Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมนุษย์สัมพันธ์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมนุษย์สัมพันธ์

Published by ปนัดดา มั่นคง, 2021-06-03 15:18:23

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมนุษย์สัมพันธ์

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1 ------------- ความรเู้ บอื้ งต้นเก่ียวกบั มนุษยสมั พนั ธ์

สาระการเรียนรู้ 1. ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั มนุษยสมั พนั ธ์ 2. การสรา้ งมนุษยสมั พนั ธ์

ความร้เู บอื้ งต้นเกี่ยวกบั มนุษยสมั พนั ธ์ “ มนุษยสมั พนั ธ์ หมายถงึ การเกย่ี วขอ้ งสมั พนั ธก์ นั ระหวา่ งมนุษย์ ทงั้ ทางรา่ งกาย จติ ใจ และการกระทาเพ่อื ให้ เกดิ ความรสู้ กึ ผกู พนั ทด่ี ตี ่อกนั เกดิ ความพงึ พอใจ รกั ใครน่ บั ถอื ซง่ึ กอ่ ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื รว่ มใจกนั อนั จะช่วยให้ เป้าหมายบรรลุผลสาเรจ็ ตามจุดประสงคอ์ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ “

ความสาคญั ของมนุษยสมั พนั ธ์ - ทาใหม้ นุษยม์ คี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ - ทาใหม้ นุษยเ์ กดิ ความรสู้ กึ อบอุน่ - ทาใหส้ งั คมมคี ุณภาพมากขน้ึ - ทาใหก้ ารบรหิ ารงานมปี ระสทิ ธภิ าพ - ทาใหเ้ กดิ ผลดตี อ่ การเมอื งการปกครอง - ทาใหเ้ กดิ ผลดตี อ่ เศรษฐกจิ

ประโยชน์ของมนุษยสมั พนั ธ์ 1. ทาใหม้ คี วามสขุ ในการดาเนินชวี ติ เพมิ่ ขน้ึ 2. ทาใหบ้ ุคคลเกดิ ความรสู้ กึ เป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั 3. ทาใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจผอู้ ่นื มากขน้ึ 4. ทาใหเ้ หน็ คณุ คา่ และภาคภมู ใิ จในตนเอง 5. ทาใหบ้ คุ คลมแี รงจงู ใจในการทางาน

ประวตั ิความเป็นมา 1. กอ่ นศตวรรษท่ี 18 ประมาณ ค.ศ. 1601-7000 สมยั ก่อนการปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม - ลกู จา้ งเป็นเหมอื นเครอ่ื งจกั รทต่ี อ้ งทางานอยา่ งหนกั เพอ่ื ใหค้ ุม้ คา่ ใช้จา่ ยในการทางาน - นายจา้ งไมไ่ ดใ้ หค้ วามสาคญั กบั ความตอ้ งการ อารมณ์ และความรสู้ กึ ของลกู จา้ ง - ลกู จา้ งมรี ายไดน้ ้อย และสวสั ดกิ ารไมเ่ พยี งพอ ทาใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ประสทิ ธภิ าพการ ทางาน

2. ประมาณ ค.ศ. 1801-1900 สมยั หลงั การปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม - โรงงานในยโุ รปเปลย่ี นจากการใชแ้ รงงานคนเป็นใชเ้ ครอ่ื งจกั ร แทน - ลกู จา้ งเรม่ิ ขาดอสิ ระ ไมม่ เี วลาพกั ผอ่ น ผลผลติ จงึ ไม่ไดค้ ุณภาพ

- โรเบริ ต์ โอเวน เป็นคนแรกทต่ี ระหนกั ถงึ ความตอ้ งการพน้ื ฐานของลกู จา้ ง ทาใหน้ ายจา้ ง เรมิ่ เปลย่ี นแนวคดิ การบรหิ ารมาใหค้ วามสาคญั แก่บุคคล

3. ค.ศ. 1835 - แอนดรวู ์ ยรู ิ เป็นเขา้ ของโรงงานอุตสาหกรรมทใ่ี หค้ วามสาคญั ตอ่ สภาพแวดลอ้ ม ของลกู จา้ ง โดยจดั ใหม้ บี รกิ ารดา้ นการรกั ษาพยาบาลและจา่ ยคา่ จา้ งเม่อื ลกู จา้ ง เจบ็ ป่วย

4. ค.ศ. 1911 - เฟรดเดอรคิ วนิ สโลว์ เทเลอร์ ไดศ้ กึ ษาเรอ่ื งเวลาและการ เคล่อื นไหวในการทางานเป็นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ศกึ ษาวธิ กี ารแบง่ เวลาในการทางาน เมอ่ื คนทางานถกู วธิ ี ผลผลติ ทไ่ี ดจ้ ะเพม่ิ ขน้ึ

5. ค.ศ. 1930 - เอลตนั เมโย ไดท้ ดลองทาฮอวธ์ อรน์ เพอ่ื ศกึ ษาถงึ ผลกระทบตา่ ง ๆ ทม่ี ตี อ่ สภาพการทางานทไ่ี ด้ ระยะเวลาหยดุ พกั งาน และปัจจยั อ่นื ๆ จากสงิ่ แวดลอ้ มดา้ นกายภาพ

6. ค.ศ. 1945 - หลงั จากสงครามโลกครงั้ ท่ี 2 มนุษยสมั พนั ธไ์ ดร้ บั ความสนใจและเป็นทแ่ี พรห่ ลายมากขน้ึ ทงั้ ใน ดา้ นการศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ยั เพม่ิ เตมิ จากนกั วชิ าการ

ปรชั ญาพืน้ ฐานของมนุษยสมั พนั ธ์ “ “ ปรชั ญาพน้ื ฐานมนุษยสมั พนั ธ์ คอื แนวคดิ พน้ื ฐาน ทก่ี าหนดทศิ ทางหรอื ขอบเขตของแนวคดิ มนุษยสมั พนั ธ์ ซง่ึ เป็นลกั ษณะของการบรหิ ารจดั การทเ่ี น้นคุณคา่ ความเป็น มนุษย์ รว่ มกบั ทกั ษะและวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

1. มนุษยม์ คี ุณคา่ ทเ่ี ท่าเทยี มกนั 2. มนุษยป์ รารถนาทจ่ี ะสรา้ งความดี 3. มนุษยม์ คี วามแตกตา่ งกนั 4. มนุษยป์ รารถนาทจ่ี ะประสบความสาเรจ็ ในชวี ติ 5. มนุษยม์ ศี กั ยภาพในการพฒั นา

องคป์ ระกอบของมนุษยaสมั พนั ธ์ การเขา้ ใจตนเอง เป็นลกั ษณะการรจู้ กั ตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ วา่ ตนเองเป็นใคร มคี วามรคู้ วามสามารถ ทกั ษะ ประสบการณ์ใดบา้ ง มจี ุดแขง็ และจุดออ่ นอะไร การเขา้ ใจตนเองทาใหบ้ ุคคลเกดิ ความรสู้ กึ ยอมรบั ในคุณคา่ แหง่ ตน นับถอื ตนเอง และรจู้ กั เขา้ ใจสทิ ธเิ สรภี าพ หน้าท่ี ความรบั ผดิ ชอบของตนเอง และช่วยใหบ้ คุ คล รจู้ กั ปรบั ตวั เขา้ กบั บคุ คลอ่นื ไดด้ ี

การเขา้ ใจบุคคลอ่นื เป็นการเรยี นรธู้ รรมชาตแิ ละความแตกตา่ ง ระหวา่ งบคุ คล ตลอดจนความตอ้ งการและแรงจงู ใจของบคุ คล โดยเมอ่ื เราตอ้ งการไปตดิ ต่อสมั พนั ธก์ บั บุคคลใดกต็ อ้ งทราบวา่ บุคคลนนั้ มคี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ใดบา้ ง

การเขา้ ใจสงิ่ แวดลอ้ ม เป็นการเรยี นรธู้ รรมชาตขิ องสงิ่ แวดลอ้ มทอ่ี ยู่ รอบตวั เราและบคุ คลอ่นื ซง่ึ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การดาเนินชวี ติ ประจาวนั และการ สรา้ งมนุษยสมั พนั ธ์ การเขา้ ใจสงิ่ แวดลอ้ มชว่ ยใหส้ รา้ งมนุษยสมั พนั ธก์ บั บคุ คลอ่นื ไดด้ มี ากยงิ่ ขน้ึ

แนวทางการสรา้ งมนุษยสมั พนั ธ์ - ทกั ทายดว้ ยคาสภุ าพ อ่อนน้อม ยม้ิ แยม้ - แสดงความมนี ้าใจใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื - เป็นผฟู้ ังและผพู้ ดู ทด่ี ี - มคี วามเหน็ ใจต่อผอู้ ่นื ทป่ี ระสบปัญหาความเดอื ดรอ้ น - ใหค้ วามเคารพและใหเ้ กยี รตกิ บั ทกุ บุคคล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook