ภาพที่ ๓.๒ โรงเรยี นกัลยาณวิ ฒั นา ๑ ตำ� บลวังหลมุ อำ� เภอพรานกระตา่ ย จงั หวัดพจิ ติ ร
ใเรจยีรักนงดาี ปนรยะพดื มฤัน่ตคิดุณี มธีวรินรัยม โรงเรียนกัลยาณวิ ฒั นา ๑ ต�ำบลวังหลมุ อ�ำเภอพรานกระตา่ ย จงั หวัดพจิ ิตร เรือ่ งเด่นของพ้นื ท่ี โรงเรียนกัลยาณิวัฒนา ๑ สังกัด ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถม ศกึ ษาพษิ ณโุ ลก เขต ๓ ตงั้ อยพู่ น้ื ทหี่ มู่ ๑๑ ตำ� บลนาบวั อำ� เภอนครไทย จงั หวดั พษิ ณโุ ลก โรงเรียนกัลยาณวิ ฒั นา ๑ มจี ดุ เด่น คือ ครมู ีความมุ่งมนั่ ในการ ท�ำงานร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนโดยท�ำงานเป็น ทีม เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานจนประสบผลส�ำเร็จได้รับ คัดเลือกเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เป็น โรงเรียนท่ีไม่มีอบายมุข และได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียนสีขาวระดับเงินมี ผลสมั ฤทธพิ์ ฒั นาขนึ้ มกี จิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ ใหจ้ ดั การเรยี นรทู้ เี่ นน้ ผเู้ รยี น เปน็ สำ� คญั และการสง่ เสรมิ สขุ ภาพจดั ใหม้ ภี มู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ผนู้ ำ� ชมุ ชน ปราชญ์ ชาวบ้านภาคีเครือข่าย หน่วยงาน องค์กรอ่ืนๆ ให้การสนับสนุน โรงเรียน สามารถ พัฒนานักเรียน ขับเคล่ือนนโยบายกิจกรรมด้วยความคล่องตัว มี ความพรอ้ มทกุ ด้าน จนบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ สง่ ผลใหผ้ ลการประเมนิ ดา้ น การอ่านออกเขียนได้อยู่ในเกณฑ์ดี และมีผลการประเมินระดับชาติ (NT, O-NET) สูงกวา่ ระดับประเทศในสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สถานการณ์กล่าวถงึ ทม่ี าและปัจจัย สถานการณท์ เ่ี กยี่ วกบั การอา่ นการเขยี น เมอ่ื ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ พบวา่ จำ� นวนนักเรยี นท่มี ปี ญั หาอา่ นไม่คลอ่ ง จ�ำนวน ๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓.๗๓ และอา่ นจบั ใจความสำ� คญั ยงั ไมไ่ ด้ จำ� นวน ๗ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖.๕๔ นกั เรยี น { 101 }
ต้องได้รับการพัฒนาให้สามารถอ่านคล่องและอ่านจับใจความส�ำคัญได้ ซ่ึงเป็น พื้นฐานในการเรียนร้ใู นระดับสูงขน้ึ ไป สถานการณท์ ่ีเก่ียวขอ้ งปัญหาสุขภาวะย้อน หลัง พบว่า นักเรียนมีสุภาวะด้านภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์มาตรฐาน จ�ำนวน ๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๓๔ ด้านทนั ตสขุ ภาพในช่องปาก (ฟนั ผุ) จำ� นวน ๑๒ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๑.๒๑ และนักเรยี นเปน็ เหา จำ� นวน ๑๐ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙.๓๔ สถานการณท์ เ่ี กย่ี วกบั ครู ครมู ศี ักยภาพในการจัดการเรียนรู้ โดยใชส้ ื่อเทคโนโลยใี น การสอนผ่านโครงการ edltv และพบปัญหาครูไมม่ วี ุฒิทางภาษาไทย จงึ ขาดความ เช่ียวชาญโดยเฉพาะจึงตอ้ งอาศยั ประสบการณใ์ นการสอนแทน วธิ กี าร ๑ โรงเรยี นไดม้ กี ารกำ� หนดแนวทางการดำ� เนนิ งานผา่ นการจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั งิ าน ประจ�ำปีของโรงเรียน มีการประชุมช้ีแจงสร้างความเข้าใจในคณะกรรมการ สถานศึกษา การประชุมร่วมกับผู้ปกครองและชุมชน มีการประชุมชี้แจงสร้าง ความเข้าใจกับคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครอง และชุมชน มีการ วเิ คราะหส์ ภาพปญั หาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล มกี ารจดั ทำ� ขอ้ มลู สารสนเทศแสดง จ�ำนวนนกั เรยี นอา่ นไม่ออก และเขียนไม่ไดโ้ ดยระบุปญั หา สาเหตุตามแบบคักครอง และวิเคราะห์ตามระดับของปัญหา ๒) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านแหล่งเรียนรู้ใน สถานศึกษาเน่ืองจากเป็นโรงเรียนในโครงการพระราชด�ำริ ซ่ึงเป็นโรงเรียนท่ีมี นักเรียนอยู่ประจ�ำจึงมีการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเอื่อต่อการสร้างบรรยากาศการ เรยี นรเู้ ปน็ อยา่ งดี ๓) มกี ารจดั ทำ� แผนการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการดา้ นสขุ ภาวะ ๔) มกี าร จัดทำ� ส่อื ต้นแบบที่บูรณาการดา้ นการเรียนการสอนทม่ี ีความหลากหลาย และมกี าร ใช้สอ่ื edltv มาบูรณาการกับการจัดการเรียนรู้ กระบวนการ ๑) ประชมุ วางแผน กำ� หนดนโยบายร่วมกนั ระหวา่ งผบู้ รหิ าร คณะครู ชมุ ชน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และภาคีเครือข่ายร่วมกันในการพัฒนา โรงเรยี นรว่ มขบั เคลอ่ื นโครงการ/ กิจกรรมตา่ งๆ ของโรงเรียน ๒) จดั กิจกรรมแบบ มสี ว่ นรว่ มระหวา่ ง โรงเรยี น ผปู้ กครอง ชมุ ชน และภาคเี ครอื ขา่ ย ๓) จดั กระบวนการ เรียนรู้โดยน�ำภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือปราชญ์ชาวบ้าน มีส่วนร่วมในกิจกรรมการ { 102 }
เรยี นรู้ ผา่ นการอบรมผู้ปกครองด้านการเรยี นรพู้ ชื สมุนไพร โดยจดั ทำ� เป็นหนงั สอื เลม่ เล็ก (Small book) การฝึกอา่ นการเขยี นเกย่ี วกับสุขบญั ญัตแิ หง่ ชาติ ผา่ นการ ท�ำแผนผังความคิด (Mind Mapping) ๔) ร่วมผลิตและน�ำสื่อไปใช้ให้ตรงกับตาม ต้องการของนักเรียน ๕) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นการใช้แหล่งเรียนรู้ใน สถานศกึ ษาและแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน มาเปน็ แนวทางการใหน้ กั เรยี นไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั จิ รงิ ๖) จดั กจิ กรรมแกป้ ญั หานกั เรยี นทเี่ ปน็ เหา ซงึ่ มถี งึ รอ้ ยละ ๙๑.๕๔ โดยทำ� พชื สมนุ ไพร มาจัดทำ� เป็นโครงงานใหค้ รูครบคมุ การด�ำเนนิ การร่วมกนั ๗) ครภู าษาไทยรว่ มกับ คณะครทู กุ คนรว่ มกบั ผลติ สอ่ื การเรยี นรู้ โดยจดั ทำ� สอ่ื ทเี่ นน้ การบรู ณาการกบั สขุ ภาวะ ๘) มีการจัดท�ำแผนการเรียนรู้ท่ีบูรณาการกับสุขภาวะเพื่อน�ำไปทดลองสอน น�ำ ผลมาวิเคราะห์สรุปในรูปบันทึกหลักสอน จัดท�ำแผนวินิจฉัยข้อบกพร่อง และ ๙) รายงานสรปุ ในลกั ษณะการทำ� แฟม้ สะสมงาน (Portfolio) และการจดั นทิ รรศการ กจิ กรรม ๑) กิจกรรมการส่งเสริมงานเครือข่ายกับการจัดการศึกษา ๒) กิจกรรม การเรียนรู้กับภูมิปัญญาด้านพืชสมุนไพรในท้องถิ่น ๓) กิจกรรมการฝึกทักษะการ อ่านการเขียนให้กับผู้ปกครอง ๔) กิจกรรมการวิเคราะห์หลักสูตร การจัดท�ำแผน บูรณาการด้านสุขภาวะ ๕) กิจกรรมการปฏิบัติการสอนท่ีเน้นการบูรณาการ ๖) กจิ กรรมการผลติ และใชส้ อ่ื การเรยี นร/ู้ นวตั กรรมเพอื่ ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นรู้ ๗) กิจกรรมการสอนแนะนำ� งาน (Coaching and Mentoring) และ ๘) กจิ กรรม การสร้างชุมชนการเรยี นรู้ (PLC) ผลลัพธท์ ่เี กดิ ข้นึ ๑) โรงเรียนมีแผนพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษไทยที่บูรณาการด้าน สุขภาวะ โดยเน้นคุณภาพนักเรียน คุณภาพครู และการบริหารจัดการท่ีสามารถ เชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพของสถานศึกษา ๒) ได้แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี บรู ณาการดา้ นสขุ ภาวะทด่ี กี บั นำ� ไปสอนจรงิ ผา่ นการนเิ ทศการสอนในรปู แบบการสอน แนะน�ำงาน และกระบวนการ PLC ๓) ได้สื่อต้นแบบที่บูรณาการกับสุขภาวะท่ี สามารถเชอื่ มโยงกบั บญั ชคี ำ� พน้ื ฐานในภาษาไทย ๔) มกี ารแกป้ ญั หาดา้ นสขุ ภาพกาย โดยนำ� องคก์ รในพนื้ ทมี่ าใหค้ วามรกู้ บั นกั เรยี น มอบหมายใหค้ รทู กุ คนประเมนิ ตดิ ตาม { 103 }
ผลและแกป้ ญั หาทุกระดบั ชน้ั และ ๕) นกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ มที กั ษะ การอา่ นออกเขยี นไดต้ ามผลการประเมนิ ทกั ษะของแตล่ ะระดบั ชน้ั ปี เฉลยี่ รอ้ ยละ ๙๐ ขน้ึ ไป การเปล่ยี นแปลง บุคคล ชมุ ชนท้องถน่ิ และผู้ทีม่ สี ่วนรว่ ม ๑) ครูมีการใชแ้ หลง่ เรยี นรทู้ ้ังดา้ นภูมปิ ัญญาท้องถ่ินแหลง่ เรียนร้ใู นสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา ผ่านการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง และน�ำมาบูรณาการ กบั รายวชิ า ๒) นกั เรยี น ไดร้ บั การพฒั นาทกั ษะอา่ นออกเขยี นไดจ้ ากการใชส้ อื่ ตน้ แบบ ที่บูรณาการด้านสุขภาวะ และ ๓) ภาคีเครือข่าย ให้ความร่วมมือในการด�ำเนิน โครงการ และสนับสนนุ จากการเขา้ รว่ มตดิ ตาม และจากการประชมุ ภาคีเครอื ขา่ ย { 104 }
ภาพที่ ๓.๓ โรงเรยี นบ้านน้ำ� ดกุ เหนอื ตำ� บลปากชอ่ ง อ�ำเภอหลม่ สัก จงั หวดั เพชรบรู ณ์
คุณธรรมนำ� ชวี ิต คิดอยา่ งมเี หตุผล ท�ำตนอย่างพอเพียง หลกี เลี่ยงอบายมุข มคี วามสุขในการทำ� งาน ประสานชมุ ชน โรงเรียนบา้ นน�ำ้ ดุกเหนอื ต�ำบลปากชอ่ ง อ�ำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบรู ณ์ เร่อื งเดน่ ของพนื้ ท่ี โรงเรยี นบา้ นนำ้� ดกุ เหนอื สงั กดั สำ� นกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา เพชรบรู ณ์ เขต ๒ ตงั้ อยพู่ น้ื ทหี่ มู่ ๑๕ เลขที่ ๓๔๕ ถนนปากชอ่ ง ตำ� บลปากชอ่ ง อำ� เภอหลม่ สัก จงั หวดั เพชรบูรณ์ มคี รูทงั้ หมด ๑๒ คน นักเรียน ๑๒๙ คน สดั สว่ น ๑๐.๗๕/๑ โรงเรยี นบา้ นนำ้� ดุกเหนือ มจี ุดเดน่ คือ จดั สภาพแวดล้อม เอื้อต่อการเรียนรู้จึงได้รับคัดเลือกเป็นโรงเรียน จัดสภาพแวดล้อมดีเด่นจาก ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาของปากช่อง นอกจากนั้นได้เป็น โรงเรยี นตน้ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั ชาติ มผี ลการประเมนิ ดา้ นอาหารและ ยาระดบั จังหวัด (อย.น้อย) ครูมีความเดน่ ด้านความประพฤติ ไดร้ ับคัดเลือก เป็นครูต้นแบบปลอดอบายมุขระดับชาติ ผลการประเมินระดับชาติ (NT, O-NET) มีการพัฒนาขึ้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และอยู่ในระดับดีมาก นอกจากน้ีชุมชนให้ความส�ำคัญ มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างตอ่ เน่ืองสมำ่� เสมอ สถานการณก์ ลา่ วถึงทีม่ าและปจั จัย สถานการณ์ที่เก่ียวกับการอ่านการเขียน ผลการประเมินด้านการอ่าน การเขียนของนักเรยี นในด้านมีการศึกษา ๒๕๖๑ พบวา่ นักเรียนอ่านไม่คลอ่ ง จ�ำนวน ๑๓ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐.๐๗ และอา่ นจับใจความอยใู่ นระดับพอใช้ จำ� นวน ๑๓ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๐.๐๗ นักเรยี นเขียนยอ่ ความอยู่ในระดับ { 106 }
พอใช้ จำ� นวน ๑๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐.๘๕ และการเขยี นเรยี งความในระดบั พอใช้ จ ำ� นวน ๑๔ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐.๘๕ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องปัญหาสุขภาวะย้อนหลัง พบว่า นักเรียนมีสภาวะ ทันตสขุ ภาพ ฟันผุ จำ� นวน ๒๕ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๙.๓๗ นกั เรียน มีปัญหาสภาวะ ดา้ นร่างกายเปน็ เหา จำ� นวน ๑๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๘.๒๕ นกั เรยี นมสี ภาวะด้าน รา่ งกายนำ้� หนักเกนิ เกณฑ์ จำ� นวน ๕ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓.๘๗ สถานการณ์ทีเ่ ก่ียวกบั ครู ครผู ูส้ อนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยไมไ่ ด้จบเอก ภาษาไทยท�ำให้ขาดทักษะและเทคนิคด้านการอ่าน การเขียน ส่งผลให้นักเรียน อ่านจบั ใจความ เขยี นยอ่ ความ เรยี งความยังไม่เป็นทพี่ อใจของคณะครู แต่ในระดับ ขัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑-๓ ครผู ู้สอนตั้งใจดูแลเอาใจใสใ่ นการสอนอ่าน ออกเขียนได้ จนท�ำใหน้ ักเรยี นชั้น ป.๑ อา่ นออก คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๐.๐๑ ซึง่ อยู่ในระดบั ดมี าก วธิ ีการ ๑) ก�ำหนดนโยบายการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้เพื่อเสริมสร้าง ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาวะโดยโรงเรยี นจดั ทำ� เปน็ แผนปฏบิ ตั งิ านประจำ� ปี มกี ารประชมุ ชแ้ี จงสร้างความเข้าใจกบั คณะกรรมการสถานศกึ ษา คณะครู ผปู้ กครอง และชุมชน มกี ารวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล มกี ารจดั ทำ� ขอ้ มลู สารสนเทศ แสดงจ�ำนวนนักเรียนอ่านไม่ออก และเขียนไม่ได้โดยระบุปัญหา สาเหตุตามแบบ คัดกรอง และวเิ คราะห์ตามระดับของปัญหา ๒) จัดกจิ กรรมแบบมีส่วนรว่ มระหว่าง ภาคเี ครอื ข่ายทง้ั โรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน องค์ารบรหิ ารส่วนตำ� บล และเขตพ้นื ท่ี การศึกษาในการชว่ ยเหลือสนับสนนุ การสอนอ่านและเขยี นใหก้ ับนักเรยี น เชน่ โดย อบต.ปากช่อง ให้ความร่วมมือในการประชุมกลุ่มผู้น�ำชุมชนผ่านโรงเรียนผู้สูงอายุ เขตพ้ืนที่การศึกษามีการร่วมประเมินติดตามผลร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สงคราม ๓) การจดั กระบวนการเรยี นรผู้ า่ นแหลง่ เรยี นรใู้ นสถานศกึ ษาเนอ่ื งจากเปน็ โรงเรียนทไ่ี ด้รบั การคดั เลือกใหเ้ ปน็ โรงเรยี นทม่ี ีสภาพแวดล้อมดีเด่น ปลอดอบายมุข และผลประเมินด้าน อย. ระดับดีเดน่ ของจังหวัด ๔) มกี ารจดั ท�ำแผนการเรยี นรู้แบบ บรู ณาการด้านสขุ ภาวะ และ ๕) มีการผลติ สื่อต้นแบบที่บูรณาการดา้ นสขุ ภาวะ { 107 }
กระบวนการ ๑) ประชุมวางแผน ก�ำหนดนโยบายร่วมกนั ระหวา่ งผูบ้ ริหาร คณะครู ชมุ ชน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และภาคีเครือข่ายร่วมกันในการพัฒนา โรงเรียนรว่ มขบั เคลื่อนโครงการ/กิจกรรมตา่ งๆ ของโรงเรยี น ๒) จัดกิจกรรมแบบ มสี ว่ นรว่ มระหวา่ ง โรงเรยี น ผปู้ กครอง ชมุ ชน และภาคเี ครอื ขา่ ย ๓) จดั กระบวนการ เรียนรู้ท่ีเน้นการใช้แหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ในชุมชน มาเป็น แนวทางในการให้นกั เรยี นไดเ้ รยี นรูผ้ ่านการฝึกปฏบิ ัติจรงิ ๔) จัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยนำ� ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ หรอื ปราชญช์ าวบา้ น มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผา่ น การอบรมผปู้ กครองดา้ นการเรยี นรพู้ ชื สมนุ ไพร โดยจดั ทำ� เปน็ หนงั สอื เลม่ เลก็ (Small book) การฝกึ อา่ นการเขยี นเกยี่ วกบั สขุ บญั ญตั แิ หง่ ชาติ ผา่ นการทำ� แผนผงั ความคดิ (Mind Mapping) ๕) จดั ทำ� แผนการเรยี นรทู้ บี่ รู ณาการดา้ นสขุ ภาวะ รวมทง้ั วเิ คราะห์ ข้อบกพรอ่ ง โดยจดั ท�ำแผนวนิ ิจฉยั ข้อบกพรอ่ ง ๖) ร่วมผลติ ส่อื ตน้ แบบท่หี ลากหลาย ท่ีบูรณาการกับสุขภาวะทุกระดับช้ันและสอดคล้องกับแผนการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้ ๗) ใช้กระบวนการพฒั นาคุณภาพการเรยี นการสอน ผา่ นการสอนแนะน�ำงาน และ การใช้กระบวนการ PLC และ ๘) ประมวลองคค์ วามรผู้ ่านการจัดท�ำแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) และการจดั นิทรรศการ กจิ กรรม ๑) กิจกรรมการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาร่วมกับเครือข่าย ๒) กิจกรรม การเรยี นรกู้ บั ภมู ปิ ญั ญาดา้ นพชื สมนุ ไพรในทอ้ งถน่ิ ๓) กจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะการอา่ น การเขยี นใหก้ บั ผปู้ กครอง ๔) กจิ กรรมการวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร การจดั ทำ� แผนบรู ณาการ ดา้ นสขุ ภาวะ ๕) กิจกรรมการปฏบิ ตั ิการสอนท่ีเน้นการบูรณาการ ๖) กจิ กรรมการ ผลติ และใชส้ อ่ื การเรยี นร/ู้ นวตั กรรมเพอ่ื ประสทิ ธภิ าพในการเรยี นรู้ ๗) กิจกรรมการ สอนแนะนำ� งาน (Coaching and Mentoring) และ ๘) กจิ กรรมการสรา้ งชมุ ชนการ เรยี นรู้ (PLC) { 108 }
ผลลพั ธท์ ่เี กิดข้นึ ๑) โรงเรียนมีแผนพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษไทยที่บูรณาการด้าน สุขภาวะ โดยเน้นคุณภาพนักเรียน คุณภาพครู และการบริหารจัดการท่ีสามารถ เชื่อมโยงกับการประกันคุณภาพของสถานศึกษา ๒) ได้แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี บรู ณาการดา้ นสขุ ภาวะทด่ี กี บั นำ� ไปสอนจรงิ ผา่ นการนเิ ทศการสอนในรปู แบบการสอน แนะน�ำงาน และกระบวนการ PLC ๓) ได้สื่อต้นแบบท่ีบูรณาการกับสุขภาวะ ทีส่ ามารถเชือ่ มโยงกบั บัญชีคำ� พน้ื ฐานในภาษาไทย ๔) มีการแก้ปญั หาดา้ นสุขภาวะ โดยมีเครือข่ายท่ีเข้มแข็ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลปากช่อง เข้าร่วม แก้ปัญหา ประเมินติดตามผลจึงส่งผลให้มีนักเรียนท่ีมีปัญหาน้อยมาก และ ๕) นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑-๖ มที กั ษะการอ่านออกเขยี นได้ตามผลการประเมิน ทกั ษะของแต่ละระดบั ชั้นปี เฉล่ียร้อยละ ๙๐ ขึน้ ไป การเปลย่ี นแปลง บุคคล ชุมชนทอ้ งถน่ิ และผูท้ ีม่ ีสว่ นร่วม ๑) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ สามารถอ่านออกเขียนได้ครบทุกคน ซงึ่ มีผลประเมนิ ของเขตพนื้ ท่ีการศึกษาอยูใ่ นระดบั ดมี าก ๒) ผู้ปกครอง ชุมชน และ อบต.ปากช่อง ใหค้ วามร่วมมอื สนบั สนนุ โดยร่วมกจิ กรรมทุกคร้งั และตอ้ งการใหม้ ี การตอ่ ยอดโครงการพัฒนาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ให้กับสถานศกึ ษาอน่ื ๆ { 109 }
ภาพที่ ๓.๔ โรงเรยี นบ้านจนั ทมิ า ตำ� บลจนั ทมิ า อำ� เภอลานกระบือ จงั หวดั ก�ำแพงเพชร
เรียนดี กีฬาเด่น เน้นคุณธรรมน�ำพฒั นา โรงเรียนบ้านจันทิมา ต�ำบลจนั ทิมา อำ� เภอลานกระบอื จงั หวัดก�ำแพงเพชร เรื่องเด่นของพ้ืนที่ โรงเรียนบ้านจันทิมา สังกัดส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา กำ� แพงเพชรเขต ๑ ตงั้ อยพู่ น้ื ท่ี หมู่ ๓ ตำ� บลจนั ทมิ า อำ� เภอลานกระบอื จงั หวดั กำ� แพงเพชร มคี รูทั้งหมด ๑๓ คน นักเรียน ๑๓๖ คน สดั สว่ น ๑๘: ๔๖/๑ โรงเรียนบา้ นจันทิมามีจุดเด่น คอื ครทู �ำงานเปน็ ทมี มกี ารยอมรบั ความคิด เหน็ ของผอู้ นื่ ใชเ้ หตผุ ลในการตดั สนิ ใจ ชมุ ชนเขม้ แขง็ ใหก้ ารสนบั สนนุ ทกุ องคก์ ร อย่างต่อเนื่องและร่วมกันประเมินผลหลักการปฏิบัติงานทุกครั้ง จนส่งผลให้ โรงเรียนบ้านจนั ทมิ าไดร้ ับคดั เลือกเปน็ โรงเรยี นดีศรีตำ� บล โรงเรียนคุณธรรม นำ� การศกึ ษา มีการปฏิบตั จิ รงิ เกี่ยวกับการฝึกเป็นมคั นายกน้อยใหก้ ับนักเรยี น ตลอดจนร่วมกิจกรรมฝึกด้านวิทยาศาสตร์ให้กับนักเรียนปฐมวัยเข้าร่วม โครงการ บณั ฑติ วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย จนไดร้ รบั คดั เลอื กเปน็ โรงเรยี นแกนนำ� ดา้ น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวของ BBL การปฏิบัติกิจกรรม ดังกล่าวส่งผลให้การประเมินด้านการอ่านออกเขียนได้มีผลอยู่ในระดับดีมาก และมีผลการประเมินระดับชาติ (NT, O-NET) มีการพัฒนาเพ่ิมข้ึนอย่าง ต่อเนื่อง สถานการณก์ ลา่ วถงึ ทม่ี าและปัจจยั สถานการณ์ท่ีเกี่ยวกับการอ่านการเขียน จากการประเมินด้านการอ่าน ออกเขียนได้ พบว่า ด้านการอา่ นออก มีนักเรยี นอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุง จำ� นวน ๒ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑.๔๗ อา่ นคลอ่ งมีนกั เรียนอยูใ่ นระดบั ปรับปรงุ จ�ำนวน { 111 }
๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕.๘๘ นักเรียนอา่ นจับใจความอย่ใู นระดบั ปรับปรุง จำ� นวน ๗ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕.๑๔ ดา้ นการเขยี นคำ� และเขียนเรอ่ื งอยู่ในระดับปรับปรงุ จำ� นวน ๑๑ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘.๐๘ นกั เรยี นเขียนยอ่ ความอย่ใู นระดับปรบั ปรุง จ�ำนวน ๗ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕.๑๔ และการเขยี นเรยี งความอยู่ในระดบั ปรับปรงุ จำ� นวน ๗ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๕.๑๔ จากข้อมลู ขา้ งต้น เป็นปัญหาเร่งดว่ นนักเรยี น ต้องได้รับการพัฒนาให้สามารถอ่านออกเขียนได้ อ่านได้คล่อง อ่านจับใจความ และ เขียนยอ่ ความ เรียงความได้ ซ่ึงเปน็ พืน้ ฐานล�ำดบั ในการเรียนรู้ในระดับสงู ตอ่ ไป สถานการณ์ท่ีเกย่ี วขอ้ งปญั หาสุขภาวะย้อนหลัง พบวา่ นกั เรียนมีสุภาวะดา้ น ภาวะโภชนาการของนักเรยี นอยู่ในระดับอว้ น จ�ำนวน ๑๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๗.๓๕ นักเรียนมสี ภาวะด้านทนั ตสุขภาพ ฟันผุ จำ� นวน ๔๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๙.๔๑ นกั เรียนมีปัญหาด้านสขุ ภาพ จำ� นวน ๑๐ คน ท�ำให้ขาดเรยี นบ่อย คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๗.๓๕ สถานการณ์ทเ่ี กย่ี วกบั ครู ขาดครูเอกภาษาไทย ครขู าดทกั ษะ เทคนคิ ในการ สอนอา่ นออกเขยี นได้ ครูเอาใจใสน่ กั เรยี นทบ่ี กพรอ่ งจากการเรยี นรนู้ อ้ ยและครขู าด การตดิ ตามนักเรยี นทข่ี าดเรยี นบ่อยอยา่ งตอ่ เนื่อง วิธกี าร ๑) โรงเรียนมกี ารจัดทำ� โครงการพัฒนาการอ่านออกเขยี นไดท้ ่ีดำ� เนินการอยูใ่ น แผนปฏิบัติงานของโรงเรียน มีการประชุมสร้างความเข้าใจ ก�ำหนดนโยบาย การพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้เพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะโดย โรงเรียนจัดท�ำเป็นแผนปฏิบัติงานประจ�ำปี มีการประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจกับ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครอง และชุมชน มีการวิเคราะห์สภาพ ปญั หาของนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล มกี ารจดั ทำ� ขอ้ มลู สารสนเทศแสดงจำ� นวนนกั เรยี น อา่ นไม่ออก และเขียนไมไ่ ดโ้ ดยระบปุ ญั หา สาเหตตุ ามแบบคดั กรอง และวิเคราะห์ ตามระดับของปญั หา ๒) โรงเรยี นมีการด�ำเนินการทีเ่ นน้ การมีส่วนร่วมระหว่างภาคี เครือขา่ ย ได้แก่ อบต.บ้านจันทิมา กล่มุ ผนู้ ำ� ชมุ ชน และคณะกรรมการสถานศกึ ษา ๓) คณะครมู กี ารพฒั นาทกั ษะดา้ นการผลติ สอ่ื การเรยี นรแู้ ละนวตั กรรมทส่ี อดลอ้ งกบั สภาพปัญหาในการอ่านออกเขียนได้ ท้ังการพัฒนาตนเองในโครงการท่ีหน่วยงาน { 112 }
อ่ืนๆ จัดขึ้น และมีการจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ภายในโรงเรียนผ่านการสร้าง ชุมชนครูแห่งการเรียนรู้ (PLC) ๔) การจัดกระบวนการเรยี นรู้ โดยนำ� ภูมปิ ัญญา ทอ้ งถนิ่ ปราชญช์ าวบา้ น มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้ และการฝกึ ทกั ษะการอา่ น การเขยี นเกี่ยวกบั สุขบญั ญตั ิแหง่ ชาติ กระบวนการ ๑) ประชมุ วางแผน ก�ำหนดนโยบายร่วมกนั ระหว่างผบู้ รหิ าร คณะครู ชมุ ชน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา และภาคีเครือข่ายร่วมกันในการพัฒนา โรงเรียนรว่ มขับเคลอ่ื นโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ของโรงเรียน ๒) จัดกิจกรรมแบบมี สว่ นร่วมระหวา่ ง โรงเรียน ผูป้ กครอง ชมุ ชน และภาคเี ครือข่าย ๓) จดั กระบวนการ เรยี นรโู้ ดยนำ� ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ หรอื ปราชญช์ าวบา้ น มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผ่านการอบรมผู้ปกครองด้านการเรียนรู้พืชสมุนไพร โดยจัดท�ำเป็นหนังสือเล่มเล็ก (Small book) การฝึกอา่ นการเขยี นเกย่ี วกบั สุขบญั ญัติแหง่ ชาติ ผา่ นการท�ำแผนผัง ความคดิ (Mind Mapping) ๔) รว่ มผลติ และนำ� สื่อไปใชใ้ ห้ตรงกับตามตอ้ งการของ นกั เรยี น ๕) จดั กจิ กรรมผลติ สอ่ื ตน้ แบบทม่ี คี วามหลากหลายทเ่ี นน้ การบรู ณาการกบั สขุ ภาวะ ๖) มกี ารจดั ท�ำแผนการเรียนร้ทู ่ีบรู ณาการด้านสุขภาวะ เพ่ือนำ� ไปทดลอง สอน นำ� ผลมาวเิ คราะหต์ อ่ เนอื่ งดว้ ยการทำ� แผนวนิ จิ ฉยั ขอ้ บกพรอ่ ง ๗) มกี ารรายงาน สรุปองค์ความรู้ ในรูปแบบการจัดท�ำแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) และการจัด นทิ รรศการ กิจกรรม ๑) กิจกรรมการส่งเสริมงานเครือข่ายกับการจัดการศึกษา ๒) กิจกรรมการ เรียนรู้กับภูมิปัญญาด้านพืชสมุนไพรในท้องถ่ิน ๓) กิจกรรมการฝึกทักษะการ อ่านการเขียนให้กับผู้ปกครอง ๔) กิจกรรมการวิเคราะห์หลักสูตร การจัดท�ำแผน บูรณาการด้านสุขภาวะ ๕) กิจกรรมการปฏิบัติการสอนท่ีเน้นการบูรณาการ ๖) กิจกรรมการผลิต และใช้ส่ือการเรียนรู้/นวัตกรรมเพ่ือประสิทธิภาพในการ เรียนรู้ ๗) กิจกรรมการสอนแนะน�ำงาน (Coaching and Mentoring) ๘) กจิ กรรม การสร้างชุมชนการเรยี นรู้ (PLC) { 113 }
ผลลัพธท์ เ่ี กดิ ขน้ึ ๑) โรงเรียนมีแผนพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษไทยที่บูรณาการด้าน สุขภาวะ โดยเน้นคุณภาพนักเรียน คุณภาพครู และการบริหารจัดการท่ีสามารถ เช่ือมโยงกับการประกันคุณภาพของสถานศึกษา ๒) ได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ บรู ณาการดา้ นสขุ ภาวะทด่ี กี บั นำ� ไปสอนจรงิ ผา่ นการนเิ ทศการสอนในรปู แบบการสอน แนะนำ� งาน และกระบวนการ PLC ๓) ไดส้ อ่ื ตน้ แบบทบ่ี รู ณาการกบั สขุ ภาวะ ทสี่ ามารถ เชื่อมโยงกบั บญั ชคี ำ� พ้ืนฐานในภาษาไทย ๔) มกี ารแกป้ ญั หาดา้ นสุขภาพกาย โดยให้ องค์การในพน้ื ทม่ี าใหค้ วามรู้ทงั้ นกั เรยี นและผปู้ กครอง และครูมกี ารประเมนิ ติดตาม ผล ๕) นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๖ มีทักษะการอ่านออกเขียนได้ตามผล การประเมินทกั ษะของแตล่ ะระดบั ช้ันปี เฉล่ยี ร้อยละ ๙๐ ขน้ึ ไป การเปลย่ี นแปลง บุคคล ชมุ ชนท้องถนิ่ และผทู้ ี่มีส่วนรว่ ม ๑) ครไู ดร้ บั การพฒั นาตามศกั ยภาพ ในการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำ� คญั โดยใชร้ ูปแบบกระบวนการ BBL และมีการใช้ PLC ในการขับเคลอ่ื นการแก้ปัญหา ร่วมกันในการอา่ นออกเขยี นได้ ๒) นักเรียนไดร้ ับการฝึกทักษะการอ่านออกเขยี นได้ ผา่ นการจดั การเรยี นการสอนทบ่ี รู ณาการดา้ นสขุ ภาวะ ๓) ผปู้ กครอง ชมุ ชนและภาคี เครือข่าย ให้ความร่วมมือในการสนับสนุนให้ความร่วมมือ ในการด�ำเนินโครงการ เป็นอยา่ งดี { 114 }
มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร โรงเรยี นบ้านลาดพรา้ ว (สาคร-ส่นุ พานิชเฮง) แขวงจนั ทรเกษม เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร โรงเรยี นวดั โสภณาราม ต�ำบลบึงคอไห อ�ำเภอล�ำลูกกา จงั หวัดปทุมธานี โรงเรยี นบา้ นคลองบวั (เอ่ยี มแสงโรจน์) แขวงทา่ แร้ง เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร { 115 }
ภาพท่ี ๔ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร
การพัฒนาความสามารถ ดา้ นภาษาสู่ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาวะ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ความเปน็ มา จากสภาพการเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกจิ และสงั คมสง่ ผลใหเ้ กดิ การ เปล่ียนแปลงแก่ประชากรของประเทศอย่างมาก รวมท้ังเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารที่เข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อวัฒนธรรม วถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ของคนไทยเปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะประชากรในเมอื ง หลวงทต่ี อ้ งเผชญิ กบั สภาพแวดลอ้ มทมี่ กี ารแขง่ ขนั ความแออดั ของชมุ ชน สภาวะรถตดิ และมลภาวะในอากาศตา่ งๆ ทำ� ให้ประชาชนในเมอื งหลวง หรือพ้ืนที่กึ่งเมืองมีภาวะเส่ียงกับปัญหาสุขภาพหลากหลายรูปแบบ โดย เฉพาะในกลมุ่ เดก็ เปน็ ผทู้ ไี่ ดร้ บั อทิ ธพิ ลโดยตรงจากสภาพครอบครวั สภาพ ชมุ ชน และส่งิ แวดลอ้ ม จากการประเมินภาวะสุขภาพและพฤตกิ รรมเด็ก วยั เรียนพบวา่ เดก็ มีปัญหาด้านอบุ ตั เิ หตุ ปัญหาด้านเพศศกึ ษา ปัญหา เด็กตดิ เกมส์ ปญั หาเด็กมภี าวะน�้ำหนกั นอ้ ย ปญั หาเด็กน้�ำหนักเกินและ อว้ น ปญั หาเดก็ ซดี จากการขาดธาตเุ หลก็ รวมถงึ พฤตกิ รรมการกนิ ผดิ วธิ ี (วทิ ยาลยั พยาบาลราชชนน,ี ๒๕๕๗) ปญั หาเหลา่ นย้ี งั คงมอี ยแู่ ละทวคี วาม รุนแรงเพ่ิมมากข้ึน ดังน้ันการส่งเสริมให้เด็กได้มีภาวะสุขภาพท่ีดีจ�ำเป็น อย่างยิ่งท่ีต้องพัฒนาให้เด็กสามารถดูแลตนเองได้โดยให้เด็กวัยเรียนมี ทักษะการอ่านออกเขียนได้เพ่ือให้มีความรอบรู้ในเร่ืองสุขภาวะและการ ดูแลตนเองได้เป็นอย่างดี แต่ในขณะเดียวกนั พบวา่ ปญั หาการอา่ นออก { 117 }
เขียนได้ของนักเรียนระดับประถมศึกษายังอยู่ในเกณฑ์ท่ีต�่ำกว่ามาตรฐาน รัฐบาลได้มี นโยบายส่งเสริมให้ทุกโรงเรียนและทุกหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องร่วมมือกันแก้ปัญหาอย่าง เร่งด่วน เป็นวาระแห่งชาติ ซ่ึงมีแนวทางและวิธีการด�ำเนินการในหลากหลายรูปแบบ แต่ยงั ไมส่ ามารถแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครได้ร่วมกับส�ำนักงานเขตบางเขน ส�ำนักงานเขตจตุจักร สำ� นักงานเขตหลักส่ี องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ� บลบงึ คอไห อำ� เภอลำ� ลูกกา จังหวดั ปทุมธานี และองค์การบริหารส่วนต�ำบลชุมชน ร่วมกันพิจารณาคัดเลือกโรงเรียนเข้าร่วมโครงการ พฒั นาความสามารถดา้ นภาษาสคู่ วามรอบรดู้ า้ นสขุ ภาวะ โดยพจิ ารณาโรงเรยี นทม่ี ปี ญั หา การอา่ นออกเขยี นไดเ้ ป็นหลัก เพือ่ ให้โรงเรียนตา่ งๆ ทเี่ ข้าร่วมโครงการไดม้ โี อกาสพฒั นา และยกระดับความสามารถในการอ่านออกเขียนได้และส่งเสริมความรู้ด้านสุขภาวะให้แก่ นกั เรียนในเขตและตำ� บลดังกล่าว ซ่ึงมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครไดล้ งนามความรว่ มมือ กับโรงเรยี นในเครอื ขา่ ยท้ัง ๑๕ โรงเรียนเพือ่ พฒั นาความสามารถดา้ นการอ่าน-การเขยี น เพอื่ สง่ เสรมิ ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาวะใหแ้ กน่ กั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑–๖ เปน็ ระยะ เวลา ๑๘ เดอื น พนื้ ที่ปฏบิ ัตกิ าร จำ� นวนโรงเรียนท่เี ขา้ ร่วมโครงการ ๑๕ โรงเรยี น โดยแบง่ ตามเขต พนื้ ท่ี ดงั น้ี ๑) โรงเรยี นในสงั กดั กรงุ เทพมหานคร เขตบางเขน จำ� นวน ๔ โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรยี นไทยนยิ มสงเคราะห์ โรงเรยี นประชาภบิ าล โรงเรยี นวดั ไตรรตั นาราม และโรงเรยี น บ้านคลองบัว (เอ่ียมแสงโรจน์) ๒) โรงเรยี นในสังกดั กรงุ เทพมหานคร เขตจตุจักร จำ� นวน ๓ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนวัดเทวสุนทร โรงเรียนบ้านลาดพร้าว โรงเรียนบางบัว (เพ่งตั้งตรงจิตรวทิ ยาคาร) ๓) โรงเรยี นในสังกดั กรงุ เทพมหานคร เขตหลักส่ี จำ� นวน ๔ โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรยี นวดั หลกั สี่ (ทองใบทวิ ารีวทิ ยา) โรงเรียนทุ่งสองหอ้ ง (คุปตษั เฐียร) โรงเรียนเคหะท่งุ สองห้องวิทยา ๑ และโรงเรยี นเคหะทงุ่ สองห้องวิทยา ๒ ๔) โรงเรยี นใน พน้ื ทอี่ งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลบงึ คอไห จงั หวดั ปทมุ ธานี จำ� นวน ๓ โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรยี น วัดโสภณาราม โรงเรยี นรวมราษฎรส์ ามคั คี และโรงเรียนร่วมใจประสทิ ธ์ิ ๕) โรงเรยี นใน พนื้ ทอี่ งคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลชมุ พล จงั หวดั นครนายก จำ� นวน ๑ โรงเรยี น คอื โรงเรยี น บา้ นคลอง ๑๔ จำ� นวนประชากร นกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑–๖ ของโรงเรยี นเครอื ขา่ ย ๑๕ โรงเรียนจ�ำนวน ๗,๒๑๓ คน นักเรียนหญิงจ�ำนวน ๓,๕๔๓ นักเรียนชายจ�ำนวน ๓,๖๗๐ คน { 118 }
สถานการณ์ทเ่ี ปน็ ปัญหาของพน้ื ท่ปี ฏิบัตกิ าร จากการส�ำรวจข้อมูลจากพ้ืนที่พบว่านักเรียนในโรงเรียนเครือข่ายท้ัง ๑๕ โรงเรียน พบว่า ปัญหาหลักของนักเรียนคืออ่านจับใจความไม่ได้ และเขียนสรุปความไม่ได้ ส่งผล ให้การทำ� ขอ้ สอบ O-NET, National Test (NT), Reading Test (RT) และการทดสอบ การอา่ นของสำ� นกั งานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานมคี ะแนนอยใู่ นระดบั ตำ่� กวา่ เกณฑ์ สามารถสรปุ ปญั หาการอา่ น-การเขยี นของนกั เรยี นในโรงเรยี นเครอื ขา่ ยไดเ้ ปน็ ดงั น้ี นกั เรยี นอา่ นไมอ่ อก เขียนไม่ได้มีประมาณร้อยละ ๒๐ และนักเรียนอ่านจับใจความไม่ได้ และเขียนสรุปความ ไมไ่ ดอ้ กี รอ้ ยละ ๘๐ ซึง่ จากการวิเคราะห์สถานการณ์ปญั หาพบว่าปญั หามี ๒ สว่ นดังน้ี ๑) ปญั หานักเรียนอา่ นไมอ่ อก เขียนไม่ได้ ปญั หานักเรียนอ่านไมอ่ อก เขยี นไม่ได้ เกิดจากสาเหตุหลายประการดว้ ยกัน ดงั น้ี (๑) ปญั หาจากนกั เรียน ไดแ้ ก่ นกั เรยี นมีความ บกพรอ่ งในการเรยี นรู้ นกั เรยี นเรยี นไมม่ คี วามพรอ้ มในการเรยี นรู้ เชน่ ขาดเรยี นบอ่ ย ไมม่ ี ผปู้ กครองดแู ลใหท้ ำ� การบา้ นหรอื ฝกึ การอา่ น-เขยี นทบ่ี า้ นเนอื่ งจากผปู้ กครองสว่ นใหญต่ อ้ ง ท�ำงานนอกบ้านหรือต่างจังหวัด ท�ำให้นักเรียนต้องอาศัยอยู่กับปู่ย่าตายาย หรืออยู่ด้วย ตนเองไม่มีผู้ปกครอง นอกจากนี้ยังมีปัญหาเรื่องนักเรียนต่างด้าวที่เป็นบุตรหลานของ แรงงานทยี่ า้ ยถนิ่ ฐานตามผปู้ กครองเขา้ มาเรยี นทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาอา่ นไมอ่ อก-เขยี นไมไ่ ด้ และ ปัญหาอีกประการคือนักเรียนมีการย้ายเข้าย้ายออกตามผู้ปกครองซึ่งส่วนใหญ่เป็นชนช้ัน แรงงานทำ� ใหน้ ักเรยี นเรยี นไมต่ อ่ เน่อื ง ขาดการฝึกฝนทักษะอ่าน-เขยี นอย่างตอ่ เน่ืองทำ� ให้ นักเรยี นอา่ นไม่ออก-เขยี นไม่ได้ ทำ� ให้นกั เรยี นไมม่ ีนสิ ัยรกั การอา่ นการเขียน (๒) ปัญหา จากครู ไดแ้ ก่ ครไู มม่ ีความสามารถในการผลติ สอื่ ใหม่ๆ ขาดงบประมาณในการผลติ สื่อ และงบประมาณในการด�ำเนินกิจกรรมนอกหลักสูตร รวมทั้งคุณครูส่วนใหญ่มีภาระงาน มากทำ� ใหไ้ มม่ เี วลาในการผลติ สอื่ ทม่ี คี ณุ ภาพสำ� หรบั การพฒั นาดา้ นการอา่ น-เขยี น ครสู ว่ น ใหญข่ าดประสบการณใ์ นการจดั การเรยี นรแู้ ละการผลติ สอื่ ทเ่ี นน้ การบรู ณาการทำ� ใหไ้ ดส้ อ่ื แบบเดิมๆ หรือใช้หนังสือท่ีมีตามหลักสูตร ท�ำให้นักเรียนไม่ให้ความสนใจในการเรียนรู้ เท่าที่ควร (๓) ปัญหาด้านนโยบายของผู้บริหาร ได้แก่ ผู้บริหารไม่ได้มีนโยบายที่จะจัด กิจกรรมหรือด�ำเนินการนอกเหนือจากการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทักษะการ อา่ น-เขียน ทั้งๆ ท่นี โยบายจากหนว่ ยงานระดบั สูงได้กำ� หนดให้โรงเรียนด�ำเนินการกต็ าม ท�ำให้ผลการพัฒนาความสามารถด้านการอ่าน-เขียนยังคงเป็นปัญหา นักเรียนมีผลการ เรยี นรู้ภาษาไทยต�ำ่ คะแนน O-NET, NT และ RT ตำ่� อย่างต่อเนื่อง ซ่งึ ในสว่ นนเี้ ก่ยี วขอ้ ง กับเร่ืองงบประมาณในการด�ำเนินการท่ีจะส่งเสริมหรือสนับสนุนให้ครูและผู้เก่ียวข้องมา { 119 }
ร่วมพัฒนาความสามารถด้านการอ่าน-เขียนของนกั เรยี น ทำ� ให้ที่ผ่านมายังคงมปี ัญหามา อย่างต่อเน่ือง (๔) ปัญหาจากผู้ปกครอง เน่ืองจากผู้ปกครองของนักเรียนในโรงเรียน เครอื ขา่ ยทง้ั ทอี่ ยใู่ นชมุ ชนเมอื งและปรมิ ณฑลไมม่ เี วลาในการชว่ ยเหลอื หรอื สอนใหน้ กั เรยี น อา่ นเขยี นในชว่ งหลงั เลกิ เรยี นหรอื ในวนั หยดุ เรยี นและชว่ งปดิ เทอมทำ� ใหก้ ารพฒั นาการอา่ น เขยี นของนกั เรยี นไมม่ คี วามตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะชว่ งปดิ เทอมนกั เรยี นในชมุ ชนเมอื งตอ้ งกลบั ไปอยู่ต่างจังหวัดท�ำให้ขาดการทบทวนการอ่านการเขียนเม่ือเปิดเทอมใหม่มาครูจะต้อง ท�ำการปรบั พื้นฐานการอา่ นเขยี นใหมใ่ หแ้ ก่นักเรยี นอกี ครงั้ เป็นวัฏจักร ๒) ปญั หานกั เรยี นอา่ นจบั ใจความและเขยี นสรปุ ความไมไ่ ด้ จากการวเิ คราะหป์ ญั หา ร่วมกบั โรงเรียนเครอื ขา่ ย พบว่า ท่ีผ่านมาโรงเรยี นมีการพฒั นาเฉพาะการอา่ นออก-เขยี น ได้ ซึ่งเนน้ ทีก่ ารอ่านออกเสยี ง การอ่านคำ� การอา่ นประโยค เนอ่ื งจากโรงเรยี นเข้าใจว่า นักเรียนอ่านไม่ออก-เขียนไม่ได้เท่าน้ัน ไม่ได้วิเคราะห์ในเชิงลึกว่ามีสัดส่วนนักเรียนอ่าน ออก-เขียนได้จ�ำนวนเท่าไร และจ�ำนวนนักเรียนที่อ่านออกแล้วปัญหาอยู่ที่การอ่านจับใจ ความและการเขียนสรุปความ ไม่ใช่มีปัญหาแค่อ่านไม่ออก ท�ำให้การพัฒนาส่ือท่ีผ่านมา มงุ่ เนน้ ใหน้ กั เรยี นอา่ นออก-เขยี นไดเ้ ฉพาะคำ� ศพั ทพ์ นื้ ฐาน ประโยคพน้ื ฐาน ทง้ั ๆ ทมี่ นี กั เรยี น อา่ นออก-เขยี นได้จ�ำนวนมาก จงึ ทำ� ให้ไมม่ กี ารพัฒนาสอ่ื หรือจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอา่ น จับใจความและการเขียนสรุปความ ซึ่งจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานด้าน การอ่าน-เขียนของโรงเรียนร่วมกันระหว่างนักวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร และผบู้ รหิ าร ครใู นโรงเรยี นเครอื ขา่ ยพบวา่ ปญั หาทสี่ ำ� คญั และมจี ำ� นวนมากกวา่ คอื ปญั หา การอา่ นจบั ใจความไมไ่ ด้ และเขยี นสรปุ ความไมไ่ ด้ คดิ เป็นสัดส่วนรอ้ ยละ ๘๐ ในขณะท่ี ปญั หาการอา่ นไมอ่ อกเขยี นไมไ่ ดท้ ว่ั ไปมเี พยี งรอ้ ยละ ๒๐ ซง่ึ เปน็ ปญั หาในระดบั ชนั้ ตน้ ๆ เชน่ ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ท่ีนักเรียนเพิ่งผ่านการเรียนอนุบาลมาและไม่มีพื้นฐานการ อา่ น-เขยี นมากอ่ น ท�ำใหต้ อ้ งใช้เวลาในการพัฒนามากกว่า { 120 }
สถานการณ์ปญั หาการอา่ นออกเขียนได้ และปญั หาสขุ ภาวะของนักเรียนในโรงเรียนเครอื ข่าย สามารถสรปุ ได้ดังนี้ (๑) สถานการณ์ปัญหาการอ่านของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาชั้นปีที่ ๑–๖ (เฉพาะนักเรียนปกต)ิ ขอ้ มูลปี ๒๕๖๑ จำ� นวน จำ� นวนนกั เรยี น จำ� นวน จำ� นวนนักเรียน ระดบั ชน้ั นกั เรียนอา่ น อ่านไมค่ ล่อง นักเรียนอ่าน อ่านจบั ใจความ ไมอ่ อก (คน) (คน) คลอ่ ง (คน) ไมไ่ ด้ (คน) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๑๓๑ ๑๔๒ ๑,๐๑๙ ๘๑๔ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ ๑๓๑ ๑๓๘ ๑,๐๑๓ ๕๑๐ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ รวมท้งั หมด ๓๘ ๑๑๗ ๙๖๙ ๗๗๓ ๕๒ ๑๑๖ ๑,๐๕๕ ๘๔๔ ๕๙ ๑๐๐ ๙๙๖ ๗๙๗ ๕๖๖ ๘๑๕ ๔,๘๘๘ ๔,๓๙๘ (๒) สถานการณ์ปัญหาการเขียนของนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษาช้ันปีท่ี ๑–๖ (เฉพาะนกั เรียนปกต)ิ ระดับช้นั จำ� นวน จ�ำนวนนักเรียน จ�ำนวน จ�ำนวนนกั เรยี น นักเรยี น เขียนคำ� ศพั ทไ์ ด้ นักเรียนเขยี น เขียนสรุปความ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เขยี นไมไ่ ด้ ประโยคได้ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ (คน) ไมไ่ ด้ (คน) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ (คน) (คน) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๑๕๔ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ๑๓๒ ๒๑๗ ๘๑๘ ๖๕๕ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๑๓๒ รวมท้ังหมด ๓๗ ๑๓๙ ๑๐๒๓ ๘๑๘ ๔๙ ๕๒ ๑๔๑ ๑๐๐๙ ๘๐๗ ๕๕๖ ๙๒ ๙๙๔ ๗๙๕ ๑๑๗ ๑๐๕๗ ๘๔๕ ๘๖ ๙๖๘ ๗๗๔ ๗๙๒ ๕,๘๖๙ ๔,๖๙๔ { 121 }
(๓) สถานการณป์ ัญหาสขุ ภาพของนักเรยี น จากการส�ำรวจในตน้ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ พบวา่ มนี กั เรยี นน้ำ� หนักเกินเกณฑ์ คดิ เป็น รอ้ ย ๑๕.๕๘ น้�ำหนกั ต่ำ� กว่าเกณฑ์ รอ้ ยละ ๗.๘๘ เป็นเหา ๑๕.๒๙ และมปี ญั หาสขุ ภาพ ฟันรอ้ ยละ ๒๔ ส่วนปญั หาอนื่ ๆ รอ้ ยละ ๑ ปญั หาสุขภาพ แหลง่ ขอ้ มลู นักเรียน แนวทางการจดั การแกไ้ ขปัญหา ทพี่ บ (รอ้ ยละ) ๑. น�ำ้ หนกั ๑. ศูนยส์ าธารณสขุ ๑๕.๕๘ ๑. ศนู ยส์ าธารณสขุ ชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ ใหค้ วามรู้ เกนิ เกณฑ์ ประจำ� เขตและ เก่ียวกับสุขภาพและความร้เู ร่อื งโรคอว้ น ท้องถ่นิ ๒. โรงเรียนจัดกจิ กรรมออกกำ� ลังกายวนั พุธ ๒. งานอนามัย ๓. จัดกิจกรรมภารกิจพิชิตอ้วนในโครงการ โรงเรียน เรียนรดู้ า้ นภาษาสคู่ วามรอบรดู้ ้านสุขภาวะ ๓. สมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพ ๔. จดั บอรด์ ใหค้ วามรเู้ รอื่ งอาหารดมี ปี ระโยชน์ ของนกั เรยี นราย บคุ คล ๒. น้�ำหนกั ต่ำ� ๑. ศนู ย์สาธารณสขุ ๗.๘๘ ๑. ศูนยส์ าธารณสุขชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ กว่าเกณฑ์ ประจ�ำเขตและ ให้ความรู้เก่ียวกบั สขุ ภาพและความรเู้ ร่ือง ทอ้ งถนิ่ การรับประทานอาหาร รว่ มกบั การออก ก�ำลงั กายใหเ้ หมาะสมกับวยั ๒. งานอนามัย โรงเรยี น ๒. เพม่ิ สารอาหารนมเปน็ เช้า- บา่ ย และให้ทานไข่เพิ่ม ๓. สมดุ บนั ทึกสุขภาพ ของนักเรียน ๓. โรงเรียนจัดกจิ กรรมออกก�ำลงั กาย รายบคุ คล ๔. จดั ทำ� อาหารให้ครบหลักโภชนาการอาหาร ๕ หมตู ามโครงการอาหารเชา้ –กลางวัน เพอ่ื สขุ ภาพ ๓. เหา ๑. ศูนยส์ าธารณสุข ๑๕.๒๙ ๑. ศูนยส์ าธารณสขุ ชมุ ชนและท้องถิ่น รว่ มกับ ประจ�ำเขตและ โรงเรยี นดแู ลใสย่ าฆา่ เหาและใหค้ วามรู้กับ ท้องถิน่ นักเรยี น ๒. งานอนามัย ๒. โรงเรียนทำ� หนังสอื แจง้ ไปยังผู้ปกครอง โรงเรยี น นกั เรียนให้ชว่ ยกันดแู ลนักเรียนไม่ใหเ้ ปน็ ๓. สมดุ บันทกึ สขุ ภาพ เหา ของนกั เรยี นราย ๓. ให้นกั เรียนตดั ผมสนั้ และสระผมทุกวนั บุคคล { 122 }
ปัญหาสขุ ภาพ แหล่งข้อมูล นักเรียน แนวทางการจดั การแกไ้ ขปัญหา ท่พี บ (ร้อยละ) ๔. สขุ ภาพฟนั ๑. ศูนย์สาธารณสุข ๒๔.๐๐ ๑. ศูนยส์ าธารณสุขชมุ ชนและท้องถ่ิน ประจ�ำเขตและ มาให้การดแู ลในการรักษาสุขภาพช่องปาก ทอ้ งถิ่น ของนักเรยี น และเคลอื บฟลโู อไรด์ถ้ามี กรณีทต่ี ้องแกไ้ ขจะส่งตอ่ มายงั โรงเรยี นแจ้ง ๒. งานอนามัย ผปู้ กครอง โรงเรยี น ๒. มีสมุดบนั ทกึ สขุ ภาพฟัน ๓. สมุดบันทกึ สุขภาพ ๓. โรงเรยี นมกี ิจกรรมแปรงฟนั หลงั รับ ของนักเรยี นราย บุคคล ประทานอาหารกลางวนั และสอดแทรก เนือ้ หาในวิชาต่างๆ เกย่ี วกับการรักษา สุขภาพชอ่ งปาก ๔. กำ� กับไมใ่ ห้นักเรียนรบั ประทาน ขนมกรุบกรอบและลูกอม ๕. โรคติดต่อ ๑. ศนู ยส์ าธารณสขุ ๐.๒๔ ๑. ครผู ู้สอน ใหค้ วามรู้เกี่ยวกับการปอ้ งกัน เชน่ ตาแดง ประจำ� เขตและ โรคตดิ ต่อ อสี กุ อีใส ท้องถน่ิ ๒. งานอนามัย ๒. คดั แยกนกั เรียนท่ีเปน็ หวัดใหห้ ่างจากเพอ่ื น โรงเรยี น หยุดเรียนเพื่อพักผอ่ น ๓. สมุดบันทกึ สขุ ภาพ ของนกั เรียนราย บคุ คล ๖. อน่ื ๆ เลบ็ ๑. ศูนย์สาธารณสขุ - ๑. จดั บอร์ดใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั การดแู ลตนเอง ผม ผิว ตา ประจำ� เขตและ ๒. รายการเสยี งตามสายใหค้ วามร้เู ก่ียวกบั ปาก จมูก หู ทอ้ งถิ่น สุขภาพประจ�ำวนั ๒. งานอนามัย โรงเรียน ๓. สมดุ บันทกึ สุขภาพ ของนักเรียนราย บคุ คล รวมทง้ั หมด ๖๒.๙๙ หมายเหตุ : สถานการณป์ ัญหาสขุ ภาพ อาทิ โภชนาการ สขุ ภาพฟัน ภาวะอ้วน/ผอม เหา โรคท่มี คี วามเสย่ี ง ติดตอ่ ฯลฯ { 123 }
ทุนทางสงั คมในการจดั การปัญหา และการมสี ่วนสนบั สนนุ ในการด�ำเนนิ กิจกรรมในพืน้ ที่ปฏบิ ัตกิ าร ๑) ทนุ ศกั ยภาพครู โรงเรยี นในเครอื ขา่ ยทง้ั ๑๕ โรงเรยี นมจี ำ� นวนครเู พยี งพอตอ่ การ พฒั นานักเรียน ครูทุกทา่ นมคี วามตงั้ ใจและมุง่ มน่ั ในการแกป้ ัญหาการอา่ นการเขียนให้แก่ นกั เรยี นของตนเองรว่ มกนั ทง้ั โรงเรยี น ซง่ึ เมอ่ื สำ� รวจความสามารถทางการสอนของคณุ ครู สว่ นใหญม่ คี วามสามารถการสอนอยใู่ นระดบั ทด่ี ี มคี วามสามารถในการพฒั นาสอ่ื ประกอบ การเรยี นของนกั เรยี นแมจ้ ะไมห่ ลากหลายมาก และโรงเรยี นมกี ารผลติ สอื่ สง่ เสรมิ การอ่าน การเขียนพอสมควร โดยสว่ นใหญน่ ำ� มาจากอินเทอร์เน็ตโดยเลอื กส่อื ที่สามารถนำ� มาใชไ้ ด้ เหมาะสมกับนักเรียนของตนเอง ๒) การสนับสนุนจากหนว่ ยงานต้นสงั กัด อาทิ ส�ำนกั การศึกษาจังหวัด ส�ำนกั งาน เขตหรอื องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล และหนว่ ยงานสาธารณสขุ พนื้ ที่ ทสี่ นบั สนนุ และสง่ เสรมิ ท้ังในด้านการมอบนโยบายการพัฒนาทักษะความสามารถด้านการอ่านและการเขียนของ นกั เรยี นระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑–๖ การเข้ามาใหค้ วามร้ดู ้านสขุ ภาพแกน่ กั เรียน การ ช่วยเหลือให้การป้องกันและรักษาโรคเกี่ยวกับสุขภาวะของนักเรียน รวมท้ังการส่งเสริม สนับสนนุ ในเร่ืองแหล่งเรยี นรตู้ ่างๆ ทีม่ ีเพือ่ ให้นักเรยี นไดป้ ระสบการณก์ ารเรียนรมู้ ากข้นึ ๓) การให้ความรว่ มมือของชมรมผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา และหนว่ ยงาน ในชมุ ชน การใหค้ วามรว่ มมือของชมรมผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษาทีค่ อยสนับสนุน และสง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรยี นดำ� เนนิ การพฒั นาความสามารถดา้ นภาษาสคู่ วามรอบรดู้ า้ นสขุ ภาวะ ช่วยให้การท�ำงานเช่ือมประสานระหว่างโรงเรียนกับชุมชนเกิดขึ้นได้ดีขึ้นและง่ายข้ึนเนื่อง ด้วยมีเป้าหมายเดียวกันคือการพัฒนานักเรียนให้อ่านออกเขียนได้และมีสุขภาพท่ีดี ที่ผู้ปกครองเองไม่สามารถรวมตัวท�ำกันได้เองต้องอาศัยการเร่ิมต้นจากโรงเรียนและขยาย สผู่ ปู้ กครองและชมุ ชนตอ่ ไป ซงึ่ การใหค้ วามรว่ มมอื นท้ี ำ� ใหโ้ รงเรยี นมแี หลง่ เรยี นรภู้ ายนอก เพม่ิ ขน้ึ ในการนำ� นกั เรยี นบรู ณาการความรเู้ ขา้ กบั ประสบการณจ์ รงิ ในชมุ ชนหรอื สถานการณ์ ท่ีเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีโรงเรียนคัดเลือกจากพ้ืนที่มาให้นักเรียนได้ร่วมแลกเปลี่ยนและเรียนรู้ โดยมเี ป้าประสงคก์ ารอา่ นนำ� การเขยี นตาม พดู นำ� เสนอได้ { 124 }
กระบวนการทำ� งาน ๑) การออกแบบกลไกและระบบการท�ำงาน กลไกในการท�ำงานของมหาวิทยาลัย ราชภัฏพระนครกับภาคีเครือข่ายใช้รูปแบบการท�ำงานแบบร่วมมือและเป็นที่ปรึกษาให้ ค�ำแนะน�ำ โดยมีองค์ประกอบของคณะท�ำงานและกระบวนการด�ำเนินงานดังนี้ (๑) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร ไดก้ ำ� หนดผูด้ ำ� เนินงานและบทบาทหนา้ ท่ีไว้ดงั น้ี (๑.๑) คณะ กรรมการอ�ำนวยการ บทบาทหนา้ ที่ อ�ำนวยการและสนับสนนุ ให้การด�ำเนินการโครงการ ประสบความส�ำเร็จ โดยคัดเลือกนักวิจัยเข้าร่วมกิจกรรมและบริหารจัดการให้โครงการ ประสบความสำ� เรจ็ ตามเปา้ หมายทกี่ ำ� หนดไว้ (๑.๒) ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการหลกั และผจู้ ดั การ โครงการ บทบาทหนา้ ที่ บรหิ ารจดั การโครงการและประสานงานกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ทั้งภายในและภายนอกเพื่อให้การด�ำเนินงานโครงการประสบผลส�ำเร็จตามเป้าหมายและ แผนงานทก่ี ำ� หนด (๑.๓) คณะกรรมการดำ� เนนิ งาน จำ� นวน ๖ คน จากวทิ ยาลยั การฝกึ หดั ครู (ครุศาสตร์) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทบาทหน้าท่ี รับผดิ ชอบโครงการโดยตรง และร่วมบริหารโครงการรว่ มกบั ผรู้ บั ผิดชอบ โครงการหลัก รวมทัง้ ลงพืน้ ทีแ่ ละด�ำเนินการปฏิบัติตามกจิ กรรมท่กี �ำหนดในโครงการเพ่ือ ให้ได้เป้าหมายตามที่ก�ำหนด (๑.๔) หน่วยงานสนับสนุนในมหาวิทยาลัย บทบาทหน้าท่ี สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และใหค้ วามชว่ ยเหลอื นกั วจิ ยั ดา้ นตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง แกน่ กั วจิ ยั ใหล้ งพนื้ ท่ี และด�ำเนินการปฏิบัติตามกิจกรรมที่ก�ำหนดในโครงการเพ่ือให้สามารถด�ำเนินการจัด โครงการได้สำ� เร็จและเกดิ ผลประโยชน์ตามเป้าหมาย ๒) โรงเรียนเครือขา่ ย มกี ารตั้งคณะกรรมการด�ำเนนิ งานและกำ� หนดบทบาทหนา้ ที่ ดงั น้ี (๑) ผ้บู ริหาร มีหน้าท่ี ก�ำกบั ดูแลและสนับสนนุ ทรพั ยากรบุคคลและทรพั ยากรต่างๆ ในการด�ำเนินงานของครูให้เป็นไปตามเป้าหมายของโครงการ (๒) ครู มีหน้าทต่ี า่ งๆ ดังน้ี (๒.๑) สำ� รวจ คดั กรอง และประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ น-การเขยี นของนกั เรยี นเพอื่ แบง่ กลุ่มนกั เรยี นในการพัฒนา (๒.๒) ส�ำรวจ คัดเลอื กสื่อ พัฒนาและผลติ สอ่ื นวตั กรรม และจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมสำ� หรบั พฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดข้ องนกั เรยี น (๒.๓) รว่ มประชมุ ใหค้ วามเหน็ ในการดำ� เนนิ งาน การจดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ าร และการตดิ ตาม ประเมนิ ผลการพฒั นาทกั ษะอา่ นออกเขยี นไดข้ องนกั เรยี นรว่ มกบั คณะกรรมการดำ� เนนิ งาน ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร รวมท้งั ใหค้ วามร่วมมือในการเข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ ท่ี มหาวิทยาลยั จดั ขึน้ เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพของครู (๓) นักเรียน มหี น้าท่ี เปน็ ผู้ใชส้ ื่อและให้ { 125 }
ความร่วมมือในการพัฒนาตนเองด้านการอ่านและการเขียนตามกระบวนการที่ครูและ ผู้ปกครองจัดให้ เพ่ือให้มีทักษะการอ่านออกเขียนได้จนสามารถมีความรอบรู้ในการเร่ือง สุขภาวะอย่างเหมาะสมตามระดับชั้นและช่วงวัย (๔) ชมรมผู้ปกครองและกรรมการ สถานศึกษา มีหน้าท่ี ให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียนในการร่วมให้ความคิดเห็นและ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขยี นของนักเรียน น�ำสือ่ นวัตกรรมท่ีมี การคดั เลอื กและผลติ ขนึ้ ไปใชก้ บั นกั เรยี นในปกครองของตนเอง พรอ้ มประเมนิ ผลตามคมู่ อื และขน้ั ตอนที่ได้รับคำ� แนะน�ำจากครใู นโรงเรยี น (๕) ชุมชนและ/หรือหัวหน้าชุมชน มีหน้า ที่ ใหค้ วามรว่ มมอื กบั ทางโรงเรยี นในการรว่ มใหค้ วามคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะในการพฒั นา ทกั ษะการอ่านและการเขียนของนักเรียน และรว่ มกนั ดูแลสุขภาวะของเดก็ และคนในชุมชน ร่วมกันเพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาสุขภาวะชุมชนในโอกาสต่อไป (๖) หน่วยงานสาธารณสุข มหี น้าท่ี ใหค้ �ำปรึกษาด้านสาธารณสขุ ให้บรกิ ารแก่โรงเรียนในพ้ืนทด่ี ้านสาธารณสขุ และ การดูแลสขุ ภาพของนักเรยี นในด้านต่างๆ ที่เป็นปัญหา หรอื การปอ้ งกนั ภาวะเสี่ยงต่อโรค ในแตล่ ะสถานการณ์ รวมทง้ั การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การทำ� กจิ กรรมใหน้ กั เรยี นสามารถดแู ล สขุ ภาพตนเองได้ (๗) สำ� นกั งานการศกึ ษาและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มหี นา้ ท่ี ใหก้ าร สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ ดา้ นความรู้ บคุ ลากรและทรัพยากรตา่ งๆ ทโี่ รงเรยี นตอ้ งการในดา้ น การพฒั นาความสามารถด้านภาษาสคู่ วามรอบรดู้ า้ นสขุ ภาวะ ส�ำหรับกลไกในการด�ำเนินงานระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร โรงเรียนเครือ ขา่ ยและภาคสี นบั สนนุ มกี ารทำ� งานในลกั ษณะกลั ยาณมติ ร มหาวทิ ยาลยั เปน็ พเ่ี ลย้ี งหรอื โคช้ ในการใหค้ ำ� แนะนำ� ในการดำ� เนนิ งานของโรงเรยี น (พ-่ี นอ้ ง) และใชศ้ กั ยภาพของสำ� นกั งาน เขตการศกึ ษา สำ� นักการศกึ ษา องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ชุมชน และผู้ปกครองในการ ช่วยขับเคลือ่ นโครงการให้ประสบความสำ� เร็จตามเปา้ หมายเดียวกัน { 126 }
กระบวนการในการดำ� เนนิ งานประกอบด้วย ๕ กระบวนการดังน้ี กระบวนการ การด�ำเนนิ งาน ผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากกระบวนการ ๑) ได้ฐานขอ้ มูลพ้นื ฐานเพือ่ น�ำมาจัดทำ� สารสนเทศและวเิ คราะห์สถานการณ์การอ่าน การเขียนและสุขภาวะในพ้ืนที่ได้ ๒) ได้กลไกการด�ำเนินงานประสานสัมพันธ์ระหว่าง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครกบั โรงเรยี นเครอื ขา่ ย องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ สำ� นกั งาน การศกึ ษาจังหวดั ชมุ ชน ผู้ปกครองและภาคสี นับสนนุ ด้านตา่ งๆ เชน่ สาธารณสุขในพ้นื ท่ี ผนู้ �ำชมุ ชน ผนู้ ำ� ทางศาสนา ปราชญ์ชาวบ้าน ๓) ได้สื่อ นวัตกรรม กจิ กรรมการเรียนรู้ หลักสูตร และแหล่งเรียนรู้ในลักษณะบูรณาการระหว่างกลุ่มสาระและเน้ือหาเพื่อพัฒนา ทักษะการอ่านการเขียนและส่งเสริมสุขภาวะของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาที่มีความ หลากหลายเหมาะส�ำหรับใช้ในโรงเรียนและน�ำกลับไปใช้กับผู้ปกครองที่บ้านได้ ทั้งยังเป็น สอ่ื ทีม่ คี ุณภาพต่อการนำ� ไปใชใ้ นการพัฒนาระยะยาวต่อไป { 127 }
ผลลพั ธจ์ ากสื่อ/นวัตกรรม และแหลง่ เรยี นรู้ ๑) นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นภาษาไทยและวชิ าอนื่ ๆ สงู ขน้ึ ๒) จำ� นวนนกั เรยี น อา่ นออกเขียนไดค้ ล่องเพม่ิ ข้นึ รอ้ ยละ ๗๐ ขนึ้ ไป ๓) คะแนนทดสอบ O-NET, NT สูงกว่า กอ่ นเขา้ ร่วมโครงการอย่างชดั เจน โดยเฉพาะจ�ำนวนนักเรียนทีม่ คี วามสามารถในการอ่าน จบั ใจความและเขยี นสรปุ ความมจี ำ� นวนเพมิ่ สงู ขนึ้ จากเดมิ นบั เปน็ ปญั หารอ้ ยละ ๘๐ กลาย เป็นหลังเข้าร่วมโครงการอัตราการอ่านออกเขียนได้มีคะแนนเพิ่มสูงขึ้นหลายโรงเรียน ร้อยละ ๘๐ ซึ่งเป็นคะแนนท่ีกลับด้านกับก่อนเข้าร่วมโครงการ เนื่องจากการวิเคราะห์ สถานการณร์ ว่ มกนั ถกู ตอ้ งทำ� ใหค้ รทู กุ โรงเรยี นพฒั นาสอ่ื กจิ กรรมและหลกั สตู รตา่ งๆ เพอื่ มุ่งให้นักเรียนอ่านจับใจความและเขียนสรุปความมากข้ึนควบคู่ไปกับการพัฒนา การอา่ นออกเขยี นได้ จงึ ส่งผลใหน้ กั เรียนทีอ่ ่านคลอ่ งแลว้ สามารถอ่านจับใจความได้สงู ขนึ้ ๔) นกั เรยี นมนี สิ ยั รกั การอา่ น และมคี วามพงึ พอใจในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ ทโี่ รงเรยี น จดั ขน้ึ ๕) นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมการดแู ลตนเองดา้ นสขุ ภาวะดขี น้ึ ๖) นกั เรยี นไดเ้ รยี นรอู้ ยา่ ง มคี วามสุขและเต็มทก่ี บั สือ่ กิจกรรมต่างๆ ท่ีทางโรงเรยี นไดจ้ ดั ท�ำ มีการพฒั นาทักษะด้าน การอ่านออก และเขียนได้ สามารถคิดวิเคราะห์ข้อมูลจากการอ่านได้ตามศักยภาพของ แตล่ ะบคุ คล ๗) ครูไดร้ บั การพัฒนาศักยภาพเพมิ่ ขึ้นดา้ นการจัดการเรียนรู้ การพฒั นาสอื่ การจัดกิจกรรมที่เน้นพัฒนาผู้เรียนท�ำให้เกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าในตนเองมาก ขน้ึ ๘) ครมู กี ารทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งสายชน้ั ระหวา่ งกลมุ่ สาระเพม่ิ มากขน้ึ โดยมเี ปา้ หมาย เดียวกัน คือ พัฒนาความสามารถด้านการอ่านออกเขียนได้ และความรู้ด้านสุขภาวะ โดยบรู ณาการการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละสขุ ภาวะเขา้ สรู่ ายวชิ าและกจิ กรรมตา่ งๆ ของโรงเรยี น เกดิ ความสามคั คใี นการทำ� งานเพมิ่ มากขน้ึ ๙) การแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั ระหวา่ งโรงเรยี น เครือขา่ ยทำ� ให้เกดิ การเผยแพร่ความรู้ ส่อื และวิธีการ ๑๐) โรงเรยี นมรี ะบบการบรหิ าร จัดการเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านออกเขียนได้สู่การพัฒนาพฤติกรรมด้าน สุขภาวะของนักเรียนที่ชัดเจนและมีค�ำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ๑๑) โรงเรยี นมกี ารปรบั เปลยี่ นสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี นใหต้ อบสนองการพฒั นาการ อา่ นออกเขยี นไดแ้ ละสง่ เสรมิ สขุ ภาวะ เชน่ การขายสนิ คา้ ในรา้ นคา้ สวสั ดกิ าร การทำ� อาหาร ของโรงครวั ทเ่ี นน้ อาหารสะอาด ปลอดภยั และมกี ารดำ� เนนิ งานดา้ นสขุ ภาวะอยา่ งเปน็ ระบบ ๑๒) ผู้ปกครองและชุมชนให้ความส�ำคัญและให้ความร่วมมือกับการพัฒนาการอ่านออก เขยี นได้และสขุ ภาวะของนกั เรยี นเพิ่มขึ้น { 128 }
ภาพท่ี ๔.๑ โรงเรยี นบา้ นลาดพรา้ ว (สาคร-สุน่ พานิชเฮง) แขวงจนั ทรเกษม เขตจตจุ กั ร กรุงเทพมหานคร
การพฒั นาสื่อบูรณาการ ด้านภาษาสู่ความรอบรูด้ ้านสุขภาวะ โรงเรยี นบ้านลาดพรา้ ว (สาคร-ส่นุ พานชิ เฮง) แขวงจนั ทรเกษม เขตจตจุ ักร กทม. เร่ืองเด่นของพ้ืนท่ี โรงเรยี นบา้ นลาดพรา้ ว ตง้ั อยบู่ นถนน ลาดพรา้ ว ๔๑ เขตจตจุ กั ร จงั หวดั กรุงเทพมหานคร มคี รจู ำ� นวน ๑๗ คน นักเรยี นจำ� นวน ๓๑๕ คน สดั ส่วน ระหวา่ งครกู ับนกั เรียน ๑๙:๑ จดุ เด่นของโรงเรยี นบา้ นลาดพรา้ ว คือ ครูผู้รบั ผิดชอบโครงการมีทักษะ และมคี วามเชยี่ วชาญในการผลติ สอื่ ทนี่ า่ สนใจและสวยงาม ครทู กุ คนในโรงเรยี น มีความต้ังใจและมีความร่วมมือกันอย่างดีในการขับเคลื่อนโครงการกิจกรรม การพฒั นาสอื่ ต่างๆ รวมท้งั การประสานความร่วมมอื กบั ผู้ปกครองและชมุ ชน ในการสร้างความเข้มแข็งสู่การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านการเขียน ภาษาไทยและสุขภาวะให้แก่นักเรียน ซึ่งความโดดเด่นของโรงเรียนบ้าน ลาดพร้าว คือ การพัฒนาสื่อบูรณาการด้านภาษาสู่ความรอบรู้ด้านสุขภาวะ โดยเฉพาะสอื่ สง่ เสรมิ การอา่ นจบั ใจความและเขยี นสรปุ ความซงึ่ เปน็ สว่ นสำ� คญั ท่ที ำ� ใหผ้ ลการทดสอบ O-NET, RT และผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียน เพ่มิ สูงขน้ึ ทั้งน้ีได้รับความร่วมมือจากศูนย์สาธารณสุข ส�ำนักงานเขตการศึกษา ส�ำนักการศึกษาจังหวัดกรุงเทพมหานคร และผู้ปกครองชุมชนเป็นอย่างดีใน การสง่ เสรมิ และพฒั นาทกั ษะการอา่ นการเขยี นและสขุ ภาวะของนกั เรยี น ทำ� ให้ โรงเรียนประสบความส�ำเร็จในการพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียนและปรับ เปลยี่ นพฤตกิ รรมดา้ นสุขภาวะของนักเรียน { 130 }
สถานการณป์ ญั หา นกั เรยี นมคี ะแนนการทดสอบระดบั ชาติ วชิ าภาษาไทยตำ่� กวา่ เกณฑแ์ ละคา่ เฉลย่ี ของระดับประเทศทุกปีเป็นระยะเวลาติดต่อกันมา นักเรียนมีการดื่มน้�ำอัดลม กิน ลกู อม ขนมขบเคยี้ วทำ� ใหฟ้ นั ผุ และสขุ ภาพรา่ งกายไมค่ อ่ ยแขง็ แรง ซง่ึ จากการดำ� เนนิ การกอ่ นเขา้ รว่ มโครงการโรงเรยี นมงุ่ พฒั นาดา้ นการสง่ เสรมิ การอา่ นออกเขยี นไดใ้ ห้ แกน่ กั เรยี นโดยการตวิ เพื่อสอบ O-NET, RT เพอ่ื ใหม้ คี ะแนนเพิ่มสงู ข้ึน เนื่องจาก โรงเรยี นเขา้ ใจวา่ นกั เรยี นอา่ นไมอ่ อกเขยี นไมไ่ ดจ้ งึ ทำ� ขอ้ สอบไมไ่ ด้ สง่ ผลใหม้ กี ารผลติ สื่อการอา่ นเขยี นค�ำศัพท์ ฝกึ อา่ นแจกลกู สะกดคำ� เป็นหลกั สถานการณ์การอ่านออกเขียนได้ก่อนเข้าร่วมโครงการพบว่า มีนักเรียนอ่าน ไม่ได้ จำ� นวน ๓๐ คน อ่านไมค่ ล่อง จ�ำนวน ๔๑ คน อา่ นได้ จำ� นวน ๕๗ คน และ อา่ นคลอ่ งจำ� นวน ๒๑๒ คน แตม่ ปี ญั หาการอา่ นจบั ใจความและเขยี นสรปุ ความไมไ่ ด้ ร้อยละ ๘๐ ของนกั เรียนทั้งหมด สถานการณก์ ารผลติ และพัฒนาส่อื เนน้ การผลติ สอื่ เพอ่ื สง่ เสรมิ การอา่ นออกเขยี นไดใ้ นลกั ษณะสอ่ื บตั รคำ� สอื่ สง่ เสรมิ การอา่ นคำ� ศัพทเ์ ปน็ ส่วนใหญ่ วธิ กี าร (๕ ส) ไดแ้ ก่ ๑) การสำ� รวจปญั หาและตน้ ทนุ ของโรงเรยี นและพน้ื ที่ ๒) การสรา้ งสรรค์ สื่อและกิจกรรมการเรียนรู้ ๓) การส่งเสริมสนับสนุนทั้งจากภายในและภายนอก ๔) การดำ� เนินการอย่างสม�่ำเสมอ ๕) การสะทอ้ นผลการด�ำเนนิ งาน กระบวนการ เปน็ การทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งครู นกั เรยี น บคุ ลากรภายในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร ผปู้ กครองและเครอื ขา่ ยสนับสนนุ ตา่ งๆ ดังนี้ ๑) การส�ำรวจปญั หา และตน้ ทนุ ของโรงเรียนและพ้ืนท่ี ดำ� เนินการดังนี้ (๑) ส�ำรวจปญั หาการอา่ นเขยี น และสุขภาวะของนักเรียนและน�ำมาจัดท�ำข้อมูลพ้ืนฐานของนักเรียนรายบุคคลด้าน การอา่ นเขยี น (๒) สำ� รวจสอ่ื กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละแหลง่ เรยี นรทู้ ม่ี ใี นโรงเรยี นและ ในชมุ ชนเพอื่ นำ� มาจดั ทำ� ขอ้ มลู พน้ื ฐานดา้ นสอ่ื การเรยี นรเู้ พอ่ื นำ� มาใชป้ ระโยชนใ์ นการ { 131 }
วิเคราะห์แกป้ ญั หาตอ่ ไป ๒) สร้างสรรคส์ ือ่ และกิจกรรมการเรยี นรู้ ดงั นี้ (๑) จัดท�ำ แผนปฏิบัติการในการพัฒนาความสามารถด้านภาษาสู่ความรอบรู้ด้านสุขภาวะ (๒) พฒั นาสอ่ื แบบบรู ณาการภาษาสคู่ วามรอบรสู้ ขุ ภาวะ และการจดั ทำ� กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรแบบเนน้ บูรณาการเนอื้ หาภาษาไทยและสขุ ภาวะเข้ากับรายวิชาทงั้ ๘ กลุ่ม สาระ โดยครูและนกั เรยี นรว่ มกันพฒั นา (๓) จัดกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นเขียนเพ่อื สุขภาวะนอกเวลาเรียนโดยให้ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคีสนับสนุนเข้ามามีส่วนร่วม ๓) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การทำ� งานทง้ั ภายในและภายนอก เปน็ ขน้ั ตอนสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้นักเรียนได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนด้วยสื่อท่ีพัฒนาและผลิตขึ้น ดังนี้ (๑) ส่งเสริมและสนับสนุนครูให้ผลิตส่ือเพ่ิมมากขึ้นโดยใช้งบสนับสนุนจาก โครงการ โดยบูรณาการและท�ำร่วมกันท้ังโรงเรียน (๒) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ นักเรียนอ่านและเขียนได้ตลอดเวลา โดยการจัด ติดต้ังส่ือต่างๆ ไว้ทุกท่ีในบริเวณ โรงเรยี น (๓) สง่ เสริมและสนบั สนนุ ใหผ้ ปู้ กครองเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการช่วยพัฒนา ทักษะการอ่านและการเขยี นของนกั เรยี นผา่ นกจิ กรรมรักการอา่ น เป็นกิจกรรมทที่ ำ� ทั้งท่ีบ้านและที่โรงเรียน (๔) ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงเรียน ผู้ปกครอง และ บุคลากรฝ่ายต่างๆ ช่วยกันดแู ลเรือ่ งสขุ ภาวะของนกั เรยี น เชน่ การงดขายน�ำ้ หวาน ลูกอม นำ�้ อดั ลม ขนมขบเคยี้ วในรา้ นคา้ ของโรงเรียน การจดั เมนูอาหารกลางวนั ที่ ครบหลัก ๕ หมู่และรักษาความสะอาดตั้งแต่ห้องส้วมถึงหน้าโรงเรียนพูดคุยและ ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองช่วยกันก�ำกับบุตรหลานในการรับประทานอาหารท่ีเป็น ประโยชน์ การดแู ลความสะอาดรา่ งกาย และเสอื้ ผา้ ๔) สมำ่� เสมอ เปน็ ขนั้ ตอนการนำ� ใช้สือ่ ซ่ึงครูและนกั เรยี นน�ำส่อื ทพ่ี ฒั นาและผลิตขนึ้ ไปใชท้ งั้ ในชน้ั เรียน นอกชนั้ เรยี น และในกิจกรรมเสริมหลักสูตรต่างๆ ท่ีได้วางแผนไว้อย่างสม�่ำเสมอและต่อเน่ือง ๕) สะทอ้ นผลการดำ� เนนิ งาน เป็นขั้นตอนการประเมินและตดิ ตามผลการใชส้ อื่ และ กจิ กรรมตา่ งๆ ในโครงการ ซงึ่ เปน็ การทำ� งานทง้ั ภายในและภายนอก มกี ารประเมนิ นักเรียน การสัมภาษณ์ครู นักเรียน และผู้ปกครองเก่ียวกับการจัดกิจกรรมและ การใช้สื่อ การจัดสภาพแวดล้อมท้ังภายในและนอกห้องเรียน การจัดแหล่งเรียนรู้ ส�ำหรบั นกั เรยี นและผู้ปกครอง กิจกรรม { 132 }
ประกอบดว้ ย ๑) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นดา้ นสขุ ภาพรว่ มกบั สาธารณสขุ ประจำ� เขต ๒) กจิ กรรมพฒั นาการอา่ นการเขยี นรว่ มกบั ผปู้ กครองและชมุ ชน ๓) กจิ กรรมรณรงค์ การรกั การอา่ น ๔) กจิ กรรมอาหารปลอดภยั ใสใ่ จสขุ ภาพ ๕) กจิ กรรมวารสารสขุ ภาพ ส่งตรงจากโรงเรียนถึงผูป้ กครองและชมุ ชน ผลลพั ธ์ทเี่ กิดข้ึน ๑) เกิดแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาวะภายในโรงเรียน ๒) มีผู้ปกครองและหน่วย สาธารณสุขเข้ามาร่วมให้ความรู้แก่นักเรียนภายในโรงเรียน ๓) โรงเรียนมีสื่อ นวตั กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นเขยี นและสขุ ภาวะ สามารถพฒั นาเปน็ ศนู ยเ์ รยี นรใู้ หแ้ กค่ รู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนได้ ๑ ศนู ย์ ๔) ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี น ที่ผ่านการใช้สื่อและกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการสูงขึ้น ๕) ผลการทดสอบ O-NET และ Reading Test (RT) ของนกั เรยี นวชิ าภาษาไทยเพม่ิ สงู ขน้ึ และมคี ะแนน สูงกว่าคะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศในรอบหลายปีตง้ั แต่มกี ารทดสอบมา ความเปลยี่ นแปลงของนักเรยี น ครู โรงเรยี น ผปู้ กครอง/ชมุ ชน ผู้มสี ่วนรว่ ม ๑) ผลการเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ กบั ตวั นกั เรยี น มดี งั น้ี (๑) จำ� นวนนกั เรยี นทอ่ี า่ น ไม่ออก อ่านไม่คล่องลดลง จ�ำนวนที่นักเรียนอ่านได้และอ่านคล่องเพิ่มข้ึน (๒) นักเรียนมีนิสัยรักในการอ่านเพิ่มข้ึนเปลี่ยนพฤติกรรมจากการเล่นมาหยิบหนังสือมา อา่ นหรอื อา่ นป้ายตา่ งๆ ตามมมุ ของโรงเรียน (๓) นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ ว กบั สุขภาวะดขี ้นึ สามารถใชก้ ารอ่านเปน็ เคร่ืองมอื ในการดูแลสขุ ภาวะของตนเองได้ เช่น นักเรียนเร่ิมดื่มน้�ำเปล่าแทนน้�ำหวาน นักเรียนรับประทานผักผลไม้เพิ่มข้ึน จ�ำนวนผักที่เหลือในถังอาหารลดน้อยลง ๔) นักเรียนมีความสุขในการได้ร่วมท�ำ กจิ กรรมตา่ งๆ ในโครงการ ๒) ผลเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขึน้ กบั ครู พบว่า ครูผ้สู อนสามารถสอนนกั เรียนได้ บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้ได้ดีข้ึน มีความร่วมมือกันออกแบบและผลิตสื่อส�ำหรับ นักเรียนท่ีหลากหลาย ท�ำให้ครูมีส่ือเพิ่มข้ึนและท�ำให้นักเรียนสนใจเรียนมากข้ึนครู ผู้สอนได้ท�ำงานเป็นทมี มวี างแผนการสอนแบบบูรณาการ มีการผสานความร่วมมอื { 133 }
กนั ท้ังกิจกรรมการแกไ้ ขปัญหาการอา่ น กจิ กรรมการผลติ ส่อื การจดั รายการวิทยุ การจัดกิจกรรมบูรณาการต่างๆ ซึ่งล้วนท�ำให้ครูผู้สอนได้พัฒนาศักยภาพด้านการ สอนและเทคนิคการสอนไปในตวั ๓) ผลเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ กบั โรงเรยี น เกดิ การบรหิ ารจดั การไดบ้ รรลเุ ปา้ หมาย ทกุ ดา้ นทง้ั ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน การจดั กจิ กรรม/โครงการ การพฒั นาผเู้ รยี น ซ่ึงเป็นไปตามตัวช้ีวัดการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน และโรงเรียนมีแหล่ง เรียนรู้ภายนอกเพ่ิมข้ึนส�ำหรับนักเรียนทุกระดับชั้นและสามารถบูรณาการได้หลาก หลายกล่มุ สาระ ๔) ผลเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ผปู้ กครอง ผปู้ กครองมสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ การอ่านของนักเรยี น โดยดูแลการอา่ นของนักเรียนในขณะนกั เรียนท�ำกิจกรรมการ อ่านท่ีบ้าน ท�ำให้นักเรียนและผู้ปกครองมีโอกาสได้ใกล้ชิดกันมากขึ้นท�ำให้เกิด สมั พันธภาพอันดใี นครอบครวั { 134 }
ภาพท่ี ๔.๒ โรงเรยี นวดั โสภณาราม ตำ� บลบึงคอไห อำ� เภอลำ� ลกู กา จงั หวดั ปทมุ ธานี
โรงเรยี นตน้ แบบดา้ นการบูรณาการ ภาษาสู่สุขภาวะ โรงเรียนวัดโสภณาราม ต�ำบลบงึ คอไห อ�ำเภอล�ำลกู กา จงั หวดั ปทมุ ธานี เรือ่ งเดน่ ของพื้นที่ โรงเรียนวัดโสภณาราม ตั้งอยู่ในพ้ืนที่ต�ำบลบึงคอไห อ�ำเภอล�ำลูกกา จังหวัดปทุมธานี มีครูจ�ำนวน ๑๓ คน นกั เรียนจ�ำนวน ๑๒๔ คน สัดส่วน ระหวา่ งครกู ับนักเรียน ๑๐:๑ จดุ เดน่ ของโรงเรยี นวดั โสภณราม คอื เปน็ โรงเรยี นทไ่ี ดร้ บั การรบั รองเปน็ โรงเรยี นสขุ ภาพระดบั เพชร ของกระทรวงสาธารณสขุ ซงึ่ มกี ารปฏบิ ตั เิ ปน็ เลศิ ในด้านการดูแลและพัฒนาพฤติกรรมด้านสุขภาวะให้แก่นักเรียน ครูและ ผู้บริหารมีการท�ำงานแบบร่วมมือกันอย่างจริงจัง โดยมีการน�ำโครงการ กิจกรรม การเรียนรู้ทงั้ ในหลักสตู รและนอกหลกั สูตรมาบูรณาการเข้ากบั การ พัฒนาทักษะการอ่านการเขียนและสุขภาวะอย่างชัดเจน มีการร่วมมือจาก ปราชญช์ าวบา้ นในการทำ� หลกั สตู รสง่ เสรมิ อาชพี ใหแ้ กน่ กั เรยี น ซง่ึ โรงเรยี นได้ น�ำมาปรับและบูรณาการเข้ากับการพัฒนาทักษะการอ่านการเขียนให้แก่ นักเรียนได้อย่างเหมาะสม มีแหล่งเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกเพื่อส่งเสริม การอ่านเขียนและสุขภาวะ การได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานส่วนท้องถ่ิน โรงพยาบาล วัด และชุมชนในการขับเคล่ือนโครงการอย่างต่อเนื่องและเป็น กิจกรรมโครงการทีเ่ ปน็ รูปธรรม ทสี่ ำ� คญั คือมีการพัฒนาทักษะการอา่ นเขยี น ของนกั เรยี นที่มีความตอ้ งการพิเศษอีกดว้ ย { 136 }
สถานการณป์ ัญหา สถานการณก์ ารอา่ นออกเขยี นไดก้ อ่ นเขา้ รว่ มโครงการ พบวา่ มนี กั เรยี นอา่ นไมไ่ ด้ จ�ำนวน ๖ คน อา่ นไม่คลอ่ ง จำ� นวน ๑๙ คน อา่ นได้คล่อง จำ� นวน ๕๔ คน แต่มี ปัญหาการอ่านจับใจความไม่ได้และเขียนสรุปความไม่ได้ร้อยละ ๗๐ ของจ�ำนวน นักเรียนทัง้ หมด สถานการณก์ ารผลติ และพฒั นาส่ือ เนน้ การผลติ สอื่ เพอ่ื สง่ เสรมิ การอา่ นออกเขยี นไดใ้ นลกั ษณะสอ่ื บตั รคำ� สอ่ื สง่ เสรมิ การอ่านค�ำศัพท์เป็นส่วนใหญ่และเป็นหน้าท่ีของครูภาษาไทยเป็นหลัก ส่วนสื่อ ส่งเสริมสุขภาวะล้วนเน้นให้ความรู้เพื่อตอบโจทย์กิจกรรม/โครงการท่ีได้รับการ สนบั สนนุ จากองคก์ รภายนอก ยงั ขาดการพฒั นาในลกั ษณะบรู ณาการทำ� ใหโ้ รงเรยี น มีโครงการ/กจิ กรรมต้องดำ� เนนิ การจ�ำนวนมาก วธิ กี าร ประกอบดว้ ย ๑) การสำ� รวจปญั หาและตน้ ทนุ ของโรงเรยี นและพนื้ ที่ ๒) การพฒั นา ศักยภาพครูเพ่ือพัฒนาสื่อและกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบบูรณาการ ๓) การจัด กจิ กรรมแบบบรู ณาการโดยการมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งโรงเรยี น ผปู้ กครอง ปราชญช์ าวบา้ น ชุมชน และวดั ๔) การด�ำเนนิ การอย่างสม�ำ่ เสมอ ๕) การสะทอ้ นผลการดำ� เนนิ งาน กระบวนการ เปน็ การทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งครู นกั เรยี น บคุ ลากรภายในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร ผปู้ กครอง ชมุ ชนและเครอื ขา่ ยสนบั สนนุ ตา่ งๆ ดังนี้ ๑) การสำ� รวจ ปัญหาและตน้ ทุนของโรงเรียนและพืน้ ท่ี ด�ำเนินการดังน้ี (๑) ส�ำรวจปญั หาการอ่าน เขียนและสุขภาวะของนักเรียนและน�ำมาจัดท�ำข้อมูลพ้ืนฐานของนักเรียนรายบุคคล ดา้ นการอา่ นเขยี น (๒) สำ� รวจสอ่ื กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละแหลง่ เรยี นรทู้ ม่ี ใี นโรงเรยี น และในชมุ ชนเพอ่ื นำ� มาจดั ทำ� ขอ้ มลู พนื้ ฐานดา้ นสอื่ การเรยี นรเู้ พอื่ นำ� มาใชป้ ระโยชนใ์ น การวเิ คราะหแ์ กป้ ัญหาตอ่ ไป ๒) พัฒนาศักยภาพครเู พือ่ การพฒั นาสอ่ื และกิจกรรม การเรียนรู้ในรูปแบบการบูรณาการ ดังน้ี (๑) จัดท�ำแผนปฏิบัติการในการพัฒนา ความสามารถด้านภาษาสู่ความรอบรู้ด้านสุขภาวะ (๒) สร้างความเข้าใจให้แก่ครู และพฒั นาศกั ยภาพครดู า้ นการจดั กจิ กรรมแบบบรู ณาการระหวา่ งภาษา สขุ ภาวะเขา้ { 137 }
กบั กจิ กรรมทโ่ี รงเรยี นมอี ยเู่ ดมิ และพฒั นาศกั ยภาพครใู นการผลติ สอื่ แบบบรู ณาการ ภาษาสคู่ วามรอบรสู้ ขุ ภาวะเขา้ กลมุ่ สาระตา่ งๆ เพอ่ื นำ� ไปใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน และประกอบกิจกรรม (๓) จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเขียนเพ่ือสุขภาวะนอกเวลา เรียนโดยให้ผู้ปกครอง ชุมชน วัด ปราชญ์ชาวบ้าน วิทยากรภายนอกและภาคี สนับสนุนเข้ามามีส่วนร่วม ๓) การจัดกิจกรรมแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วม ระหวา่ งโรงเรยี น ผู้ปกครอง ปราชญช์ าวบ้าน ชมุ ชน วดั และภาคีสนบั สนุนต่างๆ เป็นข้ันตอนการจัดกิจกรรมทั้งภายในและนอกห้องเรียนในลักษณะบูรณาการเพื่อ พัฒนาการอา่ นจับใจความ การเขียนสรุปความให้มากข้นึ ประกอบดว้ ย (๑) น�ำแผน ปฏิบัติการมาสู่การท�ำกิจกรรมในลักษณะความร่วมมือระหว่างโรงเรียนผู้ปกครอง ปราชญช์ าวบา้ น ชุมชน วัด และภาคสี นับสนุนต่างๆ โดยมกี ารผลิตและพัฒนาสือ่ สนับสนุนการท�ำกิจกรรมเพิ่มข้ึนโดยเน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติเป็นส�ำคัญ (๒) ส่งเสริมและสนับสนนุ ให้นกั เรยี นอา่ นและเขียนได้ตลอดเวลา โดยการจดั ติดตั้ง สอ่ื ต่างๆ ไว้ทุกทใ่ี นบรเิ วณโรงเรียน (๓) ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้นักเรยี นมีสขุ ภาวะ ที่ดที ง้ั ด้านร่างกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา และอารมณ์โดยจดั พ้ืนทภี่ ายในโรงเรียนให้เป็น แหล่งเรียนรู้และมีการเชิญวิทยากร ปราชญ์ชาวบ้านมาให้ความรู้เพิ่มเติม รวมท้ัง การนำ� นกั เรยี นลงพนื้ ทที่ เี่ ปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นตา่ งๆ เชน่ วดั มสั ยดิ ศนู ยเ์ รยี นรชู้ มุ ชน แหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม เป็นต้น เป็นต้น (๔) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ โรงเรียน ผู้ปกครอง และบคุ ลากรฝ่ายต่างๆ ชว่ ยกันดูแลเรื่องสุขภาวะของนกั เรียน เช่น การจัดกิจกรรมส่งเสริมการท�ำเกษตรอินทรีย์และมีการซื้อขายแลกเปลี่ยน ระหวา่ งผปู้ กครอง ชาวบา้ นและครใู นโรงเรยี น การนำ� หลกั การเศรษฐกจิ พอเพยี งมา ใชแ้ ละสรา้ งศนู ยเ์ รยี นรเู้ พอื่ สขุ ภาวะภายในโรงเรยี น การรกั ษาความสะอาดของโรงเรยี น การพดู คยุ และประชาสมั พนั ธใ์ หผ้ ปู้ กครองชว่ ยกนั กำ� กบั บตุ รหลานในการรบั ประทาน อาหารท่เี ป็นประโยชน์ การดแู ลความสะอาดรา่ งกาย และเสอื้ ผ้า ๔) สม่�ำเสมอ เปน็ ขนั้ ตอนการนำ� ใชส้ อื่ และการจดั กจิ กรรมอยา่ งสมำ่� เสมอโดยเนน้ กจิ กรรมทท่ี ำ� แลว้ ให้ ผลส�ำเรจ็ เปน็ กจิ กรรมหลัก มาปรับและบรู ณาการลงสู่ห้องเรียนและกล่มุ สาระตา่ งๆ ทไ่ี ดว้ างแผนไวอ้ ยา่ งสมำ�่ เสมอและตอ่ เนอ่ื ง ๕) สะทอ้ นผลการดำ� เนนิ งาน เปน็ ขน้ั ตอน การประเมนิ และตดิ ตามผลการใชส้ อื่ และกจิ กรรมตา่ งๆ ในโครงการ ซงึ่ เปน็ การทำ� งาน ท้ังภายในและภายนอก มีการประเมินนักเรียน การสัมภาษณ์ครู นักเรียน และ { 138 }
ผปู้ กครองเกย่ี วกบั การจดั กจิ กรรมและการใชส้ อ่ื การจดั สภาพแวดลอ้ มทง้ั ภายในและ นอกหอ้ งเรียน การจดั แหล่งเรียนรู้ส�ำหรบั นกั เรียนและผปู้ กครอง กจิ กรรม ประกอบดว้ ย ๑) กจิ กรรมผเู้ รยี นแบบบรู ณาการผ่านแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ ภายนอกโรงเรียน ๒) กิจกรรมการพฒั นาดา้ นสุขภาวะให้นกั เรียนดา้ นจติ ใจ สังคม อารมณ์ และร่างกายรว่ มกับสาธารณสขุ ประจำ� เขตและหนว่ ยงานตา่ งๆ ท่ีเกีย่ วข้อง ๓) กจิ กรรมพฒั นาการอา่ นการเขยี นรว่ มกบั ผปู้ กครองและชมุ ชน ๔) กจิ กรรมอาหาร ปลอดภัยใสใ่ จสขุ ภาพ ผลลพั ธท์ ี่เกดิ ขึ้น ๑) โรงเรียนมแี หล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนท่ีบูรณาการอาชีพ เศรษฐกิจพอเพียง เข้ากบั กิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่านเขยี นและสขุ ภาวะอย่างน้อย ๓ รายการ ๒) มี วิทยากร สาธารณสุขและปราชญ์ชาวบ้านเข้ามาร่วมให้ความรู้แก่นักเรียนภายใน โรงเรยี น ๓) โรงเรียนมสี ือ่ นวตั กรรมสง่ เสริมการอา่ นเขยี นและสขุ ภาวะ สามารถ พฒั นาเปน็ ศนู ยเ์ รยี นรใู้ หแ้ กค่ รนู กั เรยี นจากภายนอก ผปู้ กครองและชมุ ชนได้ ๑ ศนู ย์ ๔) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรยี นทผี่ า่ นการใชส้ อ่ื และกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ บรู ณาการสงู ขน้ึ ๕) ผลการทดสอบ O-NET, RT ของนักเรียนวิชาภาษาไทยเพ่มิ สูงข้ึนอยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยเฉพาะการอา่ นจับใจความและการเขียนสรปุ ความ ความเปลี่ยนแปลงของนกั เรียน ครู โรงเรยี น ผ้ปู กครอง/ชุมชน ผมู้ สี ่วนรว่ ม ๑) ผลการเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ กบั ตวั นกั เรยี น มดี งั น้ี (๑) จำ� นวนนกั เรยี นทอี่ า่ น ไมอ่ อก อา่ นไมค่ ลอ่ งลดลง จำ� นวนทนี่ กั เรยี นอา่ นไดแ้ ละอา่ นคลอ่ งเพม่ิ ขนึ้ (๒) นกั เรยี น อ่านขอ้ ความเนอ้ื เร่ืองสัน้ ๆ ได้เขา้ ใจเพ่ิมสงู ข้ึนจากเดิมร้อยละ ๕ และเขยี นสรปุ ความ จากเรอ่ื งสนั้ ๆ ทอี่ า่ นไดเ้ พมิ่ สงู ขนึ้ จากเดมิ รอ้ ยละ ๔ (๓) นกั เรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ เก่ียวกับสุขภาวะดีขึ้น สามารถใช้การอ่านเป็นเคร่ืองมือในการดูแลสุขภาวะของ ตนเองได้ นักเรยี นรบั ประทานผักผลไมเ้ พ่มิ ขนึ้ จ�ำนวนนักเรยี นที่เป็นเหาลดนอ้ ยลง (๔) นักเรียนมคี วามสุขในการได้ร่วมท�ำกิจกรรมต่างๆ ในโครงการ { 139 }
๒) ผลเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ครู มดี งั นี้ (๑) ครมู คี วามตระหนกั และเหน็ ความ สำ� คญั ของการปฏิบัติหนา้ ทใี่ นการท่ีจะพัฒนานักเรยี นให้อา่ นออกเขียนได้ ท่มุ เทเสยี สละและมุง่ มนั่ ในการพัฒนานักเรียนให้อ่านออกเขียนได้ (๒) ครจู ดั เวลาส�ำหรบั การ สอนซ่อมเสริมการอ่านการเขียนให้กับนักเรียนท่ีมีปัญหาด้านการอ่านการเขียน นักเรยี นท่ีบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ (LD) อยา่ งจรงิ จัง ต่อเนอ่ื ง เช่น ช่วงเวลาวา่ งใน ตอนเชา้ กอ่ นเข้าแถวเคารพธงชาติ ชว่ งเวลาพักกลางวนั เปน็ ตน้ (๓) ครปู รับปรุง รปู แบบวธิ กี ารสอน และใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารสอนทห่ี ลากหลาย นา่ สนใจ เรา้ ใจ สนกุ สนาน เชน่ วธิ กี ารสอนแบบจบั คใู่ หค้ นทอี่ า่ นออกเขยี นไดส้ อนคนทอ่ี า่ นไมอ่ อกเขยี นไมไ่ ด้ การ ฝึกทักษะการอ่านการเขียนทุกวัน และใช้กระบวนการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับ พัฒนาการทางสมอง (Brain-based Learning: BBL) เป็นต้น (๔) ครูจดั หา จัดทำ� สอ่ื นวตั กรรมตลอดจนเทคโนโลยตี า่ งๆ เพอื่ นำ� มาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ พฒั นา ทกั ษะการอา่ น การเขยี นใหแ้ กน่ กั เรยี น (๕) ครจู ดั บรรยากาศในชนั้ เรยี นไดเ้ หมาะสม เอ้อื ต่อการเรยี นรขู้ องนักเรยี น ๓) ผลเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นกับโรงเรียน โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ภายในและ ภายนอกที่อยู่ในชุมชนและนอกชุมชนเพ่ิมมากขึ้น ท�ำให้การบริหารจัดการพัฒนา ผูเ้ รียนและการพัฒนาครบู รรลุเปา้ หมายตามแผนที่ก�ำหนดไว้ ๔) ผลเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ ขนึ้ กบั ผปู้ กครอง ผปู้ กครองมคี วามตระหนกั และใหก้ าร สนบั สนุนกิจกรรมการอา่ น/เขยี น ของนกั เรยี นในที่อยู่ในความปกครอง { 140 }
ภาพที่ ๔.๓ โรงเรยี นบ้านคลองบวั (เอ่ยี มแสงโรจน)์ ตำ� บลทา่ แร้ง เขตบางเขน กรงุ เทพมหานคร
โรงเรียนตน้ แบบด้านแหล่งเรียนรู้ บรู ณาการภาษาสู่สุขภาวะ โรงเรียนบา้ นคลองบวั (เอีย่ มแสงโรจน์) ต�ำบลทา่ แร้ง เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร เรือ่ งเดน่ ของพ้นื ท่ี โรงเรยี นบา้ นคลองบัว (เอย่ี มแสงโรจน์) ตั้งอยถู่ นนสุขาภิบาล ๕ แขวง ท่าแรง้ เขตบางเขน จังหวัดกรงุ เทพมหานคร มีครูจ�ำนวน ๖๕ คน นกั เรยี น จ�ำนวน ๑,๑๓๑ คน คิดเปน็ สดั สว่ นระหว่างครูกับนักเรียน ๑๗:๑ จดุ เด่นของโรงเรยี นบา้ นคลองบวั คือ การรว่ มมือกนั ท�ำกิจกรรมภายใต้ โครงการอย่างจริงจังทั้งผู้บริหาร ครูและบุคลากรสนับสนุน ท�ำให้การ ด�ำเนินงานประสบความส�ำเร็จและเป็นการด�ำเนินงานที่โดดเด่นด้านแหล่ง เรียนรบู้ ูรณาการภาษาสสู่ ขุ ภาวะ โดยครผู สู้ อนทุกระดบั ชั้นไดร้ ว่ มกนั คัดเลอื ก แหล่งเรียนรู้ในชุมชนใกล้เคียงเพ่ือพัฒนาความรู้เรื่องสุขภาวะและสร้างเสริม สุขภาวะให้แก่นักเรียนควบคู่ไปกับการท�ำกิจกรรมส่งเสริมการอ่านการเขียน ภาษาไทย ทำ� ใหโ้ รงเรยี นบา้ นคลองบวั มคี วามโดดเดน่ ในการพฒั นาสขุ ภาวะแก่ นักเรียนท้ังด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านการท�ำกิจกรรม ภายในโรงเรียนและการลงพื้นทเี่ รยี นรู้ในแหล่งเรยี นรูช้ ุมชน มกี ารบูรณาการ การเรียนรู้กลุ่มสาระต่างๆ เข้ากับการพัฒนาทักษะการอ่านการเขียนเพื่อ สขุ ภาวะ และไดร้ บั ความรว่ มมอื เปน็ อยา่ งดจี ากผปู้ กครองและชมุ ชนในการสรา้ ง ความเข้มแข็งสู่การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านการเขียนภาษาไทยและ สุขภาวะให้แก่นักเรียน รวมทั้งได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจากภาคี เครอื ขา่ ย อาทิ ศนู ยส์ าธารณสขุ สำ� นกั งานเขตการศกึ ษา และสำ� นกั การศกึ ษา จงั หวัดกรงุ เทพมหานคร { 142 }
สถานการณ์ปญั หา สถานการณก์ ารอา่ นออกเขยี นไดก้ อ่ นเขา้ รว่ มโครงการพบวา่ มนี กั เรยี นอา่ นไมไ่ ด้ จำ� นวน ๘๘ คน อา่ นไม่คล่อง จำ� นวน ๘๖ คน อ่านไดค้ ลอ่ ง จ�ำนวน ๘๗๖ คน แต่ มีปัญหาการอ่านจับใจความไม่ได้และเขียนสรุปความไม่ได้ร้อยละ ๘๐ ของจ�ำนวน นักเรยี นทง้ั หมด สถานการณ์การผลิตและพัฒนาสื่อ เนน้ การผลติ สอื่ เพอื่ สง่ เสรมิ การอา่ นออกเขยี นได ้ ในลกั ษณะสอื่ บตั รคำ� สอื่ สง่ เสรมิ การอ่านค�ำศัพท์เป็นส่วนใหญ่ ในขณะเดียวกันมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ซงึ่ เนน้ การอา่ นออกเขยี นไดเ้ ปน็ สำ� คญั โดยเนน้ ในกลมุ่ วชิ าภาษาไทยเปน็ หลกั ยงั ขาด การบรู ณาการกบั กลมุ่ สาระอนื่ ๆ และครสู ว่ นใหญย่ งั ไมเ่ ขา้ ใจวธิ กี ารบรู ณาการระหวา่ ง กลุ่มสาระ และการบูรณาการระหวา่ งภาษากับสขุ ภาวะ วธิ ีการ ประกอบดว้ ย ๑) การสำ� รวจปญั หาและตน้ ทนุ ของโรงเรยี นและพนื้ ที่ ๒) การพฒั นา ศกั ยภาพครเู พอ่ื พฒั นาสอ่ื และกจิ กรรมการเรยี นรใู้ นรปู แบบบรู ณาการ ๓) การจดั หา แหลง่ เรยี นรทู้ ง้ั จากภายในและภายนอก ๔) การด�ำเนนิ การอยา่ งสมำ่� เสมอ ๕) การ สะท้อนผลการด�ำเนินงาน กระบวนการ เปน็ การทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งครู นกั เรยี น บคุ ลากรภายในโรงเรยี น มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร ผูป้ กครอง ชุมชนและเครอื ขา่ ยสนบั สนนุ ต่างๆ ดังน้ี ๑) การสำ� รวจ ปญั หาและต้นทนุ ของโรงเรยี นและพนื้ ท่ี ด�ำเนนิ การดังนี้ (๑) ส�ำรวจปญั หาการอ่าน เขียนและสุขภาวะของนักเรียนและน�ำมาจัดท�ำข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนรายบุคคล ดา้ นการอา่ นเขยี น (๒) สำ� รวจสอ่ื กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละแหลง่ เรยี นรทู้ มี่ ใี นโรงเรยี น และในชมุ ชนเพอื่ นำ� มาจดั ทำ� ขอ้ มลู พนื้ ฐานดา้ นสอ่ื การเรยี นรเู้ พอื่ นำ� มาใชป้ ระโยชนใ์ น การวเิ คราะหแ์ กป้ ญั หาต่อไป ๒) พฒั นาศกั ยภาพครเู พ่ือการพัฒนาส่ือและกิจกรรม การเรยี นรใู้ นรปู แบบการบรู ณาการ ดำ� เนนิ การดงั นี้ (๑) จดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารในการ พัฒนาความสามารถดา้ นภาษาสู่ความรอบรู้ดา้ นสุขภาวะ(๒) สรา้ งความเข้าใจใหแ้ ก่ ครู และพฒั นาศกั ยภาพครดู า้ นการจดั กจิ กรรมแบบบรู ณาการระหวา่ งภาษา สขุ ภาวะ { 143 }
เขา้ กบั กจิ กรรมทโี่ รงเรยี นมอี ยเู่ ดมิ และพฒั นาศกั ยภาพครใู นการผลติ สอ่ื แบบบรู ณาการ ภาษาสคู่ วามรอบรสู้ ขุ ภาวะเขา้ กลมุ่ สาระตา่ งๆ เพอื่ นำ� ไปใชป้ ระกอบการเรยี นการสอน และประกอบกิจกรรม (๓) จัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเขียนเพื่อสุขภาวะนอกเวลา เรยี นโดยใหผ้ ปู้ กครอง ชมุ ชนและภาคสี นบั สนนุ เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ๓) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การทำ� งานทงั้ ภายในและภายนอก เปน็ ขนั้ ตอนสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหน้ กั เรยี นไดร้ บั การ พัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนด้วยส่ือที่พัฒนาและผลิตข้ึน ด�ำเนินการดังนี้ (๑) ส่งเสริมและสนับสนุนครูให้ผลิตสื่อเพ่ิมมากขึ้นโดยใช้งบสนับสนุนจากโครงการ โดยเนน้ การบรู ณาการและทำ� รว่ มกนั ทงั้ โรงเรยี น (๒) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหน้ กั เรยี น อา่ นและเขยี นได้ตลอดเวลา โดยการจัด ตดิ ตัง้ ส่อื ต่างๆ ไว้ทกุ ที่ในบรเิ วณโรงเรียน (๓) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ใหน้ กั เรยี นมสี ขุ ภาวะทด่ี ที งั้ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ญั ญา และ อารมณโ์ ดยการนำ� นกั เรยี นลงพนื้ ทที่ เ่ี ปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นตา่ งๆ ทงั้ ตลาด วดั มสั ยดิ ศูนย์เรยี นรชู้ ุมชน แหลง่ เรยี นรดู้ ้านศิลปวัฒนธรรม และดนตรี เป็นตน้ (๔) ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหโ้ รงเรยี น ผปู้ กครอง และบคุ ลากรฝา่ ยตา่ งๆ ชว่ ยกนั ดแู ลเรอ่ื งสขุ ภาวะ ของนกั เรียน เช่น การงดขายน้�ำหวาน ลกู อม น�้ำอดั ลม ขนมขบเค้ียวในรา้ นค้าของ โรงเรียน การจดั เมนูอาหารกลางวนั ท่ีครบหลัก ๕ หมู่ การน�ำหลักการเศรษฐกิจ พอเพยี งมาใชแ้ ละสรา้ งศนู ยเ์ รยี นรเู้ พอื่ สขุ ภาวะภายในโรงเรยี น การรกั ษาความสะอาด ของโรงเรียน การพูดคุยและประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองช่วยกันก�ำกับบุตรหลานใน การรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ การดูแลความสะอาดร่างกาย และเส้ือผ้า ๔) สม�ำ่ เสมอ เปน็ ข้ันตอนการน�ำใช้สือ่ และการจัดกิจกรรมอยา่ งสมำ่� เสมอโดยเนน้ กิจกรรมที่ทำ� แลว้ ให้ผลส�ำเร็จเปน็ กจิ กรรมหลกั มาปรับและบูรณาการลงสหู่ อ้ งเรียน และกลุ่มสาระต่าง ท่ีได้วางแผนไว้อย่างสม�่ำเสมอและต่อเน่ือง ๕) สะท้อนผลการ ดำ� เนินงาน เป็นขัน้ ตอนการประเมนิ และตดิ ตามผลการใช้สื่อและกิจกรรมตา่ งๆ ใน โครงการ ซึ่งเป็นการท�ำงานทั้งภายในและภายนอก มีการประเมินนักเรียน การ สมั ภาษณค์ รู นกั เรยี น และผู้ปกครองเกย่ี วกับการจัดกจิ กรรมและการใช้สือ่ การจัด สภาพแวดลอ้ มทั้งภายในและนอกหอ้ งเรยี น การจดั แหลง่ เรยี นรสู้ ำ� หรับนักเรยี นและ ผ้ปู กครอง { 144 }
กจิ กรรม ประกอบดว้ ย ๑) กจิ กรรมผูเ้ รยี นแบบบูรณาการผ่านแหลง่ เรียนรทู้ ัง้ ภายในและ ภายนอกโรงเรยี น ๒) กจิ กรรมการพัฒนาด้านสุขภาวะให้นักเรยี นด้านจติ ใจ สงั คม อารมณ์ และร่างกายรว่ มกบั สาธารณสขุ ประจ�ำเขตและหนว่ ยงานต่างๆ ที่เกยี่ วข้อง ๓) กจิ กรรมพฒั นาการอา่ นการเขยี นรว่ มกบั ผปู้ กครองและชมุ ชน ๔) กจิ กรรมรณรงค์ การรกั การอา่ น ๑๕ นาทที วีปญั ญา ๕) กจิ กรรมอาหารปลอดภยั ใสใ่ จสขุ ภาพ ผลลพั ธท์ เี่ กดิ ขนึ้ ๑) โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ภายนอกเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาทักษะการอ่านเขียน และสุขภาวะมากกวา่ ๓๐ แหง่ ๒) มผี ปู้ กครองและหน่วยสาธารณสขุ เขา้ มารว่ มให้ ความรแู้ กน่ กั เรยี นภายในโรงเรยี น ๓) โรงเรยี นมสี อื่ นวตั กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นเขยี น และสขุ ภาวะ สามารถพัฒนาเป็นศนู ยเ์ รียนรใู้ หแ้ ก่ครู นักเรยี น ผ้ปู กครองและชมุ ชน ได้ ๑ ศนู ย์ ๔) ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นทผ่ี า่ นการใชส้ อ่ื และกจิ กรรมการ เรียนรู้แบบบูรณาการสูงขึน้ ๕) ผลการทดสอบ O-NET, RT ของนักเรียนวชิ าภาษา ไทยเพม่ิ สงู ขึ้นอย่างตอ่ เนื่อง โดยเฉพาะการอ่านจับใจความและการเขียนสรปุ ความ ความเปล่ียนแปลงของนักเรียน ครู โรงเรียน ผู้ปกครอง/ชมุ ชน ผู้มีส่วนรว่ ม ๑) ผลการเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ กบั ตวั นกั เรยี น มดี งั น้ี (๑) จำ� นวนนกั เรยี นทอ่ี า่ น ไม่ออก อ่านไม่คล่อง ลดลง จ�ำนวนที่นักเรียนอ่านได้และอ่านคล่องเพิ่มขึ้น (๒) นกั เรยี นมนี สิ ยั รกั ในการอา่ นเพมิ่ ขนึ้ เปลย่ี นพฤตกิ รรมจากการเลน่ มาหยบิ หนงั สอื มาอา่ นหรอื อ่านป้ายตา่ งๆ ตามมุมของโรงเรียน (๓) นกั เรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจ เกย่ี วกบั สขุ ภาวะดขี นึ้ สามารถใชก้ ารอา่ นเปน็ เครอื่ งมอื ในการดแู ลสขุ ภาวะของตนเอง ได้ เช่น นักเรยี นเรม่ิ ดม่ื น�ำ้ เปล่าแทนนำ้� หวาน นักเรียนรับประทานผักผลไม้เพิ่มขนึ้ จ�ำนวนผักท่ีเหลือในถังอาหารลดน้อยลง จ�ำนวนนักเรียนท่ีเป็นเหาลดน้อยลง (๔) นกั เรยี นมคี วามสุขในการได้ร่วมทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ ในโครงการ ๒) ผลเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับครู ครูผู้สอนสามารถสอนนักเรียนได้บรรลุ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรไู้ ดด้ ขี นึ้ ครมู คี วามสามารถในการผลติ สอื่ ในลกั ษณะบรู ณาการ { 145 }
ไดท้ กุ กลมุ่ สาระทำ� ใหม้ สี อ่ื ไวแ้ ลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ะหวา่ งหอ้ งเรยี น และกจิ กรรมครผู สู้ อน ได้ท�ำงานเป็นทีม มีวางแผนการสอนแบบบูรณาการ มีการผสานความร่วมมือกัน ท�ำใหค้ รผู ู้สอนได้พฒั นาศกั ยภาพดา้ นการสอนและเทคนิคการสอนไปในตวั ๓) ผลเปล่ียนแปลงท่เี กดิ ขึน้ กบั โรงเรียน โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ภายนอกทอ่ี ยู่ ในชุมชนและนอกชุมชนเพ่ิมมากข้ึน ท�ำให้การบริหารจัดการพัฒนาผู้เรียนและ การพฒั นาครบู รรลุเปา้ หมายตามแผนทีก่ �ำหนดไว้ ๔) ผลเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ผปู้ กครอง ผปู้ กครองมสี ว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ การอา่ นของนักเรียน โดยดแู ลการอา่ นของนกั เรียนในขณะนักเรียนท�ำกิจกรรมการ อ่านท่ีบ้าน ท�ำให้นักเรียนและผู้ปกครองมีโอกาสได้ใกล้ชิดกันมากข้ึนท�ำให้เกิด สมั พนั ธภาพอันดใี นครอบครัว { 146 }
มหาวิทยาลัย ราชภฏั เพชรบรุ ี อำ�เภอเมอื ง จังหวัดเพชรบุรี โรงเรียนบ้านในดง ตำ� บลบ้านในดง อ�ำเภอท่ายาง จงั หวดั เพชรบรุ ี โรงเรยี นบ้านไรใ่ หม่พัฒนา ต�ำบลไรใ่ หมพ่ ฒั นา อำ� เภอชะอ�ำ จังหวดั เพชรบรุ ี โรงเรยี นบ้านห้วยไทรงาม ตำ� บลหนองพลบั อ�ำเภอหวั หนิ จังหวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ โรงเรยี นอนุบาลหวั หิน ตำ� บลหินเหลก็ ไฟ อำ� เภอหัวหนิ จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ โรงเรยี นบ้านชะม่วง ตำ� บลพงศป์ ระศาสน์ อ�ำเภอบางสะพาน จังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์ โรงเรยี นด่านสงิ ขร ตำ� บลคลองวาฬ อ�ำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ { 147 }
ภาพท่ี ๕ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี อำ� เภอเมอื ง จังหวดั เพชรบรุ ี
การด�ำเนนิ งานพฒั นาทกั ษะ การอา่ นออกเขยี นได้ เพือ่ สง่ เสรมิ ความรอบรูท้ างด้านสุขภาพ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบรุ ี อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เพชรบรุ ี ความเป็นมาของโครงการ การพฒั นาการอา่ นออกเขยี นได้ (Literacy) เพอ่ื ใหน้ กั ศกึ ษานำ� ความ สามารถทางการอ่านออกเขียนได้ของตนเองการพัฒนาชีวิต โดยเฉพาะ การพัฒนาสุขภาวะที่เป็นพื้นฐานส�ำคัญของการด�ำเนินชีวิตในทุกสังคม หากมีความรู้ ความเข้าใจทางด้านสุขภาวะ จัดการตนเองและชุมชนได้ ปญั หาทางดา้ นสขุ ภาวะกจ็ ะลดลง ท่ีส�ำคัญเมอ่ื มสี ขุ ภาวะดี รา่ งกายแข็ง แรง จติ ใจสมบูรณ์ การดำ� เนินการงาน หรือการพัฒนาดา้ นตา่ งๆ ใน สังคม และประเทศชาติก็จะท�ำได้โดยง่าย เกิดการพัฒนาด้วยก�ำลังคน เปน็ ส�ำคญั ดงั น้ันมหาวทิ ยาลัยราชภฏั เพชรบุรใี นฐานะมหาวทิ ยาลัยของ ท้องถ่นิ จึงต้องการมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาทอ้ งถ่นิ ทั้งในระดบั โรงเรยี น ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ใหเ้ ดก็ เยาวชนมคี วามสามารถในทกั ษะการอา่ นออกเขยี น ไดโ้ ดยจะจดั พฒั นานวตั กรรมการจดั การเรยี นรทู้ กั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ ที่เน้นการส่งเสริมความรอบรู้เร่ืองสุขภาวะ ของพ้ืนที่โรงเรียนเครือข่าย จังหวัดเพชรบรุ ี และจังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ โดยจะเริม่ พัฒนาครูผู้สอน ในโรงเรยี นเครอื ขา่ ย ผปู้ กครอง และชมุ ชนทอ้ งถน่ิ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและ เหน็ ความส�ำคญั ของการอา่ นออกเขยี นได้ ทจ่ี ะเปน็ ประโยชนต์ ่อนกั เรียน ทางมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี จงึ ไดท้ ำ� ความรว่ มมอื กบั สำ� นกั งาน เขตพ้ืนท่ีประถมศึกษาเพชรบุรี เขต ๒ และส�ำนักงานเขตพื้นที่ประถม { 149 }
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294