Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปบทเรียนขับเคลื่อนการอ่านออกเขียนได้

สรุปบทเรียนขับเคลื่อนการอ่านออกเขียนได้

Description: สรุปบทเรียนขับเคลื่อนการอ่านออกเขียนได้

Search

Read the Text Version

ศกึ ษาประจวบครี ีขันธ์ เขต ๑ และ เขต ๒ ในการเลือกสถานศึกษากลุ่มเปา้ หมายเพื่อ ด�ำเนินโครงการในระดับประถมศึกษาปีท่ี ๑–๖ โดยจะได้น�ำเสนอผลการสังเคราะห์ภาพ รวมของพนื้ ทีท่ ่ใี ช้ดำ� เนนิ โครงการตามประเดน็ ดงั รายละเอยี ดดังน้ี พน้ื ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร มจี ำ� นวนโรงเรยี นทใ่ี ชเ้ ปน็ กลมุ่ เปา้ หมาย จำ� นวน ๒๒ โรงเรยี น ดงั นี้ ๑) ส�ำนักงานเขตพ้นื ทปี่ ระถมศึกษาเพชรบรุ เี ขต ๒ มี ๖ โรงเรยี น จาก ๒ ตำ� บล ได้แก่ ตำ� บลไรใ่ หม่พฒั นา มี ๕ โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรียนบา้ นไรใ่ หม่พัฒนา โรงเรยี นบ้านหนอง เข่ือน โรงเรียนบา้ นรางจิก โรงเรยี นบา้ นทุ่งขาม โรงเรียนบ้านโปง่ แย้ ตำ� บลบ้านในดง มี ๑ โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรยี นบา้ นในดง ๒) สำ� นกั งานเขตพน้ื ทปี่ ระถมศกึ ษาประจวบครี ขี นั ธ์ เขต ๑ มี ๕ โรงเรียน จาก ๒ ต�ำบล ไดแ้ ก่ ตำ� บลพงศป์ ระศาสน์ มี ๔ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรยี นบา้ นห้วยแกว้ โรงเรียนบ้านหนิ กอง โรงเรยี นบ้านชะม่วง โรงเรยี นบ้านสวนหลวง ตำ� บลคลองวาฬ มี ๑ โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรยี นด่านสิงขร ๓) ส�ำนกั งานเขตพ้ืนท่ีประถม ศกึ ษาประจวบคีรีขนั ธ์ เขต ๒ มี ๑๑ โรงเรยี น จาก ๒ ตำ� บล ได้แก่ ต�ำบลหนิ เหล็กไฟ มี ๖ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนบา้ นหนองเหยี ง โรงเรยี นบา้ นหนองตะเภา โรงเรียนบา้ น หนองซอ โรงเรยี นบ้านหนองคร้า โรงเรียนอนบุ าลหวั หิน (บา้ นหนองขอน) โรงเรยี นบา้ น วังโบสถ์ ตำ� บลหนองพลับ มี ๕ โรงเรียน ได้แก่ โรงเรยี นบ้านหนองพลับ โรงเรียนบา้ น ห้วยไทรงาม โรงเรยี นบ้านหนองกระท่มุ โรงเรียนวไลย โรงเรยี นละเมาะ จำ� นวนประชากร นกั เรียนกลุ่มเป้าหมายอย่ใู นระดบั ประถมศึกษาปที ่ี ๑-๖ มจี �ำนวน ทั้งหมด ๒,๒๐๗ คน แบ่งเปน็ นกั เรยี นชาย จ�ำนวน ๑๑๘๘ คน นกั เรยี นหญิง จำ� นวน ๑,๐๑๙ คน มีครู จ�ำนวน ๒๐๓ คน แบ่งเปน็ ครูผ้ชู าย จ�ำนวน ๓๑ คน ครผู ูห้ ญิง จ�ำนวน ๑๗๒ คน มสี ัดสว่ นต่อจ�ำนวนนกั เรยี นคดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙.๑๗ (ขอ้ มูลปี พ.ศ.๒๕๖๑) สถานการณท์ เ่ี ปน็ ปญั หาของพนื้ ท่ปี ฏิบตั ิการ จากการวเิ คราะหส์ ถานการณป์ ญั หาการอา่ น–เขยี น ของนกั เรยี นระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา ปที ี่ ๑–๖ ของพนื้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร จำ� นวน ๒๒ โรงเรยี น พบวา่ การอา่ นยงั ไมป่ ระสบผลสำ� เรจ็ เทา่ ทค่ี วร จากการสัมภาษณ์ครูผ้สู อนวชิ าภาษาไทยของโรงเรียนต่างๆ ในจงั หวัดเพชรบรุ ี เกีย่ วกับปญั หาในการเรยี นวิชาภาษาไทยพบวา่ นักเรียนมีปัญหาในการเรยี นวชิ าภาษาไทย หลายประการ เช่น ปัญหานกั เรียนไมเ่ ห็นความส�ำคัญของวชิ าภาษาไทย ไม่เข้าใจเนื้อหา วิชาภาษาไทยอย่างชัดเจน นกั เรียนไมต่ งั้ ใจเรียนและเบอ่ื หน่ายวชิ าภาษาไทย และปญั หา { 150 }

การขาดแคลนสอ่ื การเรียนการสอน ซ่งึ ปญั หาทีก่ ลา่ วมา ล้วนส่งผลใหค้ ะแนนผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นวชิ าภาษาไทยอยใู่ นเกณฑท์ ค่ี อ่ นขา้ งตำ�่ สาเหตขุ องปญั หาดงั กลา่ วสรปุ ไดด้ งั น้ี ประการท่ีหน่ึง คือ นักเรียนขาดความพร้อมในการเรียนทั้งทางด้านร่างกาย และ จติ ใจ เนอื่ งจากนกั เรยี นบางโรงเรยี นมปี ญั หาครอบครวั ปญั หาความยากจน ฯลฯ และจาก ปญั หาเหล่านที้ ำ� ใหน้ กั เรียนไม่มโี อกาสในการเลือกสง่ิ ท่ดี ใี หก้ ับตนเอง ไม่ว่าจะเป็น เสื้อผา้ หรืออุปกรณ์การเรียน โอกาสในการศึกษาต่อ จึงท�ำให้นักเรียนขาดแรงกระตุ้น ขาด แรงจงู ใจในการเรียน ประการที่สอง คือ ครูสอนไม่ตรงตามสาขาวิชาท่ีเรียนจบมา บางโรงเรียนน�ำครู ในสาขาวชิ าอนื่ เชน่ ครสู งั คม ครศู ลิ ปะมาสอนวชิ าภาษาไทย เมอื่ ครผู สู้ อนตอ้ งสอนไมต่ รง ตามสาขาจงึ สง่ ผลใหก้ ารถา่ ยทอดเนอ้ื หาวชิ าอาจจะเกดิ ความผดิ พลาด ตลอดจนขาดความ ถนดั ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนภาษาไทยท�ำใหน้ กั เรียนขาดความสนใจ นกั เรียน จงึ เรยี นรไู้ ดน้ อ้ ยลงหรอื บางครง้ั อาจเรยี นรใู้ นสงิ่ ทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง เกดิ ความเบอ่ื หนา่ ยในการเรยี น วิชาภาษาไทยในที่สุด ประการทีส่ าม คือ ครผู ู้สอนมเี วลาเตรยี มการสอนนอ้ ยลง เนอื่ งมาจากบางโรงเรยี น ขาดแคลนครูผสู้ อน ครผู ้สู อนจงึ ต้องรบั ผดิ ชอบสอนในหลายระดับชน้ั ในขณะเดยี วกันจะ มีหน้าที่รับผิดชอบงานด้านอื่นๆ ของโรงเรียนด้วย เวลาที่จะเตรียมการสอนให้มีความ สมบูรณ์หรือการค้นคว้าความรู้ใหม่ๆ ให้นักเรียนจะมีน้อยลง ส่งผลให้นักเรียนเรียนรู้ได้ ไมเ่ ต็มท่ี ประการทสี่ ี่ คอื ขาดงบประมาณในการจดั ซอื้ สอื่ การเรยี นการสอน ทำ� ใหส้ อื่ การเรยี น การสอนท่ีมีอยู่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน โดยเฉพาะเมื่อมีการปรับเปล่ียน หลกั สูตรใหม่ตำ� รา หนังสือเรยี นตา่ งๆ ตอ้ งปรับเปลี่ยนตาม จึงเป็นเรอ่ื งล�ำบากที่จะหาส่ือ มาใช้ในการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งเพยี งพอ เมือ่ เกิดการขาดแคลนหนงั สอื เรียนกย็ อ่ มทำ� ให้ นกั เรยี นไมส่ ามารถเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งเตม็ ทแ่ี ละสง่ ผลใหม้ คี ะแนนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นอยใู่ น เกณฑต์ ่ำ� ในส่วนของปญั หาการอา่ นจากการไดส้ มั ภาษณค์ รผู สู้ อนวิชาภาษาไทย ได้แสดงความ คดิ เหน็ วา่ ปญั หาการอา่ นเปน็ ปญั หาทสี่ ำ� คญั มาก ควรไดร้ บั การปรบั ปรงุ อยา่ งเรง่ ดว่ น เพราะ การอ่านเป็นเครื่องมือในการศึกษาหาความรู้ หากผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านใน { 151 }

ระดบั ตำ่� จะทำ� ใหผ้ ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าภาษาไทยตำ่� ลงดว้ ย ปญั หาทางการอา่ นทพี่ บ ในโรงเรยี นสามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี ๑) นกั เรยี นไมม่ นี สิ ยั รกั การอา่ น ปญั หานเ้ี ปน็ สงิ่ ทคี่ รผู สู้ อน มคี วามกงั วลใจอยา่ งมากและพยายามทจี่ ะแกไ้ ข เนอ่ื งจากนกั เรยี นสว่ นมากไมช่ อบการอา่ น ไมช่ อบการแสวงหาความรู้ พอใจทจี่ ะเปน็ ฝา่ ยรบั ความรจู้ ากครผู สู้ อนเพยี งอยา่ งเดยี ว หาก มกี ารมอบหมายใหค้ น้ ควา้ ขอ้ มลู ในหอ้ งสมดุ นกั เรยี นมกั จะไมท่ ำ� งานสง่ หรอื งานทส่ี ง่ มาจะ ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ ๒) นักเรียนบางส่วนอ่านหนังสือไม่ออก หรืออ่านออกแต่ไม่ คล่องแคลว่ ซ่งึ ตัวนักเรยี นเองกไ็ มส่ นใจและไมพ่ ยายามทจ่ี ะฝกึ ฝนให้การอ่านของตนเองดี ข้นึ ทง้ั ๆ ท่กี ารอา่ นเป็นพน้ื ฐานส�ำคญั ในการแสวงหาความรู้ ๓) นักเรียนอ่านจบั ใจความ ไมไ่ ด้ ไมส่ ามารถบอกสาระที่ตนเองอ่านได้ ถึงแม้เรื่องที่อ่านจะมขี นาดสนั้ เมือ่ ให้พูดเลา่ หรือเขียนนักเรียนยังท�ำไม่ได้ ปัญหานี้จะท�ำให้นักเรียนไม่สามารถน�ำสาระที่ได้ไปใช้ ประโยชน์ หรอื บอกกลา่ วผูอ้ ืน่ ได้ จากการวิเคราะห์สถานการณ์ที่เป็นปัญหาในประเด็นการอ่านออกเขียนได้ในพื้นที่ ปฏบิ ตั ิการ สามารถสรุปผลการวเิ คราะห์ ได้ ๒ ประเด็นหลัก ได้แก่ ๑) ปัญหานักเรยี น อา่ นไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ด้ เกดิ จาก (๑) การทน่ี กั เรยี นจำ� พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ ไดไ้ มค่ รบ จงึ ไม่สามารถนำ� ส่วนประกอบตา่ งๆ มาประสมเปน็ ค�ำเพื่อออกเสยี งและเขียนได้ (๒) บาง โรงเรียนมีครูทจ่ี บการศึกษาสาขาภาษาไทยเพียง ๑ ทา่ น หรอื บางโรงเรียนไมม่ เี ลย ทำ� ให้ การดแู ลการเรยี นดา้ นภาษาไทยของเดก็ ไมท่ ว่ั ถงึ จงึ ตอ้ งใชค้ รปู ระจำ� ชนั้ สอนภาษาไทยแทน ซงึ่ ครปู ระจำ� ชนั้ จบไมต่ รงวชิ าเอกนจ้ี งึ ไมเ่ ขา้ ใจวธิ กี ารแกป้ ญั หาการอา่ น การเขยี น (๓) ขาด สื่อการสอนทด่ี งึ ดูดความสนใจของนักเรียน (๔) ขาดการเอาใจใสจ่ ากผู้ปกครอง (๕) ครูมี ภาระงานอนื่ ๆ นอกจากงานสอนเปน็ จำ� นวนมาก ท�ำให้ขาดความสมำ่� เสมอในการฝึกอา่ น (๖) นักเรยี นบางคนเป็นกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ เมอ่ื กลบั บา้ นผปู้ กครองไม่ได้ใชภ้ าษาไทยจงึ ท�ำใหไ้ ม่ ได้ฝกึ ทักษะการอา่ นออกเขียนไดอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง ๒) ปญั หาการอ่านไม่คลอ่ งปญั หานกั เรยี น อา่ นจบั ใจความและเขยี นสรุปความไม่ได้ เกิดจาก (๑) นกั เรียนไมไ่ ด้ฝกึ อ่านอยา่ งตอ่ เน่ือง และในบางคำ� ทย่ี าก เดก็ ไมเ่ ขา้ ใจก็อ่านไมถ่ กู ต้องตามอกั ขระวธิ ี (๒) นกั เรียนอา่ นคำ� ควบ กลำ�้ และคำ� ยากไม่แตกฉาน เพราะไมเ่ ขา้ ใจหลักการประสมคำ� ตวั สะกดการันต์ (๓) ขาด สอ่ื ทีม่ คี วามนา่ สนใจและสามารถน�ำไปใช้ไดจ้ รงิ ในชวี ติ ประจำ� วนั (๔) นกั เรยี นไม่ชอบอา่ น ข้อความที่มเี นื้อหาขนาดยาว (๕) ครูผู้สอนขาดเทคนิคการสอนอา่ นจับใจความส�ำคญั (๖) นักเรียนอ่านแล้วไม่เข้าใจเนื้อเรื่อง จึงส่งผลให้ไม่สามารถบอกได้ว่าสิ่งที่ตนเองอ่าน เป็น { 152 }

เรอื่ งราวอยา่ งไร และมคี วามสำ� คญั อยา่ งไร และเมอ่ื อา่ นไมไ่ ดจ้ งึ ทำ� ใหไ้ มส่ ามารถเขยี นสรปุ ใจความส�ำคญั ได้ จากสภาพปญั หาขา้ งต้น สามารถสรุปสถานการณ์ท่เี ปน็ ปญั หาของพ้นื ทปี่ ฏิบัติการ ท่ี ระบุจ�ำนวนของนักเรียนที่มีปัญหา โดยเทียบเป็นอัตราร้อยละ ได้ดังน้ี ๑) สถานการณ์ ปัญหาการอา่ นและจับใจความ พบว่า (๑) นกั เรียนท่อี า่ นไม่ออก จำ� นวน ๑๒๘ คน คิด เป็น ร้อยละ ๕.๘๐ (๒) นักเรยี นทอ่ี า่ นไมค่ ล่อง จำ� นวน ๕๓๔ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๔.๒๐ (๓) นักเรียนท่ีอ่านจับใจความไม่ได้ จ�ำนวน ๗๐๙ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๒.๑๒ ๒) สถานการณป์ ญั หาการเขยี นและการสรปุ ความ พบวา่ (๑) นกั เรยี นทเ่ี ขยี นไมไ่ ด้ จำ� นวน ๒๑๓ คน คิดเป็น รอ้ ยละ ๙.๖๕ (๒) นกั เรียนท่เี ขยี นสะกดค�ำไม่ได้ จำ� นวน ๓๗๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๖.๗๘ (๓) นักเรียนทเ่ี ขยี นสรุปความไมไ่ ด้ จ�ำนวน ๙๔๖ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๔๓.๖๗ นอกจากประเด็นปัญหาเรื่องการอ่านออกเขียนได้ ที่พบว่าเกิดขึ้นกับนักเรียนเป็น ส่วนใหญ่ ดังที่ได้เสนอเป็นร้อยละดังข้างต้นแล้ว จากการลงเก็บข้อมูลในพื้นท่ีปฏิบัติการ ยังพบวา่ นกั เรยี นในพน้ื ทีม่ ปี ัญหาเกีย่ วกบั สุขภาวะ ประกอบกบั มกี ระบวนการป้องกันและ การแกป้ ญั หายงั ไมค่ รอบคลมุ ผลจากการวเิ คราะหป์ ญั หาและแนวทางการแกป้ ญั หา ซง้ึ จาก การรายงานผลการตรวจสุขภาพของโรงเรียน ร่วมกับการเก็บข้อมูลของโรงพยาบาล สง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล ใชข้ อ้ มลู ๓ ปยี อ้ นหลงั (ปี ๒๕๕๙-๒๕๖๑) สามารถเรยี งสภาพปญั หา ท่พี บตามล�ำดบั ไดด้ งั ตารางตอ่ ไปน้ี ลำ� ดบั สถานการณ์ จำ� นวน รอ้ ยละ แนวทางแก้ปญั หา ปญั หาสุขภาวะ (คน) ๑. เหา ๓๑๙ ๑๔.๔๕ ๑. คัดกรองผปู้ ว่ ย และให้การดูแลเบื้องตน้ ๒. ประสานความรว่ มมอื กับผทู้ ่ีเก่ียวข้องในการปอ้ งกัน ๒. ฟันผุ ๒๖๕ ๑๒.๐๐ ดูแล รกั ษาผู้ปว่ ย ผูป้ กครอง โรงเรยี น รพ.สต. อบต. ๓. โรคผิวหนัง ๕๙ ๒.๖๗ ๓. แนะน�ำวิธกี ารรักษา และให้แนวทางปอ้ งกนั อยา่ ง ๔. ไข้หวดั ใหญ่ ๕๔ ๒.๐๓ ถูกวธิ ี ๔. แนะน�ำวธิ ดี แู ลสุขภาพ ร่วมกับการใช้สื่อการอา่ น ๕. ไข้เลอื ดออก ๓๗ ๑.๖๗ สง่ เสรมิ สุขภาวะ ๖. ทอ้ งรว่ ง ๒๖ ๑.๑๗ ๕. รว่ มกจิ กรรมส่งเสริมสุขภาวะกบั รพ.สต. ๗. ปากนกกระจอก ๑๙ ๐.๘๖ ๘. มอื เทา้ เปือ่ ย ๑๖ ๐.๗๒ ๙. ขาดสารอาหาร ๘ ๐.๓๖ { 153 }

จากปัญหาเร่อื งการอ่านออกเขียนได้ และปัญหาสุขภาพ ท่พี บในพน้ื ท่ีปฏบิ ตั กิ าร ทาง คณะผวู้ จิ ยั ไดร้ ว่ มกนั ถอดบทเรยี น เพอื่ หาแนวทางการแกป้ ญั หา โดยเนน้ กระบวนการสรา้ ง สอื่ นวัตกรรม และแหล่งเรียนร้เู พอ่ื ส่งเสริมสขุ ภาวะมาใชใ้ นการแกป้ ัญหา นอกจากนี้จากการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับประสบการณ์สอนของครู พบว่า ประสบการณ์ในการสอนของครใู นพนื้ ทีป่ ฏิบัตกิ าร แบง่ ได้ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ ลำ� ดบั ประสบการณ์ (ปี) รอ้ ยละ ลำ� ดบั ประสบการณ์ (ปี) ร้อยละ ๒๑ – ๒๕ ปี ๗.๓๖ ๑ ตำ�่ กวา่ ๑ ปี ๖.๑๓ ๖ ๒๖ – ๓๐ ปี ๔.๒๙ ๓๑ - ๓๕ ปี ๖.๑๓ ๒ ๑ – ๕ ปี ๔๕.๔๐ ๗ ๓๖ – ๔๐ ปี ๗.๙๘ ๔๑ – ๔๕ ปี ๓.๐๗ ๓ ๖ - ๑๐ ปี ๑๓.๕๐ ๘ ๔ ๑๑ – ๑๕ ปี ๓.๐๗ ๙ ๕ ๑๖ – ๒๐ ปี ๓.๐๗ ๑๐ ในจ�ำนวนนี้ พบวา่ ครทู ี่สอนในโรงเรียนทง้ั ๒๒ โรงเรียน แบ่งได้ ๔ ประเด็น ดังน้ี ๑) ครทู ีจ่ บตรงสาย มปี ระสบการณ์ ๑–๕ ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๖.๒๕ พบว่า ครทู ่ีจบตรง สาขาวิชาภาษาไทย จะมีความร้แู ละทักษะในการสอนทีเ่ ก่ยี วข้องกับการอา่ นและการเขียน เมื่อพบนกั เรยี นทมี่ ีปญั หาเกย่ี วกบั การอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ก็จะสามารถประยุกตค์ วามรู้ เพ่ือจัดการกับสถานการณ์ที่เป็นปัญหาได้ ๒) ครูท่ีจบตรงสาย มีประสบการณ์มากกว่า ๕ ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๖.๒๕ พบว่า ครูท่ีมีประสบการณ์มากจะสามารถประยุกต์ ความรู้ ทฤษฎี และหลกั การจดั การเรยี นร้ไู ดม้ ีประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ ๓) ครูจบไมต่ รงสาย มีประสบการณ์ ๑–๕ ปี คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๗๕ พบว่า ครูที่จบไม่ตรง และท่ียังมี ประสบการณ์น้อย ยังขาดประสบการณ์ในการสอนและขาดหลักการจัดการเรียนรู้ จึงยังไม่สามารถจัดการกับปัญหาการอ่านออกเขียนได้ได้อย่างครอบคลุม ๔) ครูท่ีจบไม่ ตรงสาย มปี ระสบการณ์มากกว่า ๕ ปขี ้นึ ไป คดิ เป็นร้อยละ ๔๘.๗๕ พบว่า ครูทีจ่ บไมต่ รง สายแต่มีประสบการณ์สอนมากจะมีทักษะในการจัดการความรู้เพื่อบูรณาการกับการแก้ ปัญหาได้เป็นอย่างดี ท�ำให้สามารถจัดการกับปัญหาเรื่องการอ่านออกเขียนได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ จากการวเิ คราะหข์ า้ งตน้ พบวา่ ครผู สู้ อนทจี่ บตรงสายและมปี ระสบการณ์ จะสามารถ เปน็ สว่ นหนง่ึ ในการจดั การกบั ปญั หาได้ สว่ นครทู จี่ บไมต่ รงสายและมปี ระสบการณน์ อ้ ย จะ { 154 }

ยังขาดทกั ษะในการจัดการเรียนรู้ จึงส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขยี นของ นกั เรยี นได้ ทนุ ทางสงั คมในการจดั การปญั หาและการมีส่วนสนับสนนุ ในการด�ำเนินกจิ กรรมในพืน้ ที่ปฏิบัตกิ าร ทนุ ทางสงั คมในการจดั การปัญหา แบ่งได้เป็น ๔ กลุ่ม ไดแ้ ก่ ๑) โรงเรยี น มีผูอ้ �ำนวยการโรงเรยี น และครู เปน็ ผู้ด�ำเนิน กจิ กรรมหลกั มบี ทบาทสำ� คญั คอื (๑) บทบาทของผอู้ ำ� นวยการมหี นา้ ทใี่ หน้ โยบาย บรหิ าร โครงการ และมอบหมายหน้าทงี่ านให้คณะครูในโรงเรยี น และติดตามการทำ� งาน รวมถงึ การประสานงานรว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั และชมุ ชน (๒) บทบาทของคณะครู คอื มหี นา้ ทรี่ ับนโยบาย และรบั มอบงานท่ีผอู้ ำ� นวยการมอบหมาย โดยหน้าทีส่ �ำคญั คือ ร่วมมอื กนั ออกแบบ และผลติ สอื่ ในแตล่ ะระดบั ชน้ั เพอ่ื แกป้ ญั หาการอา่ น การเขยี น และสง่ เสรมิ ความ รเู้ ร่อื งสุขภาวะ จดั เกบ็ คะแนนกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นนอกจากน้ันมหี น้าทใ่ี นการประสาน งานกบั มหาวทิ ยาลัย อบต. รพ.สต. และชุมชนเพ่ือด�ำเนนิ กจิ กรรมรว่ มกัน ๒) ผปู้ กครอง มพี ่อ แม่ พ่ี น้า ลงุ และ ปา้ เป็นผมู้ สี ่วนร่วมในการดำ� เนินงาน โดยมบี ทบาทส�ำคญั คือ ใหก้ ารดแู ล และสนบั สนนุ กจิ กรรมทค่ี รขู อความชว่ ยเหลอื โดยใหผ้ ปู้ กครองไดเ้ ขา้ มามสี ว่ น ร่วมในการดำ� เนินกจิ กรรม ๓) ชุมชน มอี งค์การการปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล เป็นผู้มีส่วนส่วนในการด�ำเนินกิจกรรม โดยมีบทบาทส�ำคัญ คือ ๑) บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนต�ำบล จำ� นวน ๖ แหง่ และ เทศบาลตำ� บล ๑ แห่ง โดยมสี ว่ นสนบั สนนุ กจิ กรรมที่ทาง อบต. และโรงเรียนจะมสี ว่ นร่วมในการทำ� งานดว้ ยกัน รวมทั้งการจัดอบรมเรือ่ งท่เี ปน็ ประโยชน์ ใหแ้ ก่นักเรียน นอกจากน้ยี งั ได้ดแู ลอาหารกลางวนั (๒) บทบาทของโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำ� บล มบี ทบาทในการประชมุ รว่ มกบั โรงเรยี นในการวางแผนกจิ กรรมรว่ มกนั และ ด�ำเนินกิจกรรมร่วมกันในโอกาสท่ีเหมาะสม เช่น การที่นักเรียนไปให้ความรู้กับชุมชนใน คลนิ กิ โรคเบาหวาน ชมรมผู้สงู อายุ เปน็ ต้น รวมถึงการประสานขอ้ มูลด้านสุขภาวะ เข้า มาใหก้ ารดแู ลการตรวจสขุ ภาพและฉดี วคั ซนี ใหแ้ กเ่ ดก็ ๆ รวมถงึ อบรมดา้ นการปอ้ งกนั ตนเอง จากโรคตา่ งๆ ๔) บทบาทปราชญท์ อ้ งถน่ิ คอื แหลง่ เรยี นรปู้ ระเภทบคุ คลทม่ี คี วามรู้ ความ เชย่ี วชาญในเร่อื งต่างๆ โดยเฉพาะความร้เู กยี่ วกับภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ เช่น แพทยพ์ น้ื บา้ น การทำ� ขนมหวาน การทำ� กลองยาว การจกั สานไมไ้ ผ่ ดนตรไี ทย พชื สมนุ ไพร มาใหค้ วามรู้ { 155 }

และเปดิ บา้ นเปน็ แหลง่ เรยี นรสู้ ำ� หรบั ชมุ ชน และยงั เปน็ ผสู้ นบั สนนุ กจิ กรรมนนั ทนาการของ ชุมชนด้วย ๕) มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี มีอธิการบดีมหาวิทยาลัย คณบดีคณะ มนุษยศาสต์และสังคมศาสตร์ เปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั ของโครงการ และมอี าจารยจ์ ากสาขา วิชาต่างๆ ประกอบด้วย สาขาวิชาภาษาไทย สาขาวิชาสังคมศึกษา สาขาวิชาภาษาจีน สาขาวิชานิเทศศาสตร์ สังกัดคณะวิทยาการจัดการ และกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี รว่ มเปน็ คณะกรรมการดำ� เนนิ งาน นอกจากนี้ ยงั มสี ถาบนั วจิ ยั และสง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมเปน็ หนว่ ยงานสนบั สนนุ การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การดำ� เนนิ โครงการ โดยมหาวทิ ยาลยั มบี ทบาทสำ� คญั คอื สนบั สนนุ การวจิ ยั จดั หาวทิ ยากรมาจดั อบรมเรอ่ื งการผลติ สอ่ื นวตั กรรม การอา่ นออกเขยี นได้ และสนบั สนนุ อาจารย์ บุคลากรในการเป็นพ่ีเล้ียงในการด�ำเนินโครงการและให้ค�ำปรึกษากับบุคคลใน พื้นทีป่ ฏิบัตกิ าร นอกจากน้ี มหาวิทยาลัยยงั มบี ทบาทส�ำคญั ด้านการมอบนโยบายในการทำ� งาน และ ตดิ ตามงานของคณะทำ� งานใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมายของโครงการ และสนบั สนนุ การทำ� งาน ของคณะท�ำงาน และโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ รวมถึงบทบาทของอาจารย์ท่ีมาร่วม ทำ� งานกบั โรงเรยี น คอื ชแ้ี จงกระบวนการทำ� งานกบั โรงเรยี น จดั อบรมเสรมิ ความรู้ แนะนำ� การทำ� สอื่ ลงมาพน้ื ทเี่ พอื่ ตดิ ตามและเยยี่ มเยยี นคณุ ครใู นโรงเรยี น มาถอดองคค์ วามรู้ และ ประสานงานกบั โรงเรยี นในทกุ ด้านท่ที ำ� งานร่วมกับโรงเรียน กระบวนการท�ำงาน สามารถสรุปได้เป็น ๒ ประเด็น ประกอบด้วย กระบวนการท�ำงานของมหาวิทยาลัย ราชภฏั เพชรบรุ ี และ กระบวนการของการด�ำเนินงานในพื้นทปี่ ฏบิ ตั ิ โดยสังเคราะหเ์ ป็น กลไกการท�ำงานไดด้ งั น้ี ๑) กลไกการทำ� งานของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี แบง่ ออกเป็น (๑) การสรา้ ง ทีมงานและเตรียมความพร้อมของเครือข่าย โดยการประชุมและจัดต้ังทีมงานการด�ำเนิน โครงการ ประกอบดว้ ย มหาวทิ ยาลยั โรงเรยี น องคก์ รปกครองทอ้ งถนิ่ เตรมี ความพรอ้ ม ของเครอื ขา่ ยโดยการจดั เวทเี พอ่ื ทำ� ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การดำ� เนนิ โครงการ พฒั นาศกั ยภาพ เครอื ขา่ ยโดยการอบรมความรู้ด้านการจดั ทำ� สอื่ (๒) ผลิตส่ือเพ่ือแก้ปัญหาในพน้ื ท่ีปฏิบัติ การ โดยเรม่ิ จากการลงพน้ื ทสี่ ำ� รวจบญั ชสี อ่ื ในพนื้ ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร วางแผนจดั ทำ� และเกบ็ ขอ้ มลู เพือ่ จดั ท�ำฐานขอ้ มลู ใหค้ ำ� แนะนำ� การผลติ สือ่ กบั โรงเรียน สรา้ งแบบประเมนิ ผลการเรียน { 156 }

และหลงั เรียนแบ่งเป็นการอา่ น การเขยี น และสขุ ภาวะ นำ� สง่ แบบประเมนิ ไปใหโ้ รงเรียน ติดตามผลการใช้แบบประเมินของโรงเรยี น (๓) ตดิ ตามประเมนิ ผลและถอดบทเรียน แบง่ การติดตามประเมนิ ผลเป็น ๒ ระยะ ระยะที่ ๑ ลงพนื้ ที่ติดตามความก้าวหน้า การผลิต สอื่ การอา่ นออกเขยี นได้ และการผลิตสื่อส่งเสริมสขุ ภาวะ ระยะที่ ๒ ลงพื้นทต่ี ิดตามผล คะแนนการใชแ้ บบประเมินการอา่ นออกเขยี นได้ และการประเมนิ สอ่ื สง่ เสรมิ สุขภาวะ การ ถอดบทเรยี นแบง่ ออกเป็น ๒ ระยะ ระยะท่ี ๑ จดั เวทถี อดบทเรียนเมอ่ื จบภาคเรยี นที่ ๑ เก่ียวกับการผลิตสื่อการอ่านออกเขยี นได้ ระยะที่ ๒ เมือ่ จบภาคเรียนที่ ๒ จัดเวทีถอดบท เรยี นเก่ยี วกบั สุขภาวะและภาพรวมของโครงการ (๔) เผยแพรส่ อ่ื นวตั กรรม แบ่งออกเปน็ ๒ ลักษณะ ไดแ้ ก่ การเผยแพรส่ ่ชู มุ ชน และ เผยแพรภ่ ายในกลุ่มเครือข่าย ๒๒ โรงเรยี น และผู้ที่สนใจ (๕) สรุปการด�ำเนินงานโครงการ จัดเวทีแลกเปล่ียนกระบวนการท�ำงาน ปญั หาและอุปสรรค ของการดำ� เนนิ งานระหว่าง มหาวิทยาลัย โรงเรียน องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถิน่ เพ่ือกำ� หนดแนวทางสูก่ ารขับเคลอ่ื นนโยบายสาธารณะ ผลจากการวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ได้จากกระบวนการท�ำงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบรุ ี สรปุ ได้ดงั นี้ กลไกการทำ� งาน ผลลัพธ์เชิงรูปธรรม ๑. การสร้างทีมงาน ๑. เกดิ ระบบกลไก ๑ กลไก ทีป่ ฏบิ ตั งิ านได้จริง และเตรียมความ ๒. คณะกรรมการดำ� เนินงาน พร้อมของเครือ ๓. หลักสูตรอา่ นออกเขยี นได้ จ�ำนวน ๑ หลกั สตู รและหลกั สตู รการออกแบบ ขา่ ย ส่อื นวตั กรรม ๑ หลกั สูตร ๒. ผลิตส่อื เพ่อื แก้ ๑. แบบประเมนิ การอ่านออกเขียนได้ ๖ ชุด และแบบประเมนิ การอา่ น ปญั หาในพืน้ ท่ี เพ่ือส่งเสรมิ สุขภาวะ ๖ ชดุ ปฏบิ ัตกิ าร ๒. โรงเรียนได้ส่ือ นวัตกรรม สำ� หรับการอา่ นออกเขียนได้ และสอื่ สง่ เสริมสขุ ภาวะ จ�ำนวน ๒๐๐ สื่อ ๓. ไดฐ้ านข้อมลู จำ� นวน ๑ ฐานขอ้ มลู ๔. ไดแ้ หล่งเรียนรสู้ ง่ เสริมการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละสง่ เสรมิ สขุ ภาวะ จำ� นวน ๑๐ แห่ง ๕. ได้ผลงานของนกั เรียนเกย่ี วกบั สอื่ สง่ เสริมสขุ ภาวะโรงเรียนละ ๒ ผลงาน ๓. ตดิ ตามประเมนิ ผล ๑. ข้อมูลกระบวนการท�ำงาน ปญั หา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไขของแต่ละ และถอดบทเรียน โรงเรยี น จ�ำนวน ๒๒ โรงเรียน ๒. ไดโ้ รงเรียนต้นแบบจ�ำนวน ๑๐ โรงเรียน ๓. ผลสัมฤทธขิ์ องนกั เรียนด้านการอา่ นออกเขียนไดม้ ีพัฒนาการหลังเรียนสงู ขนึ้ กวา่ กอ่ นเรยี น ดา้ นสอื่ สขุ ภาวะมพี ฒั นาการหลงั เรยี นสงู ขนึ้ กวา่ กอ่ นเรยี น { 157 }

กลไกการท�ำงาน ผลลพั ธ์เชิงรปู ธรรม ๔. เผยแพร่ส่อื ๑. เผยแพรส่ อื่ สุขภาวะสู่ชมุ ชนโรงเรยี นละ ๑ ครง้ั ๒. การน�ำเสนอสอื่ นวตั กรรม ในรูปแบบของนิทรรศการและการบรรยาย นวัตกรรม ๑. ไดแ้ นวทางสกู่ ารขับเคลอ่ื นนโยบายสาธารณะ ๕. สรปุ การด�ำเนนิ งานโครงการ ๒) กลไกการทำ� งานของพ้นื ที่ปฏิบตั ิการ กระบวนการทำ� งานของพนื้ ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารทงั้ ๒๒ โรงเรยี น มคี รผู สู้ อนในแตล่ ะระดบั ชน้ั เปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การหลกั โดยมอี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล ปราชญช์ มุ ชน เป็นผู้หนุนเสริมการด�ำเนินงาน สรุปกระบวนการได้ดงั นี้ (๑) การสร้างทมี งานและเตรียมความพร้อมของเครือข่าย โดยโรงเรียนจัดต้ังคณะกรรมการด�ำเนินงาน ประกอบด้วย ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียน คณะครู อบต. รพ.สต. ปราชญช์ ุมชน และคณะครูท่ี ผา่ นการอบรมนำ� ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากกรฝกึ ปฏบิ ตั อิ บรมการผลติ สอื่ ไปขยายผลตอ่ ทโี่ รงเรยี นของ ตนเอง (๒) ผลติ สอื่ เพอ่ื แกป้ ญั หาในพน้ื ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร ครวู างแผนในการผลติ สอ่ื อา่ นออกเขยี น ได้ จดั ทำ� สอ่ื ผลติ สอื่ จดั เกบ็ ขอ้ มลู คะแนนกอ่ นเรยี น นำ� สอื่ ทผ่ี ลติ ไปใช้ จากนนั้ จงึ เกบ็ คะแนน หลงั เรยี น โดยมผี บู้ รหิ ารสถานศกึ ษาตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของครใู นการผลติ สอื่ (๓) ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและถอดบทเรียน โดยคณะครแู ละผ้ทู ี่มีสว่ นสนบั สนุนของแต่ละโรงเรยี นชว่ ยกัน ถอดบทเรยี น หลงั จากนน้ั คณะครรู ว่ มถอดบทเรยี นการดำ� เนนิ งานกบั กลมุ่ โรงเรยี นในตำ� บล และมหาวทิ ยาลยั (๔) เผยแพรส่ อ่ื นวตั กรรม โรงเรยี นวางแผนการเผยแพรส่ อื่ รว่ มกบั อบต. รพ.สต. มหาวทิ ยาลยั ในการเผยแพรส่ อื่ สง่ เสรมิ สขุ ภาวะสชู่ มุ ชน และจดั นทิ รรศการเผยแพร่ สอ่ื นวตั กรรมการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละส่งเสริมสุขภาวะ รวมทงั้ การน�ำเสนอภาคบรรยาย รว่ มกับ ๒๒ โรงเรยี น (๕) สรุปการด�ำเนินงานโครงการ โรงเรียนท้ัง ๒๒ โรงเรยี น เขา้ ร่วมเวทีแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ร่วมกับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และมหาวทิ ยาลยั เพ่อื ก�ำหนดแนวทางสูก่ ารขบั เคล่อื นนโยบายสาธารณะ { 158 }

ผลลัพธ์ท่ีได้จากกระบวนการ กลไกการทำ� งาน ผลลัพธ์เชงิ รปู ธรรม ๑. จัดตัง้ คณะกรรมการขับ โรงเรยี นได้คณะกรรมการดำ� เนินงาน เคลือ่ น การพัฒนาสื่อ เสรมิ ทกั ษะการอ่าน ออกเขียนได้ และ สง่ เสรมิ สขุ ภาวะของ โรงเรียน ๒. สานพลังสร้างส่ือ ๑. โรงเรียนไดส้ ือ่ นวตั กรรมอา่ นออกเขียนไดแ้ ละสอ่ื สง่ เสรมิ สุขภาวะ ร่วมกนั ในโรงเรยี น ๒. ได้ฐานข้อมูลบญั ชีสือ่ จำ� นวน ๒๒ ฐานขอ้ มูล เพ่ือเสรมิ ทกั ษะอ่าน ๓. ได้แหล่งเรยี นรูส้ ่งเสรมิ การอ่านออกเขียนไดแ้ ละสง่ เสริมสขุ ภาวะ ออกเขยี นได้และ สง่ เสรมิ สขุ ภาวะ จำ� นวน ๒๒ แหง่ ๔. ได้ผลงานของนักเรียนเกี่ยวกบั สอ่ื ส่งเสริมสุขภาวะ โรงเรียนละ ๑ ผลงาน ๕. ไดค้ ะแนนวัดผลสมั ฤทธิเ์ ร่อื งการอ่านออกเขียนและการใช้สอ่ื สขุ ภาวะ ไดข้ องนกั เรียน ๓. ประเมินสถานการณ์ ๑. โรงเรยี นไดข้ อ้ มลู กระบวนการทำ� งาน ปัญหา อุปสรรค และแนวทาง ผ่านการเรียนรู้ แกไ้ ข ๔. โรงเรียนทอ้ งถ่ิน ๑. เผยแพร่สอื่ สุขภาวะสชู่ มุ ชนโรงเรยี นละ ๑ ครัง้ รว่ มสรา้ งพลังปญั ญา ๒. การนำ� เสนอสอื่ นวัตกรรม ในรูปแบบของนิทรรศการ ๕. ถอดบทเรียน และการบรรยาย แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ๑. ไดแ้ นวทางสกู่ ารขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ประสบการณค์ รู สูบ่ ทเรียนสาธารณะ { 159 }

ผลลัพธจ์ ากสอ่ื /นวัตกรรม และแหล่งเรยี นรู้ ๑) สื่อ/นวตั กรรม โดยกลมุ่ เปา้ หมายการใช้สือ่ คอื นักเรยี นชน้ั ป.๑-๖ ทผ่ี ลติ ขึ้น สรปุ ไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี แบบฝึก เกม หนังสอื สามมติ ิ บตั รค�ำ บทอ่านนิทาน สมุดเล่มเล็ก บญั ชี คำ� พน้ื ฐาน สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ผลลพั ธท์ ไี่ ดจ้ ากการใชส้ อื่ นวตั กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ ความรอบรู้ ดา้ นสุขภาวะ พบว่า ช่วยพฒั นาทักษะการอ่านออกเขียนได้ใหด้ ีขนึ้ และนกั เรียนตระหนกั ถงึ การมสี ขุ ภาวะทด่ี ี ๒) แหลง่ เรยี นรู้ มดี งั นี้ (๑) แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นการเกษตรภายในโรงเรยี น เช่น บ่อเล้ียงปลา โรงเล้ียงไก่ แปลงผักสวนครัว แปลงปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ บ่อเล้ียง หอยขม โรงเพาะเหด็ (๒) แหลง่ การเรยี นรกู้ บั ครภู มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ สาขาตา่ งๆ ไดแ้ ก่ เกษตร ทฤษฎใี หม่ การจักสานไม้ไผ่ การตกี ลองยาว ดนตรีไทย การท�ำขนมหวาน แพทยพ์ ื้นบา้ น แหล่งเรียนรภู้ ูมิปญั ญาพชื สมุนไพรพนื้ บา้ น (๓) แหลง่ เรียนร้ใู นการจัดการขยะของชุมชน (๔) แหลง่ การเรยี นรโู้ รงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำ� บล (ตรวจสุขภาพแลเดก็ ฟัน ตรวจ สารพิษในอาหาร ฉีดยุง อบรมยาเสพติด อบรมไข้เลือดออก ตรวจสายตา ฉีดวัคซีน หัดเยอรมัน มะเรง็ ปากมดลูก) ผลลพั ธท์ ไ่ี ดจ้ ากการใชแ้ หลง่ เรยี นรเู้ พอื่ สง่ เสรมิ ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาวะ พบวา่ นกั เรยี น ได้ฝึกความรับผิดชอบ ได้เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีความรู้ติดตัว สามารถสร้างรายได้ เสรมิ สามารถเรยี นรรู้ ว่ มกับปราชญช์ มุ ชนท�ำใหเ้ กดิ เกดิ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างผสู้ งู อายแุ ละ เยาวชน เกดิ กระบวนการสืบสานมรดกภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เกิดความรัก ตระหนักในคณุ คา่ และสรา้ งความภาคภมู ใิ หก้ บั คนในชมุ ชน เดก็ ในชมุ ชนมสี ขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ ทด่ี ี มสี มาธิ ส่วนผลลัพธ์ด้านสุขภาวะ พบว่า นักเรียนเรียนได้เรียนรู้ และลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเอง เกิดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันกับคนในชุมชน เกิดความรู้ความเข้าใจใน กระบวนการการดูแลสุขภาวะ และสามารถน�ำความรู้เรื่องสุขภาวะไปด�ำเนินเป็นกิจกรรม หลกั ของโรงเรยี น และชมุ ชนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ   { 160 }

ภาพท่ี ๕.๑ โรงเรียนบา้ นในดง ตำ� บลบ้านในดง อำ� เภอทา่ ยาง จงั หวดั เพชรบรุ ี

โรงเรียนดี ชมุ ชนเดน่ เนน้ การมสี ว่ นรว่ ม โรงเรียนบา้ นในดง ตำ� บลบา้ นในดง อำ� เภอทา่ ยาง จังหวัดเพชรบรุ ี เรอ่ื งเด่นของพ้ืนที่ โรงเรยี นบา้ นในดง ตง้ั อยใู่ นพน้ื ท่ี ตำ� บลบา้ นในดง อำ� เภอทา่ ยาง จงั หวดั เพชรบุรี เปน็ โรงเรียนเดยี วที่ต้งั อยใู่ นตำ� บล มีครู ๑๒ คน นักเรียน ๑๔๓ คน สดั สว่ น ๑๑.๙๑ โรงเรยี นบา้ นในดงมีจดุ เดน่ คอื ครมู คี วามตั้งใจ ชมุ ชนให้ความร่วมมอื อยา่ งดแี ละมสี ว่ นรว่ มในทกุ กจิ กรรม จนสง่ ผลใหโ้ รงเรยี นมคี วามพรอ้ ม พฒั นา เป็นโรงเรียนโครงการเศรษฐกิจพอเพียง มีผลสัมฤทธ์ิดีเด่น จัดกิจกรรมการ เรียนการสอนที่มีคุณภาพเป็นท่ียอมรับของชุมชน นอกจากนี้ในด้านกิจกรรม นักเรียน โรงเรียนดำ� เนินการตามโครงการโรงเรียนดีประจำ� ต�ำบล ด้วยเหตนุ ี้โรงเรยี นได้รบั การสนบั สนุนเปน็ อยา่ งดจี าก ชมุ ชน วัด อบต. และปราชญช์ ุมชน ซึง่ ได้ร่วมมือกนั สง่ เสริม สนับสนุน พัฒนา โรงเรียนอย่าง ต่อเน่ืองจนมีคุณภาพเป็นท่ียอมรับ นับเป็นต้นทุนที่ท�ำให้โรงเรียนสามารถ ขับเคล่ือนงานตา่ งๆ ได้อยา่ งก้าวหนา้ สถานการณก์ ลา่ วถงึ ทม่ี าและปัจจัย สถานการณท์ เี่ กย่ี วกบั ปญั หาการอา่ นการเขยี น ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ พบวา่ จำ� นวนของนกั เรยี นทอ่ี า่ นไมอ่ อกมจี ำ� นวน ๙ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖.๒๙ นกั เรยี น มปี ญั หาอา่ นไมค่ ลอ่ ง ถงึ ๔๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๗.๙๗ และจบั ใจความสำ� คญั ยังไม่ได้มากถึง ๓๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๗.๒๗ ซ่ึงควรต้องพัฒนาเด็กให้ { 162 }

สามารถอ่านให้คล่องและจับใจความส�ำคัญให้ได้เพื่อประโยชน์ในช้ันที่สูงขึ้นไป ด้าน การเขยี นมีนกั เรียนเขยี นไม่ได้ ๓๙ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๒๗.๒๗ เขียนสะกดคำ� ไมไ่ ด้ ๙ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๖.๒๙ นกั เรียนเขยี นสรปุ ความไม่ได้ ๓๗ คน คดิ เป็นร้อยละ ๒๕.๘๗ สถานการณท์ ่เี กี่ยวกับปญั หาสุขภาวะย้อนหลงั ๓ ปี พบวา่ มีปัญหาฟันผุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๗.๔๘ ปญั หาเหา คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๔.๔๗ ปญั หาโรคผวิ หนงั คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒.๐๙ ปญั หาขาดสารอาหาร คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๐.๖๙ ปญั หาโรคปากนกกระจอก คิดเป็นร้อยละ ๑.๓๙ ปัญหาโรคไข้หวัดใหญ่ คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๔๘ ปัญหาโรค ทอ้ งร่วง คิดเปน็ ร้อยละ ๖.๒๙ สถานการณท์ เี่ กีย่ วกับครู ครมู คี วามตงั้ ใจและเปน็ ครูท่ีอยู่ในชุมชน ชุมชนมีต้นทุนทางสังคมที่ดี ประกอบด้วย แหล่งการเรียนรู้ งบประมาณ บคุ คล และสถานที่ท่ีพรอ้ มให้การสนับสนนุ โรงเรียนในทกุ ด้าน ท�ำให้ โรงเรียนมีความพร้อมในการขับเคลอ่ื นกิจกรรมต่างๆ วธิ กี าร ประกอบด้วย ๑) การสร้างการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการพัฒนาโรงเรียน ๒) การสง่ เสรมิ ให้โรงเรียนและชุมชนมกี ิจกรรมรว่ มกัน ๓) การส่งเสริมให้ปราชญ์ ชมุ ชนเขา้ มามบี ทบาทกบั การจดั การเรยี นการสอนในโรงเรียน ๔) บูรณาการการใช้ สือ่ ใหเ้ ขา้ กับต้นทนุ ทมี่ อี ยแู่ ละการสนับสนนุ จากชุมชน กระบวนการ (เน้นกระบวนการการมสี ่วนรว่ มกับชมุ ชน) ๑) สร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมภายในโรงเรียน โดยมีโครงสร้างของ คณะกรรมการพัฒนาโรงเรียน ซึ่งมีที่มาจากตัวแทนคณะกรรมการแต่ละหมู่บ้าน ต้ังข้ึนเป็นคณะกรรมการพัฒนาโรงเรียน มีการประชุมคณะกรรมการภาคเรียนละ ๒ ครั้ง เพอื่ ร่วมกนั จดั กจิ กรรมส่งเสริมงานของโรงเรียน ๒) สง่ เสรมิ ให้โรงเรยี นและ ชุมชนมีกิจกรรมร่วมกันท้ังกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะ และกิจกรรมด้านอ่ืนๆ เช่น การน�ำนักเรียนไปศึกษาวัฒนธรรมในชุมชนเพ่ือการอนุรักษ์สืบสานภูมิปัญญา ท้องถิน่ นกั เรยี นรว่ มรบั การอบรมดา้ นสิ่งแวดลอ้ มการจดั การขยะกบั ชุมชน แล้วไป ขยายผลโดยการประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบแนวทางร่วมกับ อบต. นักเรียนร่วม โครงการปน่ั จกั รยานเยย่ี มผปู้ ว่ ยตดิ เตยี งในชมุ ชน ๓) สง่ เสรมิ ใหป้ ราชญช์ มุ ชนเขา้ มา มีบทบาทกับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน ได้แก่ปราชญ์ชุมชนด้านเกษตร { 163 }

อินทรีย์ ๓ ท่าน ดนตรีไทย-กลองยาว ๒ ทา่ น ขนมหวาน ๕ ทา่ น ๔) บรู ณาการ การใชส้ อื่ ในการสง่ เสรมิ การอา่ นออกเขยี นได้ และความเขา้ ใจสขุ ภาวะใหเ้ ขา้ กบั ตน้ ทนุ ทีม่ อี ยแู่ ละการสนับสนุนจากชุมชน กจิ กรรม ๑) กิจกรรมการพัฒนาโรงเรียนกบั คณะกรรมการพฒั นาโรงเรยี น ๒) กิจกรรม การเรยี นรรู้ ว่ มกบั ปราชญช์ มุ ชน ๓) กจิ กรรมการศกึ ษาเรยี นรดู้ า้ นวฒั นธรรม สงั คม ในชุมชน ๔) กิจกรรมนักเรียนร่วมกับ อบต. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้าน สขุ ภาวะ การจดั การขยะ สง่ิ แวดลอ้ ม ใหก้ บั ชมุ ชน ๕) กจิ กรรมนกั เรยี นรว่ มโครงการ ปัน่ จักรยานเยีย่ มผ้ปู ่วยตดิ เตียงในชุมชน กับ อบต. ผลลพั ธท์ ีเ่ กิดขึน้ ๑) เกิดแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาวะส�ำหรับนักเรียนซึ่งเป็นแหล่งที่ตั้งอยู่ในชุมชน จำ� นวน ๓ แหล่ง ๒) มีปราชญช์ ุมชนทเ่ี ขา้ มาบรู ณาการการจดั การเรยี นการสอน รว่ มกบั โรงเรยี น จำ� นวน ๑๐ ท่าน ๓) นักเรียนไดเ้ รยี นรดู้ า้ นสขุ ภาวะผา่ นการทำ� กจิ กรรมรว่ มกบั ชมุ ชนอย่างน้อย ๓ ครั้งใน ๑ รอบปี ๔) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ของนกั เรยี นที่ผา่ นการใช้สอื่ สูงขน้ึ ความเปลย่ี นแปลงของบคุ คล ชุมชนทอ้ งถิน่ และผู้มีสว่ นรว่ ม ๑) ดา้ นบคุ คล เกดิ คณะทำ� งานพฒั นาโรงเรียน ครใู นโรงเรยี นไดฝ้ กึ การท�ำสอ่ื ด้านสุขภาวะโดยตรง นักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านออกเขียนได้ และสุขภาวะ สูงขนึ้ ๒) ดา้ นชุมชนทอ้ งถน่ิ โรงเรียน ชุมชน วดั อบต. และปราชญช์ มุ ชน ซึง่ ได้ ร่วมมอื กัน สง่ เสริม สนบั สนนุ พัฒนา การจดั การเรยี นการสอนเพอื่ การอ่านออก เขียนได้ และการส่งเสริมสุขภาวะ ๓) ด้านผู้มีส่วนร่วม เกิดความร่วมมือระหว่าง โรงเรยี น ชมุ ชน วัด อบต. และปราชญช์ มุ ชน ในการขบั เคล่ือนการสง่ เสรมิ สง่ เสริม การอา่ นออกเขยี นได้ และความเข้าใจสุขภาวะ เกดิ ความรว่ มมือระหวา่ ง โรงเรียน รพ.สต. อบต. ในการด�ำเนินงานดา้ นการสง่ เสรมิ สุขภาวะผปู้ ว่ ยติดเตยี งในชุมชน { 164 }

ภาพที่ ๕.๒ โรงเรยี นไรใ่ หมพ่ ฒั นา ตำ� บลไร่ใหมพ่ ฒั นา อำ� เภอชะอ�ำ จงั หวดั เพชรบรุ ี

ครูพเี่ ลย้ี งสรา้ งสอื่ มอื อาชีพ โรงเรยี นไรใ่ หม่พัฒนา ตำ� บลไรใ่ หม่พฒั นา อ�ำเภอชะอำ� จังหวัดเพชรบุรี เรือ่ งเดน่ ของพ้ืนที่ โรงเรียนไร่ใหม่พัฒนา ตั้งอยู่ในพ้ืนที่ ต�ำบลไร่ใหม่พัฒนา อ�ำเภอชะอ�ำ จงั หวดั เพชรบรุ ี เปน็ หนงึ่ ในโรงเรยี นประถมศกึ ษาจำ� นวนหา้ แหง่ ของพน้ื ทตี่ ำ� บล และเป็นเพียงโรงเรียนขยายโอกาสเพยี งโรงเรียนเดียวของต�ำบล มคี รู ๘ คน นกั เรยี นระดบั ประถม ๓๙ คน สดั สว่ นครู ๔.๘๗ ทนุ ทางสงั คม รพสต. ปราชญ์ ทอ้ งถน่ิ พน้ื ทีเ่ ด่นทำ� งานโดยมีครูพีเ่ ลีย้ ง คือ ครหู นึ่งฤทยั รอดพ้น เปน็ ตวั แทน ประสานงานระหวา่ งโรงเรยี นกับมหาวิทยาลัย ครหู น่งึ ฤทยั ได้วางแนวทางใน การทำ� งานโดยใชต้ นเองเปน็ พเี่ ลย้ี ง (Coach) เพอื่ สรา้ งทมี เพอื่ อยา่ งมสี ว่ นรว่ ม ของครใู นโรงเรยี นทงั้ หมด สามารถแสดงความคดิ เหน็ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ นอกจาก นั้นครูหน่ึงฤทัยยังเป็นพี่เลี้ยงท�ำหน้าที่กระตุ้นและสร้างแรงบันดาลใจให้ครู รนุ่ ใหมไ่ ด้มโี อกาสไดแ้ สดงศักยภาพของตนเองในการทำ� งาน จากทค่ี รหู นงึ่ ฤทยั ใชก้ ระบวนการเปน็ พเ่ี ลย้ี งแสดงใหเ้ หน็ วา่ ครมู ภี าวะผนู้ ำ� และพรอ้ มให้ประสบการณ์ คือ ใหโ้ อกาส สนับสนุน และส่งเสรมิ ทีมงานใหใ้ ช้ ศกั ยภาพทม่ี ใี นการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน เกดิ การมสี ว่ นรว่ มและทำ� ใหง้ านขบั เคลอ่ื น ไปสวู่ ัตถุประสงคท์ ีว่ างไว้ จากเดิมท่ไี ม่มกี ารผลิตสอื่ ใชใ้ นโรงเรียน แตเ่ ม่อื ไดใ้ ช้ กระบวนการในการสร้างทีม ทางโรงเรียนมีส่ือท่ีสามารถใช้ในการส่งเสริม การอ่านออกเขียนได้ และความเข้าใจสุขภาวะ { 166 }

นอกจากนนั้ ครหู นงึ่ ฤทยั ยงั ใชค้ วามสามารถดา้ นภาวะผนู้ ำ� ในการประสานงานกบั หนว่ ยงานราชการ และบคุ คลในพนื้ ที่ เชน่ อบต. รพ.สต. ชมรมผสู้ งู อายุ ครภู มู ปิ ญั ญา ทอ้ งถน่ิ ชาวบา้ น ใหม้ ารว่ มสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพฒั นาความสามารถในการอา่ น ออกเขยี นได้ และความเขา้ ใจสขุ ภาวะไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ทำ� ใหก้ จิ กรรมตา่ งๆ ทว่ี างแผนไว้ ด�ำเนินไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม สถานการณ์กล่าวถึงที่มาและปจั จยั สถานการณ์ท่ีเก่ียวกับปัญหาการอ่านการเขียน ปีการศึกษา ๒๕๖๑ พบว่า จ�ำนวนของเดก็ ทอ่ี า่ นไมอ่ อกมเี ป็นจำ� นวนนอ้ ย มีเพียง ๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๒.๕๖ เดก็ มปี ญั หาอา่ นไม่คลอ่ ง ถึง ๑๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๐.๗๖ และจับใจความสำ� คัญ ยังไม่ไดม้ ากถงึ ๒๓ คน คดิ เป็นร้อยละ ๕๘.๙๗ ซึ่งควรตอ้ งพฒั นาเดก็ ใหส้ ามารถ อา่ นใหค้ ลอ่ งและจบั ใจความสำ� คญั ใหไ้ ด้เพ่อื ประโยชนใ์ นช้ันท่ีสูงขน้ึ ไป ด้านการเขียน มนี กั เรยี นเขยี นสะกดคำ� ไมไ่ ด้ ๑๓ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๓.๓๓ นกั เรยี นเขยี นสรปุ ความ ไมไ่ ด้ ๑๖ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๔๑.๐๒ สถานการณท์ ่เี ก่ียวกบั ปญั หาสขุ ภาวะย้อนหลงั ๓ ปี พบวา่ มปี ัญหาฟนั ผุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๗๔.๓๕ ปญั หาเหา คิดเปน็ ร้อยละ ๘๙.๗๔ ปัญหาขาดสารอาหาร คิดเปน็ ร้อยละ ๒.๕๖ ปัญหาโรคไข้หวดั ใหญ่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๕.๑๒ ปญั หาโรคท้องรว่ ง คดิ เป็นร้อยละ ๒.๕๖ และปญั หาโรคไขเ้ ลอื ดออก คดิ เปน็ ร้อยละ ๕.๑๒ สถานการณ์ที่เก่ียวกับครู ก่อนเข้าร่วมโครงการ ยังไม่มีระบบการ ขบั เคลอื่ นงานโดยมพี เี่ ลยี้ งอยา่ งเปน็ รปู ธรรม จงึ ยงั ไมเ่ กดิ สอื่ สำ� หรบั ใชใ้ นการจดั การ เรยี นการสอนอยา่ งเป็นรูปธรรม ส่วนใหญเ่ น้นการสอนตามคมู่ ือครูเปน็ หลกั วธิ กี าร ประกอบด้วย ๑) การน�ำประสบการณใ์ นการทำ� งานส่วนบุคคลพฒั นาไปสกู่ าร เปน็ ครูพ่ีเล้ียง ๒) ครพู ่เี ลยี้ งสรา้ งกระบวนการการมสี ว่ นร่วมของครูในทมี ๓) ครูพ่ี เลย้ี งใหค้ �ำปรกึ ษา ใหโ้ อกาส เป็นโคช้ สนับสนุน และสง่ เสรมิ ทมี งานให้ใช้ศกั ยภาพ ทม่ี ใี นการสร้างสรรคผ์ ลงาน ๔) สร้างความสมั พนั ธ์กบั หนว่ ยงานในชุมชน { 167 }

กระบวนการ ประกอบด้วย ๑) ครพู ีเ่ ลย้ี งจดั การประชมุ สร้างความเข้าใจในการด�ำเนินงาน สรา้ งจติ สำ� นกึ รว่ มของทมี ใหร้ บั ผดิ ชอบโครงการรว่ มกนั ๒) ครพู เี่ ลย้ี งจดั การประชมุ ในระยะตา่ งๆ เนน้ การสรา้ งการมสี ว่ นรว่ ม ๓) ครพู เ่ี ลย้ี งทำ� หนา้ ทป่ี ระสาน สนบั สนนุ ให้ค�ำแนะนำ� และอ�ำนวยความสะดวกใหก้ ับลูกทีม ๔) ครูพเ่ี ล้ยี งและทมี ดำ� เนนิ การ ในการจัดท�ำส่อื ร่วมกนั ในฐานะผู้ปฏบิ ตั งิ านระดับเดียวกนั และใช้สอ่ื เพอ่ื ขับเคล่อื น การอา่ นออกเขียนได้ ความเข้าใจดา้ นสขุ ภาวะ ๕) ครพู ีเ่ ลี้ยงประสานกับหน่วยงาน ราชการ และบคุ คลในพ้นื ท่ี เพ่อื จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาวะ โดยมสี มาชกิ ในทีมรว่ ม ประสานงาน เพอื่ สามารถทจ่ี ะประสานงานกบั ทางหนว่ ยงาน บคุ ลากรในพน้ื ทไ่ี ดเ้ อง ในระยะตอ่ ไป กจิ กรรม ประกอบด้วย ๑) กิจกรรมการประชุมทำ� ความเขา้ ใจวตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ และมอบหมายหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบระหวา่ งพเ่ี ลยี้ งและสมาชกิ ในทมี งาน ๒) กจิ กรรม การประชมุ อยา่ งมสี ว่ นรว่ มระหวา่ งพเ่ี ลยี้ งและสมาชกิ ในทมี งาน ๓) กจิ กรรมการผลติ สอื่ ระหวา่ งพเ่ี ลย้ี งและสมาชกิ ในทมี งาน ๔) กจิ กรรมการใชส้ อื่ ในการสง่ เสรมิ การอา่ น ออกเขยี นได้ และความเข้าใจสุขภาวะ ๕) กิจกรรมเผยแพร่สือ่ สุขภาวะรว่ มกบั ชุมชน ผลลพั ธ์ทเี่ กดิ ข้นึ ๑) เกิดบคุ ลากรซง่ึ สามารถพฒั นาตนไปส่กู ารเป็นครพู ี่เล้ียง ๒) เกิดทีมในการ สรา้ งส่อื ของโรงเรียน ๗ คน ๓) มีสอ่ื ส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ ๑๑ ชน้ิ และสอื่ ดา้ นสขุ ภาวะ ๑๐ ชน้ิ ซงึ่ เปน็ สอื่ ทำ� มอื ทง้ั หมด ๔) ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี น ทผ่ี า่ นการใชส้ ือ่ สงู ขึน้ ความเปล่ียนแปลงของบคุ คล ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ และผู้มีสว่ นร่วม ๑) ดา้ นบคุ คล เกดิ บคุ ลากรทมี่ ภี าวะผนู้ ำ� ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ พเี่ ลย้ี งใหก้ บั ทมี (ครหู นง่ึ ฤทยั รอดพน้ ) เกดิ ทมี งานพฒั นาการจดั ทำ� สอื่ สง่ เสรมิ การอา่ นออกเขยี นได้ และความ เขา้ ใจสขุ ภาวะของโรงเรียน เน้นการท�ำงานอย่างมสี ว่ นร่วม (มสี มาชิก ๗ คน เป็น ครรู นุ่ ใหมท่ อี่ ยากพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน) นกั เรยี นมพี ฒั นาการดา้ นการอา่ น { 168 }

ออกเขยี นได้ และสขุ ภาวะ สูงขึ้น ๒) ดา้ นชุมชนทอ้ งถ่นิ สมาชิกชมรมผูส้ ูงอายุใน ทอ้ งถิน่ ไดร้ บั การเสริมแรงด้านการดแู ลสุขภาพจากการจดั กจิ กรรมดา้ นสขุ ภาวะของ โรงเรียน นักเรียนที่อยู่ในโครงการท�ำหน้าท่ีประชาสัมพันธ์ด้านการดูแลสุขภาวะแก่ ผสู้ งู อายใุ นชมุ ชน ๓) ดา้ นผมู้ สี ว่ นรว่ ม เกดิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งครใู นโรงเรยี นในการ ขับเคลื่อนการสร้างสื่อส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ และความเข้าใจสุขภาวะ เกิด ความรว่ มมอื ระหว่างโรงเรยี น รพ.สต. ชมรมผูส้ งู อายุ อบต. ในการด�ำเนินงานดา้ น การส่งเสริมสุขภาวะ   { 169 }

ภาพที่ ๕.๓ โรงเรยี นบ้านหว้ ยไทรงาม ตำ� บลหนองพลบั อำ� เภอหวั หิน จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์

สานพลงั สรา้ งทีม สรา้ งสือ่ โรงเรียนบา้ นหว้ ยไทรงาม ต�ำบลหนองพลบั อ�ำเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบคีรขี ันธ์ เร่ืองเดน่ ของพื้นท่ี โรงเรียนบ้านหว้ ยไทรงาม ต้งั อยใู่ นพืน้ ท่ี ตำ� บลหนองพลับ อำ� เภอหวั หนิ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นหน่ึงในโรงเรียนประถมศึกษาจ�ำนวนห้าแห่งของ พื้นท่ตี �ำบล มคี รู ๑๓ คน นกั เรยี น ๘๘ คน สดั ส่วน ๖.๗๖ การท�ำงานในโครงการน้ีโรงเรียนมีความโดดเด่นด้านการท�ำงานเป็นทีม ครทู กุ คนในโรงเรียนตา่ งร่วมมอื ร่วมใจในการทำ� งาน สามารถประสานความ รว่ มมอื ไดอ้ ยา่ งเขม้ แขง็ ทำ� ใหง้ านขบั เคลอ่ื นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มโี ครงสรา้ ง ของการจัดทีมท�ำงานชัดเจน ประกอบไปด้วย ทีมย่อย ได้แก่ ทีมที่ปรึกษา (ผู้อ�ำนวยการ ครูอาวุโส) ทีมวางแผนการด�ำเนินงานและประสานงาน และ ทีมปฏิบัติงาน ซ่ึงทุกทีมย่อยจะประชุมและแบ่งหน้าท่ี พร้อมกับร่วมกันขับ เคล่ือนงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ระหว่างการด�ำเนินงานจะมีการจัด ประชุมอย่างไม่เป็นทางการในวงรับประทานอาหาร ทั้งโรงเรียนรับประทาน อาหารร่วมกัน เพ่ือการสร้างบรรยากาศท่ีดีในการประชุมท�ำงาน โดยมีทีม วางแผนเปน็ ฝา่ ยสรปุ และนำ� งานทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ไิ ปเสนอแกบ่ คุ ลากรในทมี มกี าร วางแผนบริหารการใช้เวลาโดยมีการจัดตารางงานร่วมกัน จึงท�ำให้สามารถ แบ่งเวลาสอน งานตามหน้าท่ี และงานผลิตสอ่ื ไดอ้ ยา่ งลงตวั ทำ� งานเสรจ็ ตามเวลาทวี่ างแผนไว้ { 171 }

สถานการณก์ ลา่ วถึงทม่ี าและปจั จัย สถานการณ์ที่เก่ียวกับปัญหาการอ่านการเขียน ปีการศึกษา ๒๕๖๑ พบว่า จำ� นวนของนกั เรียนท่ีอา่ นไมอ่ อกมีจ�ำนวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕.๖๘ นักเรียนมี ปญั หาอา่ นไมค่ ลอ่ ง ถงึ ๒๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๗.๒๗ และจบั ใจความสำ� คญั ยงั ไมไ่ ด้ มากถึง ๓๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๔.๐๙ ซึ่งควรต้องพัฒนาเด็กใหส้ ามารถอ่านให้ คล่องและจับใจความส�ำคัญให้ได้เพ่ือประโยชน์ในชั้นที่สูงข้ึนไป ด้านการเขียนมี นกั เรยี นเขยี นไมไ่ ด้ ๕ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๕.๖๘ เขยี นสะกดคำ� ไมไ่ ด้ ๑๘ คน คดิ เป็น ร้อยละ ๒๐.๔๕ นักเรียนเขียนสรุปความไม่ได้ ๘๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๒.๐๔ สถานการณ์ทีเ่ กีย่ วกบั ปญั หาสุขภาวะย้อนหลงั ๓ ปี พบว่า มีปัญหาฟันผุ คดิ เป็น รอ้ ยละ ๓๙.๗๗ ปญั หาเหา คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๐.๔๕ ปญั หาโรคผวิ หนงั คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๑.๓๖ ปญั หาขาดสารอาหาร คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒.๒๗ ปัญหาโรคทอ้ งรว่ ง คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒.๒๗ สถานการณท์ เ่ี กยี่ วกบั ครู กอ่ นเขา้ รว่ มโครงการและในชว่ งเรม่ิ โครงการ ระยะแรกครูส่วนใหญ่ไม่อยากรับงานเพ่ิมจากงานประจ�ำ ซ่ึงการสร้างสื่อเป็นภาระ งานทคี่ รเู หน็ วา่ เบยี ดบงั เวลางานปกติ ครใู นโรงเรยี นไมค่ อ่ ยใชส้ อื่ ในการจดั การเรยี น การสอนอยา่ งเป็นรูปธรรม สว่ นใหญ่เนน้ การสอนตามค่มู อื ครูเป็นหลกั วิธกี าร ประกอบดว้ ย ๑) สรา้ งกระบวนการการมสี ว่ นรว่ มภายในโรงเรยี น ๒) จดั ประชมุ อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการเปน็ ประจำ� ๓) ทมี วางแผนการดำ� เนนิ งานและประสานงาน สรปุ ผลการประชุมและน�ำงานที่ต้องปฏิบัติไปเสนอแก่บุคลากรในทีม ๔) การจัดตาราง งานรว่ มกันเพ่อื ศกั ยภาพในการปฏบิ ตั งิ าน กระบวนการ (เนน้ กระบวนการการสร้างทมี ) ประกอบด้วย ๑) สร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมภายในโรงเรียน โดยมี โครงสร้างของการจัดทีมท�ำงาน ประกอบไปด้วยทีมย่อยได้แก่ ทีมท่ีปรึกษา (ผู้อำ� นวยการ ครอุ าวโุ ส) ซ่ึงเป็นผู้มปี ระสบการณ์ คอยชแ้ี นะว่าควรด�ำเนินโครงการ ไปในทิศทางใด ทีมวางแผนการด�ำเนินงานและประสานงาน มีหน้าท่ีวางแผนการ ดำ� เนินงาน ประสานงานระหว่างมหาวิทยาลัยและโรงเรยี น และระหวา่ งครูภายใน โรงเรียน ส่งเสริมและสนับสนุนการด�ำเนินงานของทีมปฏิบัติงาน ทีมปฏิบัติงาน มหี น้าทีข่ บั เคล่อื นการสรา้ งส่ือส่งเสริมการอา่ นออกเขยี นได้ และสอ่ื ส่งเสรมิ สขุ ภาวะ { 172 }

ซ่ึงทกุ ทีมย่อยจะประชุมและแบง่ หนา้ ท่ี พรอ้ มกบั ร่วมกนั ขับเคล่อื นงานใหเ้ ป็นไปตาม วัตถุประสงค์๒) ประชุมอย่างไม่เป็นทางการเป็นประจ�ำเพื่อสร้างความเข้าใจ วัตถุประสงค์ของงานและความสัมพันธ์ของทีม ๓) ทีมวางแผนการด�ำเนินงานและ ประสานงาน สรุปผลการประชุมและน�ำงานที่ต้องปฏิบัติไปเสนอแก่บุคลากรในทีม ๔) มีการวางแผนบรหิ ารการใชเ้ วลาโดยมกี ารจดั ตารางงานรว่ มกนั จงึ ทำ� ใหส้ ามารถ แบง่ เวลาสอน งานตามหนา้ ท่ี และงานผลิตสอื่ ได้อย่างลงตัว ทำ� งานเสร็จตามเวลา ทีว่ างแผนไว้ กิจกรรม ประกอบดว้ ย ๑) กจิ กรรมการประชุมก�ำหนดบทบาทหนา้ ทใ่ี นการท�ำงานของ ทมี ๒) กจิ กรรมการประชมุ เพอื่ มอบหมายงาน แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ ตดิ ตามงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาระหว่างการด�ำเนินงาน ๓) กิจกรรมการผลิตสื่อ ๔) กิจกรรมการใช้ส่ือในการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ และความเข้าใจสุขภาวะ ๕) กิจกรรมเผยแพร่สอ่ื สุขภาวะรว่ มกับชุมชน ผลลพั ธท์ ี่เกิดขึน้ ๑) เกดิ ทมี ผลติ สอื่ ขน้ึ ในโรงเรยี น สมาชกิ ประกอบดว้ ย ทมี ทปี่ รกึ ษา (ผอู้ ำ� นวยการ ครอุ าวุโส) ทีมวางแผนการด�ำเนนิ งานและประสานงาน และทมี ปฏบิ ตั งิ าน จำ� นวน สมาชิกทั้งสิ้น ๑๒ คน ๒) มีสื่อส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้และสื่อด้าน สขุ ภาวะ ๘๕ ช้ิน ซึ่งเปน็ สื่อทำ� มือทัง้ หมด ๓) ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี น ท่ผี า่ นการใชส้ ่อื สูงขึ้น ความเปลย่ี นแปลงของบคุ คล ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ และผมู้ สี ่วนร่วม ๑) ดา้ นบคุ คล เกิดทีมผลิตส่อื ข้ึนในโรงเรยี น จากท่รี ะยะแรกเกย่ี งงาน ไม่อยาก เขา้ รว่ มโครงการเพราะกลวั วา่ จะมภี าระงานเพมิ่ ขนึ้ ทมี นมี้ สี มาชกิ ๑๒ คน ซง่ึ ประกอบ ด้วยครูทั้งโรงเรียน นักเรียนมีพัฒนาการด้านการอ่านออกเขียนได้ และสุขภาวะ สงู ข้นึ ๒) ดา้ นชุมชนท้องถ่ิน ผู้ปว่ ยเบาหวานในทอ้ งถ่ินไดร้ บั การเสรมิ แรงดา้ นการ ดแู ลสขุ ภาพจากการจดั กจิ กรรมดา้ นสขุ ภาวะของโรงเรยี นรว่ มกบั รพ.สต. (สง่ เสรมิ การ ออกกำ� ลงั กายในผปู้ ว่ ยเบาหวาน) ๓) ดา้ นผมู้ สี ว่ นรว่ ม เกดิ ความรว่ มมอื ระหวา่ งครใู น { 173 }

โรงเรียนในการขับเคล่ือนการสร้างส่อื ส่งเสรมิ การอ่านออกเขียนได้ และความเขา้ ใจ สขุ ภาวะ เกดิ ความรว่ มมอื ระหวา่ ง โรงเรยี น รพ.สต. ผปู้ ว่ ยเบาหวานในทอ้ งถนิ่ ในการ ดำ� เนินงานดา้ นการส่งเสริมสุขภาวะการออกก�ำลงั กายในผู้ป่วยเบาหวาน { 174 }

ภาพที่ ๕.๔ โรงเรียนอนุบาลหวั หนิ (บา้ นหนองขอน) อ�ำเภอหวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์

สื่อสร้างสรรค์รอบรู้สุขภาวะ กบั การสร้างความสมั พนั ธ์ และกระบวนการมสี ่วนร่วม ระหวา่ งโรงเรียนกบั ชมุ ชน โรงเรียนอนบุ าลหัวหิน (บ้านหนองขอน) อำ� เภอหัวหินจังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ เรื่องเดน่ ของพนื้ ท่ี โรงเรียนอนุบาลหัวหิน (บ้านหนองขอน) อยู่ในพื้นท่ีต�ำบลหินเหล็กไฟ จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ มีจ�ำนวนนักเรียนทงั้ สิ้น ๒๘๒ คน และครู ๒๐ คน ถึงแม้จะมคี รูทจี่ บการศึกษาทางด้านภาษาไทยโดยตรงเพยี ง ๑ คน แต่จดุ เดน่ ของโรงเรียน คือ การผลิตส่ือสร้างสรรค์เพ่ือการอ่านออกเขียนได้และความ รอบรู้เรื่องสุขภาวะ ซ่ึงเกิดข้ึนจากกระบวนการมีส่วนร่วมของครูและนักเรียน สง่ ผลใหไ้ ดส้ อ่ื ท่มี ีคุณภาพจำ� นวนมาก ด้วยสื่อที่โรงเรียนผลิตข้ึนมีประสิทธิภาพสามารถสร้างกระบวนการเรียน รู้เรื่องสุขภาวะให้กับบุคคลภายนอกได้ จึงเกิดการประสานความร่วมมือกัน ระหว่างโรงเรียนกับองค์การบริหารส่วนต�ำบล เผยแพร่ความรู้สุขภาวะให้กับ ชุมชน โดยเฉพาะกลุ่มแกนน�ำอาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน ซึ่งการ เผยแพร่องค์ความรู้ให้กับแกนน�ำชุมชนดังกล่าวนักเรียนมีส่วนร่วมหลักในการ ดำ� เนนิ กจิ กรรม สง่ ผลใหโ้ รงเรยี นเปน็ โรงเรยี นตน้ แบบของการนำ� สอื่ สรา้ งสรรค์ เพอื่ การอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละความรอบรเู้ รอ่ื งสขุ ภาวะสกู่ ารสรา้ งความสมั พนั ธ์ ระหว่างโรงเรยี นกบั ชมุ ชน { 176 }

สถานการณ์ทเ่ี ปน็ ปญั หา สถานการณป์ ญั หาการอา่ นไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ดข้ องนกั เรยี นโรงเรยี นอนบุ าลหวั หนิ (บา้ นหนองขอน) ปรากฏอยู่ในทุกระดับชนั้ พบวา่ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ปญั หา อา่ นไม่ออกและเขียนไมไ่ ด้จำ� นวน ๑๓ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๗.๐๘ ช้นั ประถมศกึ ษา ปที ี่ ๒ ปญั หานกั เรยี นอา่ นไมค่ ลอ่ งและจบั ใจความไมไ่ ด้ รวมทง้ั เขยี นไมไ่ ด้ เขยี นสะกด คำ� ไมไ่ ด้ และเขียนสรุปความไมไ่ ด้ มีจำ� นวน ๒๘ คนเท่ากัน คดิ เป็นร้อยละ ๕๒.๘๓ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ปญั หานกั เรยี นอา่ นไมค่ ลอ่ ง อา่ นจบั ใจความไมไ่ ด้ เขยี นสะกด ค�ำไม่ได้ และเขียนสรุปความไมไ่ ด้ มจี ำ� นวน ๒๐ คนเทา่ กนั คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๖.๓๖ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ปัญหานกั เรยี นอ่านจบั ใจความไม่ได้และเขยี นสรุปความไม่ได้ มจี �ำนวน ๑๗ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๔.๖๙ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕ ปัญหานักเรียน อา่ นจบั ใจความไมไ่ ด้ จำ� นวน ๑๖ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๕.๕๕ และเขยี นสรปุ ความไม่ ได้ มีจ�ำนวน ๑๗ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๗.๗๗ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ปัญหานกั เรียน อา่ นจบั ใจความไมไ่ ดแ้ ละเขยี นสรปุ ความไมไ่ ด้ มจี ำ� นวน ๑๑ คนเทา่ กนั คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๔.๓๗ การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและผลจากการสัมภาษณ์ครูในโรงเรียนพบว่า สาเหตุส�ำคัญของการอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ของนักเรียน เกิดจากส่ือการสอนที่ไม่ ดงึ ดดู ความสนใจของนกั เรยี น ทำ� ใหน้ กั เรยี นเกดิ ความเบอื่ หนา่ ย ซงึ่ สง่ ผลกระทบตอ่ ประสิทธภิ าพในการเรียนร้ขู องนักเรียนเป็นอย่างยิ่ง สว่ นปญั หาด้านสุขภาพของนักเรยี น พบว่า ปัญหาฟนั ผุ เปน็ ปญั หาส�ำคัญของ นักเรียนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๔๓ รองลงมาคือ โรคเหา คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๙๙ และปัญหาผวิ หนงั คิดเปน็ ร้อยละ ๓.๕๔ ซึ่งจากข้อมูลปัญหาดงั กลา่ ว เป็น แนวทางใหค้ รนู ำ� สกู่ ารผลติ สอื่ เพอ่ื พฒั นาการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละรอบรเู้ รอื่ งสขุ ภาวะ วิธีการด�ำเนินงานของโรงเรียนต้นแบบ ดังนี้ ๑) วิธีการของครูในฐานะผู้ผลิตสื่อ สร้างสรรค์ (๑) การสร้างทมี งานของโรงเรียน โดยคณะผูบ้ ริหารและครผู ู้สอนทุก ระดบั ชน้ั ประชมุ โดยใชว้ ิธกี ารสรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรู้วชิ าชีพ (PLC) มาวางแผน การท�ำงาน (๒) ผลิตสอื่ สร้างสรรค์ เร่ิมต้นจากการรวบรวมข้อมลู ผลการเรียนของ ผเู้ รยี น รายงานการตรวจสขุ ภาพประจำ� ปี เพอื่ วเิ คราะหผ์ เู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล สบื คน้ รปู แบบและแนวทางการผลติ สอื่ สรา้ งสรรคเ์ พอ่ื การอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละสง่ เสรมิ ความ รอบรเู้ ร่ืองสุขภาวะ ด�ำเนนิ กจิ กรรมการจัดการเรยี นรูโ้ ดยใชส้ ่ือท่ีผลติ ขึน้ ในระหวา่ ง { 177 }

การจดั กจิ กรรม คณะครทู สี่ อนภาษาไทยตงั้ แตร่ ะดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑–๖ มกี าร ประชมุ ด้วยวิธีการสรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นร้วู ชิ าชพี (PLC) สัปดาหล์ ะ ๑ ครงั้ เพ่อื หาข้อบกพร่องและแนวทางการแก้ปัญหา (๓) ครูติดตามและประเมินผลการใช้สื่อ สรา้ งสรรคเ์ พอื่ การอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละสง่ เสรมิ ความรอบรเู้ รอื่ งสขุ ภาวะ (๔) ครแู ละ นักเรียนน�ำสื่อสร้างสรรค์เพื่อความรอบรู้เร่ืองสุขภาวะเผยแพร่ให้กับชุมชนผ่าน แกนนำ� ชมุ ชนอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำ� หมบู่ า้ น (อสม.) ๒) การถา่ ยทอดสอื่ รอบรู้ ผา่ นนักเรยี นผูส้ ร้างสรรค์ ได้แก่ (๑) นกั เรียนเขา้ มามีสว่ นร่วมกบั ครใู นการผลิตสื่อ กอ่ เกดิ การเรยี นรดู้ า้ นการอา่ นออกเขยี นได้ การผลติ สรา้ งสรรค์ และใชส้ อื่ และการ ถา่ ยทอดองคค์ วามรจู้ ากสอื่ (๒) การเผยแพรส่ อ่ื ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น โดย นักเรียนท่ีเป็นผู้สร้างสรรค์ส่ือได้สร้างกระบวนการเรียนรู้จากรุ่นพ่ีสู่รุ่นน้อง และ น�ำความรูส้ ่ชู มุ ชน ๓) กระบวนการมีสว่ นร่วมกับชมุ ชน ร่วมกิจกรรมในการเผยแพร่ องค์ความรู้ด้านสุขภาวะ สนับสนุนการด�ำเนินงานของโรงเรียนในฐานะของคณะ กรรมการสถานศกึ ษา และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ผลลพั ธท์ ีเ่ กิดขนึ้ จากการผลิตสื่อสร้างสรรค์รอบรู้สุขภาวะท่ีสร้างความสัมพันธ์และกระบวนการ มสี ว่ นรว่ มระหวา่ งโรงเรยี นกบั ชมุ ชน ผลทไ่ี ดจ้ ากการสงั เคราะหว์ ธิ กี ารของครใู นฐานะ ผู้ผลิตส่ือสร้างสรรค์และการถ่ายทอดสื่อรอบรู้ผ่านนักเรียนผู้สร้างสรรค์ สรุปผลได้ ดงั น้ี ๑) มสี อ่ื นวตั กรรม แหลง่ เรยี นรทู้ ส่ี ง่ เสรมิ การอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละความรอบรู้ เร่ืองสุขภาวะ ๒) ส่ือสุขภาวะถูกน�ำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนและเผยแพร่ สุขภาวะ ๓) นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการอ่านและเขียนดีข้ึนอย่างต่อเนื่อง ๔) นกั เรยี นมคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรคแ์ ละความภาคภมู ใิ จในการผลติ สอื่ ๕) นกั เรยี น มีความรู้ที่คงทนมากข้นึ ความเปลีย่ นแปลง (บคุ คล ชมุ ชนท้องถนิ่ ผูม้ ีสว่ นร่วม) ๑) ระดับบุคคล ได้แก่ (๑) ครูเกิดแรงเสริมเชิงบวกในการผลิตและพัฒนา ส่ือสร้างสรรค์ (๒) นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการอ่านและเขียนดีขึ้นอย่างต่อเน่ือง (๓) นกั เรยี นมคี วามคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรคแ์ ละความภาคภมู ใิ จในการผลติ สอื่ (๔) นกั เรยี น มีความรทู้ ีค่ งทนมากขน้ึ ๒) ระดบั โรงเรยี น ไดแ้ ก่ (๑) มสี อ่ื นวตั กรรม แหลง่ เรยี นรู้ { 178 }

ทส่ี ง่ เสรมิ การอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละความรอบรเู้ รอ่ื งสขุ ภาวะ (๒) โรงเรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง การเรียนร้ดู ้านสขุ ภาวะของชุมชน ๓) ระดับชมุ ชน ไดแ้ ก่ (๑) เกิดการประสานและ ความรว่ มมือระหวา่ งชมุ ชนกับโรงเรยี น (๒) สรา้ งชมุ ชนเขม้ แข็งด้านสขุ ภาวะด้วยสอ่ื การเรียนรอบรู้สุขภาวะ (๓) แกนน�ำชมุ ชน อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหม่บู ้าน (อสม.) สามารถถ่ายทอดองค์ความรดู้ า้ นสุขภาวะสคู่ นในชุมชนไดล้ มุ่ ลึกมากขน้ึ   { 179 }

ภาพที่ ๕.๕ โรงเรียนบา้ นชะม่วง ตำ� บลพงศ์ประศาสน์ อ�ำเภอบางสะพาน จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธ์

ปพร้นื ชั ทญ่สี ารเา้ ศงรสษรฐรกคิจ์ภพายอใเตพ้แยี นงวคิด “เรียนรู้ เลน่ ปฏบิ ัต”ิ ดว้ ยสอ่ื สขุ ภาวะ โรงเรยี นบา้ นชะม่วง ต�ำบลพงศ์ประศาสน์ อ�ำเภอบางสะพาน จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ สถานการณ์ท่ีเปน็ ปญั หา โรงเรียนบ้านชะม่วง สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ประจวบคีรีขันธ์ เขต ๑ ต้ังอยู่ที่หมู่ที่ ๓ ต�ำบลพงศ์ประศาสน์ อ�ำเภอ บางสะพาน จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ พบสภาพปัญหาท่ีเกิดขึ้นกบั ผู้เรยี นใน ๒ ประเดน็ หลัก ไดแ้ ก่ ๑) ปญั หาเดก็ อ่านไม่ออกเขียนไมไ่ ด้ จากการเก็บขอ้ มูล เกย่ี วกบั การอา่ นออกเขยี นไดข้ องนกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๖ ของ โรงเรียนดา่ นสงิ ขร จำ� นวน ๘๕ คน พบว่า นกั เรียนมปี ัญหาเกี่ยวกับการอ่าน จบั ใจความสำ� คญั ไมไ่ ด้ มากทส่ี ดุ จำ� นวน ๖๗ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๗๘.๘๒ รอง ลงมาคอื นกั เรยี นทอ่ี า่ นไมค่ ลอ่ ง จำ� นวน ๑๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๑.๑๗ และ ปญั หานักเรยี นอา่ นไม่ออก จ�ำนวน ๒ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๒.๓๕ นอกจากนี้ ยงั พบปญั หาเด็กเขยี นไมไ่ ด้ จ�ำนวน ๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๓๕ เขยี นสะกด คำ� ไมไ่ ด้ จำ� นวน ๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒.๓๕ และ เขยี นสรปุ ความไมไ่ ด้ จำ� นวน ๘๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๔.๑๑ ๒) ปญั หาด้านสขุ ภาวะของนักเรียนโรงเรียน บา้ นชะมว่ ง จากการรายงานผลการสำ� รวจและตรวจสขุ ภาพนกั เรยี นของโรงเรยี น รว่ มกบั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บลยอ้ นหลงั ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) พบวา่ ปญั หาสขุ ภาวะทเ่ี ปน็ ปญั หามากทส่ี ดุ คอื ฟนั ผุ จำ� นวน ๓๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๗.๒ รองลงมา คือปัญหา เหา เฉพาะนักเรยี นหญงิ จ�ำนวน ๒๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๒๕ เน่ืองจากขาดค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการดูแล ป้องกัน เกยี่ วกบั สุขภาวะอยา่ งถูกวธิ ี และขาดการติดตามผลอย่างต่อเน่อื ง { 181 }

ขอ้ มลู พน้ื ฐานในพน้ื ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร มดี งั นี้ ๑) โรงเรยี นบา้ นชะมว่ ง มี จำ� นวนครทู งั้ หมด ๘ คน แบง่ เปน็ ชาย ๓ คน หญงิ ๕ คน เป็นข้าราชการครู ๘ คน มีสดั ส่วนครู ตอ่ นกั เรยี น คิดเป็นร้อยละ ๙.๔๑ มนี ักเรยี นท้งั หมด ๘๕ คน แบ่งเปน็ นกั เรียนชาย ๕๐ คน และนักเรียนหญงิ ๓๕ คน ๒) ทุนทางสงั คม ประกอบด้วย โรงเรยี นบ้าน ชะม่วงท่ีมพี ้ืนที่สร้างสรรค์ภายใต้แนวคดิ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง คือ โรงเลยี้ งไก่ และ แปลงปลกู ผักไฮโดรโปนิกส์ และยงั เป็นส่อื กลางในการประสานความรว่ มมือได้ เปน็ อยา่ งดีกบั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อบต. รพ.สต. ปราชญท์ ้องถิ่น กระบวนการท�ำงานของพ้นื ทเ่ี ดน่ โรงเรียนบ้านชะม่วง มีความโดดเด่นของกระบวนการเร่ืองพ้ืนที่สร้างสรรค์ ภายใตแ้ นวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง “เรยี นรู้ เลน่ ปฏบิ ตั ”ิ ดว้ ยสอ่ื สขุ ภาวะ ดงั น้ี ๑) โรงเรยี น ชมุ ชน อบต. รพ.สต. ปราชญ์ทอ้ งถนิ่ รว่ มกนั ก�ำหนดพนื้ ทสี่ รา้ งสรรค์ ในโรงเรยี นและชมุ ชน โดยใช้โรงเลี้ยงไก่ และ แปลงผกั ไฮโดรโปนกิ ส์ ที่ด�ำเนนิ การ ตามแนวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้เป็นตน้ ทนุ ในการผลิตสอ่ื เพอ่ื “เรียนรู้ เลน่ ปฏิบัติ” ๒) ผู้ปกครอง ครู นกั เรียน ปราชญท์ อ้ งถ่นิ รวมรวมค�ำศัพท์เกย่ี วกับ การพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน โดยเลือกค�ำศัพท์ท่ีอยู่ในพ้ืนที่ สร้างสรรค์มาผลิตเป็นสื่อการเรียนรู้ น�ำไปใช้ในกิจกรรมการสอนในช้ันเรียน และ นอกห้องเรียนโดยฝึกให้นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องสุขภาวะผ่านค�ำศัพท์จากสื่อที่ผลิตขึ้น ๓) ใชส้ ื่อ และนวัตกรรม ในขน้ั ฝกึ อ่าน เขียน เลน่ เกม ท�ำกจิ กรรม เพ่อื สง่ เสริมการ เรียนรู้สุขภาวะ แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการปฏิบัติจริงในพ้ืนที่ สรา้ งสรรค์ โดยมคี รเู ปน็ ผนู้ ำ� ในการทำ� กจิ กรรม ๔) ประเมนิ ผลลพั ธท์ ไี่ ดจ้ ากกจิ กรรม ทไ่ี ดด้ ำ� เนนิ การในพน้ื ทสี่ รา้ งสรรค์ เชน่ สงั เกตกจิ กรรมทน่ี กั เรยี นทำ� พบวา่ นกั เรยี น มีความสุขกับการเรียนและท�ำกิจกรรมในพื้นที่สร้างสรรค์ สัมภาษณ์ผู้ปกครองถึง พฒั นาการในทกั ษะการอา่ น เขยี น และความใสใ่ จเกี่ยวกบั สขุ ภาวะของนกั เรียน ที่ สามารถนำ� ไปปฏบิ ตั จิ รงิ ทบ่ี า้ นได้ โดยเฉพาะการดแู ลสขุ ภาพปากและฟนั และเสน้ ผม มากขนึ้ ๕) จดั เวทเี ปิดพ้นื ที่สร้างสรรค์ เพือ่ เผยแพร่สอื่ นวัตกรรม ทีช่ ่วยสง่ เสริม ทกั ษะการอา่ นออกเขียนได้ และความรอบรู้เรอ่ื งสขุ ภาวะ { 182 }

งานและกจิ กรรม โรงเรยี นบา้ นชะมว่ งไดก้ ารกำ� หนดภาระงาน และกจิ กรรม “เรยี นรู้ เลน่ ปฏบิ ตั ”ิ ท่ีเก่ียวกับการส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้เร่ืองสุขภาวะในพื้นที่สร้างสรรค์ ดังน้ี ๑) ครูมบี ทบาทในการคัดเลือกพื้นที่สร้างสรรค์ สำ� หรบั ใชท้ เ่ี รยี นรู้ เล่น ปฏิบตั ิ เชน่ ห้องเรียน โรงเล้ียงไก่ แปลงปลกู ผกั ไฮโดรโปนิกส์ สนามเดก็ เล่น โดยจดั กิจกรรมให้ เหมาะสมกบั วัยของผู้เรียน มีทัง้ การใชส้ ่ือในการสอน ทำ� กจิ กรรมเรยี นรทู้ ี่เน้นการ ปฏิบตั ิ เลน่ เกมส่งเสรมิ การอ่าน การเขียน และความรอบร้สู ุขภาวะ ๒) ครูออกแบบ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ เช่น ท�ำความสะอาดโรงเล้ียงไก่ การเรียนรู้ผกั ปลอดสาร สุขบัญญตั ิ ๑๐ ประการ เน้นกิจกรรมท่ีสง่ เสริมการเรยี นรู้ การเลน่ และการปฏิบตั ิจริงในพนื้ ที่สร้างสรรค์ ผลผลติ ทเี่ กิดข้นึ ๑) เกิดสื่อ และนวัตกรรมที่ท�ำให้นักเรียนสนใจและรักการอ่านมากขึ้นคิดเป็น ร้อยละ ๗๒.๙๔ และมีทกั ษะการอา่ น เขยี นอยใู่ นระดบั ทด่ี ีขนึ้ คดิ เป็นรอ้ ยละ ๘๓.๕๒ ๒) ครูผู้สอนเกิดแรงเสริมเชิงบวกในการพัฒนาส่ือ ท�ำให้โรงเรียนด่านสิงขรมีส่ือ จำ� นวนมาก คอื ท�ำมอื จ�ำนวน ๓๐ สือ่ และส่อื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จ�ำนวน ๓ ช้ิน ๓) เกดิ พนื้ ทสี่ รา้ งสรรคท์ จี่ ะสง่ เสรมิ การ “เรยี นรู้ เลน่ ปฏบิ ตั ”ิ ใหก้ บั นกั เรยี นในชมุ ชน ๕ พน้ื ท่ี ความเปลี่ยนแปลงท่เี กิดข้ึนจากกระบวนการทเี่ ปน็ รปู ธรรม ๑) ระดบั บคุ คล นกั เรยี นมคี วามใสใ่ จเรอื่ งสขุ ภาวะมากขน้ึ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๗๘.๘๒ ๒) นักเรยี นเกดิ ทกั ษะจากการเรยี นรูท้ เ่ี น้นการปฏบิ ตั เิ กยี่ วกับสุขภาวะ และสามารถ น�ำไปใช้จริงได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๒.๓๕ ๒) ระดบั ชมุ ชน (๑) เกิด แรงเสรมิ ทจ่ี ะทำ� ใหช้ มุ ชนตนื่ ตวั เรอื่ งการสรา้ งพน้ื ทส่ี รา้ งสรรคใ์ นชมุ ชน (๒) เปดิ พน้ื ที่ สรา้ งสรรคใ์ นการทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ เปน็ เวทกี ลางในการประสานความรว่ มมอื ในการ กำ� หนดทศิ ทางเพ่ือการพัฒนาตอ่ ไป (๓) องค์ปกครองส่วนท้องถิน่ เข้ามามสี ว่ นรว่ ม ในการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ พนื้ ทสี่ รา้ งสรรค์ เชน่ ตลาดนดั ชมุ ชนปลอดภยั (๔) ชมุ ชน เหน็ คณุ คา่ และนำ� แนวคดิ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นครอบครวั เพ่ิมมากขึน้ { 183 }

ภาพท่ี ๕.๖ โรงเรยี นดา่ นสงิ ขร ตำ� บลคลองวาฬ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์

สจาื่อกนสววตั นกสรมรุนมไสพรรา้ สงู่กสารรรสคอ์ นภาษาไทย แนวสมดลุ ภาษา โรงเรียนด่านสงิ ขร ต�ำบลคลองวาฬ อำ� เภอเมือง จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ สถานการณท์ เ่ี ป็นปญั หา โรงเรียนด่านสิงขร สังกัดส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ประจวบครี ขี นั ธ์ เขต ๑ ต้งั อยู่ที่หม่ทู ี่ ๖ ตำ� บลคลองวาฬ อำ� เภอเมือง จงั หวัด ประจวบครี ีขนั ธ์ พบสภาพปัญหาทเ่ี กดิ ข้ึนกบั ผูเ้ รยี นใน ๓ ประเด็นหลกั ได้แก่ ๑) ปญั หาเดก็ อา่ นไมอ่ อกเขียนไมไ่ ด้ จากการเกบ็ ข้อมูลเก่ียวกบั การอา่ นออก เขียนได้ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ของโรงเรียนด่านสิงขร จ�ำนวน ๑๓๔ คน พบว่า นักเรียนมีปัญหาเกี่ยวกับการอ่านไม่ออกและ อ่านจับใจความสำ� คญั ไมไ่ ด้ มากท่สี ุด จ�ำนวน ๑๙ คน คดิ เป็นร้อยละ ๒๕.๔๖ รองลงมาคือ นักเรยี นที่อ่านไม่คลอ่ ง จ�ำนวน ๑๖ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๑.๔๔ ปญั หาสว่ นใหญ่ พบว่า นักเรยี นจำ� รูปพยัญชนะ และ สระ ไมไ่ ด้ จงึ ท�ำให้ นกั เรยี นสว่ นใหญม่ ปี ญั หาในการอา่ น ตงั้ แตใ่ นระดบั ขน้ั พนื้ ฐานคอื การแจกลกู พยญั ชนะ การประสมสระ การใชต้ ัวสะกด ๒) โรงเรยี นดา่ นสิงขรมนี กั เรยี น หลายกลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ อาทิ มอญ พมา่ กระเหรยี่ ง เมยี นมารท์ ตี่ ดิ ตามผปู้ กครอง เข้ามาประกอบอาชีพในประเทศไทย คดิ เป็นร้อยละ ๗๒.๓๘ พบวา่ นักเรียน กลมุ่ นมี้ ปี ญั หาเรอื่ งการใชภ้ าษาไทยเปน็ ภาษาทสี่ อง สง่ ผลใหเ้ กดิ ปญั หาการอา่ น ไม่ออกและเขยี นไมไ่ ด้อยใู่ นระดับสงู กวา่ เด็กไทย ๓) สภาพปญั หาด้านสุขภาวะ ของนกั เรยี นโรงเรยี นดา่ นสงิ ขร จากการรายงานผลการสำ� รวจและตรวจสขุ ภาพ นกั เรยี นของโรงเรยี น รว่ มกบั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บลยอ้ นหลงั ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙–๒๕๖๑) พบว่า ปัญหาสขุ ภาวะท่ีเป็นปัญหามาทสี่ ดุ คือ ฟันผุ จำ� นวน ๖๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๐.๐๔ รองลงมา คอื ปญั หาโรคผวิ หนงั จ�ำนวน { 185 }

๔๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๑.๖๔ เหา จำ� นวน ๓๔ คน คดิ เป็นร้อยละ ๔๕.๕๖ โรค ขาดสารอาหาร จ�ำนวน ๒๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๓๒.๑๖ โรคมอื เทา้ ปาก จำ� นวน ๘ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐.๗๒ และโรคไขเ้ ลอื ดออก จำ� นวน ๖ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘.๐๔ ข้อมูลพืน้ ฐานในพ้ืนที่ปฏบิ ตั กิ าร ๑) โรงเรยี นดา่ นสิงขร มี จ�ำนวนครูท้ังหมด ๑๐ คน แบง่ เป็น ชาย ๑ คน หญิง ๙ คน เปน็ ข้าราชการครู ๘ คน อตั ราจ้าง ๒ คน มีสดั ส่วนครตู อ่ นกั เรยี น คดิ เป็นร้อยละ ๕.๒๒ มีนักเรียนท้ังหมด ๑๓๔ คน แบ่งเปน็ นักเรียนชาย ๗๓ คน และนักเรยี นหญงิ ๖๑ คน ๒) ทนุ ทางสงั คม ประกอบด้วย โรงเรียนดา่ นสิงขรเป็น โรงเรียนต้นแบบในการสอนเด็กกลุ่มชาติพันธุ์ ครูในโรงเรียนเป็นสื่อกลางในการ ประสานความร่วมมือไดเ้ ป็นอย่างดีกับ อบต. รพสต. ปราชญ์ชมุ ชน ทหาร ต�ำรวจ พระสงฆ์ และมหาวทิ ยาลัยวิทยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี กระบวนการทำ� งานของพืน้ ทีเ่ ด่น โรงเรียนด่านสิงขร มีความโดดเด่นในกระบวนการ ของการใช้แหล่งเรียนรู้ ภมู ิปญั ญาพ้นื สมุนไพร มาพัฒนาสื่อและนวตั กรรมเสรมิ ทักษะอา่ นออกเขียนได้เรอ่ื ง สขุ ภาวะสกู่ ารสอนภาษาไทยแนวสมดลุ ภาษา ดงั นี้ ๑) โรงเรยี น อบต. รพ.สต. ปราชญ์ ทอ้ งถน่ิ รว่ มกนั กำ� หนดและคดั เลอื กแหลง่ เรยี นรพู้ น้ื สมนุ ไพรทมี่ อี ยใู่ นชมุ ชน เชน่ สวน สมุนไพรของโรงเรียนด่านสิงขร บ้านของปราชญ์ท้องถ่ินที่มีการปลูกพืชสมุนไพร ๒) ครูเก็บรวมรวมค�ำศัพท์เกี่ยวกับพืชสมุนไพรที่มีในแหล่งเรียนรู้ สู่การจัดท�ำคลัง ค�ำศัพทพ์ ืชสมนุ ไพร โดยมปี ราชญท์ อ้ งถน่ิ เขา้ มามบี ทบาทในการใหค้ วามรู้และข้อมลู ทเี่ ปน็ ประโยชนเ์ กยี่ วกบั พชื สมนุ ไพร ๓) นำ� คำ� ศพั ทพ์ ชื สมนุ ไพรทเ่ี กบ็ รวบรวมได้ นำ� ไป พฒั นาเปน็ สอื่ และนวตั กรรมเสริมทักษะอา่ นออกเขียนไดเ้ ร่อื งสขุ ภาวะ มที ้ังชนิดส่อื ท�ำมือ และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ๔) น�ำส่ือที่ผลิตได้ไปในในการจักการเรียนการสอน ด้วยแนวคดิ สมดุลภาษา คอื ครใู นสอื่ และกิจกรรมท่มี คี วามหลากหลายมาใช้ในการ สอนภาษาไทย อาทิ ใชค้ ำ� ศพั ทพ์ ชื สมนุ ไพรมาสอนใหน้ กั เรยี นไดร้ จู้ กั รปู พยญั ชนะ สระ ตัวสะกด เล่นเกมทางภาษาและท�ำกิจกรรมผ่านค�ำศัพท์พืชสมุนไพร อ่านนิทาน ฟงั เพลง ตอ่ ค�ำคลอ้ งจอง ฝึกหัดให้นักเรยี นไดพ้ ูดและเขยี น เรอ่ื งราวจากค�ำศัพท์พืช สมนุ ไพร ๕) วดั ผลการใชส้ อื่ นวตั กรรมสรา้ งสรรค์ และเผยแพรส่ อ่ื นวตั กรรมสชู่ มุ ชน { 186 }

งานและกิจกรรม โรงเรียนด่านสิงขรมีการก�ำหนดภาระงาน และกิจกรรมที่เก่ียวกับการส่งเสริม การอา่ นออกเขยี นไดเ้ รอ่ื งสขุ ภาวะ สกู่ ารสอนภาษาไทยแนวสมดลุ ภาษา ดงั นี้ ๑) ครู มหี น้าท่ใี นการผลิตสื่อ นวัตกรรม สำ� หรบั ใชใ้ นกจิ กรรมการสอนภาษาไทย โดยใช้ แหล่งเรยี นรู้พืชสมนุ ไพรเปน็ จดุ เร่มิ ต้นในการผลิตส่อื และนวัตกรรมสรา้ งสรรค์ สอ่ื ทีผ่ ลิตจะใชใ้ นขนั้ นำ� ข้ันสอน และข้ันสรปุ ๒) ครอู อกแบบกจิ กรรม เกมเรลลเ่ี รียนรู้ สื่อสมุนไพร โดยให้นักเรยี นได้ลงพน้ื ทจ่ี ริงในแหล่งเรยี นรู้พืชสมุนไพรท้งั ในสว่ นของ โรงเรยี นและบา้ นปราชญช์ มุ ชน สง่ เสรมิ การเรยี นรดู้ ว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั ิ ๓) ครพู ฒั นา สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ สป์ ระกอบบทเรียน ใหน้ ักเรยี นได้ศกึ ษาเพ่ือเติมในกิจกรรมการสอน และในเวลาว่าง ผลผลิตทีเ่ กิดข้นึ ๑) เกดิ สอ่ื และนวตั กรรมทดี่ งึ ดดู ความสนใจของนกั เรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘๕.๐๗ ท�ำให้นกั เรยี นรักการอา่ น ตลอดจนมที ักษะการอา่ น เขยี นอย่ใู นระดบั ที่ดขี ้นึ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๐.๒๙ ๒) ครูผสู้ อนเกิดแรงเสรมิ เชงิ บวกในการพฒั นาสื่อ ท�ำให้โรงเรียน ดา่ นสงิ ขรมสี อื่ จำ� นวนมาก คอื ทำ� มอื จำ� นวน ๓๐ สอื่ และสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จำ� นวน ๑๑ ส่อื ความเปล่ยี นแปลงที่เกิดข้นึ จากกระบวนการทเี่ ปน็ รปู ธรรม ๑) ระดบั บคุ คล (๑) นกั เรยี นมคี วามใสใ่ จเรอ่ื งสขุ ภาวะมากขนึ้ ผา่ นกระบวนการ ใชส้ อ่ื ในการจัดการเรยี นการสอน คดิ เปน็ ร้อยละ ๗๒.๓๘ (๒) นักเรียนเหน็ ประโยชน์ ของการใช้พืชสมุนไพรในท้องถ่ินในการดูและและป้องกันปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะ เบื้องต้น (๓) นกั เรียนนำ� ความร้เู รือ่ งสขุ ภาวะไปปฏบิ ัตใิ นครอบครัว คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๑.๓๔ ๒) ระดบั ชมุ ชน (๑) โรงเรยี นไดส้ อ่ื สำ� หรบั การจดั การเรยี นการสอนทมี่ คี วาม หลากหลาย (๒) มหาวทิ ยาลยั ไดเ้ ครอื ขา่ ยความรว่ มมอื เพมิ่ ขนึ้ เปน็ การสรา้ งพนื้ ทใ่ี หม่ ที่จะมีส่วนในการร่วมกนั พฒั นาท้องถิน่ ในโอกาสต่อไป และ (๓) ท้องถ่นิ ได้แนวทาง ในการแกป้ ญั หาการอา่ นออกเขยี นได้ และดา้ นสขุ ภาวะของนกั เรยี นในพนื้ ที่ (๔) สรา้ ง เครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทง้ั ระดบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ โรงเรยี น ชมุ ชน ผปู้ กครอง เห็นประโยชน์ของพืชสมุนไพรที่จะสามารถน�ำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ท้องถ่ินได้ใน อนาคต เชน่ ยากำ� จัดเหาจากใบน้อยหนา่ { 187 }

{ 188 }

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎร์ธานี อำ�เภอเมือง จังหวดั สุราษฎรธ์ านี โรงเรียนบา้ นสวนสมบรู ณ์ ตำ� บลสวนแตง อำ� เภอละแม จังหวดั ชมุ พร โรงเรียนบา้ นบางหยี ต�ำบลบางน้ำ� จดื อ�ำเภอหลงั สวน จังหวดั ชมุ พร โรงเรยี นบ้านเขาตากุน ตำ� บลสวนแตง อ�ำเภอละแม จงั หวดั ชมุ พร โรงเรยี นวัดปากคู ตำ� บลช้างซ้าย อำ� เภอกาญจนดษิ ฐ์ จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี โรงเรียนบ้านไสขาม ตำ� บลช้างซ้าย อ�ำเภอกาญจนดิษฐ์ จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี { 189 }

ภาพท่ี ๖ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

การพฒั นานวตั กรรม การอา่ นออกเขยี นได้ เจพาือ่กสภ่งมู เปิสญัริมญควาทาม้อรงอถบิน่ รสู้ ุขภาวะ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านี อำ� เภอเมอื ง จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี หลักสูตรสาขาวชิ าภาษาไทย คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี ไดด้ ำ� เนนิ งานโครงการพฒั นานวตั กรรมการอา่ นออกเขยี น ไดเ้ พอื่ สง่ เสรมิ ความรอบรสู้ ขุ ภาวะจากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ โดยมภี าคเี ครอื ขา่ ย ทง้ั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล สำ� นกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ซ่ึงเป็นหน่วยงานพัฒนาท่ีอยู่ใกล้ชิดกับชุมมากท่ีสุด เข้ามาร่วมการปรับ เปลย่ี นวธิ คี ดิ การพฒั นาการเรยี นรู้ และการปรบั เปลย่ี นกระบวนทศั นใ์ หม่ ในการพฒั นานักเรยี น โรงเรยี น และทอ้ งถ่นิ ใหเ้ ป็นฐานสำ� คญั ท่ีน�ำไปสู่ การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื สรา้ งระบบปอ้ งกนั และสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ดา้ นการอา่ น ออกเขยี นเพอื่ สง่ เสรมิ ความรอบรสู้ ขุ ภาวะ โดยมหี ลกั จากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ นำ� ทางไปส่กู ารพ่ึงตนเองได้อย่างสมดุลย่ังยนื ผลจากการดำ� เนินโครงการ พบว่านักเรียนมีความบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการอ่านไม่ออก และเขยี นไมไ่ ดเ้ ปน็ จำ� นวนมาก ทง้ั นค้ี วามบกพรอ่ งดงั กลา่ ว สว่ นหนงึ่ เกดิ จากพฒั นาการทางดา้ นสมอง อกี สว่ นหนง่ึ เกดิ จากการไมไ่ ดร้ บั การเอาใจ ใส่ในการเรียนรู้อย่างถูกต้อง กอปรกับสภาพสังคมในปัจจุบันมีความ เปลย่ี นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม ทีส่ ง่ ผลให้นักเรยี นเกดิ ปัญหาการ อา่ นไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ดเ้ ปน็ จำ� นวนมาก ปญั หาดงั กลา่ วสง่ ผลตอ่ การดำ� รง { 191 }

ชวี ติ ของนกั เรยี นในดา้ นพฤตกิ รรมดา้ นการเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ลดลง มงุ่ เนน้ เพยี ง วตั ถุนยิ มและบรโิ ภคนิยมทฟี่ งุ้ เฟ้อ สง่ ผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาวะในการดำ� รงชวี ิตตามมา อีกท้ัง ยังเกิดสภาวะการหลงลืมอัตลักษณ์ของชุมชน วิถีชีวิตแบบต่างคนต่างอยู่ขาด ปฏิสัมพนั ธอ์ นั นำ� ไปสูค่ วามออ่ นแรงในจติ สาธารณะและการมีส่วนร่วมของชุมชน และขาด การสรา้ งภูมคิ ุ้มกันด้านการอา่ นออกเขยี นได้ ซง่ึ เป็นฐานความรู้ในการพฒั นาสุขภาวะเพ่ือ คณุ ภาพชวี ติ อย่างยัง่ ยืน ข้ันตอนการด�ำเนนิ งาน ๑) คณะผูว้ จิ ยั ประสานงาน ภาคเี ครือข่ายร่วมพฒั นา จ�ำนวน ๕ พื้นที่ ๒๐ โรงเรยี น เพ่ือชแ้ี จงวตั ถุประสงค์ในการด�ำเนินงานโครงการ ๒) คณะผวู้ ิจยั และภาคีเครอื ข่ายรว่ มกัน วางแผนเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพเครอื ขา่ ยและกลไกในการพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นไดเ้ พอ่ื เสริมสร้างสุขภาวะจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ๓) คณะผู้วิจัยลงพ้ืนที่เพื่อศึกษาแลกเปลี่ยน เรยี นรบู้ รบิ ท ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และสภาวการณป์ ญั หาการอา่ นออกเขยี นไดข้ องแตล่ ะพนื้ ท่ี ๔) คณะผู้วิจัยจัดอบรมปฏิบัติการผลิตสื่อนวัตกรรมให้แก่คณะครูโรงเรียนภาคีเครือข่าย ๕) คณะครโู รงเรยี นเครอื ขา่ ยผลติ สอ่ื นวตั กรรมเพอื่ ใชพ้ ฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ และ ผลติ สือ่ นวัตกรรมเพ่ือเสรมิ สร้างสขุ ภาวะจากภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑-๖ ๖) คณะครโู รงเรียนเครือข่ายน�ำสื่อนวัตกรรมมาใช้พัฒนาทักษะการอา่ นออกเขยี นได้ และส่ือนวัตกรรมที่พัฒนาการอ่านออกเขียนได้และเสริมสร้างสุขภาวะจาก ภูมิปัญญา ทอ้ งถิ่น ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖ ๗) คณะผ้วู จิ ยั ลงพ้นื ท่ี เพอ่ื ติดตามการพัฒนา นกั เรยี นระหวา่ งการใชส้ อ่ื นวตั กรรมเพอ่ื พฒั นาการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะ จาก ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ๘) คณะผู้วิจัยและภาคเี ครือข่ายร่วมกันจดั เวทีถอดบทเรียน พน้ื ทดี่ �ำเนินการ ๑) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลสวนแตง อำ� เภอละแม จงั หวดั ชมุ พร ไดแ้ ก่ (๑) โรงเรยี น บา้ นสมบูรณ์ (๒) โรงเรยี นบา้ นดอนแค (๓) โรงเรียนบา้ นดวด (๔) โรงเรยี นบา้ นเขาตากุน ๒) องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บลบางนำ้� จืด อ�ำเภอหลงั สวน จงั หวดั ชุมพร (๑) โรงเรยี นบ้าน หนองไก่ปิ้ง (๒) โรงเรียนวัดชลธีนิมติ (๓) โรงเรยี นบ้านน�้ำลอด (๔) โรงเรียนบา้ นบางหยี ๓) เทศบาลตำ� บลชา้ งซา้ ย อำ� เภอกาญจนดษิ ฐ์ จงั หวดั สรุ าษฏรธ์ านี (๑) โรงเรยี นวดั ปากคู { 192 }

(๒) โรงเรยี นบา้ นไสขาม (๓) โรงเรยี นบา้ นหวั หมากบน (๔) โรงเรยี นวดั กงตาก (๕) โรงเรยี น บ้านห้วยด่าน (๖) โรงเรียนบ้านควนราชา ๔) องค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านท�ำเนียบ อำ� เภอครี รี ฐั นคิ ม จงั หวดั สรุ าษฏรธ์ านี (๑) โรงเรยี นบา้ นนำ�้ ราด (๒) โรงเรยี นบา้ นบางขนนุ (๓) โรงเรยี นบ้านทำ� เนียบ ๕) องค์การบริหารส่วนตำ� บลบ้านทำ� เนยี บ อำ� เภอครี ีรฐั นคิ ม จังหวดั สุราษฏร์ธานี (๑) โรงเรียนบา้ นน�้ำราด (๒) โรงเรยี นบ้านบางขนุน (๓) โรงเรยี น บ้านท�ำเนียบ ๖) เทศบาลต�ำบลเช่ียวหลาน อ�ำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฏร์ธานี (๑) โรงเรียนบ้านพฒั นา (๒) โรงเรียนบา้ นพัฒนา ๒ (๓) โรงเรียนบ้านเขาเทพพทิ กั ษ์ บทบาทหน้าที่ของภาครี ่วมพฒั นา ๑) โรงเรยี น มีบทบาทขบั เคลอื่ นกระบวนการการจดั การเรียนรู้ ๒) องค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ มบี ทบาทคดั สรรปราชญช์ าวบา้ น ๓) ผปู้ กครองมบี ทบาทสง่ เสรมิ กระบวนการ จดั การเรยี นรู้ ๔) สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ชมุ พร เขต ๒ และสรุ าษฎรธ์ านี เขต ๑, ๒ มีบทบาทอ�ำนวยความสะดวกและสรา้ งความเขา้ ใจกับโรงเรยี นเครือข่าย ๕) โรงพยาบาล ส่งเสริมสขุ ภาพตำ� บลมบี ทบาทใหข้ ้อมูลสขุ ภาวะ และการดแู ลรักษาสุขภาวะ กระบวนการพฒั นาในแต่ละด้าน กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ๑) ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นมสี ว่ นในการวางแผนนโยบายการ พัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ และพฒั นาการเสริมสรา้ งสุขภาวะ ๒) ครเู ปน็ ผดู้ ำ� เนนิ การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ พฒั นาสอ่ื นวตั กรรม ๓) นกั เรยี นเปน็ ผรู้ บั การพฒั นาและปฏบิ ตั ิ ๔) ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นแหล่งองค์ความรู้ แนวทาง การปฏิบัติด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ๕) ผู้ปกครอง เป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาบุตรหลาน ๖) มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎรธ์ านี เป็นผดู้ ำ� เนนิ การให้องค์ความร้ดู ้านการผลติ สอื่ การจดั การเรยี นรู้ และติดตามการด�ำเนินงาน กระบวนการพฒั นาครู ดงั น้ี ๑) สำ� รวจภาวการณก์ ารอา่ นออกเขยี นได้ (ระดบั ป.๑-๖) ๒) อบรมการพฒั นาสอื่ และนวตั กรรม(สอ่ื ทำ� มอื /แอนเิ มชน่ั /CAI) ๓) พฒั นาสอ่ื และนวตั กรรม (สอ่ื ทำ� มอื /แอนเิ มชนั่ /CAI/สอ่ื ปฏทิ นิ ประสมคำ� ) ๔) จดั กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู้ (บูรณาการ ในห้องเรียน/สอนเสรมิ นอกเวลาเรียน) ๕) วัดและประเมินผล (ตามสภาพจรงิ ) { 193 }

ผลการพัฒนาครู ดังน้ี ๑) การพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ๒) การดูแลสุขภาวะของนักเรียน ๓) การใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินในการดูแลสุขภาวะของ นกั เรยี น กระบวนการถา่ ยทอดองคค์ วามรขู้ องปราชญช์ าวบา้ น/กลมุ่ วสิ าหกจิ ในชมุ ชน ๑) ให้ องค์ความรูภ้ ูมิปัญญาท้องถิน่ แกน่ กั เรยี นและครู ด้านการถนอมอาหาร การรักษาโรคการ หตั ถกรรม การดำ� รงชวี ติ และการเกษตรพนื้ บา้ น การชา่ งพน้ื บา้ นและประเพณปี ระจำ� ทอ้ งถนิ่ ๒) สาธิตและฝกึ ปฏบิ ตั ิแกน่ ักเรียนและครู ผลการพฒั นาปราชญช์ าวบา้ น ๑) ปราชญไ์ ดถ้ า่ ยทอดความรู้สู่ชมุ ชน ๒) นักเรียน และครมู อี งคค์ วามรแู้ ละนำ� มาปฏบิ ตั ไิ ด้ ๓) ครนู ำ� ความรมู้ าบรู ณาการในการจดั การเรยี นรู้ และการผลติ สอ่ื นวัตกรรม ๔) นกั เรยี นตระหนักและเห็นคณุ ค่าภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ กระบวนการพฒั นานกั เรยี น ๑) ฝกึ ปฏบิ ัตติ ามกระบวนการจดั การเรียนรู้ ๒) ใชส้ ่อื และนวตั กรรม ผลการพฒั นานกั เรยี น ๑) น�ำองค์ความร้แู ละผลการจากปฏิบตั ิไปใช้ในการเรียนและ ชีวิตประจำ� วนั ๒) มที กั ษะการอา่ นออกเขยี นไดด้ ขี น้ึ ๓) มสี ขุ ภาวะทด่ี ีขน้ึ ๔) ลดคา่ ใชจ้ า่ ย ในครวั เรอื น ๕) รกั ษาส่ิงแวดล้อม ผลที่ได้รบั เชิงรูปธรรมจากการด�ำเนินงาน ๑) นกั เรยี นในกลมุ่ โรงเรยี นเครอื ขา่ ย จำ� นวน ๒,๑๓๙ คน ไดร้ บั การพฒั นาทกั ษะการ อ่านออกเขียนได้และเสริมสร้างสุขภาวะจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ๒) คณะผู้วิจัยและภาคี เครือข่ายได้แนวทางในการด�ำเนินงานที่มีประสิทธิภาพท้ังกระบวนการท�ำงานเพื่อพัฒนา โรงเรยี นเครอื ขา่ ย และกระบวนการประสานทำ� งานกบั ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ โดยเปน็ การดำ� เนนิ การ แบบคขู่ นาน ทคี่ ณะผวู้ จิ ยั ลงพน้ื ทเ่ี พอ่ื พบปะพดู คยุ กบั โรงเรยี นภาคเี ครอื ขา่ ยและลงพน้ื ทเ่ี พอื่ พบปะพดู คยุ กบั ชุมชนท้องถน่ิ และไดน้ ำ� ผลทีไ่ ดม้ าพฒั นาโครงการ นอกจากน้นั โรงเรยี น เครอื ขา่ ยและชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ไดป้ ระสานงานเพอื่ รว่ มกนั พฒั นานกั เรยี นในแตล่ ะชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ๓) คณะผู้วิจัยลงพ้ืนท่ีเพื่อศึกษาบริบทชุมชน พบปะพูดคุยกับโรงเรียนเครือข่ายและลง พ้นื ทเี่ พอ่ื พบปะพดู คยุ กบั ชุมชนท้องถิ่น พบว่า ปัญหาพน้ื ฐานของแตล่ ะพืน้ ท่ี คอื ปญั หา { 194 }

ความยากจน ผู้ปกครองมีอาชีพเกษตรกรรม รบั จ้าง ซึ่งมีรายไดต้ �่ำ บางรายผู้ปกครองไม่ ไดป้ ระกอบอาชพี เปน็ หลกั แหลง่ ปญั หาครอบครวั แตกแยก ส่งผลใหน้ ักเรียนไมไ่ ด้รับการ เอาใจใสจ่ ากทางครอบครวั มพี ฒั นาการทางสมองทล่ี า่ ชา้ กวา่ ปกติ บางรายตดิ สอ่ื ออนไลน์ ทำ� ใหไ้ มส่ นใจเรยี น ขาดการฝนฝกึ พฒั นาการดว้ ยการอา่ นออกเขยี นได้ และการมสี ขุ ภาวะ ที่ดีจึงไม่เป็นไปตามช่วงวัยของนักเรียน ส่วนการลงพื้นท่ีเก็บข้อมูลด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น พบว่า แต่ละพื้นท่ีมีแหล่งการเรียนรู้ที่เก่ียวข้องกับภูมิปัญญาท้องถ่ินทุกพ้ืนท่ี แต่บาง ภูมิปัญญาขาดการต่อยอดองค์ความรู้ให้นักเรียนหรือผู้ที่สนใจได้ศึกษาเรียนรู้ คณะผู้วิจัย จึงได้ประสานให้ทางโรงเรียนหารือกับชุมชนท้องถ่ินเพื่อคัดสรรภูมิปัญญาท้องถ่ินที่ส�ำคัญ และจำ� เปน็ ตอ่ การดแู ลสขุ ภาวะของนกั เรยี นมาเปน็ สว่ นประกอบของเนอื้ หาของนทิ านสำ� หรบั เด็กและส่ือแอนิเมชั่น ๔) คณะผู้วิจัย คณะครู และผู้แทนจากชุมชนท่ีเข้าร่วมโครงการ รว่ มกนั เสนอ ส่อื นวตั กรรมที่ต้องการนำ� ไปพฒั นานักเรียน ตามบรบิ ทของแต่ละโรงเรยี น และชมุ ชนทอ้ งถนิ่ โดยคำ� นงึ ถงึ พฒั นาการแตล่ ะชว่ งวยั ของนกั เรยี น ความนา่ สนใจ วธิ กี าร ผลิต และความคงทนต่อการน�ำไปใช้ ซึ่งคณะผู้วิจัยได้จัดอบรมปฏิบัติการผลิตสื่อให้แก่ คณะครโู รงเรยี นเครอื ข่ายตามท่ไี ด้เห็นชอบรว่ มกนั คือ จ�ำนวน ๔ ประเภท คือ หนังสือ นทิ านส�ำหรับเดก็ สอื่ แอนเิ มชนั่ บทเรยี นสำ� เรจ็ รปู และสอ่ื CAI ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑–๖ ๕) คณะครโู รงเรยี นเครอื ขา่ ยไดผ้ ลติ สอื่ นวตั กรรมตามความตอ้ งการและความสนใจของ นกั เรยี น จำ� นวน ๑๘ ประเภท และผลติ สื่อนวตั กรรมท่เี ห็นชอบร่วมกนั ท้ัง ๒๐ โรงเรยี น คือ จำ� นวน ๔ ประเภท คือ หนังสอื นิทานส�ำหรับเดก็ สื่อแอนเิ มชนั่ บทเรยี นสำ� เรจ็ รูป และส่ือ CAI ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๖ ซง่ึ คณะผวู้ จิ ยั ไดก้ ำ� หนดใหน้ กั ศกึ ษาเปน็ ผชู้ ว่ ย คณะครแู ตล่ ะโรงเรยี น เพื่อทำ� ให้สามารถผลติ สือ่ ได้ตามทว่ี างแผนไว้ นอกจากน้นั ยังได้นำ� องค์ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถ่ินมาเป็นเน้ือหาในการผลิตสื่อนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้าง สขุ ภาวะ ๖) คณะครโู รงเรยี นเครอื ขา่ ยนำ� สอ่ื นวตั กรรมไปใชพ้ ฒั นานกั เรยี น โดยจำ� แนกการ พฒั นาเปน็ ๒ ขนั้ ตอน คอื การพฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ และการพฒั นาการอา่ น ออกเขยี นไดแ้ ละเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะจากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ๗) คณะผวู้ จิ ยั ลงพน้ื ที่ เพอ่ื ตดิ ตาม การพฒั นานกั เรยี นระหวา่ งการใชส้ อ่ื นวตั กรรมเพอื่ พฒั นาการอา่ นออกเขยี นไดแ้ ละเสรมิ สรา้ ง สขุ ภาวะจากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ พบวา่ สภาพความพรอ้ มทสี่ ง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ องนกั เรยี นแตก ตา่ งกนั สง่ ผลใหค้ ณะครตู อ้ งผลติ สอ่ื นวตั กรรมทสี่ ะดวกตอ่ การนำ� ไปใชท้ โี่ รงเรยี น และบางสอื่ ไดม้ อบหมายใหผ้ ปู้ กครองเปน็ ผใู้ ชส้ อ่ื รว่ มกบั นกั เรยี นทบ่ี า้ น แตเ่ นอื่ งจากผปู้ กครองสว่ นใหญ่ ประกอบอาชพี เกษตรกรรม รับจา้ ง ท่ีมีขอ้ จ�ำกัดในการดแู ลนักเรยี น จงึ ส่งผลใหก้ ารน�ำส่อื { 195 }

นวตั กรรมไปใชท้ บ่ี ้านร่วมกับผูป้ กครองมีคอ่ นข้าง ๘) คณะผ้วู จิ ยั และภาคีเครอื ขา่ ยรว่ มกัน จัดเวทีถอดบทเรยี น เพื่อนำ� เสนอแลกเปลย่ี นเรียนรู้การพัฒนาทกั ษะการอ่านออกเขียนได้ เพ่ือเสริมสร้างสุขภาวะจากภูมิปัญญาท้องถ่ิน และเลือกแหล่งการเรียนรู้ในท้องถ่ิน เพื่อ ตอ่ ยอดองค์ความร้ใู ห้แกน่ กั เรียน ผู้ปกครอง ชมุ ชนท้องถิ่นตอ่ ไป แผนผังสภาวการณ์ปญั หาดา้ นการอา่ นออกเขียนได้ของนกั เรยี นทง้ั ๒๐ โรงเรยี น สถานการณ์ ดา้ นการอ่าน อ่านไมอ่ อกลดลง ปัญหา ๔๗.๙๔% ด้านการเขียน ด้านสขุ ภาวะ อา่ นไม่คลอ่ งลดลง ๓๔.๗๕% เขยี นไม่ได้ลดลง ๕๕.๗๒% สขุ ภาพฟัน ๒๙.๘๖% เป็นเหา ๓๖.๙๗% โภชนาการ ๒๑.๑๘% โรคติดต่อ ๓๓.๓๓% แผนผงั กระบวนการด�ำเนนิ งานของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี และภาคีเครอื ขา่ ยรว่ มพฒั นา ๑ จังหวัดสุราษฎรธ์ านี จำ� นวนนักเรยี น ชาย ๑,๑๒๔ คน ชมุ พร การดำ� เนินงาน ทง้ั หมด ๒,๑๓๙ คน หญงิ ๑,๐๑๕ คน จ�ำนวน ๒๐ โรงเรยี น จำ� นวนครู ๒๓๐ คน { 196 }

แผนผังกระบวนการดำ� เนินงานของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี และภาคีเครอื ข่ายร่วมพฒั นา ๒ ส�ำนักงานเขต อบต./ ผู้บริหาร/คณะครูใหข้ ้อมูล พ้นื ทีก่ ารศึกษา ชมุ พร, ท้องถนิ่ ดา้ นการอ่านออกเขยี นได้ สุราษฎรธ์ านี และสขุ ภาวะ แหล่งภูมิปัญญา ศึกษาสภาวการณ์ ผู้ปกครองนกั เรียน ท้องถิน่ ปัญหาการอา่ นออก ให้ขอ้ มลู ด้านการอา่ น เขยี นไดใ้ นโรงเรยี น คณะกรรมการ และเขียน สถานศกึ ษา ๒๐ โรงเรยี น รพ.สต.ใหข้ อ้ มลู - เขียนไม่ได้ ๒๐๑ คน ผลลพั ธ์ ด้านสุขภาวะ นกั เรียน - อ่านไมอ่ อก ๗๓ คน มรภ.สรุ าษฎรธ์ านี ครูโรงเรยี นเครอื ข่าย (องค์ความรู้ดา้ นการผลติ สอ่ื / เขา้ รว่ มพัฒนาศักยภาพ ผลิตส่ือเพือ่ การเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้) จัดกจิ กรรม อบรมผลติ เกิดโครงการผลติ สื่อ การเรียนรู้ สื่อ นวตั กรรมท่สี ง่ เสรมิ การอา่ นเขยี นได้ นวตั กรรม อบต./ทอ้ งถ่นิ สนับสนุน ผู้บรหิ าร/คณะครู ปราชญ์ชาวบา้ น นักเรยี นตระหนกั สอ่ื การเรียน การผลติ ส่อื คดั สรร - วางแผนนโยบาย (ให้องค์ความรู้ภูมปิ ัญญา และเห็นคณุ ค่า สง่ เสรมิ ปราชญ์ชาวบา้ น ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ สุขภาวะ - ผลติ สือ่ ท้องถ่ิน) แก่นักเรียน สอ่ื พัฒนา - คู่มอื การใช้สอ่ื และครู การอา่ นออกเขยี นได้ รพ.สต.สนับสนนุ รร.ผลิตส่อื ผลลพั ธ์ ขอ้ มูลสุขภาพ นวตั กรรมพฒั นทักษะ ส�ำนกั งานเขตพน้ื ที่ การอ่านออก - นักเรียนใช้สอ่ื และนวตั กรรม ค่มู อื การใช้สื่อ การศึกษา อ�ำนวยความ เขียนได้ - นักเรียนรว่ มผลติ สอ่ื สะดวกและสร้าง ผูป้ กครอง (ส่งเสรมิ รูปแบบการใชส้ ่ือ ความเข้าใจกับโรงเรียน กระบวนการเรียนร้)ู เครือขา่ ย { 197 }

แผนผงั การประเมินผลการดำ� เนินงาน การประเมนิ ผล อบต./ชุมชน ผบู้ ริหาร/ครู นกั เรียนแสดง ผู้ปกครองรว่ ม สำ� นกั งานเขต รว่ มเป็น - ถอดบทเรยี น ความสามารถ ใช้สอ่ื การเรยี น พนื้ ท่ี การศกึ ษา การใชส้ อื่ ด้านการอ่านออก ประเมนิ ทกั ษะ กรรมการการ - รูปแบบการ การสอน การอา่ น/เขียน ผลติ ส่อื ใชส้ ่ือ เขยี นได้ ดว้ ยเคร่อื งมอื - จัดประเภทสื่อ ยอดนยิ ม สพฐ. { 198 }

ภาพท่ี ๖.๑ โรงเรยี นบา้ นสวนสมบรู ณ์ ต�ำบลสวนแตง อำ� เภอละแม จงั หวัดชมุ พร