Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดอบรมประชาชน กศน.

คู่มือการจัดอบรมประชาชน กศน.

Description: คู่มือการจัดอบรมประชาชน กศน.

Search

Read the Text Version

คู่มอื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ตามหลักเกณฑ์การเบิกคา่ ใช้จ่ายในการจดั กิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ของสถานศกึ ษา ในสังกัดสานักงาน กศน. สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร



คมู่ อื การจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน หน้า ๑ คานา ๑ ๑ ตอนที่ ๑ บทนา ๑ ความเป็นมา ๒ วัตถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย ๔ นยิ ามศัพท์ ๔ ขอบเขตการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน ๔ ๗ ตอนที่ ๒ การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน ๘ ๑. การสารวจสภาพปญั หาและความต้องการของประชาชนและกลุ่มเป้าหมาย ๑๔ ๒. การจัดทาหลกั สูตร ๓. การจดั ทาโครงการฝกึ อบรม ๑๗ ๔. การดาเนินงานโครงการฝกึ อบรม ๑๘ ๕. การนเิ ทศ ติดตาม และรายงานผล ๑๘ ๑๘ ตอนท่ี ๓ การบรหิ ารงบประมาณในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ๑. การวางแผนงบประมาณ ๒๐ ๒. การใช้จา่ ยงบประมาณ ๒๑ ๓. การเบกิ จา่ ยงบประมาณ ๒๙ ๓๑ ภาคผนวก ก ตวั อย่างแบบฟอร์มต่าง ๆ ทีใ่ ช้ในการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน ๓๒ แบบฟอรม์ ประกอบการจดั ทาแผนระดบั จุลภาค ๓๓ แบบสารวจความตอ้ งการทางการศกึ ษา/กิจกรรมการเรยี นรู้ ๓๔ แบบการขออนุมัติดาเนนิ การจัดโครงการฝึกอบรมประชาชน ๓๕ แบบหนังสอื เชิญวทิ ยากร ๓๖ แบบหนงั สือแจง้ ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม ๓๗ แบบตอบรบั เข้ารว่ มการฝกึ อบรม ๓๘ แบบทะเบยี นผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรม ๓๙ แบบคาสั่งแต่งตง้ั วทิ ยากร ๔๐ แบบหนงั สอื แจ้งการจัดโครงการฝึกอบรมประชาชน ๔๑ แบบบญั ชลี งเวลาผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรม ๔๓ แบบประเมินความพึงพอใจ แบบวฒุ บิ ัตรผผู้ า่ นการฝกึ อบรม แบบรายงานผลการจัดโครงการฝกึ อบรมประชาชน แบบเคร่ืองมือนเิ ทศ ตดิ ตาม และรายงานผล

แบบตดิ ตามผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมประชาชนหลังจบหลักสตู ร ๔๕ แบบบันทกึ ขอ้ ความขออนุมัติเบกิ เงินงบประมาณ ๔๖ แบบสรปุ งบหน้าการเบิกเงิน ๔๗ แบบหนงั สือราชการอนุมตั เิ บิกจา่ ยเงนิ ในระบบ GFMIS ๔๘ แบบใบสาคัญรบั เงนิ ๔๙ แบบการเขยี นแบบใบสาคัญรับเงนิ ๕๐ แบบใบสาคัญรบั เงินสาหรบั วิทยากร ๕๑ แบบการเขยี นใบสาคญั รับเงนิ สาหรับวทิ ยากร ๕๒ แบบบญั ชีลงเวลาของวทิ ยากร ๕๓ แบบคาขอรบั เงินผ่านธนาคาร ๕๔ ๕๖ ภาคผนวก ข หนังสือ/ระเบียบต่าง ๆ ท่เี กี่ยวข้อง ๕๖ หนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนท่ีสุด ที่ กค ๐๔๐๖.๔/๐๖๖๐๖ ลงวันท่ี ๑๘ กุมภาพันธ์ ๕๗ ๒๕๕๙ เรอ่ื ง ขออนมุ ัตเิ บิกค่าใช้จ่ายในการจัดกจิ กรรม ๖๑ หนังสือสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ด่วนที่สุด ที่ ศธ ๐๒๑๐.๑๑๗/๓๑๙๓ ลงวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙ เรื่อง การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ๖๔ ของสถานศกึ ษา สังกัดสานักงาน กศน. ๖๘ คาส่ังสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๔๘๙/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ เรื่อง มอบอานาจให้ผู้อานวยการสถานศึกษาศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและ ๗๕ การศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอ และผู้อานวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั เขต ปฏิบัตริ าชการแทน คาสั่งสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๔๙๒/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ เร่ือง มอบอานาจให้ผู้อานวยการสถานศึกษาสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยทตี่ งั้ อยใู่ นภูมภิ าค ปฏิบตั ิราชการแทน คาส่ังสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการท่ี ๒๗๐/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๕ มีนาคม ๒๕๕๑ เรื่อง มอบอานาจให้ผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด และผู้อานวยการสานักงานส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กรงุ เทพมหานคร ปฏิบัติราชการแทน คณะทางาน

ตอนท่ี ๑ บทนา ความเป็นมา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (แก้ไขเพิ่มเติมพุทธศักราช 2545) และ พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดจุดมุ่งหมาย สาคัญในการพัฒนาคนไทยให้ได้รับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัจจุบัน และอนาคต ทั้งด้านประชากร การเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และส่ิงแวดล้อม รวมท้ังการเชอื่ มโยงสงั คมเศรษฐกจิ ภูมิภาคเอเชีย ระดับภูมิภาค และระดับโลก จึงจาเป็นที่จะต้องจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้ประชาชนได้รับการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งด้านการพัฒนาทักษะชีวิต และการ พัฒนาสังคมและชุมชน ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและสภาพปัญหาของชุมชน โดยเน้นกระบวนการคิด เพอ่ื แกป้ ัญหาในชีวิตประจาวนั ตามหลักปรัชญาคิดเปน็ และหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซ่ึงมีภารกิจหลักเก่ียวกับการจัด กิจกรรมเพ่อื พัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน และการส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งให้แก่ประชาชน จึงกาหนดรูปแบบการฝึกอบรม การศึกษาดูงาน และเวทีประชาคม ให้สอดคล้อง กบั ระเบียบกระทรวงการคลังทเ่ี กยี่ วขอ้ ง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือให้ประชาชนไดร้ ับความรเู้ ก่ยี วกบั การพัฒนาทักษะชีวิต และพฒั นาสังคมและชุมชน ๒. เพื่อให้ประชาชนมีทักษะท่ีจาเป็นสาหรบั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ กลุม่ เปา้ หมาย ประชาชนทว่ั ไป นิยามศพั ท์ การฝึกอบรมประชาชน หมายถึง การอบรม การศึกษาดูงาน การจัดเวทีประชาคม หรือ กิจกรรม อ่ืนท่ีมีลักษณะเป็นการฝึกอบรม ที่มีเน้ือหาเกี่ยวกับกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต กิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและ ชุมชน การส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีท่ี เหมาะสม เพ่ีอให้ประชาชนได้รับความรู้ มีเจตคติ และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมปัจจุบัน โดยมี โครงการและหลกั สูตรทีม่ ชี ่วงระยะเวลาจดั ที่แนน่ อน หลักสูตรการฝึกอบรมประชาชน หมายถึง แผนประสบการณ์การจัดกิจกรรมให้กับประชาชน ประกอบด้วย หลักการของหลักสูตร จุดประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา ขอบข่ายเน้ือหา การจัดกระบวนการ เรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การจบหลักสูตร เอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ ความสามารถ และทศั นคติในการดาเนนิ ชีวิตท่ีเหมาะสม โครงการฝึกอบรมประชาชน หมายถึง กระบวนการทางานหรือการจดั ฝึกอบรมให้กับประชาชน ท่ีมี จุดเร่ิมต้นและจุดส้ินสุด ประกอบด้วย ช่ือโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ผู้รับผิดชอบโครงการ เครือข่าย โครงการที่เกี่ยวข้อง ผลลัพธ์ ดัชนีช้ีวัดผลสาเร็จของ โครงการ การติดตามและประเมินผลโครงการ คมู่ อื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน หน้า 1

ขอบเขตการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน สานักงาน กศน. ได้กาหนดกรอบกิจกรรมที่จัดให้สถานศึกษา กศน. จดั อบรมใหก้ ับประชาชนไว้ ดงั นี้ ๑. การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการฝึกอบรมประชาชน เพ่ือให้มีความรู้ที่ให้ความสาคัญกับการ พัฒนาคนทุกช่วงวัย ให้มีความรู้ เจตคติ และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมปัจจุบันสามารถเผชิญ สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวให้ทันต่อการ เปล่ยี นแปลงของข่าวสารข้อมลู และเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยเน้นการฝึกปฏิบัติให้ผู้เรียนเกิด ทักษะชีวิต ๑๐ ประการ คือ (๑) ทักษะการตัดสินใจ หมายถึง ความสามารถในการตัดสินใจเก่ียวกับเร่ืองราวต่าง ๆ ในชีวิตได้ อย่างรอบคอบ (๒) ทกั ษะการแก้ปัญหา หมายถงึ ความสามารถในการจัดการกับปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชีวิตได้อย่างมีระบบ ไมเ่ กดิ ความเครียด (๓) ทักษะการคิดวเิ คราะห์ หมายถึง ความสามารถในการวิเคราะห์ แยกแยะข้อมูล ข่าวสาร ปัญหา และสถานการณต์ ่าง ๆ รอบตวั ได้ (๔) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการใช้ความคิดอย่างสร้างสรรค์ ช่วยในการ ตัดสินใจ และแก้ไขปัญหา เพ่ือค้นหาทางเลือกต่าง ๆ และผลที่จะเกิดข้ึนในแต่ละทางเลือก และสามารถนา ประสบการณม์ าปรับใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้อย่างมพี ลงั ในการต่อสู้ และอย่างเหมาะสมกับวยั (๕) ทักษะการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ หมายถึง ความสามารถในการใช้คาพูด และท่าทาง เพ่ือแสดงออกถึงความคิดและความรู้สึกของตนเองอย่างถูกต้อง เหมาะสม เช่น การแสดงความคิดเห็น ความ ต้องการ ความชืน่ ชมการขอรอ้ ง การเจรจาต่อรอง การตกั เตือน การช่วยเหลือ การปฏเิ สธ ฯลฯ (๖) ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ หมายถึง ความสามารถสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างบุคคล และรกั ษาความสมั พนั ธน์ ัน้ ไวไ้ ด้ (๗) ทักษะการตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง หมายถึง การรู้จักและเข้าใจตนเอง เช่น รู้ข้อดี ข้อเสีย ของตนเอง รู้ความต้องการ และส่ิงที่ไม่ต้องการของตนเอง ซ่ึงจะช่วยให้รู้ตัวเองเวลาเผชิญกับความเครียด หรือ สถานการณต์ ่าง ๆ (๘) ทักษะความเห็นใจผู้อ่ืน หมายถึง มีความเข้าใจความเหมือนหรือความแตกต่างระหว่างบุคคล ในด้านความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ เข้าใจความรู้สึก และยอมรับ บุคคลอื่นท่ีตา่ งจากตนเอง (๙) ทักษะการจัดการกับอารมณ์ต่าง ๆ หมายถึง การรับรู้อารมณ์ของตนเองและผู้อ่ืน รู้ว่าอารมณ์ มีผลต่อการแสดงพฤติกรรมอย่างไร รู้วิธีจัดการกับอารมณ์โกรธหรือโศกเศร้าที่ส่งผลทางลบต่อร่างกาย และจิตใจ ได้อย่างเหมาะสม (๑๐) ทักษะการจัดการกับความเครียด หมายถึง การรับรู้ถึงสาเหตุของความเครียด รู้วิธีผ่อนคลาย ความเครยี ด และแนวทางในการควบคมุ ระดบั ความเครียด คูม่ ือการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน หน้า 2

ในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ให้ฝึกอบรมประชาชนให้มีความรู้ ความสามารถ และเจตคติ เกี่ยวกับเนื้อหาใน ๗ เร่ือง โดยให้นาทักษะชีวิต ๑ – ๑๐ ทักษะ มาบูรณาการให้มีเจตคติ และมีทักษะชีวิต เพื่อนาไปใช้ ในชีวิตประจาวนั ทั้งนี้ เมื่อจัดครบทุกเนอ้ื หาแลว้ ต้องได้รบั การพัฒนาทกั ษะชีวติ ครบทงั้ 10 ทักษะ สว่ นเน้ือหาท่ีสถานศึกษานาไปจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตเน้นใน ๗ เร่อื ง คือ (๑) สุขภาพกาย-จติ (๒) ยาเสพตดิ (๓) เพศศกึ ษา (๔) คณุ ธรรมและคา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ (๕) ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์สิน (๖) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม (๗) ประชาธิปไตยในวิถีชีวิต ๒. การจดั กจิ กรรมเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน เป็นการฝึกอบรมประชาชน ด้วยกระบวนการให้ประชาชน รวมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ ช่วยเหลือซ่ึงกันและกันในการพัฒนาสังคม และชมุ ชนอยา่ งยัง่ ยนื โดยยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นแนวปฏบิ ตั ิ ตลอดจนการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี ท่เี หมาะสม และการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนด้านอ่ืน ๆ เช่น การเสริมสร้างอุดมการณ์รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การคุ้มครองผู้บริโภค การป้องกันการทุจริต เศรษฐกิจชุมชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ๓. การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การดาเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการฝึกอบรมประชาชน ทน่ี ากรอบแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาเปน็ แนวทางในการดาเนินชีวิตให้แก่ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ ระดบั บุคคล ครอบครวั ชุมชน ใหด้ ารงอยู่ และปฏิบตั ิตนในทางท่ีควรจะเป็น บนพ้ืนฐานของทางสายกลาง และไม่ประมาท โดยคานึงถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การสรา้ งความคุ้มกนั ท่ีดใี นตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และ คุณธรรม ประกอบการวางแผนการตัดสินใจ ในการดาเนินชีวิต และมีความจงรักภักดี ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ เช่น การเรยี นรตู้ ามรอยพระยุคลบาท การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ การ ทาบญั ชีครัวเรอื น วสิ าหกิจชุมชน/สหกรณ์ การประหยัดพลงั งาน เปน็ ต้น ๔. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็นการฝึกอบรมประชาชน เพื่อให้ความรู้ เน้นการแก้ปัญหา การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ ส่ิงแวดล้อม และวิกฤติพลังงาน โดยเน้นการประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน และการใช้เคร่ืองทุ่นแรง โดยนาองค์ความรู้จากภูมิปัญญา จากการศึกษาค้นคว้านวัตกรรม ที่มีอยู่ หรอื อาจประดิษฐ์คิดค้นข้ึนมา เพ่ือปรับใช้ในครัวเรือน เช่น การเรียนรู้การนาขยะหรือมูลสัตว์มาผลิตเป็นก๊าช ชีวภาพ การถนอมอาหารโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ เปน็ ตน้ คูม่ ือการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน หนา้ 3

ตอนท่ี ๒ การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน เป็นกระบวนการท่ีจะทาให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ มีทักษะ และเจตคติ ในเรื่องใดเรื่องหน่ึง การจัดการฝึกอบรมประชาชน เป็นหน่ึงในหลายกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ ในการจัดการฝึกอบรมจะต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ในแต่ละข้ันตอน อยา่ งเหมาะสม การฝึกอบรมประชาชนมีวธิ กี ารตามข้นั ตอน ดงั น้ี ขน้ั ตอนการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน ๑. การสารวจสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนและกลุ่มเป้าหมาย สถานศึกษา สามารถดาเนินการได้ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เช่น การจัดเวทีประชาคม การใช้ข้อมูลสารสนเทศในแผนจุลภาค (Micro Planning) แผนชุมชน ข้อมูล จปฐ. นโยบายและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และนาข้อมูลมาวิเคราะห์พร้อมจัดลาดับ ความต้องการ และความจาเป็น ๒. การจัดทาหลักสตู ร ในการฝึกอบรมประชาชน สถานศึกษาจะต้องมีการจัดทาหลักสูตร เพ่ือกาหนดทิศทาง มีขั้นตอน และกระบวนการ ดงั น้ี ๒.๑ ความเป็นมา เป็นส่วนสาคัญท่ีแสดงถึงความต้องการ ความจาเป็น หรือปัญหา ท่ีต้องมีการ จัดทาหลักสูตรน้ีขึ้น เพื่อส่งเสริมความรู้ ทักษะ และเจตคติ ของประชาชน ดังนั้น ในการเขียนความเป็นมาของหลักสูตร ต้องเขียนให้เหน็ ถึงเหตผุ ลและแสดงข้อมลู ที่เกยี่ วข้อง เพื่อสนับสนุนการจดั ทาหลกั สูตรน้ันอย่างชดั เจน คู่มอื การจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน หนา้ 4

๒.๒ หลกั การ เปน็ หลักสตู รที่ต้องนาข้อมูลสารสนเทศจากการศึกษาวิเคราะห์สภาพชุมชน สังคม นามาบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพในด้านต่าง ๆ ของพ้ืนที่ เพื่อเป็นการพัฒนาความรู้ ทักษะและเสริมสร้าง ประสบการณ์ให้กับประชาชน ดังน้ัน การเขียนหลักการของหลักสูตรจะต้องเขียนให้ครอบคลุมสาระสาคัญของเรื่อง ต่อไปนี้ ๒.๒.๑ บูรณาการให้สอดคล้องกับบริบทชุมชน ทุนทางสังคม ศักยภาพ และวิถีของชุมชน ในแตล่ ะพ้นื ที่ ๒.๒.๒ สง่ เสริมใหภ้ าคีเครอื ข่ายทงั้ ภาครัฐและเอกชนมีส่วนร่วมในการดาเนนิ งาน ๒.๒.๓ สง่ เสริมให้ประชาชนไดร้ ับความรู้ และนาประสบการณม์ าแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ เกดิ สงั คมแห่งการเรียนรู้ ๒.๓ วตั ถปุ ระสงค์ เปน็ เคร่อื งช้แี นวทางในการดาเนินงานถึงผลสาเร็จที่ต้องการ โดยวัตถุประสงค์ จะเป็นการบอกว่าต้องการให้เกิดอะไรขึ้นบ้าง การเขียนวัตถุประสงค์ต้องชัดเจนปฏิบัติได้ วัดได้ และประเมินได้ ในระยะเวลาที่กาหนด วัตถุประสงค์ต้องเป็นรูปธรรมมากกว่านามธรรม วัตถุประสงค์ไม่ควรมีหลายข้อ และควร เรียงลาดบั ความสาคญั จากมากไปหาน้อย หลักการเขียนวัตถุประสงค์ที่ดี ต้องมีความชัดเจน สามารถวัดและประเมินผลได้ ระบุถึง การกระทาทส่ี ามารถปฏบิ ัติได้ มีความเป็นเหตเุ ป็นผล และสอดคลอ้ งกบั ความเปน็ จรงิ ๒.๔ กลุม่ เป้าหมาย เปน็ การกาหนด หรอื ระบุคุณสมบัติของผู้ท่ีเข้ารับการฝึกอบรม (ประชาชน ท่วั ไป ไมต่ ่ากวา่ กลุ่มละ ๑๕ คน) ๒.๕ ระยะเวลา เปน็ การกาหนดระยะเวลา ขนึ้ อยู่กับวตั ถุประสงค์และเน้ือหา (ไม่เกิน ๑ – ๓ วัน ยกเวน้ เวทปี ระชาคม สามารถดาเนนิ การตามความเหมาะสม) ๒.๖ โครงสร้างเนื้อหา เป็นการระบุรายละเอียดเกี่ยวกับ หัวเรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา วิธกี ารฝกึ อบรม จานวนชัว่ โมง (ภาคทฤษฎี/ปฏิบตั ิ) ๒.๗ ส่ือ/วัสดุอุปกรณ์ เป็นการระบุส่ือที่ใช้ในการฝึกอบรม เช่น สื่อเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิคส์ แหล่งเรยี นรู้/ภมู ิปัญญา ตลอดจนวัสดุ และอปุ กรณท์ ่ีเก่ียวขอ้ ง ๒.๘ การวัดและประเมินผล ใช้รูปแบบการประเมินตามวัตถุประสงค์ และความพึงพอใจของ หลักสูตรหลังการฝึกอบรม ๒.๙ เง่ือนไขการผ่านการฝึกอบรม เป็นการระบุระยะเวลาของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ต้องไม่น้อย กว่าร้อยละ ๘๐ ของหลักสูตร/โครงการ สาหรับกิจกรรมการจัดเวทีประชาคมให้สถานศึกษาพิจารณาตามความ เหมาะสม ๒.๑๐ หลักฐานการผ่านการฝึกอบรม สถานศึกษาจัดทาวุฒิบัตรให้กับผู้ผ่านการฝึกอบรมตาม เงือ่ นไขการผา่ นการฝกึ อบรม คมู่ อื การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน หนา้ 5

แบบการเขยี นหลักสตู รการจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน ช่ือหลักสตู ร ………………(ระบุชื่อหลักสตู รทจี่ ะจดั )………จานวน…..…(ระบุจานวนท่ีจะจดั )……….…ชว่ั โมง/วนั ศูนยส์ ่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอ/เขต................................จงั หวัด………….......... กจิ กรรม  เพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิต  เพือ่ พฒั นาสังคมและชุมชน  การสง่ เสริมการดาเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง  การเรียนรู้การใช้เทคโนโลยที ่เี หมาะสม ความเปน็ มา…………(ระบุความต้องการ ความจาเป็น หรือปัญหา ทีต่ ้องมีการจัดทาหลกั สูตรนีข้ ้นึ )……..…....……........…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…...……… หลักการของหลักสูตร……………(ระบสุ าระสาคัญของเรือ่ ง)………………………………….…………………….......................…..........…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………......………..……………………………... วัตถปุ ระสงค์………(บอกว่าตอ้ งการให้เกิดอะไรข้ึนบ้าง การเขยี นวตั ถุประสงคต์ อ้ งชัดเจนปฏบิ ัตไิ ด้ วดั ได้ และประเมินได)้ …........… ………………………………………………………….……………………………………………………………………...................................................…….….... กล่มุ เปา้ หมาย……………(ระบคุ ณุ สมบัติของผ้ทู ี่จะเขา้ รับการฝกึ อบรม) ……..…..………………………...…….....................................…..… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ระยะเวลา……………(ระบุระยะเวลาท่ีจะจดั )…………………………………………………………………..……………….………............................… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...….......….. โครงสรา้ งเนอื้ หา ท่ี เรอื่ ง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอื้ หา การจัดกระบวนการเรียนรู้ จานวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ 1 (ระบุรายละเอยี ด) (ระบรุ ายละเอยี ด) (ระบุรายละเอยี ด) (ระบรุ ายละเอยี ด) (ระบ)ุ (ระบ)ุ 2 3 สอ่ื /วสั ดุอปุ กรณ์การเรยี นรู้ ……………..…(ระบุส่ือทใ่ี ชใ้ นการฝึกอบรม)……………………………………………………...............…….....…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...…........….. การวดั และประเมินผล …………………(ระบรุ ูปแบบการประเมนิ )………………..…………………………………………...............….....………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...…....…..... เงื่อนไขการผา่ นการฝึกอบรม ………………(ระบเุ กณฑก์ ารผ่านการฝกึ อบรม)……………………………………………..…....................…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...…........….. หลักฐานการผา่ นการฝึกอบรม ………………………(วุฒบิ ัตร)……....……………………………………………………….........……………......…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....…...…....….. หมายเหตุ สถานศกึ ษาสามารถปรบั เปล่ียนไดต้ ามความเหมาะสม คมู่ อื การจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน หนา้ 6

๓. จดั ทาโครงการฝกึ อบรม เมื่อสถานศึกษาจัดทาหลกั สูตรฝึกอบรมประชาชนเรียบร้อยแล้ว ให้สถานศึกษาจัดทาโครงการ เพื่อดาเนินการจดั ฝกึ อบรมให้กับประชาชน โดยมีองค์ประกอบของโครงการ ดงั นี้ ๓.๑ ชื่อโครงการ จะต้องมีความชัดเจนเหมาะสมเฉพาะเจาะจง กะทัดรัด และสื่อความหมาย ไดอ้ ยา่ งชัดเจน ๓.๒ ความสอดคล้องกับนโยบาย พรอ้ มระบุขอ้ มูลดงั น้ี แผนงาน................................................................... นโยบาย/จุดเน้น...................................................... สอดคล้องกบั มาตรฐาน กศน. ในการประเมินคณุ ภาพการศึกษา........................ สอดคลอ้ งกบั นโยบายจุดเนน้ ของจงั หวัด ข้อท่ี……………………… ๓.๓ หลักการและเหตุผล เป็นการระบุถึง สาเหตุ ความจาเป็น ที่ต้องมีการจัดทาโครงการ เป็นการพรรณนาความ โดยอ้างนโยบายของรัฐบาล นโยบายกระทรวง/กรม/จังหวัด หลักการ ทฤษฎี และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนความต้องการในการพัฒนาหรือแก้ปัญหาของประชาชน ทั้งนี้เพื่อให้ข้อมูลมีน้าหนัก น่าเชื่อถือ และให้เห็นความสาคัญของสถานการณท์ เ่ี กดิ ขึน้ โดยมีการอา้ งองิ แหล่งที่มาของข้อมูลด้วย เพื่อประกอบการตัดสินใจ อนุมัตโิ ครงการของผมู้ ีอานาจ ๓.๔ วตั ถปุ ระสงค์ เป็นการระบุถึงเจตจานงในการดาเนินงานของโครงการ โดยแสดงให้เห็นถึง ผลที่ต้องการจะบรรลุความสาเร็จไว้อย่างกว้าง ๆ ชัดเจนและไม่คลุมเครือ โดยโครงการหน่ึง ๆ อาจมีวัตถุประสงค์ มากกว่า ๑ ขอ้ กไ็ ด้ ทเ่ี รยี กวา่ KPA ท้ังนี้การเขียนโครงการอบรมของสถานศึกษา มักระบุวัตถุประสงค์ ๓ ข้อเป็นพื้นฐาน คือ เพ่ือวัดความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับการอบรม (K=Knowledge) และวัดทักษะความสามารถในการปฏิบัติ (P=Practice) รวมทั้งวัดทัศนคติของผู้เข้าอบรมต่อเรื่องที่อบรม (A=Attitude) ซึ่งการเขียนวัตถุประสงค์ถ้าเขียนได้ ชัดเจนเปน็ รูปธรรม จะทาใหส้ ามารถมองเหน็ ถึงวิธีประเมินผล และเครอ่ื งมือประเมนิ ผลได้ในคราวเดียวกัน ๓.๕ เป้าหมาย เป็นการระบุถึงผลลัพธ์สุดท้ายท่ีคาดว่าจะได้จากการดาเนินโครงการ โดยจะระบุ ท้ังผลที่เป็นเชิงปริมาณและผลเชิงคุณภาพ เป้าหมายจึงคล้ายกับวัตถุประสงค์แต่มีลักษณะเฉพาะเจาะจงมากกว่า มีการระบสุ ิง่ ท่ีตอ้ งการทาได้ชัดเจน และระบุเวลาทีต่ ้องการจะบรรลุผลสาเรจ็ ๓.๖ วธิ ีการดาเนินงาน เป็นการระบุถึงรายละเอียดในการปฏิบัติ โดยปกติจะแยกเป็นกิจกรรม หลากหลายกิจกรรม แต่เป็นกิจกรรมหลัก ๆ ที่แสดงให้เห็นถึงความชัดเจน ตั้งแต่กิจกรรมเริ่มต้นจนถึงกิจกรรม สดุ ท้ายว่า มกี จิ กรรมใดบา้ งทีต่ ้องทา ๓.๗ วงเงินงบประมาณ เป็นการระบุถึงคา่ ใชจ้ ่ายทต่ี ้องใชใ้ นการดาเนินกจิ กรรมต่าง ๆ โดยระบุ แหลง่ ทีม่ าจากแผนงานใด งบรายจ่ายใด ตลอดจนระบุรายละเอียดของค่าใช้จ่าย เช่น งบดาเนินงาน หรืองบรายจ่ายอ่ืน คา่ ตอบแทน ค่าใช้สอย คา่ วัสดุ และคา่ ใช้จา่ ยอื่น เพอื่ ให้เหน็ ความชดั เจนในการใชจ้ า่ ยเงนิ ๓.๘ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ เป็นการระบุวงเงินงบประมาณเป็นรายไตรมาส โดยระบุแผนการ ใชจ้ ่ายเงนิ ในการฝกึ อบรมวา่ จะใชใ้ นไตรมาสใด จานวนเทา่ ไร ๓.๙ ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ เป็นการระบุว่าใครหรอื หน่วยงานใดเปน็ ผ้รู บั ผิดชอบ และมีขอบเขต ความรับผดิ ชอบอยา่ งไรบ้าง เพอ่ื ประโยชน์ในการประสานงาน คมู่ ือการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน หนา้ 7

๓.๑๐ เครอื ขา่ ย เป็นการระบุบคุ คล องค์กร หรือหนว่ ยงานทีร่ ว่ มจดั ๓.๑๑ โครงการทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เป็นการระบุโครงการอน่ื ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับโครงการน้ี (ถ้าม)ี ๓.๑๒ ผลลัพธ์ (Outcome) เป็นการระบุผลที่คาดว่าจะได้รับต่อเนื่องจากโครงการ หรือ ผลประโยชนจ์ ากผลผลิต (Output) ที่มีต่อบุคคล ชุมชน สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมโดยรวม รวมทั้งผลที่จะเกิดขึ้น ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม โดยระบุให้ชัดเจนว่าใครเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์และผลกระทบนั้น ได้รับในลักษณะอย่างไร ท้ังในเชิงปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ ๓.๑๓ ดัชนีชว้ี ัดผลสาเร็จของโครงการ ๓.๑๓.๑ ตัวชี้วัดผลผลิต (Output) หมายถึง ข้อมูลท่ีแสดงหรือบอกให้รู้ว่า ผลการ ดาเนินงานสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด เป็นรูปธรรมในเชิงปริมาณหรือคุณภาพ อันเกิดจากงานตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ ๓.๑๓.๒ ตวั ชี้วัดผลลพั ธ์ (Outcome) หมายถงึ ขอ้ มูลที่แสดงหรอื บอกให้รู้ว่า ผลการ ดาเนินงานสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด เป็นผลประโยชน์จากผลผลิตท่ีมีต่อบุคคล ชุมชน สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมโดยรวม ๓.๑๔ การติดตามและประเมินผลโครงการ เป็นการระบุถึงวิธีการและเคร่ืองมือท่ีใช้ในการ ติดตามและประเมินผลโครงการ รวมถึงการบริหารความเส่ียงของโครงการ เช่น ถ้าจะประเมินความรู้ความเข้าใจของ กลมุ่ เป้าหมาย อาจใช้แบบทดสอบ Pre-test และ Post-test ถ้าจะประเมินทักษะ ให้ดูจากการปฏิบัติจริงหรือช้ินงาน ในเรอ่ื งนั้น และถา้ จะประเมินเจตคติ ซึ่งเป็นเรอ่ื งทเ่ี ป็นนามธรรม อาจใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ เป็นต้น ในส่วน ของการประเมินผลลัพธข์ องโครงการ จะมีการติดตามผลหลังการอบรมเพ่ือดูผลลัพธ์ของโครงการ ซ่ึงการติดตามผล หลงั โครงการ อาจดาเนินการหลังโครงการสนิ้ สดุ แล้วระยะหนง่ึ ตามความเหมาะสม เช่น ๓ เดือน ๖ เดือน เป็นตน้ ๔. การดาเนนิ งานโครงการฝกึ อบรม เมื่อเขียนโครงการฝึกอบรม และเสนอขออนุมัติไปตามข้ันตอนเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่ ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการฝกึ อบรม ควรจะตอ้ งรว่ มกันวางแผนดาเนินการฝึกอบรม ซึ่งมีลักษณะเป็นแผนปฏิบัติการ หรือ ที่เรียกว่า Action Plan ซึ่งระบุถึงกิจกรรมต่าง ๆ ข้ันตอน และแนวทางที่จะดาเนินการอย่างละเอียด พร้อมทั้งระบุ ลาดับการกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยว่าส่ิงใดจะต้องดาเนินการก่อน-หลัง ตลอดจน กาหนดตัวบุคคลผู้รับผิดชอบ ดาเนินการสาหรบั แตล่ ะกิจกรรมอนั เป็นการแบ่งงานกันทาไวด้ ้วยแล้ว ท้ังน้ี เพื่อช่วยให้การดาเนินงาน เป็นไปอย่างมี ระบบ เจา้ หนา้ ทส่ี ามารถปฏบิ ัติงานตามหน้าท่ีอย่างมขี น้ั ตอน รูข้ อ้ มลู เหตุผลความจาเปน็ และแนวปฏิบัติที่เก่ียวข้อง ทาให้เกิดความร่วมมือ ประสานงานกันระหว่างผู้มีหน้าที่รับผิดชอบร่วมกัน สะดวกในการติดตามผลการปฏิบัติงาน ตลอดจนอาจชว่ ยลดปัญหา อปุ สรรค และช่วยทาใหก้ ารดาเนนิ งานบรรลเุ ปา้ หมายทีไ่ ด้กาหนดไว้ การดาเนินงานโครงการฝกึ อบรมในแตล่ ะสถานศึกษาอาจจะมรี ายละเอียดที่แตกต่างกันออกไป ตามความเหมาะสม และลักษณะเฉพาะของสถานศึกษา สาหรับข้ันตอนและกิจกรรมที่สาคัญ ๆ จะคล้ายคลึงกัน เป็นส่วนใหญ่ เพ่ือให้สามารถนาไปใช้ในการตรวจสอบ (Checklist) ถึงส่ิงต่าง ๆ ของผู้รับผิดชอบโครงการฝึกอบรม ดงั นนั้ เพ่อื ใหก้ ารดาเนินงานโครงการฝึกอบรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาจแบ่งการวางแผนการดาเนินงานฝึกอบรม ออกเปน็ ๓ สว่ น คอื การดาเนินงานกอ่ นการฝกึ อบรม ระหวา่ งการฝึกอบรม และหลงั การฝึกอบรม ค่มู ือการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน หนา้ 8

(๑) การดาเนนิ งานกอ่ นการฝึกอบรม เจา้ หน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการจะตอ้ งเตรยี มการดาเนนิ งาน ดงั นี้ ๑) การคัดเลือกวิทยากร ควรพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้ซึ่งมีประสบการณ์ในเรื่อง ที่ฝึกอบรม โดยทั่วไปจะพิจารณาถึงคุณสมบัติในด้าน ความรอบรู้ทางวิชาการ ความสามารถในการถ่ายทอด การนาเสนอ และความเหมาะสมในดา้ นคุณสมบตั สิ ่วนบุคคลซึง่ เป็นที่ยอมรบั ของผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรม ๒) การเชิญวิทยากร เมื่อมีรายช่ือผู้ท่ีเหมาะสมจะเชิญเป็นวิทยากรแล้ว ควรติดต่อทาบทาม วทิ ยากรเป็นการภายใน โดยแจ้งให้วทิ ยากรทราบถึงวัตถปุ ระสงค์ของโครงการฝึกอบรม หัวเรื่อง วัตถุประสงค์ วัน-เวลา ที่เป็นวิทยากร ตลอดจนคุณสมบัติและจานวนของผู้เข้ารับการฝึกอบรม เม่ือวิทยากรตกลงรับเชิญไว้แล้ว จึงส่ง หนังสือเชิญวิทยากร และหนังสือขออนุญาตจากผู้บังคับบัญชา หรือหน่วยงานต้นสังกัดของวิทยากร พร้อมท้ังแนบ เอกสารที่วิทยากรควรทราบ ได้แก่ รายละเอียดของโครงการฝึกอบรม กาหนดการฝึกอบรม รายละเอียดหัว เรื่อง การประเมินผลการฝกึ อบรม ในหวั เรื่องทีเ่ ชิญ ๓) เมื่อวิทยากรไดร้ ับหนังสอื เชญิ อยา่ งเปน็ ทางการแลว้ ผ้จู ัดฝึกอบรมควรติดต่อขอพบวิทยากร เพ่ือขอรับเอกสารประกอบการฝึกอบรมหัวเร่ืองท่ีรับเชิญ ขอรับประวัติของวิทยากร สอบถามเก่ียวกับเทคนิคฝึกอบรม และโสตทัศนูปกรณ์ที่จะใช้ รูปแบบการจัดสถานท่ีฝึกอบรมท่ีวิทยากรต้องการ สอบถามเก่ียวกับการเดินทางไปยังสถานที่ ฝึกอบรม และความต้องการในการจดั รถรบั -สง่ ของวิทยากร ๔) การเลือก การจอง และการจัดสถานท่ีฝึกอบรม ในการเลือกสถานที่ฝึกอบรม ผูร้ ับผิดชอบโครงการจะตอ้ งให้ความสาคัญ ในประเด็นต่อไปน้ี ๔.1) ให้เลือกห้องที่มีขนาดใหญห่ รือเล็ก เหมาะสมพอดีกับจานวนผู้เข้าอบรม และ เหมาะสมกับเทคนคิ วธิ ี กิจกรรมการฝกึ อบรม มขี นาดของหอ้ งไม่ใหญ่หรือเล็กจนเกินไป ๔.๒) ควรเป็นห้องที่มีทางเข้า-ออก ทางด้านหลังห้องเพียงด้านเดียว เพ่ือป้องกันการ เดินผา่ นไป-มา รบกวนบรรยากาศของการฝกึ อบรม ระหว่างท่มี กี ารฝึกอบรมอยู่ ๔.3) ควรเป็นห้องท่ีทุกคนมองเห็นกันได้ เม่ือพูดก็สามารถได้ยินเสียงกันและกันอย่าง ชัดเจน และสามารถป้องกันเสียงรบกวนจากภายนอกได้ ๔.4) ภายในห้องควรมีส่ิงอานวยความสะดวกสบายพอสมควร เป็นห้องที่มีการระบาย อากาศได้ดี ไมร่ ้อนหรอื เยน็ เกินไป และมแี สงสว่างที่เพียงพอ ๔.5) มโี สตทศั นูปกรณ์ช่วยในการฝึกอบรมเตรยี มพร้อม เชน่ เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ กระดานไวทบ์ อรด์ ฯลฯ การจองสถานที่ฝึกอบรมของสถานศึกษาเอง ผู้รับผิดชอบเก่ียวกับสถานท่ี ให้เลือก สถานที่และดาเนินการขอจองใช้สถานท่ีล่วงหน้า ในกรณีที่ใช้สถานท่ีของหน่วยงานอื่น ให้ทาความเข้าใจ ศึกษา ระเบียบ และถือปฏิบตั ใิ นการขอใช้สถานท่ีนนั้ ด้วย ค่มู อื การจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน หน้า 9

การจัดสถานที่ฝึกอบรม ควรจะตอ้ งคานงึ ถงึ องค์ประกอบดังน้ี ๑. รูปแบบ หรือ ประเภทของโครงการฝึกอบรม ว่าเป็นการฝึกอบรม การสัมมนา หรือการประชมุ เชิงปฏิบัตกิ าร ซึง่ จะใชเ้ ทคนคิ หรอื วธิ ีการต่างกนั ๒. วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม และกิจกรรมที่จะใช้ในการดาเนนิ การฝึกอบรม ๓. จานวนผู้เข้าอบรม ๔. ความสอดคล้องและสนับสนุนการเรียนรู้ชองผู้เข้าอบรม ตามหลักการเรียนรู้ ของผใู้ หญ่ ๕. ความตอ้ งการของวิทยากร การฝึกอบรมที่มีลักษณะเป็นการบรรยายและอภิปราย ประกอบด้วยการซักถาม เปน็ สว่ นใหญ่ การจัดที่น่ังฝึกอบรม ควรจัดเป็นรูปตัวยู หรือรูปเกือกม้า หรือถ้าหากผู้เข้าอบรมมีจานวนมาก อาจจัดเป็น รูปตัวยูซ้อนกันหลายๆ วง จะมีความเหมาะสมมากกว่าแบบห้องเรียน เพราะจะช่วยให้ผู้เข้าอบรมมองเห็นกันได้ แทบทั้งหมด เอ้ือต่อการสอื่ สารสองทาง ทง้ั ระหวา่ งผเู้ ข้าอบรมกบั วิทยากร และระหวา่ งผู้เข้าอบรมดว้ ยกันเอง การฝึกอบรมท่ีมีลักษณะเป็นการแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ ซึ่งวิทยากรต้องคอย ตรวจสอบ ความคบื หนา้ และให้คาแนะนาระหว่างการปฏิบัติในเวลาเดียวกัน การใช้สถานที่ฝึกอบรมอาจจาเป็นต้องใช้ห้องใหญ่ มที ้ังทีน่ ่ังฟงั บรรยาย และจดั แยก โตะ๊ เป็นกลมุ่ ๆ สาหรบั ฝึกปฏิบัตไิ ดใ้ นหอ้ งเดียวกนั ๕) การวางแผนพธิ เี ปดิ -ปิดการฝกึ อบรม พิธีเปิด-ปิดการฝึกอบรมนับเป็นส่วนสาคัญต่อการฝึกอบรม เพราะเป็นส่วนท่ีสามารถ สร้างความรู้สึกต่อการฝึกอบรมน้ัน ๆ ได้เป็นอย่างมาก อย่างน้อยท่ีสุดพิธีเปิด-ปิดการฝึกอบรม ทาให้ผู้เข้าอบรม ตระหนักถึงความสาคัญของโครงการฝึกอบรม อาจจัดเป็นแบบทางการ หรือไม่เป็นทางการก็ได้ตามความเหมาะสม ในการวางแผนพิธีเปิด-ปิดการฝึกอบรม ๕.1) การเชิญประธานในพิธี ทาหนังสือเชิญ โดยแนบรายละเอียดโครงการฝึกอบรม กาหนดการฝกึ อบรม และร่างคากลา่ วเปิดการอบรม ๕.2) การเชิญผู้กล่าวรายงานในพิธีเปิด-ปิดการฝึกอบรม ผู้กล่าวรายงาน ควรเป็น ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาหรอื เจา้ หนา้ ทผ่ี ู้รับผิดชอบโครงการโดยตรง ๕.3) การเชิญผู้มีเกียรติมาร่วมในพิธีเปิด-ปิดการฝึกอบรม ควรส่งหนังสือเชิญผู้มีส่วน เก่ียวขอ้ งกับโครงการฝึกอบรม เช่น ผูบ้ รหิ าร วทิ ยากร และภาคีเครือขา่ ย ๕.4) การประชาสัมพันธ์พิธีเปิด-ปิดการฝึกอบรม ควรมีการประชาสัมพันธ์โครงการ ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษา ด้วยช่องทางและวิธีการที่หลากหลาย เช่น สถานีวิทยุ โทรทัศน์ หอกระจายข่าว แผน่ ปลวิ เป็นตน้ ๕.5) การจดั สถานที่พิธีเปิด-ปิดการฝึกอบรม ในสถานท่ีซึ่งจะใช้ดาเนินพิธีเปิด-ปิด การฝึกอบรมอย่างเป็นทางการ ควรจะมีส่ิงต่อไปน้ีเพื่อใช้ในพิธี โต๊ะหมู่บูชา พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หัว ธงไตรรงค์ ท่ีน่ังสาหรับประธาน ผู้กลา่ วรายงาน แขกผูม้ เี กียรติ และผเู้ ขา้ อบรม แทน่ พดู เปน็ ต้น ๕.6) การจัดเตรียมร่างคากล่าวรายงาน และคากล่าวของประธาน ในพิธีเปิด-ปิด การฝึกอบรม ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการฝึกอบรมจะต้องเป็นผู้ดาเนินการจัดทาร่างคากลา่ วรายงาน และร่างคากล่าวในพิธี เปิด- ปดิ ในการฝึกอบรม และจดั ส่งให้แกเ่ ลขานุการของประธาน และผู้กล่าวรายงานก่อนลว่ งหน้า คมู่ ือการจดั กิจกรรมฝึกอบรมประชาชน หน้า 10

๖) การจดั ทากาหนดการฝึกอบรม เม่ือได้วางแผนการดาเนินการฝึกอบรม และเตรียมการในเร่ืองวิทยากร สถานท่ี การ เปิด-ปดิ ฝกึ อบรม ผรู้ บั ผิดชอบโครงการฝึกอบรมต้องเขียนกาหนดการฝกึ อบรม เนอ่ื งจากเป็นส่ิงที่มีความสาคัญและมี ประโยชน์ในการบริหารโครงการฝึกอบรม เพราะเป็นเอกสารซ่ึงแสดงข้อมูลเกี่ยวกับ วัน เวลา สถานที่ รายการและ ขั้นตอนของกิจกรรม ตลอดจนบุคคลท่ีเกี่ยวข้องและบทบาทของเขาเหล่านั้นในการฝึกอบรม และ เป็นเสมือนสื่อ ที่ผู้จัดโครงการฝึกอบรมใช้ในการนัดหมายผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ซึ่งอาจมีวิธีการเขียน กาหนดการฝึกอบรม 3 รปู แบบ คอื ๖.1) กาหนดการแบบเขยี นบรรยายเป็นรายบรรทัด ๖.2) กาหนดการแบบเปน็ ตารางข้อมลู ของกจิ กรรม ๖.3) กาหนดการแบบเป็นตารางข้อมลู ชนดิ เบ็ดเสร็จ ๗) การติดต่อผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรม อาจทาได้ ๓ วธิ ี ๗.๑) การเชิญ ทาหนังสือเชิญไปยงั บุคคล ผู้นาชมุ ชน หรอื หนว่ ยงานต่าง ๆ เพือ่ พจิ ารณา บุคลากรหรือประชาชนเข้าร่วมโครงการ ๗.๒) การเชิญชวน ใช้การประชาสัมพนั ธ์ให้ผูส้ นใจเข้าร่วมโครงการ ๗.๓) การสมัคร กรณโี ครงการท่มี ีการระบคุ ุณสมบตั ิเฉพาะของผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม ๘) การดาเนินการเกี่ยวกบั การเงนิ เมือ่ ได้รับอนุมัติโครงการฝึกอบรมแล้ว เจ้าหน้าทผ่ี ู้รบั ผดิ ชอบโครงการฝึกอบรมจะต้อง ดาเนินการเกี่ยวกับการเงินของโครงการ ซ่ึงข้ันตอนและวิธีการอาจแตกต่างกันไปในแต่ละสถานศึกษา แต่โดยทั่วไปแล้ว เจ้าหน้าท่ีต้องนาสาเนาการอนุมัติโครงการ ไปใช้เป็นหลักฐานทาสัญญายืมเงิน เพื่อขอยืมเงินทดรองจ่ายในการ ฝึกอบรมล่วงหน้า ๙) การจัดเตรียมวัสดุอปุ กรณ์ และเอกสารประกอบการฝึกอบรม ผู้รับผิดชอบโครงการจะต้องจัดเตรยี มวัสดุอปุ กรณ์ และเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง ให้มีจานวน เพยี งพอกบั ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรม เอกสารสาหรับผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรม ควรจะประกอบด้วย ๙.1) รายละเอียดโครงการฝกึ อบรม รวมทง้ั หลกั สตู ร ๙.2) กาหนดการฝกึ อบรม ๙.3) เอกสารเกยี่ วกับเนื้อหาสาระตามหัวเร่อื งการฝึกอบรม ๙.4) รายช่อื ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม ๑๐) การจดั เตรยี มการบริการอาหารวา่ ง/เครื่องด่มื และอาหารระหวา่ งการฝกึ อบรม ผู้จัดโครงการฝึกอบรมก็จะต้องเตรียมประมาณการจานวนผู้เข้าร่วมโครงการ เพ่ือจัดเตรียมสั่งซ้ืออาหารว่าง/เคร่ืองด่ืม และอาหารระหว่างฝึกอบรมได้อย่างเหมาะสม เพียงพอ และคานึงถึงผู้ท่ีมี ข้อจากัดในทางศาสนา หรือผู้ท่ีมีปัญหาเก่ียวกับการแพ้อาหารบางชนิด ทั้งน้ีให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์การเบิก ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ของสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน. ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ดว่ นทสี่ ดุ ที่ กค ๐๔๐๖.๔/๐๖๖๐๖ ลงวนั ท่ี ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ และหนงั สือสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดว่ นทสี่ ุด ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๑๑๗/๓๑๙๓ ลงวันท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙ คู่มือการจดั กิจกรรมฝึกอบรมประชาชน หน้า 11

(๒) การดาเนินงานระหวา่ งการฝกึ อบรม นับตงั้ แต่วันเปิดการฝกึ อบรมจนถงึ วันส้ินสดุ การฝึกอบรม ผู้รับผิดชอบโครงการฝึกอบรมจะต้อง ดาเนินการตามแผนที่วางไว้ให้ครบถ้วน หากเกิดข้อขัดข้องหรือมีปัญหาระหว่างฝึกอบรมต้องแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือรายงานให้ผู้มีอานาจทราบ เพอ่ื ใหก้ ารดาเนนิ โครงการบรรลุวัตถุประสงค์ โครงการฝึกอบรมจะต้องมีการประเมินผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และประเมินความ พึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ท้ังนี้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้รับวุฒิบัตรเม่ือผ่านเกณฑ์การประเมินท่ีกาหนดไว้ ในหลักสตู ร (๓) การดาเนนิ งานหลังการฝกึ อบรม หลังจากการฝึกอบรมสิ้นสุดลง เจ้าหน้าท่ีผู้ดาเนินโครงการฝึกอบรม มีงานที่จะต้องปฏิบัติ ต่อเนอ่ื ง ได้แก่ ๓.๑) การประเมินและติดตามผลการฝึกอบรม จะต้องมีการนาข้อมูลเก่ียวกับการประเมินผล การฝึกอบรมที่เก็บรวบรวมไว้ มาวิเคราะห์สรุป เพื่อจัดทารายงานเสนอต่อฝ่ายบริหาร และแจ้งผู้เก่ียวข้อง เพ่ือประโยชน์ ในการปรับปรุงแก้ไขโครงการฝึกอบรม ทั้งในแง่ของหลักสูตร วิทยากร เอกสาร และการบริหารโครงการฝึกอบรม และเมอ่ื ถงึ ระยะเวลาทเ่ี หมาะสมอาจต้องดาเนนิ การติดตามผลการฝกึ อบรมต่อไป ๓.๒) การดาเนินการเกี่ยวกับการเงิน จะต้องมีการนาเอกสารค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ตามรายการที่ได้ขอ อนุมัติไว้ในโครงการฝึกอบรม โดยการส่งใบสาคัญการจ่ายเงินและเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง เพ่ือชดใช้เงินยืม ที่ได้ทาสัญญายืมเงินและได้รับเงินมาใช้จ่ายก่อนแล้ว ไปยังหน่วยงานหรือผู้ที่รับผิดชอบในการเบิกจ่ายเงิน ประกอบด้วย บันทึกสรปุ รายการและยอดเงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยท่ีขอเบิก โครงการฝกึ อบรมทไี่ ด้รบั อนมุ ัตแิ ล้ว หลักสูตร กาหนดการ ฝึกอบรม ใบเสร็จรับเงินหรือใบสาคัญรับเงินท่ีเป็นค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม บัญชีลงเวลาผู้เข้ารับการฝึกอบรม วทิ ยากร คณะทางาน และเจ้าหนา้ ทผี่ เู้ กี่ยวขอ้ ง คมู่ อื การจัดกิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน หน้า 12

แบบเขยี นโครงการฝกึ อบรม 1.ช่ือโครงการ………….(ระบุชื่อโครงการที่สั้น กะทัดรัด และส่ือความหมายสาระโดยรวมของโครงการ) ……………..….........................................… 2.ความสอดคล้องกับนโยบาย………….(ระบุนโยบายและมาตรฐานที่สอดคล้อง) นโยบาย/มาตรฐานท่ี ……………………....................................… 3.หลกั การและเหตุผล………….(ระบุภมู ิหลัง/ทมี่ า/ความสาคัญ/หลักการ/หรือเหตุผลของโครงการ)…………......…………...…...........................…..…. 4.วัตถุประสงค…์ ………..(ระบเุ จตจานงในการดาเนินงานโครงการ ท่ีสามารถวดั และประเมนิ ผลได้) ………...........…..........................................……… 5.เป้าหมาย……..(ระบผุ ลผลติ (Output) ในภาพรวมของทั้งโครงการทีเ่ ปน็ รูปธรรม ในเชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพ…….........................…………… 6.วิธกี ารดาเนนิ การ………..(ระบุกิจกรรมหลักที่ตอ้ งดาเนนิ การเพ่อื ใหบ้ รรลุเปา้ หมายดังกลา่ ว)………………............................................................… กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย เป้าหมาย พ้ืนที่ดาเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ (ระบุรายละเอยี ด) (ระบรุ ายละเอยี ด) (ระบรุ ายละเอียด) (ระบรุ ายละเอยี ด) (ระบุรายละเอยี ด) (ระบรุ ายละเอียด) (ระบุรายละเอียด) (กิจกรรมหลักใดมกี ารโอนงบประมาณใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาในส่วนภมู ภิ าค ให้ระบชุ อ่ื หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาให้ชดั เจนด้วย) 7. วงเงินงบประมาณทง้ั โครงการ……… (ระบุประมาณการงบประมาณจากทุกิจกรรมของโครงการ) ………………..........…..................…………… ตัวอยา่ งการคานวณงบประมาณการจัดประชมุ 7.1 ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม จานวนคน x ราคาอาหารว่างและเคร่ืองดืม่ x จานวนมื้อ 7.2 คา่ อาหารกลางวัน จานวนคน x ราคาอาหารกลางวัน x จานวนมือ้ 7.3 คา่ ทีพ่ ัก จานวนคน x ราคาท่ีพกั x จานวนคนื 7.4 คา่ พาหนะ ............................................................................................ 7.5 ค่าเบ้ยี เล้ียง ............................................................................................ 7.6 ค่าวสั ดุประกอบการประชมุ ............................................................................................ 7.7 คา่ จดั พิมพเ์ อกสาร ............................................................................................ 7.8 ค่าน้ามันเชื้อเพลิง ............................................................................................ และคา่ ผ่านทาง ฯลฯ 8.แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ…. (ระบแุ ผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณตามกจิ กรรมโดยจาแนกเป็นรายไตรมาส) …………………....……………............ กิจกรรมหลกั ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท4ี่ (ต.ค. - ธ.ค. พ.ศ. ....) (ต.ค. - ธ.ค. พ.ศ. ....) (ต.ค. - ธ.ค. พ.ศ. ....) (ต.ค. - ธ.ค. พ.ศ. ....) (ระบรุ ายละเอยี ด) (ระบรุ ายละเอยี ด) (ระบุรายละเอยี ด) (ระบุรายละเอยี ด) (ระบรุ ายละเอยี ด) 9. ผูร้ ับผิดชอบโครงการ…….(ระบุช่อื หน่วยงานทรี่ ักผิดชอบการดาเนนิ งานโครงการ)………………………… 10. เครือขา่ ย………………………....(ระบุช่ือหนว่ ยงานทร่ี ว่ มดาเนินงานโครงการ)………………………………………. 11. โครงการทเ่ี กย่ี วข้อง………..(ระบุชอื่ โครงการท่เี กีย่ วขอ้ ง (ถา้ มี))…………………………………………………… 12. ผลลัพธ์ (Out come) ………(ระบผุ ลท่ีคาดวา่ จะได้รับจากโครงการหรือผลประโยชนจ์ ากผลผลิต (Output) ............................................................... ....................................................ที่มีตอ่ บคุ คล ชุมชน ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกจิ และสังคมโดยรวม)…………….......……………………………………………………… 13. ดชั นีตวั ช้ีวดั ผลสาเร็จของโครงการ 13.1 ตัวช้วี ดั ผลผลติ (Output) ระบตุ ัวช้ีวัดท่แี สดงผลงานเปน็ รูปธรรมในเชิงปรมิ าณและหรอื คุณภาพอนั เกิดจากงานตามวตั ถุประสงค์ของโครงการ 13.2 ตัวช้ีวัดผลลัพธ์ (Outcome) ระบุตวั ชว้ี ดั ท่ีแสดงถงึ ผลประโยชน์จากผลผลติ ท่มี ตี อ่ บคุ คล ชุมชน สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกจิ และสังคมโดยรวม 14. การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ……………..(ระบวุ ธิ ีการตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ)……………………………………………………. คมู่ อื การจดั กจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน หน้า 13

๕. การนเิ ทศ ติดตามและรายงานผล การนเิ ทศ ติดตามและรายงานผล เป็นกิจกรรมท่ีสาคัญในการส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ แนะนา พัฒนา ปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ตลอดจนการแก้ไขปัญหาการดาเนินกิจกรรม การศึกษาของสถานศึกษาให้ดีข้ึน เป็นการเพิ่มพลังการปฏิบัติงานให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน เพ่ือให้งานต่าง ๆ สามารถ ดาเนินการได้สาเร็จลุล่วงตามเป้าหมายอย่างมีคุณภาพ และส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ดังนั้น ผู้บริหารจึงควรจัด ให้มีการนิเทศ ตดิ ตาม และรายงานผลอย่างเป็นระบบ และตอ่ เน่อื ง การนิเทศ ติดตามผล การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน เป็นกระบวนการทางานร่วมกันของ บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องทุกระดับ ตั้งแต่ ผู้กาหนดนโยบาย ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน ผู้สอน ภาคีเครือข่าย และชุมชน นบั เปน็ เครื่องมือสาคัญของผู้บริหารท่ีจะสร้างความม่ันใจได้ว่า การปฏิบัติขององค์กรไปในทิศทางที่ถูกต้อง สามารถ สร้างผลงานที่สอดคล้องตามจุดมุ่งหมายท่ีวางไว้หรือไม่ ซ่ึงจะสามารถปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ให้สอดรับกับสถานการณ์ ทีเ่ ปลยี่ นแปลงไป ผู้ทาหน้าทน่ี เิ ทศตดิ ตามผล ประกอบด้วย ๑. ผู้บริหาร ๒. ศึกษานเิ ทศก์ ๓. ผู้ทาหน้าทน่ี ิเทศที่ได้รบั มอบหมาย กระบวนการนเิ ทศติดตามผลการจดั กจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน กระบวนการนิเทศ ติดตามผลการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ดาเนินการเป็นระบบการบริหารงานตามวงจร PDCA หรือวงจร เดมม่ิง ของ Edward Deming ประกอบด้วย ข้ันตอนการวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Do) การตรวจสอบหรือการประเมิน (Check) และนาผลการประเมนิ ย้อนกลบั ไปปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Act) ดงั แผนภูมิตอ่ ไปน้ี แผนภมู แิ สดงกระบวนการนิเทศติดตามการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ๑. สร้างความเขา้ ใจ ความไว้วางใจ และความตระหนกั ร่วมกัน ๒. กาหนด/พฒั นามาตรฐานคณุ ภาพการศึกษาในการจัดกจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน ๓. วางแผนการนเิ ทศ ๔. สร้างเครื่องมอื ๕. จดั ทาปฏิทนิ นเิ ทศตดิ ตาม คมู่ ือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน หนา้ 14

ขนั้ ตอนการวางแผนนิเทศตดิ ตามผล (P) เปน็ การเตรียมการและวางแผน ดังน้ี 1. สร้างความเข้าใจ ความไว้วางใจ และความตระหนกั ร่วมกนั เปน็ ขน้ั ตอนการดาเนนิ งานอยา่ งกัลยาณมิตร เพ่ือสร้าง ความเข้าใจ หลักการ และสร้างศรัทธาและความสัมพันธ์ โดยอาจดาเนินการในลักษณะประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง ท้งั หมด เปดิ โอกาสให้มกี ารอภิปรายซักถาม แสดงความคิดเหน็ อยา่ งเสรี โดยวิธกี ารจงู ใจมากกวา่ การบงั คบั 2. กาหนด/พัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษาในการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน รว่ มกนั เพ่ือกาหนด เปน็ จดุ มุ่งหมายการดาเนินงาน และการพฒั นาสมู่ าตรฐานการจัดการศึกษา 3. การวางแผนการนิเทศติดตาม ผู้นิเทศติดตาม และผู้ปฏิบัติงานควรร่วมกันวางแผนและกาหนดข้ันตอน การปฏิบตั ิการนเิ ทศตดิ ตาม ๔. สร้างเครื่องมือนิเทศติดตาม โดยจัดทาให้มีลักษณะท่ีใช้ได้สะดวก สามารถเก็บข้อมูลท่ีต้องการได้ เที่ยงตรงมากท่ีสุด และมีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นท่ีเช่ือถือได้ เพ่ือให้ผู้นิเทศติดตามใช้นิเทศครู กศน./สถานศึกษา ในการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน ๕. จัดปฏิทินปฏิบัติการนิเทศติดตาม เพ่ือให้การนิเทศติดตามเกิดประสิทธิภาพ ผู้นิเทศติดตามควรจัดทา ปฏิทินปฏิบัติการนิเทศติดตามให้สอดคล้องเหมาะสมกับการจัดกิจกรรมในพื้นที่ และปฏิบัติการนิเทศติดตาม ตามแผนท่ีกาหนดไว้ ในกรณีท่ีมีบุคลากรไม่เพียงพอ อาจให้เครือข่ายในพ้ืนท่ีช่วยนิเทศติดตาม และรวบรวมข้อมูล นิเทศติดตาม เพอื่ นามาปรึกษาหารือรว่ มกันในการประชุมประจาเดอื น ขน้ั ตอนการดาเนนิ การนเิ ทศติดตาม (D) การดาเนินการนิเทศติดตาม เป็นการปฏิบัติการนิเทศติดตาม ตามแผนที่กาหนดไว้ ที่ต้องเก่ียวข้องกับบุคลากร หลายฝ่าย เพ่ือช้ีแนะ ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ ให้การดาเนินงานประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์อย่างมีคุณภาพ และประสทิ ธิภาพ ดงั นั้น การนิเทศตดิ ตามควรยดึ หลกั ประชาธิปไตยในการทางาน ให้ความสาคัญและให้การยอมรับ ความคดิ เหน็ ซึ่งกนั และกัน โดยดาเนินการอย่างเป็นระบบและยึดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหา ซึ่งผู้นิเทศ ติดตามจะต้องเตรียมตัวเองให้พร้อมทั้งด้านความรู้ในเรื่องที่จะนิเทศ อุปกรณ์ หรือเครื่องมือการนิเทศติดตาม เพ่ือรวบรวมข้อมลู จากการนิเทศตดิ ตามนามาปรับปรงุ วางแผนการนเิ ทศตดิ ตามในครั้งตอ่ ไป เมอ่ื สนิ้ สดุ การปฏบิ ตั งิ านนิเทศตดิ ตามแต่ละครัง้ ผ้นู ิเทศติดตามตอ้ งปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. การบนั ทึกการนเิ ทศติดตาม ผู้นิเทศควรจดบันทึกผลการนิเทศติดตามทุกครั้ง เพ่ือเป็นหลักฐานหรือ สัญญาร่วมกันระหว่างผู้นิเทศติดตาม และผู้ปฏิบัติงานว่ามีส่ิงใดท่ียังต้องปรับปรุงพัฒนาให้ได้ตามข้อกาหนด ที่ต้องการ 2. การสรุปผลการนิเทศติดตาม เม่ือเสร็จส้ินการนิเทศติดตามแต่ละครั้ง ผู้นิเทศติดตามจาเป็นต้อง จัดทารายงานผลการนิเทศติดตาม ให้ผู้บริหารได้รับทราบ เพ่ือการวินิจฉัยส่ังการ และทารายงานเก็บเข้าแฟ้ม และ นาไปประกอบการรายงานผลการนิเทศติดตาม การรายงานผลการนิเทศติดตามอาจใช้การรายงานที่เป็นรูปแบบ เดียวกนั ทสี่ ถานศกึ ษากาหนด ซึง่ ประกอบด้วยประเด็นทส่ี าคญั อาทิ - วัตถปุ ระสงค์ - กิจกรรมการนเิ ทศตดิ ตาม - เนือ้ หาสาระของการนิเทศติดตาม เชน่ สภาพการดาเนินการ สภาพปัญหา อุปสรรคทีเ่ กดิ ข้ึน เป็นตน้ - ข้อคิดเห็น และขอ้ เสนอแนะ คู่มอื การจดั กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน หน้า 15

- การนาเสนอแนวทาง/ยทุ ธศาสตรท์ ีจ่ ะนาไปสู่การเปลยี่ นแปลงหรือการพัฒนา - ผลผลิตและผลลัพธ์ทีเ่ กดิ ข้ึนกอ่ นและหลงั การพฒั นา - การวินจิ ฉยั สั่งการของผบู้ รหิ าร เพอ่ื การแก้ปัญหาหรือพฒั นากจิ กรรม 3. การพฒั นากจิ กรรม ผู้นเิ ทศติดตามนาผลจากการนิเทศติดตามเข้าที่ประชุม ตามระยะเวลาท่ีกาหนด เพอ่ื พจิ ารณาแนวทางรว่ มกันในการแกไ้ ขปญั หาทีเ่ กดิ ข้นึ จากการนเิ ทศติดตาม ตลอดจนพิจารณาทางเลือกในการแก้ปัญหา อ่ืน ๆ และนาไปวางแผนในการนิเทศตดิ ตามในคร้ังต่อไป ขน้ั ตอนการประเมินผลการนิเทศตดิ ตาม (C) การประเมินผลการนิเทศติดตาม เป็นข้ันตอนที่มีความสาคัญยิ่งในการควบคุมและพัฒนาคุณภาพ การจัด การศึกษา ควรสร้างข้อตกลงร่วมกันในการกาหนดเกณฑ์การประเมินผล ซึ่งการประเมินผล ควรจะประเมินระหว่าง การดาเนนิ งานเปน็ ระยะ ๆ เพื่อใหก้ ารพัฒนางานไดบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ และควรประเมนิ ผลเม่ือส้ินสุดโครงการ เพื่อดู ผลผลิตและผลลัพธ์ท่ีเกิดข้ึน ว่าสนองตามข้อกาหนดเป้าหมาย และตัวช้ีวัดหรือไม่ นับได้ว่าเป็นการนิเทศเชิงวิจัย ซึ่งจะทาใหผ้ นู้ เิ ทศและผู้ปฏบิ ัตงิ านมีข้อมูลเพื่อการพฒั นางานอย่างต่อเนือ่ ง ทาใหเ้ กดิ การดาเนินงานท่ีมีประสิทธิภาพ ยงิ่ ขน้ึ วิธีการประเมินผล สามารถดาเนนิ การไดด้ งั นี้ 1. การประเมินผล โดยใช้เครื่องมือ ผู้ดาเนินการจะรวบรวมข้อมูล โดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ กับบุคคล ที่เกี่ยวข้อง การดาเนินการประเมินผลในลักษณะน้ี ความสาคัญอยู่ท่ีการสร้างเคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพได้มาตรฐาน สามารถรวบรวมข้อมูลให้ตรงกับความเป็นจริงมากที่สุด และเลือกใช้สถิติข้อมูลที่เหมาะสม การนาเสนอผล การประเมิน อาจนาเสนอด้วย แผนภูมิ กราฟ หรือเป็นการบรรยาย หรือประกอบด้วยทั้งสามส่วนรวมกัน เพื่อจะช่วยให้ ผู้อ่านเข้าใจไดง้ ่ายย่งิ ขึ้น ๒. การประเมินผลด้วยการประชุม เป็นการประเมินผลท่ีอาศัยบุคลากรจานวนมาก เพ่ือพิจารณา ข้อมูลร่วมกัน อาจดาเนินการในลักษณะของการประชุมปรึกษาหารือ หรือสัมมนาเกี่ยวกับสภาพการปฏิบัติงาน ซึง่ ผู้เขา้ รว่ มประชุมตอ้ งมีความสามารถควบคุมการประชุมให้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ ด้วยบรรยากาศแห่งความ เป็นมิตรและไว้วางใจกันและกัน ซ่ึงอาจนาวิธีการประเมินเช่นนี้ในวาระการประชุม เป็นการประเมินผลระหว่าง การดาเนินการ กอ่ นมีการประเมนิ ผลเมอ่ื ส้ินสดุ โครงการกไ็ ด้ การรายงานผลการนเิ ทศติดตามการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน การรายงานผลการนเิ ทศติดตามหลังจากประเมินผลการนเิ ทศติดตามหรือเมื่อส้ินสุดโครงการ ผู้นิเทศ ติดตามควรจัดทารายงานผลการนิเทศติดตาม เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องได้เห็นความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรค พร้อมท้ัง ความรว่ มมือสนบั สนนุ ในเรือ่ งต่าง ๆ ดังนี้ ๑. กศน.อาเภอ/เขต รายงานผลการนิเทศ ตดิ ตาม ตอ่ สานกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. ๒. สานกั งาน กศน.จังหวดั /กทม. รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม ต่อสานักงาน กศน. ๓. ศว./ ศฝช. รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม ต่อสานักงาน กศน. ขั้นตอนการปรับปรุงและพัฒนา (A) เป็นข้ันตอนของการนาผลการประเมินย้อนกลับมาวิเคราะห์สาเหตุ เพ่ือหา แนวทางปรบั ปรงุ แก้ไข และพฒั นากระบวนการนเิ ทศและการจัดกิจกรรม กศน. ใหม้ ีประสิทธภิ าพย่ิงข้ึน คูม่ อื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน หนา้ 16

ตอนที่ 3 การบรหิ ารงบประมาณในการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน สานักงาน กศน. ได้กาหนดขอบข่ายของกิจกรรมท่ีสามารถเบิกค่าใช้จ่ายในลักษณะการฝึกอบรมประชาชน ประกอบดว้ ย กจิ กรรมการพัฒนาทักษะชีวติ กจิ กรรมเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน กิจกรรมส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมให้แก่ประชาชน ซ่ึงการเบิกค่าใช้จ่ายสาหรับ กิจกรรมดังกล่าว สถานศึกษาจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ของสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน. ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๖.๔/๐๖๖๐๖ ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ หลักเกณฑ์ดังกล่าว สานักงาน กศน. แจ้งให้สถานศึกษาทราบ ตามหนังสือสานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธกิ าร ด่วนทส่ี ุด ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๑๑๗/๓๑๙๓ ลงวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙ โดยมีแผนภูมิการบริหารงบประมาณ ดงั นี้ การบริหารงบประมาณ การวางแผนงบประมาณ ไดร้ ับงบประมาณ การใชจ้ า่ ยงบประมาณ วางแผนการใช้งบประมาณ การเบิกจ่ายงบประมาณ กาหนดโครงการในแผน จัดทาโครงการ ระบคุ า่ ใช้จา่ ยตามหลกั เกณฑ์ จัดหาวัสดุอปุ กรณ์ รวบรวม จัดทาเอกสารเบกิ จ่ายเงนิ ขออนมุ ตั ิเบิก คู่มือการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน หนา้ 17

๑. การวางแผนงบประมาณ เมื่อสถานศึกษาได้รับแจ้งการจัดสรรงบประมาณจากสานักงาน กศน.จังหวัด/กทม. หรือสานักงาน กศน. แล้วแต่กรณี ให้สถานศึกษาวางแผนการใช้งบประมาณและกาหนดโครงการฝึกอบรมประชาชนไว้ในแผนปฏิบัติการ ประจาปี เสนอขอความเห็นชอบต่อ สานักงาน กศน.จังหวัด/กทม./สถานศึกษาข้ึนตรง (คาสั่ งสานักงาน ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่ ๒๗๐/๒๕๕๑) กรณที ม่ี กี ารเปล่ียนแปลงไปจากทไี่ ดร้ ับความเห็นชอบไว้เดิม ให้ขออนุมัติ และขอความเห็นชอบต่อผมู้ ีอานาจเปน็ กรณีไป ๒. การใช้จา่ ยงบประมาณ สถานศึกษาจัดทาหลักสูตร และโครงการเพื่อขออนุมัติจากผู้มีอานาจ โดยระบุค่าใช้จ่ายพร้อมทั้งจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่เก่ียวข้อง ตามหลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน ของสถานศึกษา สังกัด สานกั งาน กศน. ตามหนงั สอื กรมบญั ชีกลาง ดว่ นทส่ี ุด ท่ี กค ๐๔๐๖.๔/๐๖๖๐๖ ลงวันที่ ๑๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๙ ดังน้ี ๒.๑ ค่าตอบแทนวทิ ยากร ในอัตราไมเ่ กินช่ัวโมงละ ๒๐๐ บาท ๒.๒ ค่าอาหาร ไม่เกนิ มอ้ื ละ ๗๐ บาท/คน ๒.๓ คา่ อาหารว่างและเครื่องดื่ม ไมเ่ กนิ มอ้ื ละ ๒๕ บาท/คน ๒.๔ ค่าวัสดใุ นการจัดฝึกอบรม เท่าที่จาเปน็ เหมาะสมและประหยดั ๒.๕ คา่ จ้างเหมายานพาหนะในการศกึ ษาดงู าน ตามทีผ่ ใู้ ห้บริการเรยี กเก็บโดยประหยดั ๒.๖ คา่ เช่าสถานทีอ่ บรมตามความจาเปน็ เหมาะสม และประหยัด ตามที่ผู้ให้บริการเรียกเก็บ ทั้งน้ีให้ พจิ ารณาสถานท่ที ่ีไม่มกี ารเรยี กเกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ยเปน็ อันดบั แรก ๒.๗ ค่าเช่าอุปกรณต์ า่ งๆ ตามความจาเปน็ เหมาะสม และประหยัด ๒.๘ ค่าของสมนาคณุ ในการศกึ ษาดูงานให้เบกิ เท่าท่ีจา่ ยจรงิ แห่งละไม่เกนิ ๑,๕๐๐ บาท ท้ังน้ี ค่าใช้จ่ายตามข้อ ๒.๑ – ๒.๘ ให้เบิกจ่ายได้เท่าท่ีจ่ายจริงตามความจาเป็น เหมาะสม และประหยัด ภายในวงเงนิ งบประมาณท่ีได้รับจดั สรร ๓. การเบิกจ่ายงบประมาณ เม่ือสถานศึกษาดาเนินการจัดโครงการฝึกอบรมเสร็จสิ้นแล้ว ผู้รับผิดชอบโครงการหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ตอ้ งดาเนนิ การดงั นี้ ๓.๑ รวบรวม จดั ทาเอกสาร/หลกั ฐานการเบกิ จา่ ยเงิน ๓.๑.๑ ค่าตอบแทนวิทยากร ในอตั ราไมเ่ กนิ ช่ัวโมงละ ๒๐๐ บาท หลักฐานการจา่ ยใช้ใบสาคญั รบั เงิน ตามแบบฟอร์มในภาคผนวก ๓.๑.๒ คา่ อาหาร หรือค่าอาหารว่างและเคร่ืองดื่ม หลกั ฐานการเบิกจ่ายประกอบดว้ ย ใบเสร็จรบั เงิน หรือใบสาคญั รบั เงิน ระบุรายละเอียด เชน่ จา่ ยเป็นค่าอาหาร หรือคา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองดืม่ ระหว่างวนั ที่ จานวน กม่ี ้ือ ๆ ละเท่าไร จานวนกค่ี น (ผูจ้ ัดเปน็ ผรู้ บั รอง) ๓.๑.๓ ค่าวัสดุในการจัดฝึกอบรม เท่าที่จาเป็น เหมาะสม และประหยัด ดาเนินการตามระเบียบ พสั ดุ การจดั ซ้อื ต้องเกิดขึ้นก่อนหรือระหว่างการอบรม คูม่ ือการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน หนา้ 18

๓.๑.๔ ค่าจา้ งเหมายานพาหนะในการศึกษาดูงาน ตามทผ่ี ้ใู ห้บริการเรียกเก็บโดยประหยัด ดาเนินการ ตามระเบียบพสั ดุ ๓.๑.๕ ค่าเช่าสถานทอ่ี บรมตามความจาเป็น เหมาะสม และประหยัด ตามท่ีผู้ให้บริการเรียกเก็บ ทง้ั นใี้ ห้พิจารณาสถานที่ที่ไม่มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเป็นอันดับแรก หากเป็นสถานท่ีราชการ หลักฐานการรับเงิน ตอ้ งใชใ้ บเสรจ็ ของสว่ นราชการ ๓.๑.๖ คา่ เชา่ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ตามความจาเป็น เหมาะสม และประหยดั ดาเนนิ การตามระเบียบพัสดุ ๓.๑.๗ การเบิกค่าของสมนาคุณในการศึกษาดูงานให้ดาเนินการ ตามระเบียบฝึกอบรม พร้อมแนบ หลักฐาน ๓.๑.๘ เอกสารประกอบการเบิกจ่าย ได้แก่ บัญชีรายช่ือ การลงลายมือชื่อ/ลงเวลาผู้เข้ารับการอบรม โครงการ หลกั สูตร ตารางการอบรม หนังสือเชิญวทิ ยากร ๓.๒ ขออนุมตั เิ บิก ๓.๒.๑ จัดทาบนั ทกึ ขออนมุ ตั เิ บกิ ต่อผู้มีอานาจตามลาดับ ตามแบบฟอร์มในภาคผนวก ๓.๒.๒ จดั ทาหนงั สอื นาส่งเอกสาร/หลักฐานการเบิกเงินท่ีไดร้ บั อนุมัตแิ ลว้ ไปยงั สานักงาน กศน. จังหวดั /กทม. เพ่ือสง่ ใช้เงินยืมในระบบ GFMIS ต่อไป คู่มือการจดั กจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน หนา้ 19

ภาคผนวก ก ค่มู ือการจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน หนา้ 20

แบบฟอร์มประกอบการจัดทา การวางแผนระดบั จลุ ภาคในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน. ตาบล/แขวง ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 กศน. ตาบล/แขวง..................................... อาเภอ/เขต..........................................จงั หวดั ........................................ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพ้นื ฐานเพอื่ การวางแผน 1. สภาพทางกายภาพของชุมชน (ตาบล/แขวง) ขนาดพน้ื ท่ี ท่ีต้ังและอาณาเขตติดตอ่ ลกั ษณะทางกายภาพ โครงสรา้ งพ้นื ฐาน การคมนาคมตดิ ตอ่ สอ่ื สาร 2. สภาพทางสังคม – ประชากร จานวนครัวเรอื น จานวนประชากร จาแนกตามเพศ กลมุ่ อายุ ศาสนา ชาติพันธุ์ และระดับการศึกษา 3. สภาพทางเศรษฐกจิ โครงสร้างฐานอาชีพของชมุ ชน รายไดเ้ ฉล่ยี ของประชากร 4. แหล่งวทิ ยาการชมุ ชน และทุนดา้ นงบประมาณทส่ี ามารถนามาใช้ประโยชน์เพ่ือการจัดการศึกษา ประเภทบุคคล ประเภทสถานท่ีและองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกิจกรรมทางสังคม – วัฒนธรรม และต้นทนุ งบประมาณ (ระบุแหล่งทุนดา้ นงบประมาณของชุมชน) 5. ปัญหาและความตอ้ งการทางการศึกษาของประชาชนทจี่ าแนกตามลักษณะของกลุ่มเปา้ หมาย ด้านการรู้หนังสือ ด้านการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สายสามัญ และ ปวช.) ด้านอาชีพ ด้านการ พัฒนาทักษะชีวิต ด้านการพัฒนาสังคมและชุมชน ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษาตาม อัธยาศัย คมู่ อื การจัดกิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน หน้า 21

ส่วนท่ี 2 การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม กศน. ตาบล / แขวง (SWOT Analysis) 1. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 1.1 จุดแขง็ ของ กศน.ตาบล/แขวง (Strengths - S) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตาบล/แขวง คณะกรรมการ กศน.ตาบล/แขวง วิทยากร) ด้านงบประมาณ ด้านอาคารสถานที่ สื่อ วสั ดุอปุ กรณ์ และดา้ นโครงสร้างองค์กร/การบริหารจัดการ ค่านยิ มองคก์ ร 1.2 จดุ อ่อนของ กศน.ตาบล / แขวง (Weaknesses - W) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตาบล/แขวง คณะกรรมการ กศน. ตาบล/แขวง วิทยากร) ด้านงบประมาณ ดา้ นอาคารสถานท่ี ส่ือ วัสดอุ ปุ กรณ์ และดา้ นโครงสร้างองคก์ ร/การบริหารจดั การ คา่ นิยมองคก์ ร 2. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunities - O) ด้านนโยบาย กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร และดา้ นสิง่ แวดล้อม 2.2 อุปสรรค/ความเสยี่ ง (Threats - T) ด้านนโยบาย กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นท่ี ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลย/ี การคมนาคม ติดตอ่ สอ่ื สาร และดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ส่วนท่ี 3 แนวทาง/กลยุทธก์ ารดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.ตาบล/แขวง (ตามผลการวิเคราะหใ์ นส่วนท่ี 2) คู่มือการจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน หนา้ 22

ค่มู อื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน

หนา้ 23

ค่มู อื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน

หนา้ 24

ค่มู อื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน

หนา้ 25

ส่วนท่ี 5 แผนการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สาหรับกลุ่มเป กลมุ่ เปา้ หมาย การร้หู นงั สือ ความตอ้ งการการศึกษานอกระบบและการ (ตามการเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษา) การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ด้านอาชีพ ด สามญั ปวช. 1. กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส 1.1 กล่มุ ผูพ้ กิ าร 1.2 กลุ่มผปู้ ระกอบอาชีพแรงงาน นอกระบบ 1.3 กลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ (ชนกลุ่มน้อย) รวม 2. กลมุ่ ผพู้ ลาดโอกาส 2.1 กลมุ่ เด็ก/เยาวชนทอ่ี อก กลางคันจากระดบั การศึกษา ภาคบังคับ 2.2 กลุม่ ผู้จบการศึกษาภาค บังคบั แต่ไมไ่ ด้เรียนต่อ 2.3 กลุ่มทหารกองประจาการที่ ยงั ไมจ่ บการศกึ ษาภาคบงั คับ 2.4 กลมุ่ เด็ก/เยาวชนเรร่ ่อน/ไร้ บ้าน 2.5 กลุ่มเดก็ / เยาวชน/ลกู กรรมกรก่อสรา้ ง คู่มือการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน

ป้าหมายในตาบล รศึกษาตามอธั ยาศยั (จานวนเปา้ หมาย (คน) /รายกจิ กรรม) ตัวชวี้ ัด ความสาเรจ็ ดา้ นทักษะชีวิต ด้านการพัฒนา ดา้ นปรชั ญาของ การศึกษาตาม รวม สงั คมและชมุ ชน เศรษฐกิจพอเพยี ง อธั ยาศยั - รอ้ ยละของ จานวนกลุม่ เป้าหมายที่เขา้ รว่ มกจิ กรรมตาม เป้าหมายที่ กาหนดรายกล่มุ - รอ้ ยละของ จานวนกลุ่ม เป้าหมายทเ่ี ขา้ ร่วมกจิ กรรมตาม เปา้ หมายที่ กาหนดกล่มุ ใหญ่ ทุกกลมุ่ โดย ภาพรวม หนา้ 26

กลมุ่ เป้าหมาย การร้หู นงั สือ ความต้องการการศึกษานอกระบบและการ (ตามการเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษา) การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ดา้ นอาชีพ ด สามัญ ปวช. 2.6 กลมุ่ เด็ก/เยาวชนที่มีความ พรอ้ มแต่ไม่ต้องการรบั การศึกษาในระบบปกติ 2.7 กลุ่มผสู้ งู อายุ รวม 3. กลุม่ ผ้ขู าดโอกาส 3.1 กลมุ่ ประชาชนในพนื้ ทเ่ี สีย่ ง ภยั จากการก่อการรา้ ย/กอ่ ความไมส่ ลบในบรเิ วณ ชายแดน 3.2 กลมุ่ ประชาชนในพน้ื ทีช่ นบท ห่างไกล/ยากลาบากในการ คมนาคมตดิ ต่อสอ่ื สาร 3.3 กลุ่มคนไทยในต่างประเทศ 3.4 กลุ่มผตู้ อ้ งขัง 3.5 กลุ่มเด็ก/เยาวชนในสถาน พนิ จิ 3.6 กลมุ่ แรงงานต่างดา้ ว(แรงงาน ข้ามชาต)ิ 3.7 กลมุ่ คนไรส้ ญั ชาติ/ไรร้ ฐั รวม คู่มือการจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน

รศึกษาตามอัธยาศยั (จานวนเป้าหมาย (คน) /รายกจิ กรรม) ตวั ช้วี ัด ความสาเรจ็ ด้านทักษะชีวิต ดา้ นการพฒั นา ดา้ นปรชั ญาของ การศกึ ษาตาม รวม สงั คมและชมุ ชน เศรษฐกจิ พอเพยี ง อธั ยาศยั หน้า 27

กลุ่มเป้าหมาย การรู้หนังสอื ความตอ้ งการการศึกษานอกระบบและการ (ตามการเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษา) การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ดา้ นอาชพี ด สามญั ปวช. 4. กลุม่ ทไ่ี มม่ ีเงือ่ นไขข้อจากัดใน การเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษา/ การเรยี นรู้ 4.1 กล่มุ บุคคลผเู้ ปน็ ภมู ิปญั ญา ท้องถ่นิ /ภมู ิปญั ญาพื้นบ้าน หรอื ปราชญ์ชาวบ้าน 4.2 กลุ่มผูน้ าชมุ ชนทัง้ ที่เปน็ ทางการและไมเ่ ป็นทางการ 4.3 กลมุ่ นกั เรยี น/นกั ศึกษาใน ระบบโรงเรียนทส่ี นใจเตมิ เตม็ ความรู้ 4.4 กล่มุ ประชาชน รวม รวมทกุ กลมุ่ เป้าหมาย คมู่ ือการจัดกจิ กรรมฝึกอบรมประชาชน

รศึกษาตามอัธยาศยั (จานวนเป้าหมาย (คน) /รายกจิ กรรม) ตวั ช้วี ัด ความสาเรจ็ ด้านทักษะชีวิต ดา้ นการพฒั นา ดา้ นปรชั ญาของ การศกึ ษาตาม รวม สงั คมและชมุ ชน เศรษฐกจิ พอเพยี ง อธั ยาศยั หน้า 28

แบบสารวจความต้องการทางการศึกษา/กิจกรรมการเรียนรู้ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน ช่ือ...............................................................นามสกลุ ...................................................... เกดิ ปี พ.ศ .................. เพศ ��� 1.ชาย ��� 2.หญิง เลขทีบ่ ัตรประจาตวั ประชาชน - - -- ที่อยู่(ตามทะเบียนบ้าน) เลขท่ี..........หมทู่ ี.่ ..........ถนน.........................ชุมชน/หมบู่ ้าน......................................... ตาบล/แขวง.....................................อาเภอ/เขต....................................จังหวดั ........................................... ท่ีอยู่(ปัจจุบนั ) เลขที.่ .........หมทู่ ี.่ ..........ถนน.............................ชุมชน/หมู่บา้ น.................................................... ตาบล/แขวง......................................อาเภอ/เขต.....................................จังหวัด................................... ....... ประเภทกลุ่มเป้าหมาย (โปรดระบเุ ลข 1- 17) ....................................................... 1. ระดบั การศึกษาของท่าน ��� 1. ไมจ่ บประถมศึกษา ��� 2. จบประถมศกึ ษา ��� 3. จบมัธยมศกึ ษาตอนต้น ��� 4. จบมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ��� 5. จบอนุปรญิ ญา ��� 6. จบปรญิ ญาตรี ��� 7. จบปริญญาโท ��� 8. จบปริญญาเอก 2. สถานะการรู้หนงั สือของท่าน ��� 1. รู้หนงั สือ (อ่าน เขียนภาษาไทย และคดิ คานวณได)้ (หากตอบขอ้ น้ี ใหข้ ้ามไปตอบตัง้ แตข่ ้อ 4 เป็นตน้ ไป) ��� 2. ไม่รหู้ นงั สือ (อา่ น เขยี นภาษาไทย และคดิ คานวณไมไ่ ด้ หรือ อา่ นเขยี นภาษาไทย และคิดคานวณได้บา้ ง) (หากตอบขอ้ นี้ ให้ตอบตั้งแตข่ อ้ 3 เปน็ ต้นไป) 3. สาเหตุของการไม่รูห้ นังสือ (เฉพาะผูต้ อบขอ้ 2 ไม่รู้หนงั สอื ทง้ั น้ีสามารถตอบได้หลายข้อตามสภาพความเปน็ จรงิ ) ��� 1. ไมไ่ ดใ้ ช้ภาษาไทยในชีวิตประจาวนั ��� 2. ไม่เคยเข้าเรยี น ��� 3. เคยเรยี นแตไ่ ม่จบประถมศกึ ษา ��� 4. ลืมหนังสอื ��� 5. มคี วามบกพรอ่ งทางรา่ งกาย/สขุ ภาพ ��� 6. ไมเ่ ห็นความจาเปน็ ในการร้หู นังสือ 4. สถานะทางการศึกษาของท่านในปจั จบุ นั ��� 1. กาลังศึกษา ��� 2. ไมไ่ ด้ศกึ ษา 5. ปัจจบุ นั ทา่ นประกอบอาชีพ ��� 1. รบั ราชการ/ พนักงานรัฐวิสาหกจิ / หน่วยงานของรัฐ ��� 2. ข้าราชการบานาญ ��� 3. พนกั งานบริษทั เอกชน ��� 4. ประกอบธรุ กจิ สว่ นตวั /คา้ ขาย ��� 5. เกษตรกร ��� 6. รบั จา้ งทัว่ ไป/กรรมกร ��� 7. พระ/นักบวช/ผู้นาทางศาสนา ��� 8. นักเรียน/นกั ศกึ ษา ��� 9. ไมป่ ระกอบอาชพี ��� 10. อนื่ ๆ (โปรดระบุ) .............................. คมู่ อื การจดั กิจกรรมฝึกอบรมประชาชน หน้า 29

ตอนท่ี 2 ความต้องการทางการศึกษา/กิจกรรมการเรียนรู้ (1 ต.ค. 2556 – 30 ก.ย. 2557) 6. ท่านต้องการเขา้ รับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐานหรอื ไม่ ในระดับใด ��� 1. ต้องการ ��� 1.1 การศึกษาเพ่อื อา่ นออกเขยี นได้ ��� 1.2 การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานในระดบั ( ��� ประถมศกึ ษา ��� มธั ยมศึกษาตอนตน้ ��� มธั ยมศึกษาตอนปลาย ��� ปวช. ) ��� 2. ไมต่ อ้ งการ 7. ท่านต้องการให้ กศน.ตาบล จดั กจิ กรรมดา้ นอาชพี หลักสตู รใด (โปรดระบุหมายเลข 1- 61 ตามค่มู อื ) ................. 7.1 วัตถปุ ระสงคใ์ นการเรยี นอาชีพ เพ่ือ ��� 1. ต้องการเขา้ สู่อาชีพ ��� 2. ต้องการพัฒนาอาชพี เดิมใหด้ ขี น้ึ ��� 3. ตอ้ งการทาอาชีพเสรมิ ��� 4. ต้องการเปลยี่ นอาชพี ใหม่ 7.2 ท่านตอ้ งการเรียนอาชพี ด้วยวธิ ใี ด (เลือกได้มากกว่า 1 ขอ้ ) ��� 1. ศึกษาดูงาน ��� 2. เรยี นในสถานประกอบการ ��� 3. เรียนในแหลง่ เรยี นรู้หรือภูมิปัญญาในทอ้ งถิ่น ��� 4. เรียนทางไกล ��� 5. อนื่ ๆ (โปรดระบุ)................................................................. 7.3 วันและเวลาทท่ี ่านคิดว่าสะดวกต่อการเขา้ ร่วมเรยี นอาชีพ กับ กศน. ��� 1.วนั จันทร-์ ศกุ ร์ เวลา ( ) 09.00 – 12.00 น. ( ) 13.00- 16.30 น. ( ) 17.00 – 20.00 น. ��� 2.วันเสาร์และวนั อาทติ ย์ เวลา ( ) 09.00 – 12.00 น. ( ) 13.00- 16.30 น. ( ) 17.00 – 20.00 น. ��� 3.ทุกวนั ในรอบสปั ดาห์ เวลา ( ) 09.00 – 12.00 น. ( ) 13.00- 16.30 น. ( ) 17.00 – 20.00 น. ��� 4.อ่นื ๆ (โปรดระบุวันและเวลา) ........................................... 8. ทา่ นตอ้ งการเรียนรู้เน้อื หาท่ีเกี่ยวข้องกบั การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ในเรอ่ื งใด (เลือกไดม้ ากกวา่ 1 ข้อ) ��� 1. สุขภาพ อนามยั ��� 2. ประชาธปิ ไตยและความเปน็ พลเมือง ��� 3. กฎหมายในชีวติ ประจาวนั ��� 4. เพศศึกษา ��� 5. ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ ิน ��� 6. สิ่งแวดลอ้ ม/ภัยพบิ ัติ ��� 7. สาระบนั เทงิ ��� 8. เทคโนโลยสี ารสนเทศ/การสือ่ สาร ��� 9. แหลง่ ท่องเทยี่ ว ��� 10. ศาสนา ศลิ ปะ และวฒั นธรรม ��� 11. การฝมี ือ/การอาหาร ��� 12. เศรษฐกจิ ��� 13. ภาษาอังกฤษ ��� 14. ภาษาจนี ��� 15. ภาษาลาว ��� 16. ภาษาเวียดนาม ��� 17. ภาษากัมพูชา ��� 18. ภาษาตากาล็อก (ฟิลปิ ปนิ ส)์ ��� 19. ภาษาอนิ โดนเี ซีย ��� 20. ภาษามลายู ��� 21. ภาษาพมา่ ��� 22. อื่นๆ (โปรดระบุ) ............ ค่มู อื การจดั กิจกรรมฝึกอบรมประชาชน หน้า 30

แบบการขออนุมัติดาเนนิ การจัดโครงการฝกึ อบรมประชาชน ตัวอย่าง บันทึกขออนญุ าตจัดต้งั กลุ่ม บนั ทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ กศน.ตาบล/แขวง............................กศน.อาเภอ/เขต .......................... โทร. .................................. ท่ี ศธ ๐๒๑๐................... /............ วนั ท่ี............................................................................... เรอื่ ง ขออนุญาตจดั การศกึ ษาต่อเน่ือง โครงการฝึกอบรม....................................................................................... เรียน ผอู้ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ................................ ด้วย กศน.ตาบล.......................................มีความประสงค์ ขออนุญาตจดั โครงการ…………............................... ใหก้ บั ประชาชน ณ ...............................................บ้านเลขที.่ ..................... หมู่...........ตาบล........................อาเภอ.................... จังหวดั ...........................ในระหว่างวันท่ี..................เดือน.......................พ.ศ.............ถงึ วันท่.ี ..........เดือน...................พ.ศ.............. มผี เู้ รียนจานวน...........คน ชาย...........คน หญิง..........คน ดังรายชือ่ ท่แี นบ โดยมี............................................................................ เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรู้ ในสว่ นอปุ กรณ์การเรียนการสอนทม่ี ีอยูแ่ ลว้ คือ ๑ ..........................................................ได้จาก............................................................... ๒...........................................................ไดจ้ าก............................................................... โดยขอใชเ้ งนิ งบประมาณปี ....................... ประเภทงบ.........................รหสั ........................ ภายในวงเงนิ ..........................บาท (...................................................................................). รายละเอยี ดดงั แนบ จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา ๑. อนญุ าตจดั โครงการ……………………………………………………….......................... ในระหว่างวันที่ ........................................ถึงวนั ที่......................... โดยขอจา่ ยค่าตอบแทนเป็นเงิน ......................บาท (.......................................................). ๒. อนุมัตหิ ลักการจดั ซื้อจดั จา้ งพัสดุ สาหรบั โครงการฝึกอบรมภายในวงเงนิ ............... บาท (........................................................) (...................................................) หวั หนา้ กศน.ตาบล/แขวง.............................. หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม หน้า 31 คมู่ ือการจัดกิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน

ตวั อยา่ ง หนังสอื เชิญวิทยากร ท่ี ๐๒๑๐. / ………………… กศน.อาเภอ/เขต............................ ทอี่ ยู่ .............................................. วนั ท่.ี ............เดอื น.........................พ.ศ..................... เรอ่ื ง ............................................................................................... เรียน ............................................................................................... สิ่งที่ส่งมาดว้ ย ......................................................................................................................... ดว้ ย...................................................กาหนดจัดโครงการ...........................................................................ให้แก่ ..........................................................................จานวน................คน ตง้ั แตว่ นั ท.่ี .............เดือน.......................พ.ศ................. ถงึ วันท่.ี ..............เดอื น.............................พ.ศ...................... ณ ........................................................โดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อ ..................................................................................รายละเอยี ดตามส่งท่มี าด้วยพร้อมหนังสอื น้ี กศน.อาเภอ/เขต......................................พจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ .......................................เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและประสบการณท์ จ่ี ะใหค้ วามรแู้ กผ่ เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมไดเ้ ปน็ อย่างดี จึงขอเชิญ........................................ เปน็ วทิ ยากรบรรยาย เร่ือง...................................................ในวันท่ี............เดือน.................................พ.ศ......................... เวลา..............................น. ณ ..................................................................... จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณารับเชิญเป็นวิทยากร และขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี ขอแสดงความนับถือ ช่อื หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาเจ้าของเรื่อง ........................................................... หน้า 32 โทร .................................................................. โทรสาร ........................................................... หมายเหตุ สถานศกึ ษาสามารถปรบั เปล่ียนไดต้ ามความเหมาะสม ค่มู อื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน

ตัวอยา่ ง หนงั สือแจง้ ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม ที่ ศธ .............../……………… กศน.อาเภอ/เขต............................ ทอี่ ยู่ .............................................. วนั ท่.ี ............เดือน.........................พ.ศ..................... เรอ่ื ง ............................................................................................... เรียน ............................................................................................... สง่ิ ที่สง่ มาดว้ ย ๑. โครงการ ๒. แบบตอบรับเขา้ รว่ มฝึกอบรม ชอื่ หนว่ ยงาน/สถานศึกษาเจ้าของเรื่อง.....................................จะจัดโครงการ.................................................... ..........................................................................มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ....................................................................รายละเอียดดัง สิ่งที่ส่งมาด้วยพรอ้ มหนงั สอื นี้ ระหว่าง วันท่.ี .............................................ถงึ วนั ท.่ี .......................................................... ต้งั แตเ่ วลา...............................................น. ณ ................................................................................................................. ชอื่ หน่วยงาน/สถานศึกษาเจ้าของเรื่อง พจิ ารณาแล้ว ขอเชิญ ............................................................... เขา้ รบั การอบรมโครงการ......................................................................ระหว่าง วันท่ี....................................................... ถงึ วนั ที่..................................................................... ตง้ั แตเ่ วลา.....................น. ณ .......................................................... จงึ เรียนมาเพื่อทราบ ส่งแบบตอบรับและเข้าอบรมในวันเวลาและสถานท่ีดังกล่าวข้างต้นด้วย ขอแสดงความนับถือ ชอ่ื หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาเจ้าของเรื่อง ........................................................... หนา้ 33 โทร .................................................................. โทรสาร ........................................................... หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม คมู่ อื การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน

ตวั อย่าง แบบตอบรับเข้าร่วมการฝึกอบรม โครงการ........................................................................................... สถานท่ฝี กึ อบรม ณ ......................................................................... ระหวา่ งวนั ท่ี....................เดือน.......................................พ.ศ................... ถึง วนั ที่..................เดือน........................................พ.ศ........................... ************* ขา้ พเจา้ ........................................................................ตาแหนง่ .................................................................... หน่วยงาน...................................................................................................................................................... จงั หวัด...................................................................................................................... .................................... การติดต่อ โทรศัพท์ทท่ี างาน............................................... มือถือ................................................................ โทรสาร.............................................................  เขา้ รับการฝกึ อบรมได้  ไมเ่ ขา้ รบั การฝึกอบรม กรณุ าส่งแบบตอบรบั : ภายในวนั ท่ี ............................เดือน ....................................พ.ศ................................. หมายเลขโทรสาร ....................................................... การติดต่อประสานงาน : ชื่อ-นามสกลุ .........................................................ตาแหนง่ ............................................ หมายเลขโทรศัพท์ ....................................................... หมายเลขโทรศัพท์มือถือ ....................................................... หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปล่ยี นไดต้ ามความเหมาะสม หนา้ 34 ค่มู อื การจัดกจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน

ตวั อยา่ ง ทะเบียนผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม วิชา.....................................................................จานวน....................ชั่วโมง ระหว่างวันท.ี่ ................................................................................ สถานทจ่ี ดั .............................................................................................................................................................. ที่ ชอ่ื -สกลุ เลขประจาตวั ผลการประเมนิ เลขทหี่ ลักฐาน ประชาชน อายุ ความรู้ อาชพี ทอ่ี ย่ปู จั จุบัน ใบสาคญั ผา่ น ไมผ่ า่ น หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปลยี่ นไดต้ ามความเหมาะสม ลงชือ่ ................................................... คู่มือการจดั กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน (.................................................) ตาแหนง่ ....................................................... หนา้ 35

ตวั อยา่ ง คาสัง่ แต่งต้งั วิทยากร คาส่ังศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอ/เขต............................... ท.ี่ .................../................... เรอ่ื ง แตง่ ตั้งวิทยากรการศึกษาตอ่ เนื่อง โครงการฝึกอบรม………………………………… ...................................... ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอ/เขต…............ตาบล...................... ดาเนนิ การจัดการศกึ ษาต่อเน่ือง โครงการฝึกอบรม....................................................................................................... ให้กับประชาชนในชุมชนและประชาชนทั่วไปทีส่ นใจ ได้ใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ ณ กศน.ตาบล/แขวง................. อาเภอ………………..จงั หวดั ………………….สถานท่จี ัด…................................................................................................... ระหว่างวนั ท.่ี ..............เดอื น..........................พ.ศ.................ถึงวนั ที่................เดอื น..............................พ.ศ................. จานวน…..………..วนั มผี ู้เรยี นจานวน............คน ชาย..........คน หญิง............คน อาศัยระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาต่อเน่ือง พ.ศ.๒๕๕๔ จึงแต่งต้ังให้บุคคล ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. ....................................................................................เปน็ วทิ ยากร ๒. ....................................................................................เปน็ วิทยากร โดยให้วทิ ยากรเบกิ คา่ ตอบแทนตามหลักเกณฑ…์ …………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ทั้งน้ี ต้ังแตว่ นั ท.ี่ ..........เดอื น......................พ.ศ...........ถึงวนั ท.ี่ .........เดอื น.....................พ.ศ........... สั่ง ณ วันท่ี...........เดือน......................พ.ศ. ………… (.........................................................) ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอ/เขต........................... หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรับเปลยี่ นได้ตามความเหมาะสม หนา้ 36 คู่มอื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน

ตัวอยา่ ง หนังสอื แจ้งการจัดโครงการฝึกอบรมประชาชน ที่ ศธ ๐๒. ๐๒๑๐/............. ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั .......... วนั ท่ี.............เดอื น.........................พ.ศ..................... เรอ่ื ง แจง้ การจดั การศึกษาต่อเน่อื ง รปู แบบ............................ เรียน ผูอ้ านวยการสานักงาน กศน.จงั หวดั /กทม. สิ่งทีส่ ง่ มาด้วย หลักฐานการขออนุญาตจดั การศึกษาต่อเน่ือง ในรูปแบบ................................ จานวน....................ชุด ดว้ ยศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอ/เขต.......................... ได้จัดการศึกษา เพื่อการศึกษาต่อเน่ือง รูปแบบ............................ ดังต่อไปนี้ ( ) กิจกรรม ๑. หลักสตู รวิชา.....................................................................................จานวน.........................ชว่ั โมง สถานที่จัด.........................................................................................................................สอนวันละ........... .......ชวั่ โมง ระหว่างวนั ท.ี่ .................................................................วิทยากรชอ่ื ............................................................................... ๒. หลกั สตู รวิชา.....................................................................................จานวน.........................ชวั่ โมง สถานทจี่ ดั .........................................................................................................................สอนวันละ..................ชวั่ โมง ระหวา่ งวันท่.ี .................................................................วทิ ยากรชอื่ ............................................................................... ๓. หลกั สตู รวิชา.....................................................................................จานวน.........................ชวั่ โมง สถานท่ีจดั .........................................................................................................................สอนวันละ..................ชวั่ โมง ระหวา่ งวนั ท.่ี .................................................................วิทยากรชอ่ื ............................................................................... ๔. หลักสูตรวชิ า.....................................................................................จานวน.........................ชว่ั โมง สถานทจ่ี ัด.........................................................................................................................สอนวันละ..................ช่ัวโมง ระหวา่ งวันที่..................................................................วิทยากรช่อื ............................................................................... ๕. หลกั สูตรวิชา.....................................................................................จานวน.........................ชว่ั โมง สถานที่จัด.........................................................................................................................สอนวันละ..................ชัว่ โมง ระหว่างวันที่..................................................................วิทยากรชอ่ื ............................................................................... เพื่อ…………………………………………………………………………………………………………………………………........................................................ จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ () ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ/เขต........................ คูม่ ือการจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน หน้า 37

ตัวอย่าง บัญชลี งเวลาผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม โครงการฝึกอบรม.................................................................................... ระหวา่ งวันที่.............เดอื น................................พ.ศ................ถงึ วันที่.............เดอื น............................พ.ศ................... ณ .................................................อาเภอ/เขต.............................................จังหวดั ................................... จานวนผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรม…………………..คน วนั ท่ี……………………… วันที่……………………… วันท่ี……………………… ท่ี ชอื่ -สกลุ ลายมือชอ่ื เวลามา ลายมอื ชื่อ เวลามา ลายมอื ชือ่ เวลามา เวลากลับ เวลากลบั เวลากลับ 1 2 3 4 5 6 7 8 ลงชอื่ ......................................................วิทยากรผู้สอน (....................................................) ลงชือ่ ......................................................ครู กศน.ตาบล/แขวง (.....................................................) หมายเหตุ สถานศกึ ษาสามารถปรบั เปลย่ี นไดต้ ามความเหมาะสม คมู่ อื การจดั กิจกรรมฝกึ อบรมประชาชน หนา้ 38

ตัวอย่าง แบบประเมินความพึงพอใจ หลักสูตร................................................................ จานวน ..................... ชัว่ โมง ระหว่างวันท่ี.............เดอื น.........................พ.ศ............. ถงึ วนั ท่ี.............เดอื น............................พ.ศ.................. สถานที่จดั ณ .................................................... ตาบล................. อาเภอ................... จังหวัด.......................... ระดับความพึงพอใจ ที่ ประเดน็ การถาม 543 2 1 ดีมาก ดี พอใช้ ตอ้ ง ต้องปรับปรงุ ปรับปรงุ เร่งดว่ น 1 เนอื้ หาวชิ าทีจ่ ดั การเรียนรู้ตรงตามความต้องการของทา่ น 2 วิทยากรมคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ 3 วิทยากรมคี วามสามารถในการอธบิ ายเน้ือหา 4 เอกสารที่ใชป้ ระกอบการฝกึ อบรม 5 ความเหมาะสมของสื่อ/อุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการฝกึ อบรม 6 ทา่ นไดร้ บั ความรู้และสามารถฝกึ ทกั ษะได้ตามที่คาดหวงั 7 ความรู้และทักษะท่ีได้รบั สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั ได้ 8 ความเหมาะสมของสถานที่ 9 ท่านได้รบั โอกาสในการเรยี นรู้เท่าเทยี มกนั เพียงใด 10 ความเหมาะสมของระยะเวลาท่ีใช้ในการฝึกอบรม 11 โดยภาพรวมทา่ นมีความพงึ พอใจในกระบวนการ/ขนั้ ตอนของการ ฝกึ อบรมในครั้งน้ี ขอ้ คิดเหน็ อืน่ ............................................................................................................................. ................................................ ............................................................................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................. ......................... ............................................................................................................................. ............................................... หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรบั เปล่ียนได้ตามความเหมาะสม หน้า 39 คมู่ อื การจดั กจิ กรรมฝกึ อบรมประชาชน