Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Village E-Commerce - E-Commerce Manual

Village E-Commerce - E-Commerce Manual

Published by muekzero24, 2018-02-27 04:28:56

Description: Village E-Commerce - E-Commerce Manual

Search

Read the Text Version

คมู่ ือสำหรบั ผปู้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศูนยด์ จิ ทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerceสำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.) 1



คมู่ อื สำหรบั ผู้ประกอบกำรชุมชน โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerceค่มู อื สำหรบั ผปู้ ระกอบกำรชุมชนโครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce(ศกึ ษาและพฒั นา Village E-Commerce)พิมพ์ครงั้ ที่ 1สิงหาคม 2560จานวนพิมพ์ 6,000 เลม่ภายใตล้ ขิ สทิ ธ์ขิ อง © สานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคณะผจู้ ัดทำ ทป่ี รึกษาโครงการศนู ย์ดิจิทลั ชุมชน กิจกรรม Village E-Commerce (ศึกษาและพัฒนา Village E-Commerce) คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดลโดย สานกั งานคณะกรรมการดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ กระทรวงดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เลขท่ี 120 อาคารรฐั ประศาสนภักดี ศนู ยร์ าชการเฉลมิ พระเกยี รติ 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี กรุงเทพมหานคร 10210 http://www.onde.go.thสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) ก

Village E-Commerceส่งเสริมผลติ ภณั ฑ์/บริการ ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั สำรบญัคมู่ อื สำหรับผปู้ ระกอบกำรชุมชน............................................................................................กสำรบัญ .................................................................................................................................ขเตรยี มควำมพรอ้ มสูร่ ้ำนค้ำออนไลน์.......................................................................................1ขั้นตอนท่ี 1 ผลติ ภณั ฑ/์ บริกำร (Product/Service) .............................................................5  หลกั การพิจารณาผลติ ภัณฑ์................................................................................................................................ 8  หลกั การพจิ ารณาสินคา้ จับต้องไม่ได้ (บรกิ าร) ................................................................................................ 9  ประเภทบรรจุภัณฑ์ ............................................................................................................................................10  การตัง้ ราคา..........................................................................................................................................................14  หลักการออกแบบตราสนิ คา้ .............................................................................................................................17ขั้นตอนท่ี 2 เปดิ ร้ำนค้ำออนไลน์ (Online Shop)...............................................................20  พ้ืนฐานที่จาเปน็ สาหรบั รา้ นคา้ ออนไลน์ .........................................................................................................20  การเลือกระบบรา้ นค้าออนไลน์........................................................................................................................32  เตรียมข้อมูลร้านค้า ............................................................................................................................................38  วิธีการตงั้ ค่ารา้ นค้าออนไลน์..............................................................................................................................44  ภาษีร้านคา้ ออนไลน์ ...........................................................................................................................................54ขั้นตอนท่ี 3 สง่ เสรมิ กำรขำย (Online Marketing)............................................................56  การตลาดดิจิทัล...................................................................................................................................................56  การวเิ คราะห์กลมุ่ ลูกคา้ .....................................................................................................................................57  เครือ่ งมือการทาตลาดออนไลน์ ........................................................................................................................58ขน้ั ตอนที่ 4 บริหำรกำรขำย (Shop Management)..........................................................65  การจดั เตรยี มสนิ ค้า ............................................................................................................................................65  การตรวจสอบรายการคาสัง่ ซ้ือ ........................................................................................................................66  การตรวจสอบการชาระเงิน...............................................................................................................................68ข สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรบั ผู้ประกอบกำรชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจิทลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerceขนั้ ตอนท่ี 5 กำรบรรจุและจดั ส่งสินค้ำ (Packing & Shipping) ..........................................72  การบรรจสุ นิ คา้ ...................................................................................................................................................72  การเลอื กรปู แบบการขนสง่ สนิ ค้า.....................................................................................................................78  การตรวจสอบการจดั ส่งสินค้าถงึ มือผูซ้ ้ือ........................................................................................................95คำถำมทำ้ ยบท.....................................................................................................................97กระดำษคำตอบ .................................................................................................................104สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.) ค

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลติ ภัณฑ/์ บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัลง สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คูม่ ือสำหรับผปู้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce เตรียมควำมพรอ้ มสู่รำ้ นค้ำออนไลน์ ปัจจุบันนี้การซ้ือขายสินค้าไม่ได้จากัดว่าจะต้องมีหน้าร้านเพ่ือขายสินค้าเพียงอย่างเดียวเท่ าน้ันผู้ประกอบการชุมชนสามารถขายสินค้าให้คนท่ีอยู่ต่างพ้ืนที่ โดยไม่จากัดระยะทางด้วย “ร้ำนค้ำออนไลน์”ซึ่งร้านค้าออนไลน์เปรียบเสมือนผู้ประกอบการชุมชนเปิดร้านค้า จัดวางสินค้า ในร้านของตนเองให้เกิดความสวยงาม ดึงดูดลูกค้า และเชิญชวนให้ซื้อ ซึ่งเป็นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยพัฒนาให้เกิดเป็นรูปแบบร้ำนค้ำอิเล็กทรอนิกส์ หรือที่เรียกว่า ร้ำนค้ำออนไลน์ ดังนั้น ลองมาพิจารณาเปรียบเทียบร้านค้ากับรา้ นคา้ ออนไลน์ เพือ่ ประกอบการตัดสนิ ใจในการเปดิ ร้านค้าออนไลน์ ร้ำนคำ้ (Offline Shop) ร้ำนค้ำออนไลน์ (Online Shop)ขอ้ ดี ข้อดี1) ลูกค้าสามารถจับต้องสินค้าได้ โดยมีสถานที่ต้ัง 1) ขายสินคา้ ใหล้ กู ค้าท่อี ยูห่ า่ งไกล แม้ในเป็นหลกั แหลง่ ชัดเจน ตา่ งประเทศกส็ ามารถสง่ั ซื้อสินคา้ ได้2) ขายสินค้าเฉพาะกลุ่มลูกค้าท่ีไม่ใช้งานระบบ 2) ค่าใชจ้ ่ายในการเปิดรา้ นต่าออนไลนไ์ ด้ดี 3) ไม่ต้องมีพนักงานดูแลร้านค้า ระบบออนไลน์ข้อเสีย จะชว่ ยบริหารจัดการ1) มีค่าใช้จ่ายในการเปิดร้านค้าสูงจากการตกแต่ง 4) รองรับการสั่งซื้อสินคา้ ได้ 24 ชั่วโมงร้านค้า คา่ สถานท่ี และสาธารณปู โภค ข้อเสีย2) ต้องมพี นักงานขายประจาร้านค้า 1) ไม่เหมาะสมกับการขายสินค้ากลุ่มลูกค้าที่ไม่ใช้3) ขายสินค้าไดเ้ ฉพาะเวลาทาการเท่านั้น งานระบบออนไลน์ฉะน้ัน ผู้ประกอบการรายใหม่ท่ีกาลังสนใจจะเข้าสู่การทาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)ดว้ ยการเปดิ ร้านค้าออนไลน์ หากพิจารณาข้อดี ขอ้ เสีย ขา้ งต้นแลว้ มองเห็นว่าเป็นโอกาสทางธรุ กิจของตนเองทาให้สินค้าสามารถส่งขายให้กับกลุ่มผู้ซ้ือ สร้างรายได้ให้กับตนเองได้มากข้ึน โดยสามารถติดตามเนื้อหาในหน้าถัดไป เพ่ือให้เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงร้านค้าของตนเอง ให้เป็นร้านค้าออนไลน์ที่ประสบความสาเรจ็ พร้อมกลยุทธ์การบรหิ ารจดั การร้านคา้ และการตลาดดิจทิ ัลสำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.) 1

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลติ ภัณฑ/์ บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล2 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรบั ผปู้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศูนยด์ จิ ทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerceสำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.) 3

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลติ ภัณฑ/์ บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล4 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรับผูป้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศนู ย์ดจิ ิทัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce ขนั้ ตอนที่ 1 ผลติ ภัณฑ/์ บริกำร (Product/Service) ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องพิจารณาผลิตภัณฑ์/บริการ ท่ีตนเองนั้นมีอยู่ว่าเป็นสินค้าประเภทใดเหมาะสมกับผู้ซ้ือกลุ่มใด บรรจุภัณฑ์มีลักษณะเป็นอย่างไร เพ่ือสามารถกาหนดแนวทางการขายของตนเองได้อีกท้ัง ส่ิงสาคัญของผลิตภัณฑ์/บริการ คือการต้ังราคาที่เหมาะสมกับสินค้าและผู้ซ้ือ เพื่อสร้างโอกาสทางการขายให้มากยิง่ ข้ึนได้ ตัวอย่างเชน่ ยายอนงค์ทามะม่วงแช่อ่ิม แลว้ นาไปขายทีต่ ลาดใกลบ้ ้าน โดยบรรจุใส่ถงุ รอ้ น ขายโดยไม่ไดช้ ั่งน้าหนักราคาถุงละ 10 บาท ฉะน้ัน ประเภทของสินค้าท่ียายอนงค์เป็นผู้ผลิตและจาหน่าย คือประเภท อาหารแปรรูปซึง่ มคี ุณสมบัติ เกบ็ รักษามะม่วงใหส้ ามารถรบั ประทานได้นาน ดงั นน้ั บรรจภุ ัณฑจ์ ึงมีความสาคัญอย่างยิง่ยายอนงค์ แปรรปู มะม่วง (แชอ่ ่มิ ) บรรจภุ ัณฑม์ ะม่วงแช่อิ่มฉะนั้น ยายอนงค์ ขายสินค้ำสำหรับบรโิ ภค วัตถุดิบหลัก คือ มะม่วง และบรรจภุ ัณฑ์หลกั คือ ถงุสำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 5

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ์/บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกจิ ดิจิทลั โดยจากกรณีตัวอย่างของยายอนงค์ จะต้องพิจารณาสิ่งต่างๆต่อไปน้ี เพ่ือให้สามารถนาสินค้าเข้าสู่ร้านค้าออนไลน์ได้ ด้วยการสร้างข้อมูลของสินค้า ประกอบด้วย ชื่อสินค้า คุณลักษณะสินค้า ส่วนผสม ราคาจุดเด่นของสินค้า ร่วมท้ังประเภทสินค้า เพื่อจัดกลุ่มสาหรับการจัดจาหน่ายบนช่องทางออนไลน์ได้ดังนั้น ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องพิจารณาสินค้าของตนเอง หากพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์แล้วจะทาให้มีโอกาสทางการขายให้มากยิ่งขึ้น เช่น ยายอนงค์ศึกษาและปรับปรุงสินค้า ออกแบบตราสญั ลักษณ์ของสนิ ค้าและบรรจภุ ณั ฑใ์ หม่ เพือ่ ให้สนิ คา้ มีความเหมาะสมกบั การจาหนา่ ยสินค้าแบบออนไลน์ ศกึ ษำและปรับปรุงสินคำ้ ใหม้ ีการคุณสมบัตทิ ่ีดยี ิ่งขึน้ เชน่ รสชาติ การรักษาคุณภาพ เป็นต้น กำรออกแบบโลโก้ (ตรำสญั ลักษณ์ของสินค้ำ) เพ่อื ช่วยให้ลกู ค้าจดจาสินค้าได้6 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรบั ผู้ประกอบกำรชมุ ชน โครงการศูนยด์ ิจทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerceกำรออกแบบบรรจุภัณฑใ์ หม่ / ควำมหลำกหลำยของบรรจุภัณฑ์ เช่น ใส่ถงุ ปดิ มดิ ชดิ ใส่ขวดโหล ใสก่ ล่อง นอกจากการปรับปรุงผลิตภัณฑ์/บริการ ที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพแล้ว ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องส่งสินค้าเข้าสู่ตลาดออนไลน์ และขายสินค้าให้กับผู้บริโภคได้ ผู้ประกอบการชุมชนจึงจะต้องพิจารณาคุณสมบัติของสินคา้ ตามหลักการพจิ ารณาสินคา้ ดังตอ่ ไปน้ี คุณยำยอนงค์ มะมว่ งแช่อ่มิสำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 7

Village E-Commerceสง่ เสริมผลิตภณั ฑ์/บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจิทลั หลกั กำรพจิ ำรณำผลิตภณั ฑ์ สินค้ำอุปโภคบริโภค (Consumer product) เป็นสินค้าท่ีใช้รับประทาน หรือสาหรับร่างกายโดยจาแนกออกเป็นกลุ่มดังน้ี สินค้าสะดวกซ้ือ สินค้าเลือกซื้อ สินค้าเจาะจงซ้ือ และสินค้าไม่แสวงซ้ือซึ่งแสดงคาอธบิ ายความถ่ีของโอกาสในการซื้อของลูกค้าและระดับราคาท่ีเหมาะสม 1. สินค้ำสะดวกซ้ือ หมายถึง สินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคจะต้องซ้ือบ่อยคร้ัง โดยเป็นสินค้าท่ีใช้ในชีวิตประจาวันทุกวัน เช่น ผัก ผลไม้ อาหารแปรรูป สบู่ ยาสระผม ยาสีฟัน ฯลฯ โดยมีควำมถี่ของกำรซ้ือสินคำ้ เปน็ จำนวนมำกตอ่ วนั และระดบั ราคาทข่ี ายได้อย่ใู นระดับรำคำ ตำ่ -ปำนกลำง 2. สินค้ำเลือกซ้ือ หมายถึง สินค้าหรือบริการท่ีผู้บริโภคต้องมีการเปรียบเทียบคุณสมบัติด้านต่างๆจากผู้ขายหลายรายก่อนซื้อ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อาหารเสริม สินค้าบารุงร่างกาย ฯลฯ โดยมีควำมถ่ีของกำรซ้อื สินค้ำระดบั ปำนกลำง และระดับราคาที่ขายไดอ้ ยู่ในระดับรำคำ ปำนกลำง-สงู 3. สินค้ำเจำะจงซื้อ เป็นสินค้าหรือบริการท่ีมีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ หรือมีตราท่ีมีช่ือเสียงซึ่งเป็นเหตุให้ผู้ซ้ือเต็มใจท่ีจะซื้อสินค้าน้ัน เช่น โทรศัพท์สมาร์ทโฟน สินค้าแบรนด์เนม สินค้าประจาตาบลเคร่ืองนุ่งห่มท่ีมีเอกลักษณ์ โดยมีควำมถี่ของกำรซื้อสินค้ำระดับปำนกลำง และระดับราคาท่ีขายได้อยู่ในระดับรำคำ ปำนกลำง-สงู 4. สินค้ำไม่แสวงซื้อ เป็นสินค้าหรือบริการท่ีผู้บริโภคอาจรู้จักหรือไม่รู้จักก็ได้ แต่ไม่เคยคิดที่จะซ้ือมีลักษณะ 2 ประการคือ (1) เป็นสินค้าใหม่ที่ผู้บริโภคยังไม่รู้จัก (2) สินค้าซึ่งผู้บริโภคไม่มีความต้องการโดยสนิ คา้ ประเภทน้จี ะมลี ักษณะเฉพาะ โดยมีควำมถ่ีของกำรซือ้ สนิ ค้ำระดับต่ำ และระดบั ราคาทีข่ ายได้อยู่ในระดบั รำคำเฉพำะตัว ดังนั้น ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องพิจารณาสินค้าว่าจัดอยู่ในกลุ่มใด เพ่ือประเมินระดับความถี่ของการซื้อสนิ คา้ และการตง้ั ราคาทเี่ หมาะสมกบั สนิ คา้ นัน้ ๆ ได้8 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรับผู้ประกอบกำรชมุ ชน โครงการศูนย์ดิจิทลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce หลกั กำรพิจำรณำสนิ ค้ำจบั ต้องไมไ่ ด้ (บรกิ ำร) ผู้ประกอบการชุมชนสามารถขายสินค้าในรูปแบบที่ไม่สามารถจับต้องได้ โดยเป็นรูปแบบการให้บริการ ถือเป็นสินค้าประเภทหน่ึงท่ีสามารถขายให้กับผู้บริโภคได้ โดยให้บริการในรูปแบบต่างๆเชน่ โฮมสเตย์ ล่องเรอื ท่องเท่ยี ววถิ ไี ทย และนวดแผนไทย ฯลฯ การบริการรถตกุ๊ ตุ๊กท่องเทยี่ วรอบกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ตัวอย่างเช่น คุณลุงสมชาย มีอาชีพขับรถตุ๊กตุ๊กรับจ้าง โดยคุณลุงสามารถส่ือสารภาษาอังกฤษได้คุณลุงจึงมีแนวคิดให้บริการรถตุ๊กตุ๊กท่องเท่ียวกับนักท่องเที่ยวต่างประเทศ โดยลักษณะการขายเป็นการให้บริการท่องเที่ยวแบบคร่ึงวันและเต็มวัน โดยมีการนาเสนอโปรแกรมท่องเท่ียว ท่ีคุณลุงสมชายสามารถขับไปส่งและจอดรอได้ ถ้าหากมีลักษณะการให้บริการท่ีเป็นแบบแผน ตามแนวคิดของคุณลุงสมชายสามารถนาโปรแกรมท่องเท่ียวโดยรถตุ๊กตุ๊ก จาหน่ายบริการผ่านระบบออนไลน์ เพ่ือให้นักท่องเท่ียวจองหรือซ้ือใชบ้ ริการท่องเทีย่ วได้ เป็นลกั ษณะของสินคา้ จบั ตอ้ งไม่ได้ (บรกิ าร) รูปแบบหน่ึงสำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.) 9

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล ประเภทบรรจภุ ัณฑ์ การบรรจุสินค้าของผู้ประกอบการชุมชน ต้องพิจารณารูปแบบการใช้งานของบรรจุภัณฑ์เช่น ช่วยเก็บรักษาสินค้าที่บรรจุอยู่ภายใน ช่วยให้รับประทานง่าย ช่วยปกป้องสินค้า ช่วยในการขนส่งส่งเสริมความเป็นธรรมชาติ เพื่อให้เกิดการจดจาในรูปลักษณ์เฉพาะ เพ่ิมความหรูหรา ทาให้เห็นสินค้าภายในชัดเจน รวมถงึ สามารถนาไปใช้ประโยชนต์ ่อได้ โดยการเลือกบรรจุภัณฑน์ ้นั จะมรี ูปแบบการห่อหุ้มสินค้า ด้วยกระบวนการวิธยี ่อยๆ ดงั ต่อไปนี้ 1. บรรจุภัณฑ์เฉพำะหน่วย เป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีใช้ห่อหุ้มและสัมผัสกับสินค้าโดยตรง โดยทาหน้าที่ปกป้องสินค้าและความชื้นจากอากาศ ที่ทาให้สินค้าเสียคุณภาพ โดยมีรูปลักษณ์เป็นลักษณะต่างๆเชน่ ขวด กระป๋อง หลอด ถุง กลอ่ ง มกี ารออกแบบใหม้ ลี กั ษณะพิเศษเฉพาะได้ ตวั อย่ำงบรรจุภัณฑเ์ ฉพำะหน่วยทบ่ี รรจสุ ินคำ้ โดยตรง 2. บรรจุภัณฑ์ชั้นใน เป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีห่อหุ้มสินค้าหน่วยเล็กที่สุดไม่ให้ได้รับแรงกระแทกหรือความชื้นจากภายนอก บรรจุภัณฑ์ชั้นท่ีสองมีหน้าท่ีรวบรวมบรรจุภัณฑ์ชั้นแรกไว้ด้วยกัน หรือเป็นชุดในการจาหน่ายรวมต้ังแต่ 2 – 24 ช้ินข้ึนไป โดยมีวัตถุประสงค์ข้ันแรกคือ ป้องกันรักษาสินค้าจากน้าความช้ืนความร้อน แสงแดด แรงกระทบกระเทือน และอานวยความสะดวกแก่การขายปลีก เพ่ือความสะดวกในการป้องกันและขนสง่ จึงตอ้ งทาการออกแบบให้สวยงามดงึ ดดู ใจผู้บรโิ ภค เชน่ กลอ่ งบรรจเุ ครอ่ื งดื่มกระป๋องชนิด 6 กระป๋อง กลอ่ งกาแฟชนิด 50 ซอง หรือขนมทตี่ อ้ งรกั ษาความชนื้10 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรบั ผูป้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศนู ย์ดิจทิ ลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce ตวั อยำ่ งบะหม่ีกงึ่ สำเร็จรูปที่มบี รรจภุ ัณฑช์ ัน้ ใน 3. บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด บรรจุภัณฑ์ที่เป็นหน่วยรวมขนาดใหญ่ ทาหน้าที่ในการป้องกันสินค้าการขนถ่ายสินค้าให้มีประสิทธิภาพและรวดเร็วในระหว่างการขนส่ง ลักษณะของบรรจุภัณฑ์น้ี เช่น หีบ ไม้ลังกล่องกระดาษขนาดใหญท่ บี่ รรจุสินคา้ ไวภ้ ายใน ตวั อยำ่ งบรรจุภัณฑ์ชนั้ นอกสุดสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 11

Village E-Commerceส่งเสรมิ ผลติ ภัณฑ/์ บรกิ าร ในชุมชนด้วยเศรษฐกิจดิจิทัล ตวั อยำ่ งนวตั กรรมบรรจุภณั ฑ์ บรรจภุ ัณฑส์ ำหรบั กำรปกป้องสินคำ้ ออกแบบบรรจภุ ัณฑใ์ หป้ กป้องไขเ่ ค็มสด โดยสามารถแสดงขอ้ มูลบนบรรจภุ ัณฑไ์ ด้ บรรจุภัณฑ์สำหรับกำรสื่อสำรทีเ่ ปน็ ธรรมชำติ ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ให้สอ่ื สารการใช้สินค้าจากธรรมชาติ ไม่มีอันตราย บรรจภุ ัณฑท์ ีม่ ีโครงสรำ้ งเอกลกั ษณเ์ ฉพำะตัว ช่วยในกำรจดจำ ออกแบบบรรจุภณั ฑ์ใหม้ ีโครงสรา้ งแปลกใหม่ และมขี นาดที่เฉพาะตวั ชว่ ยใหล้ กู ค้าจดจาได้12 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คูม่ อื สำหรบั ผู้ประกอบกำรชุมชน โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce บรรจุภัณฑท์ ี่มีองคป์ ระกอบเปน็ โลหะ ช่วยให้มีคณุ ภำพออกแบบบรรจภุ ัณฑ์โดยใชโ้ ลหะจะช่วยปกป้อง ทาใหร้ ู้สึกมีคณุ ภาพ และเสรมิ ความมรี ะดับของสนิ ค้า บรรจภุ ัณฑ์ที่มรี ูปภำพองคป์ ระกอบหลักเป็นรปู หลัก ออกแบบบรรจุภัณฑ์โดยนาภาพขององค์ประกอบหลกั ของสินค้ามาใชใ้ นการส่ือความหมาย ชว่ ยใหส้ ่อื สารกบั ผู้บรโิ ภคได้ บรรจภุ ณั ฑ์ทส่ี ่งเสริมควำมสนกุ ตลกขบขนัออกแบบบรรจุภณั ฑ์โดยมลี ูกเลน่ ทาให้เกิดความสนุกสนาน สร้างเสยี งหวั เราะและรอยยิ้มสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.) 13

Village E-Commerceส่งเสริมผลิตภณั ฑ์/บริการ ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจทิ ลั บรรจภุ ณั ฑ์ที่ช่วยให้เหน็ สินค้ำโดยตรง ออกแบบบรรจุภัณฑ์โดยมีลกั ษณะโปรง่ ใสทาใหส้ ามารถเห็นสนิ ค้าโดยตรงได้ กำรตั้งรำคำ การต้ังราคาผลิตภัณฑ์/บริการ จาเป็นต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการพร้อมกับการต้ังราคาให้เกิดความเหมาะสมกับการขายผ่านร้านค้าออนไลน์ โดยวัตถุประสงค์ในการต้ังราคา เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการขายสินค้า และกลยุทธ์ในการขาย โดยการต้ังราคาจะเกดิ จาก 3 วัตถุประสงค์ คอื 1. กำรตั้งรำคำโดยมุ่งกำไร กาไรเกิดจากผลต่างระหว่างรายได้จากการขาย หักลบด้วยต้นทุนสินค้าและค่าใช้จ่ายท้ังส้ิน ดังน้ันผู้ประกอบการสามารถตั้งราคาโดยมุ่งท่ีกาไร การตั้งราคาเพื่อให้ได้รับกาไรตามเป้าหมาย โดยพิจารณาดาเนินการกาหนดกาไรที่ต้องการได้จากผลิตภัณฑ์/บริการน้ันๆ เช่น คุณยายอนงค์ต้องการขายมะม่วงแช่อิ่ม ได้กาไรขวดละ 25 บาท ดังนั้น คุณยายอนงค์ จะต้องนาต้นทุนและค่าใช้จ่ายต่อสนิ ค้า 1 ชิ้น มาบวกรวมกบั ผลกาไรท่ีต้องการตามเป้าหมาย จะปรากฏเปน็ ราคาจาหน่าย ดังสมการ รำคำขำย = ตน้ ทนุ + ค่ำใช้จำ่ ย + ค่ำโฆษณำ + กำไรท่ีประสงค์14 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรับผูป้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerceตวั อยา่ ง คณุ ยายอนงคข์ ายมะม่วงแชอ่ ิม่ 50 บาท ตน้ ทนุ คอื มะมว่ ง และวัตถดุ ิบแช่อ่ิม 15 บาท คำ่ ใชจ้ ำ่ ย คือ ค่าแรง ค่าแกส๊ 5 บาท คำ่ โฆษณำ ทางออนไลน์ 25 บาท กำไรท่ีประสงค์ ต้องกำรกำไร = รำคำขำย 25 บำท 95 บำทรำคำขำย = 50 + 15 + 5 + 25 95 บำท 2. กำรต้ังรำคำโดยมุ่งยอดขำย เป็นการต้ังราคาท่ีต้องการให้เกิดผลต่อยอดขายในรูปจานวนหน่วยหรือจานวนเงนิ ยอดขายในรปู จานวนเงินก็คอื รายไดจ้ ากการขาย ดงั ในสมการ รำยไดจ้ ำกกำรขำย = รำคำ x ปริมำณกำรขำย การตั้งราคาโดยมุ่งยอดขายที่จะนามาพิจารณาในท่ีน้ีมี 2 ประเด็นคือ การต้ังราคาเพ่ือเพ่ิมยอดขายและการตั้งราคาเพื่อเพิ่มส่วนครองตลาด กรณีที่ผู้ประกอบการขายผลิตภัณฑ์/บริการที่มีลักษณะใกล้เคียงกับผู้อื่น ทาให้เกิดการแข่งขันจากฐานลูกค้ากลุ่มเดียวกัน ราคาจึงเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันยอดขายของร้านค้าได้ เช่น ขายราคาต่ากว่าคู่แข่ง แต่ขายได้ปริมาณมากกว่าทาให้มีผลกาไรที่ดีกว่า เป็นต้นดังน้ัน หากคุณยายอนงค์ต้องการขายมะม่วงแช่อ่ิม ให้ได้ 500 ขวด จะต้องคานวณดังต่อไปน้ีสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.) 15

Village E-Commerceสง่ เสริมผลิตภัณฑ์/บรกิ าร ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกจิ ดิจทิ ัลปรมิ ำณกำรขำย รำยไดจ้ ำกกำรขำย 500 ขวด 47,500 บำทตัวอยา่ ง คณุ ยายอนงค์ขายมะมว่ งแช่อ่มิรำคำขำย 95 บาทปริมำณกำรขำย 500 ขวดรำยได้จำกกำรขำย = 95 x 500 = 47,500 บำทเม่ือคุณยายอนงค์ขายได้ 500 ขวด จะได้รับเงิน 47,500 บาท (หักต้นทุนและค่าใช้จ่ายขวดละ 70 บาท) จะทาให้ไดร้ บั ผลกาไรทง้ั สิ้น 47,500 – (70*500) = 12,500 บำท 3. วัตถุประสงค์อ่ืนๆ คือ การต้ังราคาของธุรกิจท่ีมีเป้าหมายอ่ืน นอกเหนือจากท่ีกล่าวมาประกอบด้วย 2 กรณี คือการต้ังราคาเพ่ือเผชิญการแข่งขัน และการต้ังราคาเพ่ือรักษาเสถียรภาพของราคาโดยผู้ประกอบการชุมชน อาจใชร้ ูปแบบนน้ี ้อย นอกจากจะกา้ วสู่อุตสาหกรรมอยา่ งเต็มตัวแล้วปรับรำคำตอ่ สู้กบั คู่แขง่ มคี ่แู ข่งในตลำด ลดเหลอื 85 บำท ขำยรำคำ 90 บำท ดังนั้น คุณยายอนงค์ มีคู่แข่งทางการตลาด ทาให้คุณยายอนงค์ขายสินค้าได้ลดลงจึงต้องใช้รูปแบบการตั้งราคาของธุรกิจท่ีมีเป้าหมายอื่นๆ คือ ทาให้ราคาเทียบเท่าคู่แข่งทางการตลาดหรือราคาต่ากว่า เพ่ือดึงดูดลูกค้า หากสินค้ามีคุณภาพสูงสามารถใช้เพื่อนาเสนอคุณภาพของวัตถุดิบและรสชาติแทนการลดราคาได้16 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.)

ค่มู อื สำหรับผปู้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce หลกั กำรออกแบบตรำสินคำ้ ตรำสนิ คำ้ หมายถึง ช่ือ คา สัญลักษณ์ การออกแบบ หรือส่วนประสมของส่งิ ดงั กลา่ วเพื่อระบถุ ึงสินค้าและบริการของผู้ขายรายใดรายหน่ึง หรือกลุ่มของผู้ขายเพื่อแสดงถึงลักษณะที่แตกต่างจากคู่แข่งขันและสร้างการจดจาผลิตภัณฑ์/บริการ จากตราสินค้าได้ โดยลักษณะที่ดีของตราสินค้าจะต้องสะท้อนบุคลิกของสินค้า หรือลักษณะของสินค้า เช่น คุณเอ๋ขายขนมไทยควรออกแบบให้มีรูปลักษณ์เป็นแบบไทยควรเป็นภาพกราฟิกมากกว่าภาพของจริง สามารถออกแบบได้จากเว็บไซต์ช่วยออกแบบตราสินค้าและท่ีสาคัญคือไม่ควรมีรายละเอียดมากเกินไป ทาให้ไม่เกิดความโดดเด่น อีกทั้งสียังเป็ นเรื่องทชี่ ว่ ยในการจดจาตราสินค้าไดอ้ กี ดว้ ย สัญลกั ษณ์สะทอ้ น ลกั ษณะสนิ คำ้ สสี อ่ื ใหเ้ หน็ ถึง ชื่อร้ำนค้ำ ควำมเป็นธรรมชำติ ทเ่ี ป็นเอกลักษณ์ ภำพตัวอย่ำงตรำสนิ คำ้ 17สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ์/บรกิ าร ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล18 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับผูป้ ระกอบกำรชมุ ชน โครงการศูนยด์ จิ ิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerceสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 19

Village E-Commerceสง่ เสริมผลิตภัณฑ์/บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจทิ ัล ขนั้ ตอนที่ 2 เปิดรำ้ นคำ้ ออนไลน์ (Online Shop) พน้ื ฐำนท่จี ำเปน็ สำหรับรำ้ นคำ้ ออนไลน์ 1. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สาหรับการทาร้านค้าออนไลน์น้ัน มีความจาเป็นจะต้องใช้อุปกรณ์ อาทิ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายภาพ เครื่องพิมพ์เอกสารที่เป็นองค์ประกอบสาหรับการทาร้านค้าออนไลน์ โดยไม่จาเป็นว่าผู้ประกอบการชุมชนจะต้องมีท้ังหมดที่กล่าวมาข้างต้น เพียงแค่มีคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ก็สามารถบริหารจัดการร้านค้าออนไลน์ได้ดังนน้ั การใชป้ ระโยชนจ์ ากอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ จะสามารถทาให้เกิดประโยชนใ์ นทางธรุ กิจได้คอมพิวเตอร์ ใช้สาหรับการจัดต้ังร้านค้าออนไลน์ รับคาส่ังซ้ือจากลูกค้า โต้ตอบกับลูกค้ามีความสาคัญอย่างยิ่งในการทาร้านค้าออนไลน์ ผู้ประกอบการชุมชนท่ีไม่มีคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใช้บริการได้ท่ีศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ของกระทรวงดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมมากกว่า2,000 แห่ง ทวั่ ประเทศ ศูนย์ดิจิทัลชุมชน www.onde.go.th โทร. 02-142-120220 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

ค่มู อื สำหรับผ้ปู ระกอบกำรชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจิทัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce สมำร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต ใช้สาหรับบริหารจัดการร้านค้า รับคาสั่งซ้ือจากลูกค้า โต้ตอบกับลูกค้า มีความสาคัญอย่างยิ่งในการบริหารร้านค้าออนไลน์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่พกพาง่าย สะดวกสาหรับการตรวจสอบรายการสัง่ ซื้อของลกู คา้ เปน็ อยา่ งยง่ิ กล้องดิจิทัล ใช้สาหรับการถ่ายภาพผลิตภัณฑ์/บริการ เพื่อประกอบการขาย เน่ืองจากผู้ซื้อไม่สามารถเห็นสินค้าตัวจริง หรือจับต้องได้ ดังน้ัน ภาพถ่ายจะเป็นเครื่องมือในการส่ือความหมายหากภาพชัดเจนสวยงาม ครบถ้วนทกุ มมุ มอง ทาให้มโี อกาสทีล่ กู ค้าตดั สนิ ใจซ้ือไดง้ า่ ยกวา่ ผปู้ ระกอบการชุมชนสามารถใชเ้ พยี งกลอ้ งโทรศพั ท์ถ่ายภาพกส็ ามารถใชง้ านได้ โดยต้องจัดองคป์ ระกอบแสงใหเ้ หมาะสมสำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 21

Village E-Commerceส่งเสริมผลิตภัณฑ์/บรกิ าร ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล เครื่องพิมพ์เอกสำร ใช้ในกรณีการจัดพิมพ์เอกสาร การจ่าหน้าการส่งสินค้า รวมถึงการประยุกต์ใช้ในการพิมพ์ตราสัญลักษณ์ ป้ายข้อเสนอพิเศษ ป้ายโฆษณา คาอธิบาย สรรพคุณ รหัสยืนยันการใชบ้ ริการ บัตรส่วนลด บัตรผา่ น ฯลฯ ประกอบผลิตภณั ฑ/์ บรกิ ารทจี่ าหน่าย 2. อินเทอร์เน็ต เป็นโครงข่ายที่เช่ือมโยงผู้ประกอบการและผู้ซ้ือทั่วโลก ให้เข้าถึงกันได้โดยกระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได้มียุทธศาสตร์ในการวางโครงสรา้ งพ้ืนฐานโครงข่ายอินเทอรเ์ นต็สาหรับประชาชนไทย เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คม มีพืน้ ที่ให้บรกิ ารอนิ เทอร์เนต็ ฟรี คือ เน็ตประชารฐั ศูนยด์ ิจิทลั ชมุ ชน และศนู ยก์ ารเรียนรู้ ICT ชมุ ชนส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ จุ ด ใ ห้ บ ริ ก า ร ไ ด้ ท่ี www.netpracharat.com ห รื อ http://thaitelecentre.orgหรือสอบถามไดท้ หี่ มายเลขโทรศพั ท์ 02-142-120222 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คู่มอื สำหรับผปู้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจิทลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนสาคัญของการติดต่อสื่อสารผ่านโลกดิจิทัล ผู้ที่ใช้โครงข่ายต้องมีบัญชีในการยืนยันตนเอง สาหรับรับข้อมูลข่าวสาร หรือคาส่ังซ้ือ ดังน้ัน ผู้ประกอบการชุมชนต้องสมัครจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ หรืออเี มล์ (Email) บัญชีจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ (Email) คือ บัญชีสาหรับการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตโดยเป็นเสมือนบ้านเลขท่ี หากผู้ประกอบการต้องการส่งจดหมายถึงลูกค้า ต้องระบุ ชื่อ ที่อยู่ จังหวัดรหัสไปรษณยี ์ เพอื่ สง่ จดหมายไปยังลูกคา้ ได้อย่างสมบรู ณ์ จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ก็เชน่ กัน เปน็ การจัดต้งั ที่อยู่แบบอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับการจัดส่งจดหมาย โดยบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ถือเป็นพื้นฐานของระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ท้ังหมด ดงั น้ัน ผ้ปู ระกอบการจะต้องมบี ัญชีอเี มล์ อยา่ งน้อย 1 บัญชี จากันง่ายๆ อีเมล์จะมสี ญั ลักษณ์ “@”แอด็ ไซน์ อีเมล์มีผู้ให้บริการฟรีหลายบริษัท โดยมีอีเมล์ที่นิยมใช้ อาทิ กูเก้ิลจีเมล์ (Gmail)ไมโครซอฟต์เอ้ำทล์ กุ (Outlook) แอปเป้ลิ ไอคลำวด์ (iCloud) เป็นต้นสำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 23

Village E-Commerceส่งเสริมผลิตภณั ฑ์/บริการ ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั หนา้ จอระบบจดหมายอิเล็กทรอนกิ สข์ องกูเกล้ิ (Google Gmail) หน้าจอระบบจดหมายอิเล็กทรอนกิ สข์ องไมโครซอฟต์ (Microsoft Outlook)24 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

ค่มู ือสำหรับผปู้ ระกอบกำรชมุ ชน โครงการศนู ย์ดิจทิ ลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerceหนา้ จอระบบจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ของแอปเปิ้ล (Apple iCloud)สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 25

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ าร ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ขัน้ ตอนกำรสมัครและใชง้ ำนบญั ชีอเี มล์ (Email) 1) ตั้งช่ือท่ีอยู่อีเมล์ ผู้ประกอบการชุมชนสามารถต้ังชื่อที่อยู่อีเมล์เป็นภาษาอังกฤษให้สอ่ื ความหมายถึงชื่อรา้ นคา้ ตัวอย่างเชน่ คณุ ยายอนงค์ ขายผลไม้แช่อม่ิ ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2515 ก็สามารถตัง้ ชื่อทอ่ี ยู่เปน็ [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] หลักเกณฑ์การต้ังชอ่ื ที่อยูอ่ ีเมล์ประกอบด้วย ตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ หากชื่อร้านคา้ของผู้ประกอบการชุมชนไม่ประกอบด้วยคาเฉพาะ อาจทาให้มีโอกาสซ้าซ้อนกับที่อยู่อีเมล์ของผู้อ่ืนจึงต้องเปลยี่ นหรอื ใส่สัญลกั ษณ์ เพอ่ื ใหจ้ ดจาได้ง่าย26 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คูม่ ือสำหรับผูป้ ระกอบกำรชมุ ชน โครงการศูนย์ดจิ ทิ ลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce 2) ต้ังรหัสผ่ำนเข้ำสู่บัญชีอีเมล์ รหัสผ่านเป็นส่ิงสาคัญในการยืนยันตัวตน เพ่ือเข้าสู่บัญชีและอ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ท่ีอยู่ในกล่องจดหมาย ดังนั้นการตั้งรหัสผ่านสาหรับบัญชีอีเมล์ ต้องมีความปลอดภัย โดยหลักการท่ีทาให้รหัสผ่านมีความปลอดภัย คือ ต้ังรหัสผ่านให้มีความยาวมากกว่า8 ตัวอักษร ประกอบด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก ตัวเลขและสัญลักษณ์ผสมกัน ไม่ต้ังรหัสผ่านจากชื่อนามสกุล ชื่อเล่น วันเดือนปีเกิด เบอร์โทรศัพท์ หรือจากพจนานุกรม และไม่ต้ังรหัสผ่านจากคาท่ีเรียงกันบนแปน้ พิมพ์ ร หั ส ผ่ า น ท่ี ไ ม่ค ว ร ใ ช้ง าน เ ช่ น 12345678, password, abc123, qwerty, football,1qaz2wsx, login, welcome, 0987654321 เป็นต้น Tips หากผู้ประกอบการชุมชนคิดรหัสผ่านไม่ออก สามารถเข้าเว็บไซต์เพื่อสร้างรหัสผ่านได้ที่https://lastpass.com/generatepassword.php และกด Generate จะได้รหัสผ่านทมี่ ีความปลอดภัยทันทีสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 27

Village E-Commerceสง่ เสริมผลิตภัณฑ์/บรกิ าร ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกิจดจิ ิทัล 3) กรอกข้อมูลบัญชีอีเมล์ อีเมล์จะมีพื้นท่ีให้กรอกข้อมูลเพ่ิมเติมสาหรับบัญชีอีเมล์ เช่นชอ่ื นามสกลุ รปู ภาพประจาบัญชอี ีเมล์ เพศ วัน เดอื น ปี เกดิ เบอร์โทรศัพท์ อีเมล์ท่ใี ช้อยปู่ จั จุบัน (ถ้าม)ี ตัวอย่ำง กำรกรอกขอ้ มูลเพื่อสมคั รอีเมล์ ผู้ประกอบการดาเนินการสมัครและใช้งานบัญชีอีเมล์ (Email) ตามขั้นตอนดังกล่าวจะได้บัญชีท่ีสามารถนามาใช้ในการสมัครเครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line)และร้านคา้ ออนไลน์ (E-Commerce Platform/ E-Marketplace) ได้28 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

ค่มู อื สำหรบั ผ้ปู ระกอบกำรชมุ ชน โครงการศนู ย์ดจิ ิทลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce3.บัญชีเครอื ขำ่ ยสงั คมออนไลน์ บญั ชีเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ เปน็ ส่ิงทีจ่ าเปน็ ท่ผี ู้ประกอบการชุมชนต้องสร้างเพ่ือเปน็ การเพ่มิ ช่องทางในการประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้า โดยประเทศไทยมีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นจานวนมากถึง46 ล้านบัญชีผู้ใช้ อันดับท่ี 1 คือ เฟซบุ๊ก (Facebook) อันดับที่ 2 คือ ยูทูป (Youtube) และอันดับท่ี 3คื อ ไ ล น์ ( Line) ซ่ึ ง ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ก า ร ซื้ อ ข า ย สิ น ค้ า ผ่า น ร้ าน ค้ า อ อ น ไ ล น์ ม า ก ถึ ง 11.58 ล้ า น คนฉะน้ัน การจดั ทาบญั ชีเครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ สามารถสรา้ งชอ่ งทางการเข้าถึงลูกค้าได้มากข้นึ กว่าการโฆษณาแบบเดิม โดยเครือข่ายสงั คมออนไลนท์ แ่ี นะนาสาหรบั ผปู้ ระกอบการชมุ ชน คอื เฟซบกุ๊ เฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นเคร่ืองมือสังคมออนไลน์ท่ีมีความนิยมมาก ประเทศไทยมีผู้ใช้งาน มากถึง 46 ล้านบัญชี ดังนั้น หากผู้ประกอบการต้องการส่ือสาร สามารถสร้างการรับรู้ของลูกค้า ได้มากสงู สดุ ถงึ 46 ล้านบญั ชดี ้วยกนั โดยแบ่งเป็นเพศชายร้อยละ 51 และเพศหญิงร้อยละ 491Tips การสร้างบัญชีผู้ใช้สาหรับ Facebook และการสร้างร้านค้า Facebook Page สามารถดูวีดีทัศน์การสอนของโครงการ SMEGoOnline ไดท้ ่ี https://www.smesgoonline.com/page/basic.php 1 We are social. (2017). Digital in 2017: Global Overview. https://wearesocial.com/special-reports/digital-in-2017-global-overview 29สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

Village E-Commerceส่งเสริมผลิตภัณฑ/์ บริการ ในชุมชนด้วยเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั 4. บญั ชีธนำคำรและระบบตรวจสอบกำรรับเงิน บัญชีธนาคารสาหรับร้านค้าออนไลน์ เป็นช่องทางหลักในการรับเงินจากลูกค้าหรือระบบร้านค้าออนไลน์ ผู้ประกอบการชุมชนต้องเปิดบัญชีธนาคารในนามนิติบุคคล หรือบริษัท เพื่อเป็นบัญชีสาหรับรับเงินจากการขายสินค้า โดยสามารถเปิดบัญชีผ่านธนาคารพาณิชย์ต่างๆ ที่ให้บริการในประเทศไทย โดยอาจมีการเปิดบัญชีหลายธนาคาร เพ่ือรองรับการโอนเงินของลูกค้า ส่ิงสาคัญคือบัญชีธนาคารต้องสามารถตรวจสอบสถานะการโอนเงินได้สะดวก รวดเร็ว เพื่อตรวจสอบการชาระเงินของลูกค้า และดาเนินการจัดส่งสินค้าต่อไป ผู้ประกอบการชุมชนสามารถเปิดบัญชีผ่านธนาคารพาณิชย์ใกล้บ้าน พร้อมลงทะเบียนใช้ระบบตรวจสอบยอดเงิน ในช่องทางที่ธนาคารเปิดให้บรกิ าร สามารถผูกบริการพรอ้ มเพย์ เพ่ือสะดวกต่อการซ้ือขายของผู้ประกอบการชมุ ชนและลกู ค้าได้Tips พรอ้ มเพย์ ดกี ับผู้ประกอบกำรชุมชน พร้อมเพย์ (PromptPay) เป็นระบบการให้บริการโอนเงินระหว่างบุคคล ไม่ต้องใช้เลขท่ีบัญชีธนาคารสามารถใช้หมายเลขโทรศัพท์มือถือ หรือเลขที่บัตรประจาตัวประชาชน เพื่อทาการโอนเงิน ให้มีความสะดวกและปลอดภัยต่อผู้ซื้อ ทาให้ผู้ประกอบการชุมชนมีโอกาสในการขายสินค้าได้ดียิ่งขึ้น จากค่าธรรมเนียมการโอนท่ีผู้ซ้ือโอนเงินโดยไม่เสียค่ำธรรมเนียมกำรโอนต่ำงธนำคำร ในกรณีที่ซ้ือสินค้ำไม่เกิน 5,000 บำท/รำยกำรผ่านช่องทางการโอนเงินทางโทรศัพท์มือถือ (Mobile Banking) ทางอินเทอร์เน็ต (Internet Banking) และทางตู้กดเงินสด(ATM) ทาให้ผ้ปู ระกอบกำรชุมชนไม่จำเป็นต้องเปิดบัญชีธนำคำรหลำยธนำคำรเพ่ือรองรับกำรโอนเงนิ อีกด้วย30 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับผปู้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศูนย์ดจิ ิทัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce ดังนั้นผู้ประกอบการชุมชนหากไม่ได้เปิดบัญชีธนาคารหลายธนาคาร สามารถลงทะเบียนบริการพรอ้ มเพย์ เพือ่ ให้ลูกค้าสะดวกและเพ่ิมโอกาสในการซ้ือขายสินค้าอีกด้วย ขั้นตอนการลงทะเบียน ให้เตรียม 3 สิ่งคือ สมุดบัญชีเงินฝาก บัตรประจาตัวประชาชนตัวจริง และโทรศัพท์ มือถือที่ต้องการลงทะเบียนท้ังนี้ ผู้ประกอบการชุมชนสามารถลงทะเบียนได้ที่ตู้กดเงินสด (ATM) ทางอินเทอร์เน็ต (Internet Banking)ทางโทรศัพท์มือถอื (Mobile Banking) หรอื สาขาธนาคารใกล้สถานประกอบการชมุ ชนสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 31

Village E-Commerceส่งเสรมิ ผลิตภัณฑ์/บรกิ าร ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล กำรเลอื กระบบรำ้ นค้ำออนไลน์ แบบลูกคำ้ กบั ลกู ค้ำ (Customer to Customer : C2C) ระบบร้านค้าออนไลน์ในรูปแบบลูกค้ากับลูกค้านั้นมีความนิยมใช้ในการขายสินค้ามือสองหรือสินค้าที่มีความเฉพาะ ไม่ได้ผลิตเป็นจานวนมากๆ หลักการขาย ผู้ขายจะประกาศขายผ่านช่องทางออนไลน์และผู้ซ้ือจะเข้ามาค้นหาผ่านช่องทางออนไลน์ ซึ่งสามารถพูดคุย ตกลงราคา ทาการโอนเงินและจัดส่งสินค้า หรือนัดพบ เพ่ือทาการซื้อขาย ซ่ึงผู้ประกอบการชุมชนท่ีผลิตสินค้าเฉพาะชิ้นงาน อย่างเช่นภาพวาด ส่ิงประดิษฐ์ หัตถกรรม ที่ผลิตเป็นจานวนน้อยๆ สามารถเข้าใช้บริการร้านค้าออนไลน์แบบลูกค้ากับลูกค้าได้ โดยแนะนาเว็บไซต์ในประเทศไทยคือ ขายดีดอทคอม (Kaidee.com) ตลาดพลาซ่าดอทคอม (Taladplaza.com) หรือการใช้ช่องทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ สามารถทาร้านค้าออนไลน์ในรูปแบบลูกค้ากับลูกค้าได้ เช่น ประกาศขายผ่านเฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) อินสตาแกรม(Instagram) เปน็ ตน้ ขำยดีดอทคอม (Kaidee.com) เป็นบริการกลางสาหรับการขายสินค้า โดยมีหมวดหมู่มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ เครื่องดนตรี กีฬา จักรยาน แม่และเด็ก กระเป๋า นาฬิกา รองเท้า เส้ือผ้าเครื่องแต่งกาย สุขภาพและความงาม บ้านและสวน พระเคร่ือง ของสะสม อสังหาริมทรัพย์ รถมือสองอะไหล่รถ ประดับยนต์ มอเตอร์ไซค์ กล้อง เครื่องใช้ไฟฟ้า เกมส์ สัตว์เลี้ยง งานอดิเรก ธุรกิจบริการท่องเที่ยวการศึกษา และแบ่งปัน ดังนั้น ผู้ประกอบการชุมชนสามารถนาสินค้า หรือของที่ไม่ได้ใช้งานมาขายในบริการของขายดีดอทคอมได้ โดยไมม่ ีคา่ ใช้จา่ ย ดูเพ่มิ เติมไดท้ ่เี วบ็ ไซต์ https://www.kaidee.com32 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

คูม่ ือสำหรบั ผู้ประกอบกำรชุมชน โครงการศูนยด์ จิ ิทลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce เฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นเคร่ืองมือเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยมีการประยุกต์ใช้ช่องทางในการประกาศขายสินค้าเพื่อให้เพ่ือนที่อยู่ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่สนใจติดต่อซ้ือขายผ่านช่องทางที่ใช้งานเป็นประจา โดยจะมีผู้บริโภคจานวนมาก แต่ไม่มีการจาแนกกลุ่มสินค้าที่ชัดเจน จึงทาให้ต้องมีการสืบคน้ สินค้าจากคาสาคัญ (Keyword) หากลกู คา้ ให้ความสนใจ จะสามารถสง่ ข้อความถึงผู้ขายได้ ดเู พิม่ เติมได้ทเ่ี วบ็ ไซต์ https://www.facebook.comสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 33

Village E-Commerceส่งเสรมิ ผลิตภัณฑ/์ บริการ ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจทิ ลั แบบธุรกจิ กับลกู คำ้ (Business to Customer : B2C) ระบบร้านค้าออนไลน์ในรูปแบบธุรกิจกับลูกค้านั้น เป็นรูปแบบธุรกิจที่นิยมใช้งานมากที่สุดในผู้ประกอบการระดับเร่ิมต้นธุรกิจ จนถึงระดับอุตสาหกรรม โดยมีหลักการขายเป็นการเปิดร้านค้าผ่านช่องทางออนไลน์ และผู้ซ้ือสามารถเข้าถึงหน้าร้านผ่านช่องทางออนไลน์ โดยมีการนาเสนอสินค้าราคา และโปรโมช่ัน โดยมีการเลือกสินค้าใส่ตระกร้า และทาการชาระเงินผ่านช่องทางที่ผู้ประกอบการให้บริการเช่น การโอนเงินผ่านธนาคาร การชาระผ่านบัตรเครดิต การชาระผ่านเคาท์เตอร์ให้บริการชาระเงิน และอ่ืนๆผู้ประกอบการชุมชน ที่ผลิตสินค้าจาหน่าย ในกลุ่ม ผ้าทอ เส้ือผ้า เคร่ืองแต่งกาย สินค้าแฟช่ัน เคร่ืองประดับจิวเวอร่ี สินค้าหัตถกรรมไม้แกะสลัก งานฝีมือ ของตกแต่งบ้าน สินค้าความงาม สมุนไพร สปา ผลิตภัณฑ์อาหารอาหารแปรรูป สินค้าเกษตร ท่องเท่ียวและบริการ ฯลฯ สามารถใช้บริการระบบร้านค้าออนไลน์ โดยผู้ให้บริการท่ีแนะนาในประเทศไทย คือ เทพช็อป (lnwshop) ไทยแลนด์มอล (Thailandmall) ไทยแลนด์โพสต์มาร์ท(Thailand Postmart) เปน็ ต้น เทพช็อป (lnwshop) เป็นเว็บไซต์ให้บริการระบบร้านค้าออนไลน์ โดยผู้ประกอบการสามารถเปิดใช้บริการร้านค้าออนไลน์ได้ฟรี ไม่มีเงื่อนไข มีหมวดหมู่ของร้านค้าที่รองรับคือ เส้ือผ้าแฟชั่น เครื่องสาอางความงาม ของเล่น ของสะสม ของที่ระลึก แม่และเด็ก ศิลปหัตถกรรม (ของทามือ) ของใช้ของตกแต่งบ้าน อาหาร และสุขภาพ เทคโนโลยี มือถือ คอมพิวเตอร์ บันเทิง ดนตรีและภาพยนต์ สัตว์เลี้ยงและอุปกรณ์ หนังสือและนิตยสาร เครื่องเขียน/อุปกรณ์สานักงาน/ของใช้เบ็ดเตล็ด อุปกรณ์และเคร่ืองมือช่างของเก่า ของสะสม กล้องและอุปกรณ์ กีฬาและกิจกรรม outdoor รถ ยานพาหนะ บ้านและที่ดิน อื่นๆดังน้ัน ผู้ประกอบการชุมชน สามารถนาสินค้า ท่ีผลิตข้ึนเปิดร้านค้าจาหน่ายได้ผ่านเว็บไซต์บริการระบบร้านค้าออนไลนข์ องเทพช็อปได้ โดยไมม่ ีคา่ ใชจ้ ่าย ดเู พิ่มเตมิ ได้ท่ีเว็บไซต์ https://www.lnwshop.com34 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรบั ผูป้ ระกอบกำรชมุ ชน โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce ไทยแลนด์โพสต์มำร์ท (Thailand Postmart) เป็นเว็บไซต์ให้บริการตลาดกลางออนไลน์ดาเนนิ การโดยบรษิ ทั ไปรษณีย์ไทย จากัด โดยเป็นเว็บไซต์ตลาดกลางท่ีขายสินคา้ จากชุมชน โดยมสี ินคา้ เกษตรอาหาร และสินค้าอุปโภคบริโภคอ่ืนๆ ผู้ประกอบการสามารถส่งข้อมูลสินค้าเพื่อทาการขายบนตลาดกลางของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัดได้ โดยมีหมวดหมู่ของร้านค้าที่รองรับคือ อร่อยทั่วไทย ของดีประจาจังหวัดเหรียญกรมธนารักษ์ สินค้าไปรษณีย์ แสตมป์และส่ิงสะสม ดังนั้น ผู้ประกอบการชุมชน สามารถนาสินค้าที่ผลิตขึ้นส่งเข้าสู่ตลาดกลางเพ่ือจาหน่ายผ่านเว็บไซต์กลางของไทยแลนด์โพสต์มาร์ทได้ ดูเพ่ิมเติมได้ที่เว็บไซต์https://thailandpostmart.com ไทยแลนด์มอล ล์ (Thailandmall) เป็นเว็บไซต์ให้บริการตลาดกลางออนไลน์โดยผู้ประกอบการสามารถสมัครเปิดร้านค้าได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย โดยมีฐานลูกค้าและสินค้าของผู้ประกอบการชุมชนรายอื่นๆ รวมอยู่ที่เดียวกัน เพ่ือสะดวกต่อการซื้อของลูกค้า มีหมวดหมู่ของร้านค้าท่ีรองรับคือ โอทอป (OTOP) เกษตร อุตสาหกรรม ท่องเที่ยว ครัวโลก และการแพทย์ ดังนั้น ผู้ประกอบการชุมชนสามารถนาสนิ ค้าที่ผลิตข้ึน สง่ เขา้ สู่ตลาดกลางเพื่อจาหน่ายผ่านเว็บไซต์ตลาดกลางของไทยแลนด์มอล ดเู พมิ่ เติมได้ทเ่ี ว็บไซต์ http://thailandmall.netสำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 35

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ/์ บริการ ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจิทัล แบบธรุ กิจกับธรุ กิจ (Business to Business : B2B) ระบบร้านค้าออนไลน์ในรูปแบบธุรกิจกับธุรกิจ เป็นรูปแบบการซื้อขายแบบเฉพาะโดยมีการจัดซ้ือเป็นจานวนมาก เพ่ือให้ได้ราคาที่ต่าและธุรกิจท่ีซ้ือสามารถนาไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตหรือขายต่อ โดยหลักการขาย ผู้ขายจะต้องขึ้นทะเบียนผ่านช่องทางออนไลน์ พร้อมนาข้อมูลสินค้าขึ้นสู่ระบบและผู้ซื้อจะเข้ามาค้นหาผ่านช่องทางออนไลน์ และดาเนินการขอราคา ตามปริมาณที่ต้องการ ซึ่งจะอยู่ในกระบวนการจัดซื้อและพัสดุของบริษัทน้ันๆ โดยผู้ประกอบการชุมชน ท่ีสามารถผลิตสินค้าได้เป็นจานวนมากหรือมีเอกลักษณ์เฉพาะท่ีบริษัทอ่ืนๆต้องการ สามารถเข้าใช้บริการะบบการจัดซ้ือแบบธุรกิจกับธุรกิจโดยมีผู้ใหบ้ ริการที่แนะนาในประเทศไทยคือ พนั ธวณชิ (Pantavanij) และ กดู๊ ชอ้ ยส์ (Goodchoiz)36 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรบั ผูป้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศูนย์ดจิ ทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce พันธวณิช (Pantavanij) เป็นระบบการจัดซื้อของธุรกิจกับธุรกิจ ด้วยมีฐานข้อมูลผู้ซื้อและผขู้ าย ซ้อื ขายวัตถดุ ิบ หรอื วัสดุทีใ่ ช้งานในธรุ กิจ โดยผปู้ ระกอบการชุมชน หากมีการผลติ สินค้าทเี่ ปน็ ทต่ี ้องการของธุรกจิ ได้ สามารถขึน้ ทะเบียนผู้ค้าในรปู แบบธรุ กิจได้ โดยมรี ะบบงานรองรบั ระบบผูซ้ ื้อ ระบบผู้ขาย ประมลูภาครัฐ ภาคเอกชน และประมูลในสถานท่ี (On-site) ดเู พิม่ เตมิ ไดท้ ่ีเว็บไซต์ https://www.pantavanij.com กู๊ดช้อยส์ (Goodchoiz) เป็นเว็บไซต์ศูนย์รวมอุปกรณ์ เคร่ืองใช้สานักงาน โดยให้บริการในระดับองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่และเล็ก รวมทั้งลูกค้าส่วนบุคคล ในการสั่งซ้ือสินค้า พร้อมบริการจัดส่งท่ัวประเทศ โดยผู้ประกอบการชุมชนสามารถนาสินค้าที่สามารถขายให้ธุรกิจขนาดใหญ่และเล็กได้อาทิ จัดตะกร้าสินค้าชุมชนพรีเมี่ยม สาหรับการส่ังซ้ือเป็นของฝากในช่วงเทศกาล เป็นต้น โดยมีการจัดพิมพ์สมุดรายการสินค้า (Catalogue) เพ่ือให้บริษัทใช้ในการดูรายการสินค้าก่อนสั่งซ้ือ ดูเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์www.goodchoize.comสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.) 37

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลิตภณั ฑ์/บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั เตรียมขอ้ มูลร้ำนคำ้ การจัดต้ังร้านค้าออนไลน์ ด้วยการเริ่มขายของออนไลน์นั้น เป็นส่ิงท่ีทาได้ง่าย และมีต้นทุนต่าการสร้างร้านค้าออนไลน์ท่ีจะประสบความสาเร็จได้นั้น จาเป็นต้องมีการเตรียมตัวและจัดเตรียมข้อมูลที่ดีเพราะหากไม่สนใจ หรือต้ังใจจริงๆ อาจจะทาให้ต้องล้มเลิกไปได้ โดยการเร่ิมต้นท่ีดีคือ เรียนรู้หลักการเปิดร้านค้าออนไลน์ในด้านต่างๆ เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการชุมชนได้เตรียมความพร้อมร้านค้าของตนเอง ซ่ึงมหี ลกั การตา่ งๆ ดงั น้ี กำรต้ังชื่อร้ำน การเปิดร้านค้าออนไลน์ สิ่งสาคัญท่ีผู้ประกอบการชุมชนไม่ควรมองข้ามนั่นคือการต้ังชื่อร้าน การตั้งชื่อจะส่งผลถึงว่าร้านค้าออนไลน์ของผู้ประกอบ การชุมชนคือใครขายสินค้าประเภทใด ระดับราคาของสินค้า กลุ่มลูกค้าเป้าหมายคือใคร มีแนวคิดของการขายสินค้าอย่างไรดงั นนั้ การตัง้ ชือ่ ร้านควรพิจารณาให้รอบคอบ ซงึ่ มีหลกั การดังนี้38 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คูม่ ือสำหรับผปู้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศนู ย์ดิจทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerceตัวอย่ำงกำรตัง้ ชื่อรำ้ นค้ำตำมหลักเกณฑก์ ำรตัง้ ช่ือรำ้ นและตัวอยำ่ งโลโก้รำ้ นคำ้สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 39

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ/์ บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกิจดจิ ทิ ลักำรตกแต่งหน้ำรำ้ นค้ำออนไลน์ สีสัน ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องเลือกสีสันให้สอดคล้องกับสินค้าหรือบริการ สีสันจะช่วยสร้างความรู้สึกต่างๆ อีกทั้งยังบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของสินค้าและบริการ โดยแสดงตัวอย่างความหมายของสีดงั ตอ่ ไปนี้ o สีเขยี ว หมายถึง สขุ ภาพ ธรรมชาติ o สเี หลือง หมายถงึ คนหน่มุ สาว ความมั่นใจ o สสี ้ม หมายถึง พลังงาน ความสดใสรา่ เริง o สแี ดง หมายถงึ อานาจ ความต่ืนเตน้ o สีชมพู หมายถงึ ความเป็นผู้หญงิ o สดี า หมายถงึ หรหู รามีระดบั o สีขาว หมายถึง บรสิ ุทธิ์ ปลอดภยั o สีนา้ เงนิ หมายถงึ ความมน่ั คง ปลอดภยั ตัวอย่างการเลือกสีสันให้เหมาะสมกับร้านค้า จะช่วยนาเสนอความรู้สึกของสินค้าได้ดี เช่น สินค้ากีฬามกี ารใชส้ สี ดใส โดยสเี หลอื งหมายถึงคนหนุม่ สาว มคี วามมน่ั ใจ ทาให้ผซู้ อื้ สนใจและสามารถจดจารา้ นคา้ ได้งา่ ยยิง่ ขึ้น40 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คูม่ ือสำหรับผปู้ ระกอบกำรชุมชน โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce พื้นท่ีว่ำง การจัดองค์ประกอบเว็บไซต์ก็เหมือนกับการออกแบบหน้านิตยสาร ผู้ประกอบการจะต้องจัดการหน้าร้านค้า ไม่ควรมีภาพและเน้ือหาที่แน่นเกินไป จนทาให้รู้สึกอึดอัด และไม่มีที่พักสายตาการจัดหนา้ รา้ นคา้ ออนไลน์จะตอ้ งมพี น้ื ที่การวางเนื้อหาอย่างเหมาะสม ไม่แน่น หรือวา่ งจนเกินไป ฟอนต์หรือตัวอักษร ควรใช้ฟอนต์ท่ีอ่านง่าย หัวกลม ตัวพิมพ์ปกติ และขนาดไม่เล็กจนเกินไปเพื่อรองรับต่อกลุ่มเป้าหมายของตนเอง โดยการเลือกฟอนต์หรือตัวอักษร ควรเลือกให้อ่านง่ายและเหมาะสมกับรปู แบบของสนิ คา้ และร้านค้าสำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพือ่ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.) 41

Village E-Commerceส่งเสริมผลติ ภณั ฑ์/บริการ ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจทิ ลั เน้ือหำ ธรรมชาติของผู้ซ้ือ การอ่านข้อมูลจากหน้าร้านค้าออนไลน์จะต้องนาเสนอในรูปแบบเนื้อหาสั้นเข้าใจง่าย และสามารถตอบปัญหาผู้ซื้อสินค้าได้ โดยเทคนิคหน่ึงที่ทาให้ผู้เข้าชมไม่รู้สึกว่าเนื้อหามีความยาวจนเกินไป ก็คือการเลือกใช้รายการประโยชน์ หรือรายการจุดเด่นของสินค้า ในการนาเสนอเนื้อหาหรือการนาเสนอเนื้อหาแบบ อินโฟกราฟิก ซึ่งย่อเนื้อหาให้ส้ันกระชับ ร่วมกับการเล่าเรื่องด้วยภาพถ่ายหรือภาพวาดดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ ป็นตน้Tips อินโฟกราฟิก (Infographic) สามารถทาง่ายๆ ผ่านเว็บไซต์ โดยผู้ประกอบการสามารถสร้างได้ทเ่ี วบ็ ไซต์ http://piktochart.com จะทาใหไ้ ด้ภาพสรปุ ข้อมูลร้านคา้ เพ่อื เผยแพรใ่ หผ้ ู้บริโภคได้ เวบ็ ไซต์ Piktochart สำหรับกำรสร้ำงอินโฟกรำฟกิ แบบออนไลน์42 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับผูป้ ระกอบกำรชมุ ชน โครงการศูนยด์ จิ ิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerceสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 43

Village E-Commerceสง่ เสริมผลิตภัณฑ์/บรกิ าร ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกิจดิจิทัล วธิ กี ำรต้งั ค่ำรำ้ นค้ำออนไลน์ Inwshop ระบบรา้ นค้าออนไลนท์ ม่ี าดว้ ยแนวทาง “เปดิ ร้านคา้ ออนไลน์ฟรี ไม่มเี งื่อนไข” มีข้ันตอนการขอใชบ้ ริการร้านค้าออนไลนง์ า่ ยๆ ดังต่อไปนี้ 1. เขา้ เวบ็ ไซต์ https://www.lnwshop.com และกดปมุ่ (เปิดร้านคา้ ฟรี) 2. ตงั้ ค่าข้อมูลร้านคา้ 3 ข้นั ตอน คือ กรอกข้อมลู ร้านคา้ และอัพโหลดรปู ภาพร้าน เลอื กเทมเพลต สาหรับรา้ นคา้ และยอมรับข้อตกลงและนโยบายการใชง้ าน44 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook