Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

ep8

Published by วรัญญา แก้วล่องลอย, 2020-06-22 04:48:40

Description: ep8

Search

Read the Text Version

คำนำ บทเรียนการ์ตูนชุด Makin in Cyber เล่มท่ี 8 เรื่องจดหมายลูกโซ่ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 เล่มน้ี จัดทำขึ้นตาม มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) บทเรียนการ์ตูนเล่มน้ี ประกอบด้วย คำช้ีแจงสำหรับครู คำชี้แจงสำหรับนักเรียน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา แบบฝึกหัดและเฉลย โดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย เหมาะกับวัยของผู้อ่าน นำเสนอความรู้ผ่าน ตัวการ์ตูนท่ีมีสีสันสวยงาม น่าสนใจ ทำให้ผู้อ่านสามารถเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาได้ในเวลาอันรวดเร็วและประสบผลสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์ทีต่ ้งั ไว้

1 คำชแ้ี จงการใชบ้ ทเรยี นการ์ตนู สำหรบั ครูผสู้ อน 1. ศกึ ษาเน้ือหา แผนการจัดการเรยี นรู้ให้เข้าใจและเตรียมส่อื ให้พรอ้ มก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2. ครคู วรแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้และบทบาทของนักเรยี น ให้นกั เรยี นทราบทกุ ครั้งกอ่ นการทำกจิ กรรม 3. ครูควรดำเนินการสอนตามแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ีก่ ำหนดไว้ 4. ครูเปน็ ผ้ใู หค้ ำแนะนำและเป็นที่ปรึกษาของนักเรียน ขณะท่ีนกั เรยี นมีขอ้ สงสยั หรือทำแบบฝึกหดั ทกุ ครั้ง 5. เก็บข้อมูลผลงานของนกั เรียน เพ่อื สังเกตการณพ์ ฒั นาและความก้าวหน้า บทบาทของผเู้ รยี น 1. อ่านคำชี้แจง กอ่ นใชบ้ ทเรยี นการต์ ูนใหเ้ ขา้ ใจ 2. ศึกษาบทเรียนการ์ตูนด้วยความตัง้ ใจ และมสี มาธิ 3. ปฏิบัติกจิ กรรมท่ีกำหนด ให้เสรจ็ ทนั เวลา 4. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมด้วยความซือ่ สัตยต์ ลอดเวลา

2 มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจ และใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาทพ่ี บในชีวติ จริงอยา่ งเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เทา่ ทนั และมีจรยิ ธรรม ตัวชว้ี ดั ม.2/3 อภปิ รายองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร เพ่อื ประยุกตใ์ ชง้ าน หรือแก้ปญั หาเบอ้ื งต้น จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ บอกมารยาทและขอ้ ปฏิบตั ิในการใชง้ านอนิ เตอร์เน็ตได้ บอกลกั ษณะการใชง้ านอินเตอร์เนต็ ทปี่ ลอดภยั ได้

3 สวัสดคี รบั พี่ๆชาวม.2 ทกุ คน ผมชอ่ื “มาคนิ ” ครับ ผมมีชอ่ื เขียนเปน็ ภาษาอังกฤษ ว่า Makin ซง่ึ มาจากคำศัพทภ์ าษาองั กฤษตอ่ ไปน้ี ครบั M มาจากคำว่า Mature หมายถึง เปน็ ผใู้ หญ่ A มาจากคำว่า Attractive หมายถึง มเี สน่ห์ K มาจากคำว่า Keen หมายถงึ กระตือรอื ร้น I มาจากคำว่า Intelligent หมายถงึ ฉลาด N มาจากคำว่า Nice หมายถึง ดี บุคลิกต่างๆในช่ือของผม เป็นสิ่งท่ีมุ่งหวังให้เกิดกับพี่ๆทุกคน โดยเฉพาะในการใช้งานอินเตอร์เน็ตครับ คือ มีความฉลาดในการเลือกใช้งานอินเตอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์สูงสุด กระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆอยู่เสมอ มีความเป็นผู้ใหญ่ในการคิด ตัดสินใจกับข้อมูลข่าวสารท่ีได้รับและมีเสน่ห์ นอบน้อมในการติดต่อส่ือสารผ่าน อนิ เตอรเ์ น็ต โดยยึดความดี มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการใช้งานอนิ เตอรเ์ น็ตอย่างสร้างสรรค์

4 แมค่ รบั ... ชว่ ยแปลใหม้ าคินหนอ่ ย

5 มาคนิ อ่านผดิ หรอื เขาเขยี นผดิ ครับ เขยี นผิดค่ะ เปน็ ภาษาที่ใช้สนทนากนั ในอินเตอร์เน็ต ส่วนมากการสนทนาบนอนิ เตอรเ์ น็ตจะใชก้ ารสะกด แบบย่อ ทำให้ภาษาทเี่ ขียนออกมาไม่ถูกตอ้ ง แล้วแบบน้ี คนทีเ่ ขาคุยด้วย เขาจะเขา้ ใจหรอื ครบั

6 คนส่วนมากกเ็ ขา้ ใจนะคะ แต่ก็มีผลเสีย เพราะถา้ เราใช้คำที่ สะกดผดิ บอ่ ยๆ ต่อไปเราจะลืมตัว บางคนพดู คำหยาบด้วยครบั เป็นตวั อย่างท่ีไม่ดีนะคะ การใชอ้ ินเตอรเ์ น็ต เราตอ้ งมมี ารยาท ในการใช้

7 เราต้องใชภ้ าษาทีถ่ กู ต้องและเหมาะสม กับกาลเทศะ ครบั และท่สี ำคัญ ตอ้ งใชค้ ำสุภาพดว้ ยนะคะ ครับ...มาคินเคยเหน็ รุ่นพี่ที่โรงเรยี น ทะเลาะกัน เพราะพดู หยอกล้อกนั ใน Facebook

8 ทุกวันนี้ มคี ดคี วามท่เี กดิ ข้ึนจากการใชง้ าน อนิ เตอรเ์ นต็ แทบทกุ วนั เลย เพราะทุกคนไมป่ ฏบิ ัติตามมารยาทท่ี ควรปฏิบัติ...ใชไ่ หมครบั ใช่ค่ะ เราตอ้ งเคารพในสิทธ์ิ และขอ้ มลู ส่วนบคุ คลของผอู้ ืน่ ไม่แอบอ่านหรอื แอบดูอีเมล ของผูอ้ นื่

ไมม่ องจอภาพขณะทผ่ี ูอ้ ่ืน 9 ใช้งานอนิ เตอรเ์ น็ต และที่สำคญั มาก กค็ อื การไม่เผยแพรข่ อ้ มูล สว่ นตวั ของผอู้ ่นื ไม่ควรแอบถา่ ยภาพคนอื่น แล้วเอามาโพสต์บนอินเตอร์เน็ต...ใช่ไหมครับ ใชค่ ะ่ นอกจากจะไมม่ ีมารยาทแล้ว ถ้าเจา้ ตัวไมย่ นิ ยอมจะผิด พรบ.คอมพิวเตอร์ด้วยนะคะ

ถ้ามาคินใช้รปู เราตอ้ งตรวจสอบสทิ ธิ์ 10 ทำรายงานสง่ คณุ ครู ของการนำขอ้ มลู มาใช้ จะผดิ ไหมครับ กอ่ นนะคะ เช่น สามารถนำมาใชไ้ ด้ หรอื สามารถนำมาใช้ได้ แต่ต้องอ้างอิงแหล่งทมี่ า แตห่ ้ามนำไปเผยแพร่ หรือทำเพื่อการค้า

การใช้อินเตอร์เนต็ มีข้อควรระวงั 11 หลายอยา่ งเลยนะครับ ใช่ค่ะ เพราะมขี อ้ กฎหมายกำหนด เพอ่ื ให้เราใช้งานอย่างเกิดประโยชน์ และสรา้ งสรรค์ ถา้ ใชง้ านที่โรงเรียน และทีบ่ า้ น กต็ ้องปฏิบัติตาม มาคินก็ตอ้ งปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง ขอ้ ตกลงทพ่ี ่อกบั แม่กำหนด ที่โรงเรยี นกำหนด ดว้ ยนะคะ

มาคนิ เคยดขู ่าว...มีคนถกู หลอกหรอื ถกู ทำร้าย 12 จากการใช้งานอินเตอรเ์ นต็ ดว้ ยครับ การใช้งานอนิ เตอร์เน็ต ส่งผลดีกับเราหลายอย่าง แต่ถา้ เราไม่ระวงั กอ็ าจจะเป็นภัยกบั ตัวเราได้นะคะ เราตอ้ งระวังยงั ไงบา้ งครับ เราตอ้ งไม่เปิดเผยขอ้ มลู สว่ นตวั ของ ตนเองและครอบครัว เช่น ท่ีอยู่ เบอร์โทรศพั ท์ หมายเลขบัตรเครตดิ ให้ผอู้ นื่ ทราบ โดยเฉพาะทาง Facebook

ถา้ เราเหน็ ขอ้ ความหรอื 13 รูปภาพที่ไมเ่ หมาะสมละครบั ต้องแจ้งครูหรือ ผปู้ กครองนะคะ เราตอ้ งไม่กดไลค์ กดแชร์ หรอื แสดง ความคิดเห็นกบั ขอ้ ความหรอื รูปภาพ ท่ไี มเ่ หมาะสม

14 อยา่ ไว้ใจคนแปลกหน้า ถ้าเราไดร้ ับจดหมายลูกโซ่ เมอื่ ขอนดั พบหรือขอให้ หรือขอ้ ความทสี่ ง่ ต่อกนั เราตอ้ งทำยงั ไงครบั โอนเงินไปให้ ไมเ่ ปดิ อเี มลหรอื เพราะบางทอี าจจะเป็นไวรสั รบั ไฟล์จากคนท่ีเรา ทำใหเ้ กดิ ความเสียหายกบั ไมร่ จู้ ักและไมส่ ่งตอ่ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์เราด้วยนะ ขอ้ มลู น้นั ให้ผู้อ่ืนดว้ ยคะ่

15 ครบั ! ต่อไปถ้าเจอจดหมายลูกโซ่ นอกจากจะไม่เปิดหรอื รับ มาคินจะลบท้งิ เลยครบั ไฟล์จากคนอืน่ โดยไม่ ตรวจสอบแล้ว เครอ่ื งคอมพิวเตอร์เราจะต้อง ตดิ ตั้งโปรแกรมปอ้ งกันไวรัส ดว้ ยนะคะ

มีค่ะ ...เราตอ้ ง 16 ตรวจสอบใหด้ ีก่อน การซ้ือของแบบทพี่ ่อเคยทำ และเลอื กซ้ือจากผู้ขาย มีโอกาสโดนหลอกไหมครบั ทน่ี า่ ไวใ้ จ หลกี เลีย่ งการซือ้ ใน Facebook ใหเ้ ราซอื้ ในเว็บไซต์ที่ให้บริการ ซื้อ-ขายสินคา้ ออนไลนด์ กี วา่ คะ่

การธรุ กรรมบนอินเตอร์เนต็ 17 ที่ต้องใชข้ อ้ มลู ส่วนตัว กต็ ้องระมัดระวงั นะคะ เพราะอาจโดนหลอก หรอื ถกู โจรกรรมข้อมูล

18 บัญญตั ิ 10 ประการ ของการใชอ้ ินเตอรเ์ น็ต 1. ตอ้ งไมใ่ ชค้ อมพิวเตอรท์ ำร้าย หรือละเมดิ ผ้อู ่ืน 2. ต้องไมร่ บกวนการทำงานของผ้อู ่นื 3. ตอ้ งไม่สอดแนม แกไ้ ข หรอื เปดิ ดแู ฟม้ ข้อมูลของผ้อู ื่น 4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอรเ์ พ่อื การโจรกรรมขอ้ มลู ข่าวสาร 5. ต้องไม่ใชค้ อมพวิ เตอร์สร้างหลกั ฐานทเ่ี ปน็ เทจ็ 6. ตอ้ งไมค่ ัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นทม่ี ลี ิขสิทธิ์ 7. ต้องไม่ละเมดิ การใชท้ รัพยากรคอมพิวเตอร์โดยทีต่ นเองไม่มีสิทธิ์ 8. ต้องไมน่ ำเอาผลงานของผอู้ ืน่ มาเปน็ ของตน 9. ตอ้ งคำนึงถึงสง่ิ ท่ีจะเกดิ ขน้ึ กบั สังคมทเ่ี กิดจากการกระทำของท่าน 10. ตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บกติกาและมีมารยาท

19 มาคินเขา้ ใจแล้วครบั ต่อไปมาคนิ จะใช้ อินเตอรเ์ นต็ อย่างมมี ารยาทและป้องกันภัย ทีอ่ าจจะเกดิ กับตวั เองและ เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ี่ใชด้ ว้ ยครับ

20 เกง่ มากครับ ไดเ้ วลาอาบนำ้ ทำการบ้านแล้วคะ่ หลงั จากทำการบา้ นเสรจ็ จะอนญุ าตให้ เล่นอินเตอร์เนต็ เปน็ เวลา 30 นาที นะคะ

21 แบบฝกึ หดั ตอนที่ 1 ใหน้ กั เรียนพจิ ารณาข้อความต่อไปนีว้ า่ ถกู หรือผิด ถ้าถูก ใหก้ าเคร่อื งหมาย  ถา้ ผิด ใหก้ าเครื่องหมาย × ลงใน ชอ่ งว่าง ______1. เราควรตดิ ต้งั และใช้โปรแกรมตรวจสอบเวบ็ ไซตท์ ี่น่าสงสัย ______2. การดาวนโ์ หลดขอ้ มลู ควรเลือกเว็บไซตท์ มี ไี ฟลใ์ ห้ดาวน์โหลดจำนวนมาก ______3. การใชง้ านอนิ เตอรเ์ น็ตเราควรเปดิ เผยข้อมูลส่วนตวั เพอื่ แสดงความจริงใจ ______4. การนำรูปภาพหรอื ขอ้ ความของผ้อู ่ืนมาทำรายงาน ควรอา้ งอิงแหล่งทีม่ าทกุ ครง้ั ______5. อนิ เตอร์เน็ตทำให้เกดิ ช่องวา่ งระหวา่ งคนในสงั คม ______6. การสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ต ควรใช้คำยอ่ ๆ เพอื่ กระชับเวลา ______7. เราสามารถโพสภาพสว่ นตัวบนเครือขา่ ยอนิ เตอร์เนต็ ไดท้ กุ ชนดิ ______8. การสนทนาผา่ นเครอื ข่ายอินเตอร์เนต็ จะต้องใชค้ ำสุภาพ และรจู้ กั กาลเทศะ ______9. ไมน่ ำภาพของผอู้ ่ืนไปเผยแพร่โดยไม่ได้รับอนญุ าต _____ 10. เราสามารถกดแชร์เร่ืองราวต่างๆใน Facebook ไดโ้ ดยไม่ผดิ เพราะเปน็ พ้ืนทสี่ ว่ นตวั ของเรา

22 เฉลยแบบฝกึ หัด ตอนที่ 1 ใหน้ กั เรียนพจิ ารณาข้อความต่อไปนวี้ ่าถกู หรือผดิ ถา้ ถูก ใหก้ าเครื่องหมาย  ถ้าผดิ ใหก้ าเครื่องหมาย × ลงใน ชอ่ งว่าง __1. เราควรตดิ ตง้ั และใช้โปรแกรมตรวจสอบเว็บไซตท์ น่ี า่ สงสยั ___×_2. การดาวนโ์ หลดขอ้ มูล ควรเลอื กเวบ็ ไซตท์ มี ีไฟลใ์ หด้ าวน์โหลดจำนวนมาก ___×_3. การใช้งานอนิ เตอร์เนต็ เราควรเปดิ เผยข้อมลู ส่วนตวั เพอ่ื แสดงความจรงิ ใจ __4. การนำรูปภาพหรอื ขอ้ ความของผู้อืน่ มาทำรายงาน ควรอ้างอิงแหล่งที่มาทกุ ครงั้ __5. อนิ เตอรเ์ น็ตทำให้เกดิ ชอ่ งว่างระหว่างคนในสังคม ___×_6. การสนทนาผ่านอนิ เตอร์เนต็ ควรใช้คำยอ่ ๆ เพื่อกระชับเวลา ___×_7. เราสามารถโพสภาพส่วนตวั บนเครอื ข่ายอินเตอร์เนต็ ไดท้ ุกชนดิ __8. การสนทนาผ่านเครือข่ายอนิ เตอร์เน็ตจะต้องใช้คำสุภาพ และรูจ้ ักกาลเทศะ __9. ไมน่ ำภาพของผู้อน่ื ไปเผยแพรโ่ ดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต ___× 10. เราสามารถกดแชร์เรอ่ื งราวตา่ งๆใน Facebook ไดโ้ ดยไม่ผดิ เพราะเป็นพนื้ ท่ีสว่ นตัวของเรา

23 บรรณานกุ รม จินตนา ใบการซูยี .(2548) . แนวการจัดทำหนังสือสำหรบั เดก็ . กรงุ เทพฯ : สวุ ริ ิยาสาสน.์ วเิ ชียร พมุ่ พวง (2556).หนังสอื เรียนรายวิชาพน้ื ฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ 2. กรุงเทพฯ : เอมพันธ.์ สถาบันพัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.). (2557). เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2. กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพบ์ ริษัทพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จำกัด. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2556). หนงั สือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพราว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2556). หนังสือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). ตัวชว้ี ัดและสาระแกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. อารียา ศรีประเสริฐ,สายสุนยี ์ เจริญสขุ และสปุ ราณี วงษ์แสงจนั ทร์ .(2551).เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ม.2. กรุงเทพฯ: อกั ษรเจรญิ ทศั น์.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook