวเน่ืองจากการเจริญเตบิ โต (growth movement) - การตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก (paratonic movement หรือ stimulus movement) - การตอบสนองทเี่ กดิ จากส่ิงเร้าภายใน (autonomic movement) 2. การเคลอื่ นไหวเน่อื งมาจากการเปลย่ี นแปลงแรงดนั เต่ง (turgor movement) 3. การตอบสนองของพชื ต่อสารควบคุมการเจริญเตบิ โต

การเคลอ่ื นไหวทเ่ี กดิ เน่ืองจากการเจริญเตบิ โต (growth movement) 1. การตอบสนองที่เกดิ จากส่ิงเร้าภายนอก (paratonic movement หรือ stimulus movement) มี 2 แบบ คอื 1.1 แบบมที ศิ ทางเกยี่ วข้องสัมพนั ธ์กบั สิ่งเร้า (tropism หรือ tropic movement) การตอบสนองแบบนอี้ าจจะทาให้ส่วนของพชื โค้งเข้าหาสิ่งเร้า เรียกว่า positive tropism หรือ เคลอื่ นทหี่ นีสิ่งเร้า ทม่ี ากระตุ้น เรียกว่า negative tropism จาแนกได้ตามชนิดของสิ่งเร้า ดงั นี้

1.1.1 โฟโททรอปิ ซึม (phototropism) เป็ นการตอบสนองของพชื ท่ตี อบสนองต่อส่ิงเร้าที่เป็ นแสง พบว่าทป่ี ลายยอดพชื(ลาต้น) มีทศิ ทางการเจริญเตบิ โตเจริญเข้าหาแสงสว่าง(positive phototropism) ส่วนทปี่ ลายรากจะมีทศิ ทางการเจริญเตบิ โตหนีจากแสงสว่าง (negative phototropism)

1.1.2 จีโอทรอปิ ซึม (geotropism) เป็ นการตอบสนองของพชื ที่ตอบสนองต่อแรงโน้มถ่วงของโลกโดยรากพชื จะเจริญเข้าหาแรงโน้มถ่วงของโลก (positive geotropism) เพอ่ื รับนา้ และแร่ธาตุจากดนิ ส่วนปลายยอดพชื (ลาต้น) จะเจริญเตบิ โตในทศิ ทางตรงข้ามกบัแรงโน้มถ่วงของโลก (negative geotropism) เพอ่ื ชูใบรับแสงสว่าง

1.1.3 เคมอทรอปิ ซึม(chemotropism) เป็ นการตอบสนองของพชื โดยการเจริญเข้าหาหรือหนีจากสารเคมีบางอย่างทเี่ ป็ นส่ิงเร้า เช่นการงอกของหลอดละอองเรณูไปยงั รังไข่ของพชื โดยมสี ารเคมีบางอย่างเป็ นส่ิงเร้า

1.1.4 ไฮโดรทรอปิ ซึม (hydrotropism) เป็ นการ ตอบสนองของพชื ที่ ตอบสนองต่อความชื้น ซึ่ง รากของพชื จะงอกไปสู่ ทมี่ ี ความชื้น

1.1.5 ทกิ มอทรอปิ ซึม (thigmotropism) เป็ นการตอบสนองของพชื บางชนิดทตี่ อบสนองต่อการสัมผสั เช่น การเจริญของมอื เกาะ (tendril) ซึ่งเป็ นโครงสร้างท่ียนื่ ออกไปพนั หลกั หรือเกาะบนต้นไม้อน่ื หรือพชื พวกที่ลาต้นแบบเลอื้ ยจะพนั หลกั ในลกั ษณะบดิ ลาต้นไปรอบๆเป็ นเกลยี ว เช่น ต้นตาลงึ ต้นพลู ต้นอง่นุต้นพริกไทย เป็ นต้น

1.2 แบบมที ศิ ทางทไี่ ม่สัมพนั ธ์กบั ทิศทางของส่ิงเร้า (nasty หรือ nastic movement) การตอบสนองแบบนจี้ ะมีทศิ ทางคงทคี่ อื การเคลอื่ นขนึ้ หรือลงเท่าน้ัน ไม่ขนึ้ กบั ทศิ ทางของสิ่งเร้า การบานของดอกไม้ (epinasty) เกดิ จากกล่มุ เซล์ด้านในหรือด้านบนของกลบี ดอกยดื ตวั หรือขยายขนาดมากกว่ากลุ่มเซลล์ด้านนอกหรือด้านล่าง

การหุบของดอกไม้ (hyponasty) เกดิ จากกล่มุ เซลล์ด้านนอกหรือด้านล่างของกลบี ดอกยดื ตวั หรือขยายขนาดมากกว่ากล่มุ เซลล์ด้านมนหรือด้านบน ตวั อย่างเช่น - ดอกบัว ส่วนมากมักหุบในตอนกลางคนื และบานในตอนกลางวนั - ดอกกระบองเพชร ส่วนมากจะบานในตอนกลางคนื และหุบในตอนกลางวนั

การบานของดอกไม้ขนึ้ อยู่กบั ชนิดของพชื และส่ิงเร้า เช่น อณุ หภูมิความชื้น แสง เป็ นต้น ถ้าสิ่งเร้าเป็ นแสงแล้วทาให้เกดิ การตอบสนอง (เกดิ การเคลอ่ื นไหว ด้วยการบานการหุบของดอกไม้) โฟโตนาสที (photonasty) ถ้าอุณหภูมเิ ป็ นสิ่งเร้ากเ็ รียกว่า เทอร์มอนาสที (thermonasty) ตวั อย่างเช่น ดอกบัวส่วนมากมกั หุบในตอนกลางคนื และบานในตอนกลางวนั แต่ดอกกระบองเพชรจะบานในตอนกลางคนื และจะหุบในตอนกลางวนั ทเี่ ป็ นเช่นนีเ้ น่ืองจากในตอนกลางคนื จะมีอุณหภูมติ า่ หรือเยน็ ลง ทาให้กลุ่มเซลล์ด้านในของกลบี ดอกเจริญมากกว่าด้านนอกจงึ ทาให้กลบี ดอกบานออก แต่ตอนกลางวนั อากาศอ่นุ ขึน้อุณหภูมสิ ูงขนึ้ จะทาให้กลุ่มเซลล์ด้านนอกเจริญยดื ตวั มากกว่าดอกจะหุบ การบานและการหุบของดอกไม้มีเวลาจากดั เท่ากบั การเจริญของเซลล์ของกลบี ดอก เมื่อเซลล์เจริญยดื ตัวเตม็ ทแี่ ล้วจะไม่หุบหรือบานอกี ต่อไป กลบี ดอกจะโรยและหลุดร่วงจากฐานดอก

โฟโตนาสที (photonasty)

2. การตอบสนองทเ่ี กดิ จากส่ิงเร้าภายในของต้นพชื เอง(autonomic movement) เป็ นการตอบสนองทเ่ี กดิ จากการกระตุ้นจากส่ิงเร้าภายในจาพวกฮอร์โมนโดยเฉพาะออกซิน ทาให้การเจริญของลาต้นท้งั สองด้านไม่เท่ากนั ได้แก่ 2.1 การเอนหรือแกว่งยอดไปมา (nutation movement)เป็ นการเคลอ่ื นไหวทเี่ กดิ เฉพาะส่วนยอดของพชื สาเหตุเนื่องจากด้านสองด้านของลาต้น (บริเวณยอดพชื ) เติบโตไม่เท่ากนั ทาให้ยอดพชื โยกหรือแกว่งไปมาขณะทป่ี ลายยอดกาลงั เจริญเตบิ โต

2.2 การบิดลาต้นไปรอบๆเป็ นเกลยี ว (spiral movement)เป็ นการเคลอื่ นไหวทป่ี ลายยอดค่อยๆบดิ เป็ นเกลยี วขนึ้ ไป เมอ่ืเจริญเตบิ โตขนึ้ ซ่ึงเป็ นการเคลอื่ นไหวทมี่ องไม่เห็นด้วยตาเปล่าโดยปกตเิ ราจะมองเห็นส่วนยอดของพชื เจริญเตบิ โตขนึ้ ไปตรงๆแต่แท้จริงแล้วในส่วนทเ่ี จริญขนึ้ ไปน้ันจะบิดซ้ายขวาเลก็ น้อยเนื่องจากลาต้นท้งั สองด้านเจริญเตบิ โตไม่เท่ากนั เช่นเดยี วกบันิวเทชัน ซ่ึงเรียกว่า circumnutation พชื บางชนิดมีลาต้นอ่อนทอดเลอื้ ยและพนั หลกั ในลกั ษณะการบิดลาต้นไปรอบๆเป็ นเกลยี วเพอื่ พยงุ ลาต้น เรียกว่า twining เช่น การพนั หลกัของต้นมะลวิ ลั ย์ พริกไทย อญั ชัน ตาลงึ ฯลฯ

การเคลอื่ นไหวทเ่ี กดิ เนื่องจากการเปลยี่ นแปลงแรงดนั เต่ง (turgor movement) ปกติพชื จะมีการเคลอ่ื นไหวตอบสนองต่อการสัมผสั(สิ่งเร้าจากภายนอก) ช้ามาก แต่มีพชื บางชนิดท่ตี อบสนองได้เร็วโดยการสัมผสั จะไปทาให้มกี ารเปลย่ี นแปลงของปริมาณนา้ ภายในเซลล์ ทาให้แรงดนั เต่ง (turgor pressure) ของเซลล์เปลยี่ นแปลงไปซ่ึงเป็ นไปอย่างรวดเร็วและไม่ถาวร ซ่ึงมีหลายแบบ คอื

1. การหุบของใบจากการสะเทอื น (contract movement) - การหุบใบของต้นไมยราบ ตรงบริเวณโคนก้านใบและ โคนก้านใบย่อยจะมีกล่มุ เซลล์ชนิดหนึ่ง (เซลล์พาเรงคมิ า) เรียกว่า พลั ไวนัส (pulvinus) ซ่ึงเป็ นเซลล์ทม่ี ขี นาดใหญ่และ ผนังเซลล์บาง มีความไวสูงต่อสิ่งเร้าทม่ี ากระตุ้น เช่น การสัมผสั เม่อื ส่ิงเร้ามาสัมผสั หรือกระตุ้นจะมผี ลทาให้แรงดนั เต่งของ กล่มุ เซลล์ดงั กล่าวเปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว คอื เซลล์จะ สูญเสียนา้ ให้กบั เซลล์ข้างเคยี งทาให้ใบหุบลงทนั ที หลงั จากน้ัน สักครู่นา้ จะซึมผ่านกลบั เข้าสู่เซลล์พลั ไวนัสอกี แรงดนั เต่ง ในเซลล์เพมิ่ ขนึ้ ทาให้แรงดนั เต่งและใบกางออก

- การหุบของใบพชื พวกทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงรูปร่างไปเพอ่ื จบั แมลง ได้แก่ ใบของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลงิต้นสาหร่ายข้าวเหนยี ว ต้นกาบหอยแครง ต้นหยาดนา้ ค้างเป็ นต้น พชื พวกนีถ้ อื ได้ว่าเป็ นพชื กนิ แมลงจะมีการเปลย่ี นแปลงรูปร่างของใบเพอื่ ทาหน้าทจ่ี บั แมลง ภายในใบจะมีกล่มุ เซลล์หรือขนเลก็ ๆ (hair) ทไี่ วต่อสิ่งเร้าอยู่ทางด้านในของใบ เมอ่ื แมลงบนิ มาถูกหรือมาสัมผสั จะเกดิ การสูญเสียนา้ใบจะเคลอ่ื นไหวหุบทนั ที แล้วจงึ ปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยโปรตนี ของแมลงให้เป็ น กรดอะมโิ น จากน้ันจงึ ดูดซึมทผี่ วิด้านในน้นั เอง

2. การหุบใบตอนพลบคา่ ของพชื ตระกลู ถวั่ (sleep movement) เป็ นการตอบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงความเข้มของแสงของพชืตระกลู ถั่ว เช่น ใบก้ามปู ใบมะขาม ใบไมยราบ ใบถ่ัว ใบแค ใบกระถนิ ใบผกั กระเฉด เป็ นต้น โดยท่ีใบจะหุบ ก้านใบจะห้อยและลู่ลงในตอนพลบคา่เน่ืองจากแสงสว่างลดลง ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “ต้นไม้นอน” แต่พอรุ่งเช้าใบกจ็ ะกางตามเดมิ การตอบสนองเช่นนีเ้ กดิ จากการเปลยี่ นแปลงแรงดนั เต่งของกลุ่มเซลล์พลั ไวนัสท่ีโคนก้านใบ โดยกล่มุ เซลล์พลั ไวนัสนี้เป็ นกลุ่มเซลล์ขนาดใหญ่และผนังเซลล์บาง มคี วามไวสูงต่อสิ่งเร้าทีม่ ากระตุ้น เมอ่ื ไม่มแี สงสว่างหรือแสงสว่างลดลง มผี ลทาให้เซลล์ด้านหนึ่งสูญเสียนา้ ให้กบั ช่องว่างระหว่างเซลล์ท่ีอยู่เคยี งข้างทาให้แรงดนั เต่งลดลงใบจึงหุบลง ก้านใบจะห้อยและลู่ลง พอรุ่งเช้ามแี สงสว่างนา้ จะเคลอื่ นกลบั มาทาให้แรงดนั เต่งเพมิ่ ขนึ้ และเซลล์เต่งดันให้ที่ลู่น้ันกางออก

3. การเปิ ดปิ ดของปากใบ (guard cell movement) การเปิ ด-ปิ ดของปากใบขนึ้ อยู่กบั ความเต่งของเซลล์คุม(guard cell) ในตอนกลางวนั เซลล์คุมมีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเกดิ ขนึ้ ทาให้ภายในเซลล์คุมมรี ะดบั นา้ ตาลสูงขนึ้ นา้ จากเซลล์ข้างเคยี งจะซึมผ่านเข้าเซลล์คุม ทาให้เซลล์คุมมแี รงดนั เต่งเพม่ิ ขนึ้ดนั ให้ผนังเซลล์คุมท่แี นบชิดตดิ กนั ให้เผยออก จงึ ทาให้ปากใบเปิ ดแต่เมื่อระดบั นา้ ตาลลดลงเน่ืองจากไม่มีกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนา้ กจ็ ะซ่ึมออกจากเซลล์คุม ทาให้แรงดนั เต่งในเซลล์คุมลดลงเซลล์จะเหี่ยวและปากใบกจ็ ะปิ ด

การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพชื ด้วยการเคลอ่ื นไหวแบบต่างๆ ที่เกดิ ขนึ้ จะมผี ลต่อประสิทธิภาพในการดารงชีวติ ของพชื สรุปได้ดงั นี้ 1. การหันยอดเข้าหาแสงสว่าง ช่วยให้พชื สังเคราะห์อาหารได้อย่างท่วั ถงึ 2. การหันรากเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก ช่วยให้รากอยู่ในดนิ ซึ่งเป็ นแหล่งทพ่ี ชื ได้รับนา้ และแร่ธาตุ 3. การเจริญเข้าหาสารเคมีของละอองเรณู ช่วยในการผสมพนั ธ์ุการขยายกลบี ช่วยในการกระจายหรือรับละอองเกสร 4. การเคลอื่ นไหวแบบ nutation , spiral movement และ twiningmovement ช่วยให้พชื เกาะพนั กบั ส่ิงอนื่ ๆสามารถชูกง่ิ หรือยอด เพอื่ รับแสงแดดหรือชูดอกและผลเพอ่ื การสืบพนั ธ์ุหรือกระจายพนั ธ์ุ 5. การหุบของต้นกาบหอยแครงช่วยในการจบั แมลงหรืออาหาร การหุบของไมยราบช่วยในการหลบหลกี ศัตรู

ฮอร์โมนพชื ( Plant Hormones )

ปัจจัยทม่ี ผี ลต่อการเจริญของพชืสามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ปัจจัย คอื1. ปัจจัยภายนอก (External Signals) - Light, Gravity, Mechanical, Stress, Pathogens and Insects ….2. ปัจจยั ภายใน ( Internal Signals) - Hormones

กลไกการตอบสนองของพชืไม่ว่าจะเป็ นการตอบสนองต่อ ปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยภายใน จะคล้ายกนั ในระดบั เซลล์ คอื เกดิ โดยขบวนการทีเ่ รียกว่า Signal Transduction PathwaysModel ซ่ึงสมารถสรุปได้ดงั แผนภาพถดั ไป และตวั อย่าง ในการตอบสนองต่อแสง ใน Light inducedGreening Response ผ่านการทางานของPhytochrome

Signal Transduction Pathways Model

Phytochrome and Greening Response

กลไกการตอบสนองของพชืโปรดระลกึ เสมอว่า ไม่ว่าจะเป็ นการตอบสนองต่อปัจจยัภายนอก หรือ ปัจจัยภายในพชื กระบวนการหรือ กลไก ท่ีเกดิ ขนึ้ และ ข้นั ตอนทเี่ กดิ การตอบสนอง จะมคี วามซับซ้อน มาก (Complexity ) เสมอแม้ว่าจะเกดิ จากปัจจัยเพยี งปัจจยั เดยี ว ในตอนเริ่มต้น

ฮอร์โมนพชื คอื อะไร ? ( What is Plant Hormones ? ) ฮอร์โมนพชื (Phytohormone) คอื สารเคมที พี่ ชื สร้างขนึ้ ในปริมาณเพยี งเลก็ น้อย และ มผี ลต่อขบวนการ หรือ ควบคุมการเจริญในพชื (Plant Development) ปัจจุบันพบว่า เราสามารถสังเคราะห์สารได้ หลายชนิด ทม่ี สี มบัติเหมอื น ฮอร์โมนพชื จงึ จดั รวมกบั ฮอร์โมนพชื เรียกว่า สารควบคุมการเตบิ โตของพชื ( Plant Growth Regulators หรือ Substances )

ฮอร์โมนพชื แบ่งเป็ นกช่ี นิด หรือ กกี่ ล่มุ ?ปัจจุบนั จะแบ่งฮอร์โมนพชื ออกเป็ น 5-6 กล่มุ ด้วยกนั คอื1. ออกซิน (auxin) มาจากภาษากรีก แปลว่า ทาให้เพม่ิ (to increase)2. ไซโทไคนิน (cytokinin) มาจาก เพมิ่ การแบ่งเซลล์ cytokinesis3. จบิ เบอเรลลนิ (gibberellin) มาจากช่ือรา Gibberella fujikuroi4. กรดแอบไซซิค (abscisic acid) มาจาก การร่วงของใบ abscission5. เอทลิ นี (ethylene) เป็ นชนิดเดยี วที่เป็ น ก๊าซ ช่วยเร่งการสุกผลไม้+ นอกจากนยี้ งั มพี วก Oligosaccharins, Brassinosteroids, Florigen, Vernalin เป็ นต้น

การค้นพบ ฮอร์โมนพชื ชนิดแรกฮอร์โมนพชื แต่ละชนิด มีประวตั กิ ารค้นพบทแี่ ตกต่างกนั ไป1. ออกซิน (auxin) - ฮอร์โมนพชื ตวั แรกที่ค้นพบ โดยเริ่มจาก การศึกษาเกย่ี วกบั กระบวนการโค้งงอเข้าหาแสงของ ยอดอ่อนต้นกล้าของพชื ใบเลยี้ งเดย่ี ว( coleoptile) ซึ่งต่อมา เรียกว่า Phototropism การทดลองท่มี ักอ้างถงึ ได้แก่ การทดลองของ ชาร์ล ดาร์วนิ กบั ลูกชาย(Charles and Francis Darwin) ปี ค.ศ. 1880 และ ฟริตส์ เวนต์ (Frits W. Went) ปี ค.ศ. 1926-8

การเจริญเข้าหาแสงสว่าง( Positive Phototropism )ของเยอื่ หุ้มยอดอ่อนของข้าวโอ๊ต(Oat seedling coleoptile)

การทดลองของ Darwin และ Boysen-Jensen

การทดลองของF. W. Wentในปี ค.ศ. 1926หรือ ปี พ.ศ. 2469เกย่ี วกบั การโค้งเข้าหาแสงของเยอื่ หุ้มยอดอ่อน(coleoptile) ของต้นกล้าข้าวโอ๊ต

Polar AuxinTransport : AChemiosmotic Model

Auxin and Cell Elongation : Acid Growth Hypothesis

Natural and Synthetic Auxinออกซิน ธรรมชาติ (Natural Auxin)  Indole-3-Acetic Acid (IAA)  Indole-3-Butyric Acid (IBA)ออกซิน สังเคราะห์ (Synthetic Auxin)  Naphthalene Acetic Acid (NAA)  2,4-Dicholophenoxy acetic acid (2,4-D)  2,4,5-Trichlorophenoxy acetic acid (2,4,5-T)

แหล่งทสี่ ร้าง และ หน้าทส่ี าคญั ของออกซินแหล่งทส่ี ังเคราะห์ ในพชื ช้ันสูง คอื บริเวณเนือ้ เยอื่ เจริญที่ ปลายยอด ตายอด ใบอ่อน และ ต้นอ่อนในเมลด็ (seed embryo)หน้าทสี่ าคญั  เร่งการขยายตวั ของเซลล์ และ กระตุ้นการแบ่งเซลล์  กระตุ้นการออกราก - เร่งการออกดอกของพชื บางชนิด  ยบั ย้งั การเจริญของตาข้าง - ป้ องกนั ใบร่วง - เปลยี่ นเพศดอก  Phototropism & Gravitropism - สารกาจัดวชั พชื - อนื่ ๆ...

การใช้ ออกซิน (IBA) เร่งการออกรากของกง่ิ ชา

การค้นพบ ฮอร์โมนพชื ชนิดท่ี 22. ไซโทไคนิน (cytokinin) เป็ นฮอร์โมนพชื ทค่ี ้นพบเนื่องมาจาก การวจิ ัยด้านการเพาะเลยี้ งเนือ้ เยอ่ื พชื (plant tissue culture) โดยทมี นักวิจยั นาโดย F. Skoog มหาวทิ ยาลยั Wisconsin พบว่านา้ มะพร้าว และ นา้ สะกดั จากยสี ต์ จะสามารถ เร่งการแบ่งเซลล์ในการเพาะเลยี้ ง เนือ้ เยอื่ พชื ได้ เมือ่ แยกและทาให้บริสุทธิพบว่าเป็ น N6- furfurylamino purine และเรียกว่า kinetin เน่ืองจากเป็ นสารเร่ง กระบวนการแบ่งเซลล์ (cytokinesis) ซึ่งถือว่าเป็ น cytokinin ตวั แรกทคี่ ้นพบ แต่ชนิดทพ่ี บมากทสี่ ุดในพชื คอื Zeatin (พบคร้ังแรกในข้าวโพด=Zea mays) ชื่อ cytokinin เสนอโดย Skoog และคณะในปี 1965

แหล่งทส่ี ร้าง และ หน้าที่สาคญั ของไซโทไคนินแหล่งทส่ี ังเคราะห์ ในพชื ช้ันสูง คอื บริเวณเนือ้ เยอ่ื ที่ กาลงั เจริญ โดยเฉพาะทีร่ าก ต้นอ่อน และ ผลหน้าทสี่ าคญั  กระตุ้นการแบ่งเซลล์ และ เร่งการขยายตวั ของเซลล์  ส่งเสริมการเจริญของตาข้าง - ชะลอการแก่ของใบ  ช่วยการงอกของเมลด็ - ควบคุมการปิ ดเปิ ดปากใบ  และ อนื่ ๆ… โดยทาหน้าทร่ี ่วมกบั Auxin

การทางานร่วมกนั ของ Auxin และ Cytokinin

การขยายพนั ธ์ุกล้วยไม้ด้วยวธิ ีเพาะเลยี้ งเนือ้ เยอ่ื

การย้ายลกู กล้วยไม้ หรือ เอาออกจากขวดเพาะเลยี้ ง

การเลยี้ งลกู กล้วยไม้ในกระถางในโรงเรือน

การควบคุมตาข้างโดยตายอด (Apical Dominance)  อกี ตวั อย่างของการทางานร่วมกนั ของ Auxin กบั Cytokinin

การทดลอง แสดงการควบคุมตาข้างโดยตายอด

การค้นพบ ฮอร์โมนพชื ชนิดที่ 33. จบิ เบอเรลลนิ (gibberellin) เป็ นฮอร์โมนพชื ทคี่ ้นพบโดยปัญหาทพี่ บโดยชาวนา ญป่ี ่ ุน เกยี่ วกบั โรคชนิดหนึ่งของข้าว ทที่ าให้ลาต้นสูง กว่าปกติ และ ให้ผลผลติ ต่า ซึ่งต่อมา นักวทิ ยาศาสตร์ ชาว ญป่ี ่ นุ ชื่อ E. Kurosawa ในปี 1938 พบว่าสาเหตุ เกดิ มาจากสารทผี่ ลติ โดยเชื้อรา ชนิดหนึ่งชื่อ Gibberella fujikuroi ซ่ึงเมอ่ื แยกและทาให้บริสุทธ์ิแล้ว จงึ ต้งั ช่ือ สารนีว้ ่า gibberellin

Gibberella fujikuroi

แหล่งทสี่ ร้าง และ หน้าที่สาคญั ของจบิ เบอเรลลนิแหล่งทส่ี ังเคราะห์ ในพชื ช้ันสูง คอื บริเวณเนือ้ เยอื่ ทก่ี าลงั เจริญ เช่นปลายยอด ปลายราก ใบอ่อน และ ต้นอ่อนหน้าทสี่ าคญั ของ GA  เร่งการขยายตวั ของเซลล์ และ การยดื ของลาต้น  เร่งการออกดอก - การแสดงออกของเพศดอก - การตดิ ผล  ช่วยการงอกของเมลด็ และ ตา (bud) - ทาลายการพกั ตวั ของ เมลด็  และ อนื่ ๆ… โดยทาหน้าทรี่ ่วมกบั hormone ชนิดอนื่ ๆ

Foolish cabbages !กระหลา่ ปลโี ง่ ! ที่ฉีดพ่นด้วย กรดจบิ เบอเรลลกิ (GA3)

GA3ทาให้ลาต้นยดื ยาว และ ออกดอก( rosette genotype of Brassica napus)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook