Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน ม.3 T1 64

แผน ม.3 T1 64

Published by dota456258, 2021-09-22 13:41:33

Description: แผน ม.3 T1 64

Search

Read the Text Version

92 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 25 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 ศัพท์บัญญัติ ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 1 ช่ัวโมง รหัสวิชา ท 23101 รายวิชา ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย เรื่อง ศัพท์บัญญัติ 1. สาระสาคัญ ศัพท์บัญญัติ เป็ นคาท่ีสร้างข้ึนมาใหม่ให้มีความหมายตรงกับภาษาเดิม การบัญญัติศัพท์ใน ภาษาไทย จะเลือกจากคาภาษาไทยให้มีความหมายตรงกบั ภาษาเดิมก่อน ถา้ หากหาคาไทยแทไ้ ม่ได้ จะ เลือกจากคาภาษาบาลีสนั สกฤตมาแทน ถา้ ไมส่ ามารถหาไดท้ ้งั คาไทยแทแ้ ละคาภาษาบาลีสันสกฤต กใ็ ห้ใช้ คาทบั ศพั ทไ์ ปก่อนจนกวา่ จะบญั ญตั ิคาข้ึนใชแ้ ทนได้ 2. ตัวชี้วัดช้ันปี ใชค้ าทบั ศพั ทแ์ ละศพั ทบ์ ญั ญตั ิ ท 4.1 (ม.3/4) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะของศพั ทบ์ ญั ญตั ิได้ (K) 2. ยกตวั อยา่ งศพั ทบ์ ญั ญตั ิสาขาตา่ ง ๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง (K , P) 3. เลือกใชศ้ พั ทบ์ ญั ญตั ิในการสื่อสารไดถ้ ูกตอ้ ง (K , P) 4. ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยไดถ้ ูกตอ้ ง (A) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1. ประเมินทกั ษะการอา่ นสรุปความ และการยกตวั อยา่ ง รายบุคคลในดา้ นความสนใจและต้งั ใจ 2. ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม เรียน ความรับผิดชอบในการทากิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด 3. ตรวจแบบทดสอบหลัง ความมีระเบียบวินยั ในการทางาน ฯลฯ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุม่ เรียน 2. ประเมินความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่า ของภมู ิปัญญาทางภาษา 5. สาระการเรียนรู้ ศพั ทบ์ ญั ญตั ิ ศึกษาศพั ทบ์ ญั ญตั ิวชิ าวทิ ยาศาสตร์ 6. แนวทางบูรณาการ วทิ ยาศาสตร์

93 คณิตศาสตร์ ศึกษาศพั ทบ์ ญั ญตั ิวชิ าคณิตศาสตร์ สงั คมศึกษา ศึกษาศพั ทบ์ ญั ญตั ิวชิ าสงั คมศึกษา ภาษาตา่ งประเทศ ศึกษาศพั ทบ์ ญั ญตั ิวชิ าภาษาองั กฤษ ศิลปะ ศึกษาศพั ทบ์ ญั ญตั ิวิชาศิลปะ สุขศึกษา ศึกษาศพั ทบ์ ญั ญตั ิวชิ าสุขศึกษา การงานอาชีพฯ ศึกษาศพั ทบ์ ญั ญตั ิวิชาการงานอาชีพ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูติดบตั รคาบนกระดาน ใหน้ กั เรียนสงั เกตและช่วยกนั บอกวา่ คาท้งั สองคาเกี่ยวขอ้ งกนั อยา่ งไร network เครือข่ำย culture วฒั นธรรม 2. ครูอธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ คาภาษาองั กฤษบางคา เราสามารถหาคาไทยมาใชแ้ ทนได้ เรียกวา่ การบญั ญตั ิศพั ท์ ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นักเรียนศึกษาเรื่อง ศพั ท์บญั ญตั ิ ในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน หลกั การใช้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 ครูอธิบายเพ่มิ เติมประกอบการซกั ถามความเขา้ ใจ 2. ครูแจกหลกั เกณฑ์การบัญญัติศพั ท์ ให้นักเรียนทุกคนศึกษาเพ่ิมเติม แลว้ ช่วยกันสรุปเป็ น ความรู้ ครูสุ่มเรียกอธิบายใหเ้ พอ่ื นในช้นั เรียนฟัง 3. ครูยกตัวอย่างศพั ท์บัญญัติสาขาต่าง ๆ ให้นักเรียนดู แล้วสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการ เลือกใชค้ าไทยแทนการใชค้ าภาษาองั กฤษ 4. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเขา้ ห้องสมุดหรือห้องคอมพิวเตอร์ รวบรวมศพั ท์ บญั ญตั ิ สาขาวชิ าละ 10 คา เขียนอธิบายความหมาย ทาเป็นรายงานส่งครู ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเก่ียวกบั ศพั ทบ์ ญั ญตั ิ แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 2. นกั เรียนศึกษาหลกั เกณฑ์การบญั ญตั ิศัพทแ์ ละดูตวั อย่างคาศพั ท์บญั ญัติเพิ่มเติมจากเวบ็ ไซต์ ของราชบณั ฑิตยสถาน 3. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั การบญั ญตั ิศพั ทใ์ นภาษาไทยบางคาไม่เป็ นที่นิยม และอาจเลิกใชไ้ ป เป็นเพราะเหตุผลใด และจะมีแนวทางอย่างไรที่จะใหค้ นไทยหนั มาใชศ้ พั ท์ บญั ญตั ิแทนคาทบั ศพั ท์ ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนนาความรู้เกี่ยวกบั ศพั ทบ์ ญั ญตั ิไปใชใ้ นการเรียนและในชีวิตประจาวนั

94 2. นกั เรียนเลือกใชศ้ พั ทบ์ ญั ญตั ิ แทนคาทบั ศพั ทใ์ นการพดู หรือการเขยี นของตนเอง ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นกั เรียนช่วยกนั สรุปหลกั การบญั ญตั ิศพั ทใ์ นภาษาไทย บนั ทึกลงสมุด 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนรวบรวมศพั ทบ์ ญั ญตั ิวชิ าต่าง ๆ นามาจดั ป้ายนิเทศศพั ทบ์ ญั ญตั ิวนั ละคา หนา้ ช้นั เรียน 2. นกั เรียนเชิญวทิ ยากรมาใหค้ วามรู้เรื่อง ศพั ทบ์ ญั ญตั ิ 3. นกั เรียนรวบรวมศพั ทบ์ ญั ญตั ิวิชาต่าง ๆ ทาเป็นสมุดศพั ทบ์ ญั ญตั ิ 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. บตั รคา 2. หลกั เกณฑก์ ารบญั ญตั ิศพั ท์ 3. หอ้ งสมุดหรือหอ้ งคอมพวิ เตอร์ 4. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน หลกั การใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 10. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้

95 แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา 3 ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การแต่งคาประพนั ธ์ เวลา 2 ชว่ั โมง เวลา 3 ชว่ั โมง เวลา 8 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 26 ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั การแต่งคาประพนั ธ์ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 27 วธิ ีแตง่ บทร้อยกรองโดยทว่ั ๆ ไป แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 28 การแต่งโคลง

96 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 26 ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ความรู้ทัว่ ไปเก่ยี วกบั การแต่งคาประพนั ธ์ ภาคเรียนที่ 1 เวลา 3 ช่ัวโมง รหสั วชิ า ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การแต่งคาประพนั ธ์ เรื่อง ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั การแต่งคาประพนั ธ์ 1. สาระสาคญั การแต่งบทร้อยกรอง เป็ นการเขียนเชิงสรรคท์ ี่มีรูปแบบกาหนดลกั ษณะคาประพนั ธ์ชนิดน้นั การมีความรู้เก่ียวกบั ลกั ษณะบงั คบั ของบทร้อยกรองแต่ละชนิด จะช่วยให้แต่งบทร้อยกรองไดถ้ ูกตอ้ ง ตามแบบแผน และรู้จกั เลือกใชค้ าไดอ้ ยา่ งมีศิลปะ ทาใหบ้ ทร้อยกรองมีความสละสลวยมากยง่ิ ข้ึน 2. ตัวชี้วัดช้ันปี แต่งบทร้อยกรอง ท 4.1 (ม.3/6) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะทวั่ ไปของบทร้อยกรองได้ (K) 2. วเิ คราะหล์ กั ษณะทว่ั ไปของบทร้อยกรองท่ีอ่านได้ (K, P) 3. เห็นคุณค่าและความสาคญั ของภมู ิปัญญาทางภาษาได้ (A) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1. ประเมินทกั ษะการอา่ นสรุปความ แ ล ะ ก าร แ ส ด งค ว าม รายบุคคลในด้านความสนใจและ 2. ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ คิดเห็น ต้งั ใจเรียน ความรับผดิ ชอบในการทา 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคดิ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม กิจกรรม ความมีระเบียบวินัยในการ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลมุ่ 3. ตรวจแบบทดสอบก่อน ทางาน ฯลฯ เรียน 2. ประเมินความภาคภูมิใจและเห็น คณุ คา่ ของภมู ิปัญญาทางภาษา 5. สาระการเรียนรู้ ความรู้ทวั่ ไปเก่ียวกบั การแต่งคาประพนั ธ์ 6. แนวทางบูรณาการ เขยี นแผนภาพความคิดสรุปความรู้เกี่ยวกบั ลกั ษณะทวั่ ไปของ คณิตศาสตร์ บทร้อยกรอง

97 ภาษาต่างประเทศ ศึกษาเร่ืองฉนั ทลกั ษณ์ของบทร้อยกรองภาษาองั กฤษ สุขศึกษา เลน่ เกมตอบคาถาม การงานอาชีพ จดั ป้ายนิเทศ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูติดบตั รคา คาวา่ บทร้อยกรอง บนกระดาน ให้นกั เรียนช่วยกนั อธิบายความหมายของคาว่า บทร้อยกรองตามความเขา้ ใจของนกั เรียน จากน้นั ครูสรุปลกั ษณะของบทร้อยกรองใหน้ กั เรียน เขา้ ใจอีกคร้ัง 2. ครูซักถามนกั เรียนเกี่ยวกบั การแต่งคาประพนั ธ์แต่ละชนิด จะตอ้ งมีความรู้เรื่องใดบา้ ง แลว้ ครู โยงเขา้ เร่ือง ความรู้เกี่ยวกบั การแตง่ คาประพนั ธ์ ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นกั เรียนช่วยกนั อธิบายความหมายของคาว่า ฉันทลกั ษณ์ ตามความเขา้ ใจของตนเอง และฉนั ท ลกั ษณ์ของคาประพนั ธแ์ ต่ละชนิดเหมือนกนั หรือไม่ อยา่ งไร 2. แบ่งนักเรียนออกเป็ น 5 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มอ่านเรื่อง ลักษณะท่ัวไปของบทร้อยกรองใน หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน หลกั การใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 แลว้ จบั สลากเลือก ศึกษากลมุ่ ละ 1 หวั ขอ้ ดงั น้ี กลุ่มที่ 1 ศึกษาเรื่องคณะ กลมุ่ ท่ี 2 ศึกษาเร่ือง สมั ผสั กลุ่มท่ี 3 ศึกษาเร่ือง ครุ ลหุ กลุม่ ท่ี 4 ศึกษาเร่ือง คาเอก คาโท กล่มุ ที่ 5 ศึกษาเรื่อง คาเป็น คาตาย 3. ครูให้นักเรียนเขา้ ห้องสมุดหรือห้องคอมพิวเตอร์สืบคน้ ขอ้ มูลหัวขอ้ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย สรุป ความรู้ ยกตวั อยา่ งประกอบ เพื่อนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน 4. นกั เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน เพ่ือนและครูร่วมกนั ซกั ถามหลงั จากจบการ รายงานของแตล่ ะกลุ่ม ครูอธิบายเพ่มิ เติมเพือ่ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจมากยง่ิ ข้ึน 5. นกั เรียนแตล่ ะคนสรุปความรู้ท่ีไดร้ ับจากการรายงานของทกุ กลุม่ เป็นแผนภาพความคิด ส่งครู ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นักเรียนทากิจกรรมเก่ียวกับความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับการแต่งคาประพนั ธ์ แลว้ ช่วยกันเฉลย คาตอบ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มเล่นเกมถามตอบ โดยครูคิดคาถามท่ีเก่ียวกบั ลกั ษณะทวั่ ไปของบทร้อย กรอง ให้นักเรียนยกมือตอบภายในเวลาที่ครูกาหนด ถา้ ตอบถูกได้ 1 คะแนน เล่นจนหมด

98 คาถามแลว้ นับคะแนน กลุ่มท่ีไดค้ ะแนนมากท่ีสุดเป็ นผูช้ นะ กลุ่มท่ีไดค้ ะแนนน้อยที่สุดให้ ออกมาทาตามที่เพื่อนตอ้ งการหนา้ ช้นั เรียน ตวั อย่างคาถาม 1. หนอนหนูหนามแหนงหน่าย คาตอบ สมั ผสั พยญั ชนะ 2. การกาหนดจานวนคาของโคลงจะใชจ้ านวนบาท คาตอบ คณะ 3. นกั เรียนทาใบงาน เร่ือง ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั การแต่งคาประพนั ธ์ แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ นกั เรียนนาความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกบั การแตง่ คาประพนั ธไ์ ปใชใ้ นการแต่งบทร้อยกรองในโอกาส ตา่ ง ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง ข้นั ที่ 5 สรุป นกั เรียนช่วยกนั สรุปความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั การแต่งคาประพนั ธจ์ ากแผนภาพความคดิ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนท้งั ช้นั เรียนนาความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั การแต่งคาประพนั ธ์ท่ีนาเสนอหนา้ ช้นั เรียน นามา จดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน 2. นกั เรียนศึกษาเกี่ยวกบั การแต่งคาประพนั ธภ์ าษาองั กฤษวา่ มีฉันทลกั ษณ์อยา่ งไรบา้ ง สรุปและ นามาสนทนากบั เพือ่ นในช้นั เรียน 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. บตั รคา 2. หอ้ งสมุดหรือหอ้ งคอมพวิ เตอร์ 3. คาถามสาหรับเล่นเกม 4. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน หลกั การใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้

99 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 27 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 วิธีแต่งบทร้อยกรองโดยท่วั ๆ ไป ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมง รหสั วชิ า ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การแต่งคาประพนั ธ์ เรื่อง วธิ ีแต่งบทร้อยกรองโดยทั่ว ๆ ไป 1. สาระสาคญั การแต่งบทร้อยกรองท่ีดีควรปฏิบัติตามข้ันตอน เช่น ศึกษาฉันทลักษณ์ การกาหนด จุดมุ่งหมายในการแต่ง เขียนโครงร่าง ลงมือแต่ง ขดั เกลาและปรับปรุง จะช่วยให้แต่งบทร้อยกรองได้ ตรงประเดน็ และมีความคดิ สร้างสรรค์ 2. ตวั ชี้วดั ช้ันปี แตง่ บทร้อยกรอง ท 4.1 (ม.3/6) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกข้นั ตอนการแต่งบทร้อยกรองได้ (K) 2. แต่งบทร้อยกรองประเภทตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ (K , P) 3. เห็นคณุ ค่าความสาคญั ของภูมิปัญญาทางภาษาได้ (A) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A) ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1. ประเมินทกั ษะการอ่านสรุปความ และการยกตวั อยา่ ง รายบุคคลในด้านความสนใจและ 2. ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม ต้งั ใจเรียน ความรับผดิ ชอบในการทา 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด กิจกรรม ความมีระเบียบวินัยในการ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ทางาน ฯลฯ 2. ประเมินความภาคภูมิใจและเห็น คณุ ค่าของภูมิปัญญาทางภาษา 5. สาระการเรียนรู้ วธิ ีแต่งบทร้อยกรองโดยทว่ั ๆ ไป 6. แนวทางบูรณาการ เขียนแผนภาพความคิดสรุปวิธีแต่งบทร้อยกรองโดยทวั่ ๆ ไป คณิตศาสตร์ จดั ป้ายนิเทศ การงานอาชีพ ฯ

100 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูสมมุติหวั ขอ้ ในการแต่งบทร้อยกรอง เขยี นบนกระดาน แลว้ สุ่มถามนกั เรียน 2 – 3 คนวา่ ถา้ ให้นกั เรียนแต่งบทร้อยกรองในหัวขอ้ น้ี นกั เรียนจะมีข้นั ตอนในการแต่งอย่างไรบา้ ง ครูเขียน ส่ิงที่นกั เรียนบอกบนกระดาน 2. ครูสนทนากบั นกั เรียนโยงเขา้ เรื่อง วิธีแตง่ บทร้อยกรองโดยทว่ั ๆ ไป ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นกั เรียนอ่านเร่ือง วิธีแต่งบทร้อยกรองโดยทวั่ ๆ ไป จากหนงั สือเรียน หลกั การใช้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 แลว้ ครูสุ่มเรียกนกั เรียนสรุปใหเ้ พอ่ื นฟัง 2. นักเรียนเปรียบเทียบส่ิงท่ีอ่านในหนังสือเรียน กบั ส่ิงท่ีครูเขียนบนกระดานว่า เหมือนหรือ แตกตา่ งกนั อยา่ งไร จากน้นั นกั เรียนช่วยกนั สรุปข้นั ตอนการแต่งบทร้อยกรองที่ดีเป็นความคิด ของช้นั เรียนเพ่ือใชเ้ ป็ นแนวทางในการแต่งบทร้อยกรอง นักเรียนสรุปเป็ นแผนภาพความคิด ลงสมุด 3. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาจบั สลากเลือกแต่งบทร้อยกรอง ตามหวั ขอ้ ท่ีจบั สลากได้ ตามข้นั ตอนการแตง่ บทร้อยกรองท่ีดี ซ่ึงเป็นความคดิ ของนกั เรียน 4. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลงาน โดยบอกข้นั ตอนในการแต่งและอ่านบทร้อยกรองท่ีแตง่ ให้ เพอื่ นฟัง เพ่ือนและครูร่วมกนั ติชม 5. ครูและนกั เรียนช่วยกนั เลือกบทร้อยกรองท่ีแต่งไดด้ ี ติดป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผ้เู รียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมที่เก่ียวกบั วธิ ีแต่งบทร้อยกรองโดยทวั่ ๆ ไป แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 2. ครูอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกบั เทคนิคการแต่งบทร้อยกรองใหไ้ พเราะ ในเร่ืองของการเลือกใชค้ า การสื่อความ และความคดิ สร้างสรรค์ โดยยกตวั อยา่ งใหน้ กั เรียนเห็นไดช้ ดั เจน 3. นกั เรียนจบั คกู่ บั เพื่อนแต่งบทร้อยกรองท่ีตนถนดั คนละ 1 เรื่อง จานวนไม่นอ้ ยกวา่ 2 บท แลว้ ผลดั กนั ขดั เกลาและปรับปรุงใหส้ ละสลวย เสร็จแลว้ ส่งครู ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ 1. นักเรียนนาความรู้เก่ียวกับวิธีแต่งบทร้อยกรองโดยท่ัว ๆ ไป ไปใช้ในการเรียนและใน ชีวิตประจาวนั 2. นกั เรียนนาเทคนิคการแต่งบทร้อยกรองใหไ้ พเราะไปใชใ้ นงานเขยี นของตนเอง ข้นั ที่ 5 สรุป นกั เรียนช่วยกนั สรุปวธิ ีแต่งบทร้อยกรองโดยทวั่ ๆ ไป จากแผนภาพความคิด

101 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนรวบรวมบทร้อยกรองที่มีการแต่งไดไ้ พเราะ เช่น มีการเล่นคา การใชโ้ วหารภาพพจน์ ทาเป็นสมุดเทคนิคการแต่งบทร้อยกรอง เพ่อื ใชป้ ระกอบการศึกษาคน้ ควา้ 2. นกั เรียนฝึ กแต่งบทร้อยกรอง แลว้ นาผลงานมาแลกเปลี่ยนกนั วจิ ารณ์กบั เพ่ือนในกลุ่ม เพื่อน ๆ ช่วยกนั เลือกผลงานที่ไพเราะ มาติดหนา้ ช้นั เรียนหรือลงในวารสารของโรงเรียน 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. สลาก 2. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน หลกั การใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 10. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้

102 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 28 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 การแต่งโคลง ภาคเรียนที่ 1 เวลา 3 ชั่วโมง รหัสวิชา ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การแต่งคาประพนั ธ์ เรื่อง การแต่งโคลง 1. สาระสาคญั การแต่งโคลงสุภาพตอ้ งรู้ลกั ษณะบงั คบั ท้งั คาเอกคาโท การสัมผสั เสียงวรรณยุกต์ คาสร้อย จะทาให้เขา้ ใจและแต่งโคลงไดถ้ ูกตอ้ ง โคลงสุภาพมีหลายชนิด เช่น โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงสี่สุภาพ และท่ีคนุ้ เคยมากที่สุดกค็ ือ โคลงส่ีสุภาพ 2. ตัวชี้วัดช้ันปี แตง่ บทร้อยกรอง ท 4.1 ( ม.3/6) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะของโคลงสุภาพได้ (K) 2. แต่งโคลงสุภาพแตล่ ะชนิดไดถ้ ูกตอ้ งตามฉนั ทลกั ษณ์และมีเน้ือความท่ีสร้างสรรค์ (K , P) 3. เห็นคณุ คา่ และความสาคญั ของภมู ิปัญญาทางภาษาได้ (A) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ ม (A) ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็น 1. ประเมินทกั ษะการแต่งบทร้อยกรอง และการยกตวั อยา่ ง รายบุคคลในด้านความสนใจและต้ังใจ 2. ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม เรียน ความรับผิดชอบในการทากิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคดิ 3. แบบทดสอบหลงั เรียน ความมีระเบียบวนิ ยั ในการทางาน ฯลฯ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุม่ 2. ประเมินความภาคภูมิใจและเห็น คณุ คา่ ของภูมิปัญญาทางภาษา 3. ประเมินมารยาทในการเขยี น และ นิสัยรักการเขยี น 5. สาระการเรียนรู้ การแต่งโคลง 6. แนวทางบูรณาการ การเขียนแผนภาพความคดิ สรุปลกั ษณะของโคลงสุภาพ คณิตศาสตร์

103 สุขศึกษา เล่นเกมต่อจิ๊กซอร์โคลงสุภาพ 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูเขียนคาวา่ โคลงสุภาพ บนกระดาน ให้นักเรียนช่วยกนั อธิบายความหมายตามความเขา้ ใจ แลว้ ช่วยกนั บอกชนิดของโคลงสุภาพที่นกั เรียนรู้จกั 2. ครูให้นกั เรียนท่องโคลงสุภาพที่จาได้ 1 บท ครูเขียนบนกระดาน แลว้ พูดโยงเขา้ เร่ืองการแต่ง โคลง ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสนทนากบั นกั เรียนเกี่ยวกบั การแตง่ โคลงสุภาพวา่ ตอ้ งมีความรู้เร่ืองใดบา้ ง 2. นักเรียนอ่านลักษณะเฉพาะของโคลงสุภาพในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน หลักการใช้ ภาษาไทยช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 แลว้ ครูเรียกนกั เรียน 3 คน ให้สรุปใหเ้ พื่อนฟังคนละ 1 หัวขอ้ ดงั น้ี คนที่ 1 สรุปเรื่อง การใชค้ าเอก คาโท และคาสุภาพ คนที่ 2 สรุปเร่ือง การสัมผสั คนท่ี 3 สรุปเรื่อง เสียงวรรณยกุ ตแ์ ละคาสร้อย 3. ครูอธิบายเพ่ิมเติมพร้อมยกตวั อย่างประกอบการอธิบายหลงั จากนักเรียนอธิบายจบแต่ละ หวั ขอ้ 4. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม ใหแ้ ต่ละกลมุ่ เล่นเกมต่อจิ๊กซอร์โคลงสุภาพ โดยครูทาจ๊ิกซอร์โคลง สองสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงส่ีสุภาพ (ทาขอ้ มูลเป็ น คณะ พยางค์และคา คาเอก คาโท สัมผสั แผนผงั ) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มต่อฉันทลกั ษณ์โคลงสุภาพแต่ละชนิดให้ถูกตอ้ ง เม่ือ เสร็จแลว้ ใหค้ รูตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 5. ครูอธิบายฉันทลักษณ์ของโคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงสี่สุภาพให้นักเรียนฟัง พร้อมยกตวั อยา่ งและซกั ถามนกั เรียนเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจ 6. ครูติดแผนผงั โคลงสี่สุภาพบนกระดาน ให้นักเรียนช่วยกันแต่งโคลงสี่สุภาพในหัวขอ้ ที่ครู กาหนด ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกบั เทคนิคการแตง่ โคลงสี่สุภาพ ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเกี่ยวกบั การแต่งโคลง แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 2. นกั เรียนรวบรวมตวั อยา่ งโคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงสี่สุภาพ บทท่ีประทบั ใจจาก วรรณคดีเรื่องต่าง ๆ อยา่ งละไมน่ อ้ ยกวา่ 10 บท ทาเป็นรายงานส่งครู 3. นกั เรียนแต่งโคลงส่ีสุภาพในโอกาสสาคญั เช่น วนั สุนทรภู่ วนั เฉลิมพระชนมพรรษา ประกวด กนั ในช้นั เรียน ข้นั ที่ 4 นาไปใช้

104 1. นกั เรียนนาความรู้เกี่ยวกบั หลกั การแต่งโคลงสุภาพไปใชใ้ นการเรียนและในชีวติ ประจาวนั 2. นกั เรียนแตง่ โคลงสุภาพในโอกาสตา่ ง ๆ ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นกั เรียนช่วยกนั สรุปลกั ษณะของโคลงสุภาพ เป็นแผนภาพความคิด แลว้ บนั ทึกลงในสมุด 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนแต่งโคลงสี่สุภาพประกวดในระดบั ช้นั เรียน 2. นักเรียนแต่งโคลงส่ีสุภาพ แลว้ นามาร่วมกนั อภิปรายกบั เพื่อนในช้นั เรียน ถา้ เรื่องใดแต่งไดด้ ี อาจนาไปลงในวารสารของโรงเรียน หรือส่งไปลงวารสารหรือนิตยสารต่าง ๆ 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. จิ๊กซอร์โคลงส่ีสุภาพ 2. แผนผงั โคลงสี่สุภาพ 3. แบบทดสอบหลงั เรียน 4. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน หลกั การใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 10. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้

105 แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา 2 ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 พระบรมราโชวาท เวลา 1 ชวั่ โมง เวลา 1 ชว่ั โมง เวลา 8 ช่ัวโมง เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 29 การอ่านพระบรมราโชวาท เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 30 การเขยี นแสดงความคดิ เห็น แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 31 การเขียนยอ่ ความ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 32 การรายงานผลการศึกษาคน้ ควา้ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 33 การอ่านและพจิ ารณาคณุ ค่าร้อยแกว้

106 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 29 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 การอ่านพระบรมราโชวาท ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ช่ัวโมง รหสั วิชา ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การแต่งคาประพนั ธ์ เรื่อง การอ่านพระบรมราโชวาท 1. สาระสาคญั พระบรมราโชวาท เป็ นโอวาทหรือคาสอนของพระเจา้ แผ่นดินท่ีตรัสสอนแก่บุคคลหรือกลุ่ม คนในบทเรียนน้ี เป็ นพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ทรงพระราช นิพนธ์เม่ือ พ.ศ. 2428 เพ่ือพระราชทานแก่พระเจา้ ลูกยาเธอ 4 พระองค์ คือ กรมพระจนั ทบุรีนฤนาถ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ กรมหลวงปราจิณกิติบดี และกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช เนื่องในโอกาส ท่ีท้งั 4 พระองคจ์ ะเสด็จไปทรงศึกษาวชิ าการ ณ ประเทศยโุ รปคร้ังยงั ทรงพระเยาว์ 2. ตวั ชีว้ ดั ช้ันปี 1. ระบุใจความสาคญั และรายละเอียดของขอ้ มูลที่สนบั สนุนจากเร่ืองท่ีอ่าน ท 1.1 (ม.3/3) 2. วิเคราะห์เพอ่ื แสดงความคดิ เห็นโตแ้ ยง้ เก่ียวกบั เรื่องท่ีอ่าน ท 1.1 (ม.3/8) 3. สรุปเน้ือหาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถ่ินในระดบั ที่ยากยงิ่ ข้นึ ท 5.1 (ม.3/1) 4. สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอ่านเพ่อื นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง ท 5.1 (ม.3/3) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สรุปใจความสาคญั วิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เรื่องท่ีอ่านได้ (K , P) 2. อ่านออกเสียงร้อยแกว้ โดยใชน้ ้าเสียงเหมาะสมกบั เน้ือความ (K , P) 3. พดู หรือเขยี นแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั เร่ืองท่ีอ่าน ฟัง หรือดูไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล (K , P) 4. บอกคุณค่าและขอ้ คิดจากเร่ืองที่อา่ นและแนวทางการนาไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนไ์ ด้ (K , P) 5. เห็นคุณค่าและซาบซ้ึงในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไทย (A)

107 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็น 1. ประเมินทกั ษะการอ่านสรุปความ แ ล ะก ารแ ส ด งค วาม รายบุคคลในด้านความสนใจและ 2. ประเมินทกั ษะการอา่ นออกเสียงร้อยแกว้ คิดเห็น ต้งั ใจเรียน ความรับผิดชอบในการ 3. ประเมินทกั ษะการเขียนแผนภาพความคิด 2. ตรวจผลการทากิจกรรม ทากิจกรรม ความมีระเบียบวินัยใน 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด 3. ตรวจแบบทดสอบก่อน การทางาน ฯลฯ 5. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลมุ่ เรียน 2. ประเมินมารยาทในการอ่านและนิสัย รักการอ่าน 5. สาระการเรียนรู้ 1. นาเรื่อง 2. พระบรมราโชวาท 6. แนวทางบูรณาการ เขียนแผนภาพความคิดสรุปใจความสาคญั เรื่อง พระบรมราโชวาท คณิตศาสตร์  ศึกษาพระราชกรณียกิจของรัชกาลท่ี 5 ดา้ นการศึกษา/ศึกษาค่านิยม สังคมศึกษาฯ  ในสมยั รัชกาลที่ 5 จดั ป้ายนิเทศ ศิลปะ  เล่นเกมคาถามน้ีมีคาตอบ สุขศึกษาฯ  ทาสมุดรวบรวมพระบรมราโชวาทรัชกาลท่ี 5 การงานอาชีพฯ  7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน ชั่วโมงท่ี 1 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ครูนาตวั อยา่ งพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร หรือพระบรมราโชวาทของรัชกาลที่ 5 มาให้นักเรียนอ่าน แลว้ ร่วมสนทนาเก่ียวกบั ลกั ษณะของพระบรมราโชวาท และโอกาสที่พระราชทาน ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสนทนากบั นกั เรียนเก่ียวกบั พระบรมราโชวาทของรัชกาลท่ี 5 ใหน้ กั เรียนช่วยกนั คาดคะเน ว่าน่าจะเกี่ยวกับเรื่องอะไร แล้วให้นักเรียนอ่านนาเรื่องในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 แลว้ ช่วยกนั สรุปวา่ พระราชทานแก่ใคร ในโอกาสใด

108 2. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละคนอ่านในใจเร่ือง พระบรมราโชวาท ในหนังสือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 แลว้ ร่วมตอบคาถามตามแนวคาถามต่อไปน้ี 1) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวพระราชทานพระบรมราโชวาทน้ีแก่ใคร เนื่อง ในโอกาสใด 2) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวมีพระราชประสงค์อย่างใด จึงโปรดเกลา้ ฯ ให้ พระเจา้ ลูกยาเธอท้งั 4 พระองค์ เสดจ็ ไปทรงศึกษาวิชาการ ณ ต่างประเทศ 3) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวมีพระราชปรารภว่า ผูท้ ่ีเป็ นลูกพระเจา้ แผ่นดิน จะตอ้ งมีความประพฤติอยา่ งไร 4) พระบรมราโชวาทมีใจความสาคญั อยา่ งไรบา้ ง จงอธิบาย 5) เพราะเหตุใดพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวจึงมีกระแสพระราชดารัสให้พระ ราชโอรสเขียนหนงั สือถึงพระองค์ 2 ฉบบั ฉบบั หน่ึงเป็นภาษาต่างประเทศ อีกฉบบั แปลเป็ น ภาษาไทย 6) พระบรมราโชวาทที่นามาใหอ้ ่านมีคุณค่าอยา่ งไร 3. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน ครูสรุปเพมิ่ เติม นกั เรียนบนั ทึกลงสมุด 4. ครูให้ความรู้เสริมนกั เรียนวา่ จากการเกบ็ สถิติจานวนประชากรสิงคโปร์ท่ีรู้หนงั สือในปัจจุบนั พบว่า คนท่ีมีอายุ 15 ปี ข้ึนไป จานวนร้อยละ 96.1 เป็ นผูอ้ ่านออกเขียนได้ ซ่ึงเป็ นไปตาม ประสิทธิภาพของระบบการศึกษาที่ข้นึ ชื่อวา่ ดีท่ีสุดในโลกประเทศหน่ึง ช่ัวโมงท่ี 2 1. ครูใหน้ กั เรียนร่วมกนั สรุปพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ท้งั 7 ขอ้ วา่ แตล่ ะขอ้ มีเน้ือหาเกี่ยวกบั อะไร เพอ่ื เป็นการทบทวน 2. แบ่งนกั เรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเล่นเกมคาถามน้ีมีคาตอบ โดยครูติดแผ่นป้ายคาถาม จากเร่ือง พระบรมราโชวาท บนกระดาน และวงเล็บจานวนคะแนนไวท้ า้ ยคาถามของแต่ละ ขอ้ ซ่ึงแต่ละขอ้ จะมีคะแนนไม่เท่ากนั ข้ึนอยกู่ บั ความยากง่ายของคาถาม จากน้ันให้นกั เรียน แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาหยบิ ไมส้ ้ันไมย้ าว กลุ่มท่ีหยิบไดไ้ มย้ าวที่สุดในรอบน้นั จะมีสิทธ์ิ ไดเ้ ลือกคาถามและสามารถเลือกขอ้ ท่ีมนั่ ใจวา่ จะตอบได้ โดยตอ้ งคานึงถึงคะแนนท่ีจะไดร้ ับ หากตอบถูกต้อง หากตอบไม่ถูกต้องจะถูกปรับแพ้ เล่นทีละขอ้ จนหมดคาถาม กลุ่มท่ีได้ คะแนนสูงสุดเป็นผชู้ นะ 3. นกั เรียนแต่ละคนในกลุ่มฝึ กอ่านออกเสียงเรื่อง พระบรมราโชวาท คนละ 1 หัวขอ้ ฝึ กอ่านให้ เพื่อนในกลุ่มฟัง โดยใชน้ ้าเสียง อารมณ์ความรู้สึกตามเน้ือความจนคล่อง แลว้ อ่านกบั ครูเป็ น รายบุคคล เพ่ือประเมินการอ่านออกเสียงร้อยแกว้ ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเกี่ยวกบั เน้ือเรื่อง พระบรมราโชวาท แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ

109 2. นกั เรียนอ่านเร่ือง พระบรมราโชวาท แลว้ ช่วยกนั สรุปใจความสาคญั ของพระบรมราโชวาท แตล่ ะขอ้ เขียนเป็นแผนภาพความคดิ ส่งครู 3. นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกบั การศึกษาในสมยั รัชกาลท่ี 5 การนิยมส่งบุตรหลานไปศึกษา ต่างประเทศ และทนุ การศึกษาในสมยั รัชกาลที่ 5 แลว้ นามาอภิปรายกนั ในช้นั เรียน 4. นกั เรียนทาใบงาน เรื่อง คาสอนของพ่อ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนนาความรู้และขอ้ คิดจากเร่ือง พระบรมราโชวาท ไปเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิตน 2. นกั เรียนนาความรู้ไปใชใ้ นการเรียนและในการดาเนินชีวิตประจาวนั ข้นั ที่ 5 สรุป 1. นกั เรียนร่วมกนั สรุปสาระสาคญั และขอ้ คิดจากเร่ือง พระบรมราโชวาท แลว้ บนั ทึกลงสมดุ 2. ครูให้นักเรียนอ่านทบทวนเรื่อง พระบรมราโชวาท แลว้ แสดงความคิดเห็นในประเด็นท่ีว่า เป็นพระบรมราโชวาทที่ควรอ่านเพราะเหตุใด และคาสอนนาไปใชก้ บั ยคุ ปัจจุบนั ไดห้ รือไม่ อยา่ งไร เป็นการบา้ นเพ่อื เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนจดั ป้ายนิเทศแสดงพระปรีชาสามารถทางดา้ นการศึกษาของรัชกาลที่ 5 เพ่ือเผยแพร่ ความรู้ 2. นกั เรียนรวบรวมพระบรมราโชวาทของรัชกาลท่ี 5 ที่พระราชทานในโอกาสต่าง ๆ แลว้ สรุป ขอ้ คิดคาสอนท่ีไดจ้ ากพระบรมราโชวาทองค์น้ัน ๆ ทาเป็ นสมุดรวบรวมพระบรมราโชวาท รัชกาลท่ี 5 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. ตวั อยา่ งพระบรมราโชวาท 3. แผน่ ป้ายคาถาม 4. ไมส้ ้นั และไมย้ าว 5. แบบประเมินการอ่านออกเสียงร้อยแกว้ 6. ใบงาน เร่ือง คาสอนของพอ่ 7. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 8. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 9. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 10. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้

110 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 30 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 การเขียนแสดงความคดิ เห็น ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 1 ช่ัวโมง รหัสวชิ า ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การแต่งคาประพนั ธ์ เร่ือง การเขียนแสดงความคิดเห็น 1. สาระสาคัญ การแสดงความคิดเห็นจากเร่ืองท่ีอ่าน เป็ นการฝึ กคิดระดมสมองประมวลความรู้โดยใช้ เหตุผล ประกอบ จะทาให้มีความคิดท่ีหลากหลาย และเป็ นคนท่ีมีเหตุผล การอ่านวรรณคดี จะตอ้ ง เขา้ ใจความหมายของคาศพั ท์ เพ่ือให้เกิดความเขา้ ใจที่ลึกซ้ึงและง่ายแก่การจบั ใจความสาคญั นาไปสู่ การพจิ ารณาคณุ คา่ ของเรื่องที่อ่านไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและมีประสิทธิภาพ 2. ตวั ชี้วัดช้ันปี 1. ระบใุ จความสาคญั และรายละเอียดของขอ้ มลู ท่ีสนบั สนุนจากเร่ืองที่อ่าน ท 1.1 (ม.3/3) 2. วเิ คราะห์เพือ่ แสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ เกี่ยวกบั เรื่องท่ีอ่าน ท 1.1 (ม.3/8) 3. ตีความและประเมินคุณค่าแนวคิดที่ไดจ้ ากงานเขยี นอยา่ งหลากหลาย เพอ่ื นาไปใช้ แกป้ ัญหาในชีวิต ท 1.1 (ม.3/9) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. สรุปใจความสาคญั วิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั เร่ืองที่อ่านได้ (K , P) 2. พูดหรือเขยี นแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั เร่ืองที่อา่ น ฟัง หรือดูไดอ้ ยา่ งมีเหตุผล (K , P) 3. อธิบายความหมายของคาหรือขอ้ ความท่ีอา่ นไดถ้ ูกตอ้ งตามความหมาย (K , P) 4. นาสารประโยชนท์ ่ีไดร้ ับไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ (P) 5. มีมารยาทในการพูดและรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ื่น (A) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ ม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถามและ 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็น 1. ประเมินทกั ษะการเขยี น การแสดงความคิดเห็น รายบุคคลในด้านความสนใจและต้ังใจ 2. ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม เรียน ความรับผิดชอบในการทากิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด

111 ความมีระเบียบวินยั ในการทางาน ฯลฯ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกล่มุ 2. ประเมินมารยาทในการพดู 3. ประเมินมารยาทในการเขียนและนิสัย รักการเขียน 5. สาระการเรียนรู้ 1. การเขยี นแสดงความคดิ เห็น 2. ศพั ทน์ ่ารู้ 6. แนวทางบูรณาการ ศึกษาพระราชกรณียกิจของสมยั รัชกาลท่ี 5 และพระเจา้ ลูกยาเธอท้งั 4 สังคมศึกษาฯ  พระองค์ จดั ป้ายนิเทศ ศิลปะ  เลน่ เกมทายความหมายคาศพั ท์ สุขศึกษาฯ  7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน ชั่วโมงที่ 1 1. ครูสนทนากบั นกั เรียนเก่ียวกบั พระบรมราโชวาทที่ไดเ้ รียนมา 2. นกั เรียนช่วยกนั บอกเหตุผลที่ควรอา่ นพระบรมราโชวาทองคน์ ้ี แลว้ ครูสนทนาโยงเขา้ เรื่อง การแสดงความคดิ เห็น ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสุ่มเรียกนกั เรียนใหอ้ อกมาแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั เร่ืองที่ไดร้ ับมอบหมายใหเ้ พือ่ น ๆ ฟัง โดยครูคอยแนะนาเพ่ิมเติม 2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็น ใหน้ กั เรียนศึกษา โดยครูอธิบาย ประกอบการซกั ถามเพิ่มเติม 3. แบง่ นกั เรียนออกเป็นกล่มุ ใหแ้ ตล่ ะกลุม่ อา่ นทบทวนเร่ือง พระบรมราโชวาท อีกคร้ัง แลว้ ให้ แต่ละกลมุ่ ร่วมกนั แสดงความคิดเห็นตามแนวคาถามตอ่ ไปน้ี 1) นกั เรียนมีความคิดเห็นอยา่ งไรเก่ียวกบั พระราชดาริและพระราชปรารภของรัชกาลท่ี 5 2) นกั เรียนมีความคดิ เห็นอยา่ งไรท่ีรัชกาลท่ี 5 ทรงสั่งสอนไมใ่ หพ้ ระเจา้ ลูกยาเธอไวย้ ศ 3) นกั เรียนคิดว่าพระบรมราโชวาทขอ้ ที่ 4 สามารถนามาใชส้ อนลูกในปัจจุบนั ไดห้ รือไม่ อยา่ งไร 4) นกั เรียนมีความคิดเห็นอยา่ งไรเม่ือพระราชโอรสมีหน้ีสิน แต่รัชกาลท่ี 5ไม่ยอมใชห้ น้ี ให้ ถา้ ตอ้ งใชห้ น้ีให้ ก็จะลงโทษ

112 5) นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรเก่ียวกับการกาหนดวิชาให้พระราชโอรสเรียน และ เปรียบเทียบกบั นักเรียนในปัจจุบนั จาเป็ นตอ้ งเรียนวิชาอะไรบา้ งเพ่ือความกา้ วหน้าใน ชีวติ 6) นักเรียนเห็นดว้ ยกบั คาสั่งสอนของรัชกาลที่ 5 ที่ทรงส่ังสอนพระเจา้ ลูกยาเธอหรือไม่ อยา่ งไร 7) นักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรกับการท่ีบิดามารดาที่มีฐานะ มีค่านิยมส่งลูกไปเรียน ตา่ งประเทศ 4. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มสรุปผลการอภิปราย นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน 5. ครูอธิบายเพ่มิ เติมเพื่อใหน้ กั เรียนเขา้ ใจมากยงิ่ ข้ึน 6. นกั เรียนศึกษาศพั ทน์ ่ารู้ แลว้ ร่วมกนั บอกศพั ท์ยากหรือคาศพั ท์ท่ีไม่เขา้ ใจความหมายในเน้ือ เร่ืองเพ่ิมเติม ครูอธิบายความหมายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเก่ียวกบั การเขยี นแสดงความคิดเห็น แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 2. นกั เรียนแสดงความคดิ เห็นเร่ืองต่อไปน้ี ทาเป็นการบา้ นส่งครู 1) ความเป็นพ่อที่ดีของรัชกาลท่ี 5 2) ความเป็นนกั ประชาธิปไตยของรัชกาลที่ 5 3) พระบรมราโชวาทน้ีนาไปใชก้ บั คนทว่ั ไปไดห้ รือไม่ อยา่ งไร 3. นักเรียนดูวีดิทศั น์พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว แลว้ เขียน เรียงความ บทความ หรือบทร้อยกรองอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงเทิดพระเกียรติของพระองค์ ส่งครู 4. นักเรียนจับคู่กับเพ่ือน เล่นเกมทายความหมายคาศัพท์และสานวนภาษา โดยครูยกแถบ ขอ้ ความที่เป็นความหมายของคาศพั ท์หรือสานวนภาษา ให้นักเรียนแต่ละคู่แข่งขนั กนั ยกมือ เพ่ือตอบคาศพั ทห์ รือสานวนภาษาที่สัมพนั ธ์กบั ความหมายที่ครูแสดง โดยคู่ที่ยกมือก่อนจะมี สิทธ์ิตอบก่อน ให้ตอบภายในเวลาที่ครูกาหนด หากตอบไม่ถูกตอ้ ง ให้แข่งขนั กนั ยกมือใหม่ โดยคู่ที่ตอบไม่ถูกตอ้ งในคร้ังแรกจะไม่มีสิทธ์ิตอบไดอ้ ีกในรอบน้นั ๆ ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ นักเรี ยนนาความ รู้และแนวคิดในการเขี ยนแสดงความคิดเห็ นไปใ ช้ในการเรี ยนและใน ชี วิต ประจาวนั ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั การเขียนแสดงความคดิ เห็น แลว้ บนั ทึกลงสมุด 2. ครูใหน้ กั เรียนทบทวนความรู้เรื่อง การเขียนยอ่ ความ เป็นการบา้ นเพื่อเตรียมจดั การเรียนรู้คร้ัง ตอ่ ไป

113 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนเขา้ ร่วมกิจกรรมการเขียนและการพูดในโอกาสสาคญั ๆ เช่น วนั ปิ ยมหาราช วนั รพี เพอ่ื เทิดพระเกียรติรัชกาลที่ 5 และพระเจา้ ลกู ยาเธอท้งั 4 พระองค์ 2. นกั เรียนศึกษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั พระราชกรณียกิจของพระเจา้ ลกู ยาเธอท้งั 4 พระองค์ นามาจดั ป้ายนิเทศใหค้ วามรู้หนา้ ช้นั เรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้เร่ือง การเขยี นแสดงความคดิ เห็น 2. วีดิทศั นพ์ ระราชกรณียกิจของรัชกาลที่ 5 3. แถบขอ้ ความ 4. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 5. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 6. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 10. บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้

114 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 31 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 การเขยี นย่อความ ภาคเรียนที่ 1 เวลา 1 ชั่วโมง รหสั วิชา ท 23101 รายวิชา ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การแต่งคาประพนั ธ์ เรื่อง การเขียนย่อความ 1. สาระสาคัญ การเขียนย่อความ เป็ นการจบั ใจความสาคญั ของเรื่องให้ไดว้ ่า ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยา่ งไร โดยใหม้ ีเน้ือความครบถว้ น แต่เน้ือหาส้ันลง พระบรมราโชวาท เป็ นพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษตั ริยผ์ ูม้ ีพระปรีชาญาณในการปกครองบา้ นเมืองอยา่ งยอดเยยี่ ม และมีพระอจั ฉริยภาพ ดา้ น การประพันธ์ ท้ังร้อยแก้วและร้อยกรอง ซ่ึงพระราชนิพนธ์ต่าง ๆ ของพระองค์ได้แสดงถึงพระ อจั ฉริยภาพและพระปรีชาสามารถของพระองคอ์ ยา่ งเด่นชดั 2. ตัวชีว้ ดั ช้ันปี 1. ระบุใจความสาคญั และรายละเอียดของขอ้ มลู ท่ีสนบั สนุนจากเร่ืองที่อ่าน ท 1.1 (ม.3/3) 2. อ่านเรื่องต่าง ๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคิด บนั ทึก ย่อความ และรายงาน ท 1.1 (ม.3/4) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายหลกั การและเขียนยอ่ ความไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั การเขยี นยอ่ ความ (K , P) 2. สรุปใจความสาคญั วิเคราะห์ แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั เรื่องท่ีอ่านได้ (K , P) 3. นาสารประโยชน์ที่ไดร้ ับไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ (P) 4. มีมารยาทในการเขียนและมีนิสัยรักการเขยี น (A) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ ม (A) ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถามและ 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็น 1. ประเมินทกั ษะการอ่านจบั ใจความ การแสดงความคิดเห็น รายบุคคลในดา้ นความสนใจและต้งั ใจเรียน 2. ประเมินทกั ษะการเขียนยอ่ ความ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม ความรับผิดชอบในการทากิจกรรม ความมี 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคดิ ระเบียบวินยั ในการทางาน ฯลฯ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุ่ม 2. ประเมินมารยาทในการเขยี นและนิสยั รัก การเขยี น

115 5. สาระการเรียนรู้ 1. การเขยี นยอ่ ความ 2. ประวตั ิผแู้ ตง่ 6. แนวทางบูรณาการ สังคมศึกษาฯ  ศึกษาพระราชกรณียกิจของรัชกาลที่ 5 ภาษาต่างประเทศ  ศึกษาการเขียนยอ่ ความในภาษาองั กฤษ ศิลปะ  จดั ป้ายนิเทศ/จดั นิทรรศการ การงานอาชีพฯ  ทาสมุดยอ่ ความ 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน ช่ัวโมงที่ 1 1. ครูให้นักเรียนอาสาสมคั รออกมาเล่าเร่ืองย่อเร่ือง พระบรมราโชวาท ให้เพื่อนฟังหน้าช้นั เรียน เพ่อื นช่วยกนั แสดงความคิดเห็นวา่ เลา่ ไดเ้ น้ือความครบถว้ นหรือไม่ 2. ครูอธิบายใหน้ กั เรียนเขา้ ใจวา่ การยอ่ เร่ืองโดยมีใจความครบถว้ นเรียกวา่ การยอ่ ความ ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสนทนาซักถามความรู้ของนักเรียนเกี่ยวกบั หลกั เกณฑ์การเขียนย่อความ ตามท่ีไดร้ ับ มอบหมายใหไ้ ปศึกษามาในประเดน็ ต่าง ๆ 2. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับหลักเกณฑ์การเขียนย่อความ จากน้ันครูติดแผนภูมิ หลกั เกณฑก์ ารเขียนยอ่ ความใหน้ กั เรียนดู ใหน้ กั เรียนตรวจสอบกบั คาตอบของเพื่อนในขอ้ 1 วา่ ถูกตอ้ งหรือไม่ 3. นกั เรียนแต่ละคนย่อความเร่ือง พระบรมราโชวาท ตามรูปแบบการเขียนยอ่ ความ เสร็จแลว้ ส่งครูตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 4. ครูคดั เลือกยอ่ ความท่ีเขียนไดใ้ จความครบถว้ นติดป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียนไวเ้ ป็นตวั อยา่ ง 5. ครูนาพระบรมฉายาลกั ษณ์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวมาใหน้ ักเรียนดู แลว้ ให้นกั เรียนช่วยกนั เล่าพระราชประวตั ิของพระองค์ตามความรู้เดิมของนกั เรียน จากน้นั ครู เล่าประวตั ิผแู้ ตง่ ใหน้ กั เรียนฟังประกอบการซกั ถามเพ่ิมเติม ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนการเรียนรู้ 1. นกั เรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกบั การเขียนยอ่ ความ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 2. ครูแจกพระบรมราโชวาทองคอ์ ื่น ๆ ใหน้ กั เรียนทกุ คน ใหแ้ ตล่ ะคนเขียนยอ่ ความใหถ้ กู ตอ้ ง ส่งครู

116 3. ครูสนทนาเกี่ยวกบั หลกั เกณฑก์ ารเขยี นยอ่ ความในภาษาองั กฤษวา่ มีการสรุปใจความสาคญั เหมือนในภาษาไทยหรือไม่ แลว้ ร่วมกนั สรุป ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนนาหลกั เกณฑก์ ารเขียนยอ่ ความไปใชใ้ นการเรียนและในชีวิตประจาวนั 2. นกั เรียนเลา่ ประวตั ิผแู้ ต่งใหผ้ ทู้ ่ีสนใจหรือสมาชิกในครอบครัวฟัง ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. นกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั หลกั เกณฑก์ ารเขยี นยอ่ ความ บนั ทึกลงสมดุ 2. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาพระราชประวตั ิของพระเจา้ ลูกยาเธอท้งั 4 พระองค์ และพระราชกรณีย กิจสาคญั ที่สร้างไวก้ บั ประเทศ เป็นการบา้ นเพือ่ เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนรวบรวมพระบรมราโชวาทของรัชกาลท่ี 5 หรือพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิ- เบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร แจกให้เพื่อนทุกคนช่วยกนั เขียนย่อ ความ แลว้ รวบรวมเป็นเล่ม 2. นักเรียนศึกษารูปแบบการเขียนย่อความงานเขียนประเภทอ่ืน ๆ นามาเป็ นตวั อยา่ งในการ เขยี นยอ่ ความ 3. นักเรียนเลือกอ่านพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวเร่ืองอื่น ๆ แลว้ เขยี นยอ่ ความตามรูปแบบ 4. นักเรี ยนศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมเกี่ยวกับพระราชกรณี ยกิจของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวในดา้ นต่าง ๆ นามาจดั เป็นนิทรรศการเทิดพระเกียรติพระองค์ โดยมี ภาพพระราชกรณียกิจประกอบ 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แผนภมู ิหลกั เกณฑก์ ารเขยี นยอ่ ความ 2. พระบรมฉายาลกั ษณ์รัชกาลท่ี 5 3. พระบรมราโชวาท 4. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 5. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 6. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 10. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้

117 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 32 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 การรายงานผลการศึกษาค้นคว้า ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมง รหสั วิชา ท 23101 รายวิชา ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การแต่งคาประพนั ธ์ เรื่อง การรายงานผลการศึกษาค้นคว้า 1. สาระสาคญั กรมพระจันทบุรีนฤนาถ (พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ ) กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ (พระองค์เจา้ รพีพฒั นศกั ด์ิ) กรมหลวงปราจิณกิติบดี (พระองค์เจา้ ประวิตรวฒั โนดม) และกรมหลวง นครไชยศรี สุรเดช (พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช) เป็ นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว และเป็ นพระราชโอรสชุดแรกท่ีได้ไปศึกษาวิชาการยงั ต่างประเทศ การศึกษา พระราชประวตั ิของพระราชโอรสแต่ละพระองค์ รวมถึงบรรดาศกั ด์ิขุนนางหรือเจา้ นายฝร่ังจะทาให้ เกิดความรู้ความเขา้ ใจในเน้ือเร่ืองท่ีอา่ นมากยง่ิ ข้นึ การศึกษาคน้ ควา้ เพ่ิมเติมเป็นสิ่งจาเป็ นในการเรียนหรือการทางาน เมื่อศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลที่ ตอ้ งการไดแ้ ลว้ การนาเสนอเพื่อใหผ้ อู้ ื่นรับรู้ก็เป็นสิ่งสาคญั การจะนาเสนอดว้ ยรูปแบบใดใหน้ ่าสนใจ น้นั ข้นึ อยกู่ บั ความเหมาะสมของขอ้ มลู ที่จะนาเสนอ 2. ตัวชี้วัดช้ันปี 1. อ่านเรื่องต่าง ๆ แลว้ เขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคิด บนั ทึก ย่อความ และรายงาน ท 1.1 (ม.3/4) 2. สรุปเน้ือหาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นในระดับท่ียากย่ิงข้ึน ท 5.1 (ม.3/1) 3. วเิ คราะห์วิถีไทยและคณุ คา่ จากวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน ท 5.1 (ม.3/2) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลกั การและนาเสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ เรื่องที่กาหนดใหอ้ ยา่ งน่าสนใจ (K , P) 2. สรุปใจความสาคญั วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็นเก่ียวกบั เรื่องท่ีอ่านได้ (K , P) 3. เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ ถูกตอ้ งตามรูปแบบ (K , P) 4. พดู นาเสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ เร่ืองที่กาหนดใหอ้ ยา่ งน่าสนใจ (K , P) 5. นาสารประโยชน์ท่ีไดร้ ับไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ (P) 6. มีมารยาทในการเขียนและมีนิสยั รักการเขยี น (A)

118 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็น 1. ประเมินทกั ษะการเขยี นรายงาน แ ล ะ ก าร แ ส ด งค ว าม รายบุคคลในด้านความสนใจและต้ังใจ 2. ประเมินทกั ษะการพดู รายงาน คดิ เห็น เรียน ความรับผิดชอบในการทากิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด 2. ตรวจผลการทากิจกรรม ความมีระเบียบวินยั ในการทางาน ฯลฯ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุ่ม 2. ประเมินมารยาทในการเขียนและนิสยั รักการเขียน 5. สาระการเรียนรู้ 1. สาระน่ารู้เร่ือง พระราชประวตั ิพระเจา้ ลูกยาเธอท้งั 4 พระองค์ โดยสงั เขป และขนุ นางฝรั่ง 2. การรายงานผลการศึกษาคน้ ควา้ 6. แนวทางบูรณาการ ศึกษาพระราชประวตั ิและพระราชกรณียกิจของรัชกาลท่ี 5 และพระเจา้ สงั คมศึกษาฯ  ลกู ยาเธอท้งั 4 พระองค/์ ศึกษาบรรดาศกั ด์ิของไทยและฝรั่ง จดั ป้ายนิเทศ ศิลปะ  7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน ชั่วโมงท่ี 1 1. ครูสนทนาซกั ถามนกั เรียนเก่ียวกบั พระเจา้ ลูกยาเธอท้งั 4 พระองคท์ ี่กล่าวถึงใน เร่ือง พระบรม ราโชวาท วา่ มีพระองคใ์ ดบา้ ง และแตล่ ะพระองคม์ ีความสาคญั อยา่ งไร 2. ครูสนทนาโยงเขา้ เรื่อง สาระน่ารู้ ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นักเรียนศึกษาสาระน่ารู้เร่ือง พระราชประวตั ิพระเจา้ ลูกยาเธอ 4 พระองค์ โดยสังเขป และขุน นางฝร่ังในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 แลว้ ครูอธิบายเพ่ิมเติม เพ่ือใหน้ กั เรียนเขา้ ใจชดั เจนยงิ่ ข้ึน 2. ครูทบทวนความรู้เรื่อง การรายงานผลการศึกษาคน้ ควา้ วา่ มีวิธีการอยา่ งไร นกั เรียนสรุปลงสมดุ 3. ครูแบ่งนกั เรียนออกเป็ น 6 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มจบั สลากเลือกศึกษาคน้ ควา้ เรื่องท่ีครูกาหนดให้ กลุ่มละ 1 เรื่อง โดยเขา้ ห้องสมุดหรือหอ้ งคอมพิวเตอร์เพ่ือศึกษาคน้ ควา้ เพื่อเตรียมนาเสนอผล การศึกษาคน้ ควา้ ในการจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป กลมุ่ ที่ 1 บรรดาศกั ด์ิของขนุ นางไทย กลุ่มที่ 2 ราชทตู

119 กลุ่มท่ี 3 เบ้ียหวดั /เงินกลางปี กลมุ่ ท่ี 4 พระคลงั ขา้ งที่ กลุ่มที่ 5 นายรองหุม้ แพร กลมุ่ ที่ 6 ฮิสรอแยลไฮเนสปรินซ์ ชั่วโมงท่ี 2 1. ครูให้นักเรียนช่วยกนั สรุปหลกั การเขียนรายงานผลการศึกษาคน้ ควา้ และองค์ประกอบของ รายงาน เพ่ือเป็นการทบทวน 2. ครูซักถามถึงงานที่มอบหมาย แลว้ ให้แต่ละกลุ่มเตรียมตวั ออกมาพูดรายงานผลการศึกษา คน้ ควา้ ในเร่ืองท่ีจบั สลากไดห้ นา้ ช้นั เรียน 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาพูดรายงานผลการศึกษาคน้ ควา้ หนา้ ช้นั เรียน โดยใชเ้ วลา กลุ่มละ 3 – 4 นาที 4. เพ่ือนกลุ่มอื่นช่วยกันวิจารณ์ แสดงความคิดเห็น และช่วยกันประเมินการพูดรายงานของ ตวั แทนแตล่ ะกล่มุ 5. นกั เรียนร่วมกนั สรุปหลกั การเขียนรายงานผลการศึกษาคน้ ควา้ และองคป์ ระกอบของรายงาน เป็นขอ้ ๆ บนั ทึกลงสมุด และรวมรวบรูปเลม่ รายงาน ส่งครูตรวจสอบ ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเกี่ยวกบั การรายงานผลการศึกษาคน้ ควา้ แลว้ ช่วยกนั ตรวจสอบความถูก ตอ้ ง 2. ครูมอบหมายงานใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มจบั สลากศึกษาคน้ ควา้ และทารายงานในหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี แลว้ นาเสนอผลงานโดยการรายงานหนา้ ช้นั เรียน และการจดั ป้ายนิเทศ 1) พระราชประวตั ิและพระราชกรณียกิจของรัชกาลท่ี 5 2) พระราชประวตั ิและพระราชกรณียกิจของพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระจนั ทบรุ ีนฤนาถ 3) พระราชประวตั ิและพระราชกรณียกิจของพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ 4) พระราชประวตั ิและพระราชกรณียกิจของพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงปราจิณกิติบดี 5) พระราชประวตั ิและพระราชกรณียกิจของจอมพลพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงนครไชย ศรีสุรเดช ๖) บรรดาศกั ด์ิของไทยและของฝรั่ง ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนนาความรู้เกี่ยวกบั การศึกษาคน้ ควา้ ไปใช้ในการเรียนและในชีวติ ประจาวนั 2. นักเรียนเล่าพระราชประวตั ิของพระเจา้ ลูกยาเธอท้งั 4 พระองค์ และอธิบายเกี่ยวกบั บรรดา ศกั ด์ิของขนุ นางฝรั่งใหผ้ ทู้ ่ีสนใจฟัง ข้นั ที่ 5 สรุป 1. นกั เรียนร่วมกนั สรุปหลกั การรายงานผลการศึกษาคน้ ควา้ บนั ทึกลงสมุด

120 2. นกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกับพระราชประวตั ิพระเจา้ ลูกยาเธอท้งั 4 พระองค์ โดยสังเขป และ ขนุ นางฝร่ัง บนั ทึกลงสมดุ 3. ครูให้นักเรียนทบทวนเรื่อง พระบรมราโชวาท แลว้ สรุปความรู้ที่ได้รับ เป็ นการบ้านเพื่อ เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนศึกษาคน้ ควา้ เก่ียวกบั ราชสกลุ ของพระเจา้ ลกู ยาเธอท้งั 4 พระองค์ แลว้ เขยี นแผนผงั ลาดบั เครือญาติ ส่งครู 2. นกั เรียนศึกษาวิธีการนาเสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ รูปแบบต่าง ๆ แลว้ นามาพูดคยุ กบั เพ่ือนใน ช้นั เรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. สลาก 2. หอ้ งสมุดหรือหอ้ งคอมพิวเตอร์ 3. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 4. แบบฝึกทกั ษะ รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 5. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้

121 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 33 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 การอ่านและพจิ ารณาคณุ ค่าร้อยแก้ว ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ช่ัวโมง รหสั วชิ า ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การแต่งคาประพนั ธ์ เรื่อง การอ่านและพจิ ารณาคุณค่าร้อยแก้ว 1. สาระสาคัญ การพิจารณาคุณค่าวรรณกรรมจะทาให้เขา้ ใจในสิ่งท่ีผูแ้ ต่งตอ้ งการถ่ายทอดมายงั ผูอ้ ่านได้ดี ย่งิ ข้ึน ไม่เฉพาะในดา้ นความงามของภาษา ความรู้ ความคิด และคาสอนที่ไดจ้ ากเน้ือเร่ืองท่ีสามารถ นาไปปรับใช้เป็ นแนวทางในการดาเนินชีวิตได้ บางคร้ังทาให้เราเขา้ ใจสภาพความเป็ นอยู่ ค่านิยม ประเพณีวฒั นธรรมของคนในยคุ สมยั น้นั ไดด้ ว้ ย 2. ตวั ชีว้ ัดช้ันปี 1. วเิ คราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ เก่ียวกบั เร่ืองที่อา่ น ท 1.1 (ม.3/8) 2. ตีความและประเมินคุณค่าแนวคิดที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลาย เพ่ือนาไปใช้ แกป้ ัญหาในชีวิต ท 1.1 (ม.3/9) 3. สรุปเน้ือหาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถิ่นในระดับท่ียากย่ิงข้ึน ท 5.1 (ม.3/1) 4. วเิ คราะห์วิถีไทยและคณุ ค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ท 5.1 (ม.3/2) 5. สรุปความรู้และขอ้ คดิ จากการอ่านเพื่อนา ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ท 5.1 (ม.3/3) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สรุปใจความสาคญั วเิ คราะห์ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั เร่ืองท่ีอ่านได้ (K , P) 2. วิเคราะห์เร่ืองที่อ่านตามหลักและแนวทางในการพิจารณาคุณค่าของวรรณคดีหรือ วรรณกรรมได้ (K , P) 3. พูดหรือเขียนแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกบั เร่ืองท่ีอา่ น ฟัง หรือดูไดอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล (K , P) 4. บอกคณุ ค่าและขอ้ คิดจากเรื่องท่ีอา่ น และแนวทางท่ีนาไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนไ์ ด้ (K , P) 5. เห็นคณุ ค่าและซาบซ้ึงในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไทย (A)

122 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ ม (A) ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1. ประเมินทกั ษะการอ่านสรุปความ แ ล ะ ก าร แ ส ด ง ค ว า ม รายบุคคลในด้านความสนใจและ 2. ประเมินทกั ษะกระบวนการคดิ คดิ เห็น ต้งั ใจเรียน ความรับผิดชอบในการทา 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุม่ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม กิจกรรม ความมีระเบียบวินยั ในการ 3. ตรวจแบบทดสอบหลัง ทางาน ฯลฯ เรียน 2. ประเมินมารยาทในการอ่านและนิสัย รักการอ่าน 5. สาระการเรียนรู้ แนวทางในการพจิ ารณาวรรณกรรม 6. แนวทางบูรณาการ สังคมศึกษา  ศึกษาสภาพสังคมในสมยั รัชกาลท่ี 5 ภาษาต่างประเทศ  ศึกษาคาศพั ทภ์ าษาองั กฤษจาก เร่ือง พระบรมราโชวาท 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน ชั่วโมงที่ 1 1. ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับความรู้ที่ได้รับจากการอ่านเรื่อง พระบรมราโชวาท ว่ามี อะไรบา้ ง และนกั เรียนจะนาความรู้น้ีไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไรบา้ ง 2. ครูสนทนาโยงเขา้ เร่ือง การอา่ นและพิจารณาคณุ คา่ เรื่อง พระบรมราโชวาท ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มอ่านแนวทางในการพิจารณาวรรณกรรม ในหนงั สือ เรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 แลว้ ร่วมอภิปรายแสดงความ คิดเห็น แลว้ สรุปผลการอภิปราย 2. ครูสุ่มเรียกนกั เรียน 2 – 3 กล่มุ อธิบายใหเ้ พ่อื นฟัง แลว้ ครูอธิบายเพ่ิมเติมเพื่อใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ มากข้นึ 3. ครูอธิบายเสริมความรู้ว่า เราในฐานะนักเรียน ควรรู้จกั ใช้จ่าย รู้ค่าของเงิน พึงตระหนักอยู่ เสมอว่า ค่าใชจ้ ่ายทุกอย่างไดจ้ ากพ่อแม่ซ่ึงตอ้ งทางานหนกั กว่าจะไดม้ า เราจึงตอ้ งรู้จกั ใชจ้ ่าย ใหค้ ุม้ ค่า รู้จกั ใชช้ ีวิตอย่างพอประมาณ ไม่เบียดเบียนตนเองและผอู้ ่ืนจนเกินไป มีการออม ไม่ กูห้ น้ียมื สินผอู้ ่ืน เหล่าน้ีลว้ นสอดคลอ้ งกบั ความพอประมาณ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียง 4. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นว่า พระบรมราโชวาทในรัชกาลท่ี 5 สามารถนามาใช้สอน ลกู ในสังคมปัจจุบนั ไดห้ รือไม่ เพราะเหตใุ ด ใหน้ กั เรียนช่วยกนั สรุปเป็นความรู้

123 5. นักเรียนสรุปสาระสาคญั เรื่อง พระบรมราโชวาท แลว้ เรียบเรียงเป็ นสานวนภาษาของตนเอง ส่งครู ช่ัวโมงที่ 2 1. ครูให้นักเรียนช่วยกนั สรุปแนวทางในการพิจารณาวรรณกรรมเรื่อง พระบรมราโชวาท ใน หวั ขอ้ ตา่ ง ๆ เพื่อเป็นการทบทวน 2. นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นในประเด็นต่าง ๆ เช่น 1) พระบรมราโชวาทองคน์ ้ี สามารถนามาใชก้ บั บุคคลทวั่ ไปไดอ้ ยา่ งไร 2) สาระสาคญั ในเร่ือง พระบรมราโชวาท เรื่องใดที่นักเรียนจะน้อมนามาปรับใช้ใน ชีวิตประจาวนั ของนกั เรียน เพราะอะไร 3. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มอ่านทบทวนเรื่ อง พระบรมราโชวาท แลว้ พิจารณา คุณค่าในด้านเน้ือหา ด้านภาษา ด้านสังคม และด้านการนาไปใช้ บอกเป็ นขอ้ ๆ แลว้ นามา แลกเปลี่ยนความคดิ กนั ในช้นั เรียน 4. นกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั สภาพสังคมท่ีปรากฏในเรื่อง พระบรมราโชวาท ครูสรุปเป็ น ความรู้ นกั เรียนบนั ทึกลงสมุด ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเกี่ยวกบั การอ่านและพิจารณาคุณค่าพระบรมราโชวาท แลว้ ช่วยกนั เฉลย คาตอบ 2. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มทากิจกรรมท่ีกาหนดให้ แลว้ ร่วมกนั สรุปผลการทากิจกรรม ส่งครู 1) หาตวั อยา่ งประโยครวมและประโยคซอ้ นจากเน้ือเรื่อง 2) สานวนภาษาในพระบรมราโชวาทใช้แตกต่างจากสานวนภาษาในปัจจุบันอย่างไร ยกตวั อยา่ งประกอบ 3) หาขอ้ ความท่ีใชส้ านวนโวหารในการเขยี น ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนนาหลกั การพจิ ารณาคณุ คา่ วรรณกรรมไปใชพ้ ิจารณาคณุ คา่ วรรณกรรมเรื่องอื่น ๆ 2. นกั เรียนนาความรู้และขอ้ คิดไปใชใ้ นการเรียนและในชีวติ ประจาวนั ข้นั ที่ 5 สรุป 1. นกั เรียนร่วมกนั สรุปหลกั การพิจารณาคณุ ค่าวรรณกรรม บนั ทึกลงสมุด 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 3. ครูใหน้ กั เรียนตอบคาถามในประเดน็ ท่ีวา่ เรื่อง พระบรมราโชวาท แสดงให้เห็นถึงความรัก ความห่วงใยของผเู้ ป็นพอ่ ท่ีมีตอ่ ลกู นกั เรียนคดิ วา่ มีวรรณคดีเรื่องใดอีกบา้ งที่แสดงใหเ้ ห็นถึง ความรักของผเู้ ป็นพ่อที่มีต่อลูก

124 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนศึกษาเพ่ิมเติมเกี่ยวกบั การพิจารณาคุณคา่ วรรณกรรมดา้ นเน้ือหา ดา้ นภาษา ดา้ นสังคม และดา้ นการนาไปใช้ แลว้ สรุปเป็นแผนภมู ิ ติดใหเ้ พื่อนอ่านหนา้ ช้นั เรียน 2. นักเรียนรวบรวมคาภาษาองั กฤษที่ใช้ในเน้ือเร่ือง หาคาศพั ท์ภาษาองั กฤษและอธิบายความ หมายส่งครู 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบหลงั เรียน 2. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 3. แบบฝึกทกั ษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 4. สื่อการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 10. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้

ภาคผนวก

มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดช้ันปี และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 สาระที่ 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพ่อื นาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาในการดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอ่าน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้  การอ่านออกเสียง ประกอบดว้ ย ถูกตอ้ งและเหมาะสมกบั เร่ืองที่อ่าน บทร้อยแก้วที่เป็ นบทความท่ัวไปและบทความ ปกิณกะ บทร้อยกรอง เช่น กลอนบทละครกลอนเสภา กาพยย์ านี 11 กาพยฉ์ บงั 16 และโคลงสี่สุภาพ 2. ระบุความแตกต่างของคามีความหมายโดยตรง  การอ่านจบั ใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น และความหมายโดยนยั -วรรณคดีในบทเรียน 3. ระบุใจความสาคัญและรายละเอียดของขอ้ มูลที่ - ขา่ วและเหตุการณ์สาคญั สนบั สนุนจากเรื่องท่ีอา่ น - บทความ 4. อ่านเร่ื องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิ ด ผัง - บนั เทิงคดี ความคดิ บนั ทึก ยอ่ ความ และรายงาน - สารคดี 5. วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องท่ีอ่านโดยใช้ - สารคดีเชิงประวตั ิ กลวธิ ีการเปรียบเทียบ เพ่อื ใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจไดด้ ีข้นึ - ตานาน 6. ประเมินความถูกตอ้ งของขอ้ มูลท่ีใชส้ นบั สนุนใน - งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ เร่ืองท่ีอ่าน - เร่ืองราวจากบทเรียนในกลุม่ สาระการเรียนรู้ 7. วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับความ และ ภาษาไทย และกล่มุ สาระการเรียนรู้อื่น ความเป็นไปไดข้ องเร่ือง 8. วิเคราะห์เพ่ือแสดงความคิดเห็นโต้แยง้ เก่ียว กับ เรื่องท่ีอ่าน 9. ตีความและประเมินคุณค่า แนวคิดท่ีได้จากงาน  การอา่ นตามความสนใจ เช่น เขียนอย่างหลากหลาย เพ่ือนาไปใช้แก้ปัญหาใน - หนงั สืออา่ นนอกเวลา ชีวิต - หนงั สืออ่านตามความสนใจและวยั ของนกั เรียน - หนงั สืออ่านท่ีครูและนกั เรียนร่วมกนั กาหนด 10. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น

สาระที่ 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขยี น เขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรื่องราวในรูปแบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. คดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั  การคดั ลายมือตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั ตามรูปแบบการ เขยี นตวั อกั ษรไทย 2. เขียนขอ้ ความโดยใชถ้ อ้ ยคาไดถ้ ูกตอ้ งตามระดบั  การเขียนขอ้ ความตามสถานการณ์และโอกาสต่าง ๆ เช่น ภาษา - คาอวยพรในโอกาสต่าง ๆ - คาขวญั - คาคม - โฆษณา - คติพจน์ - สุนทรพจน์ 3. เขียนชี วประวัติหรื ออัตชีวประวัติโดยเล่า  การเขียนอตั ชีวประวตั ิหรือชีวประวตั ิ เหตุการณ์ ขอ้ คดิ เห็น และทศั นคติในเรื่องต่างๆ 4. เขียนยอ่ ความ  การเขียนย่อความจากส่ือต่าง ๆ เช่น นิทาน ประวัติ ตานาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดารัส พระบรมรา โชวาท จดหมายราชการ 5. เขียนจดหมายกิจธุระ  การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายเชิญวทิ ยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห์ - จดหมายแสดงความขอบคณุ 6. เขียนอธิบาย ช้ีแจง แสดงความคิดเห็น และ  การเขยี นอธิบาย ช้ีแจง แสดงความคดิ เห็น และโตแ้ ยง้ ใน โตแ้ ยง้ อยา่ งมีเหตุผล เรื่องตา่ ง ๆ 7. เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้  การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ ความคดิ เห็น หรือโตแ้ ยง้ ในเรื่องตา่ ง ๆ คดิ เห็น หรือโตแ้ ยง้ จากส่ือตา่ ง ๆ เช่น - บทโฆษณา - บทความทางวิชาการ 8. กรอกแบบสมคั รงานพร้อมเขยี นบรรยายเก่ียวกบั  การกรอกแบบสมคั รงาน ความรู้และทกั ษะของตนเองท่ีเหมาะสมกบั งาน 9. เขียนรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และโครงงาน  การเขยี นรายงาน ไดแ้ ก่ - การเขยี นรายงานจากการศึกษาคน้ ควา้ - การเขยี นรายงานโครงงาน 10. มีมารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขยี น

สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ ความรู้สึกในโอกาส ตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. แสดงความคิดเห็นและประเมินเร่ืองจากการ  การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินเร่ืองที่ฟัง ฟังและการดู และดู 2. วิเคราะห์และวิจารณ์เร่ืองที่ฟังและดู เพ่ือนา  การพดู วเิ คราะห์ วิจารณ์จากเร่ืองที่ฟังและดู ขอ้ คิดมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวติ  การพูดรายงานการศึกษาคน้ ควา้ เกี่ยวกบั ภูมิปัญญา 3. พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาคน้ ควา้ ทอ้ งถิ่น จากการฟัง การดู และการสนทนา 4. พูดในโอกาสตา่ ง ๆ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์  การพดู ในโอกาสต่าง ๆ เช่น - การพูดโตว้ าที - การพดู อภิปราย - การพูดยอวาที 5. พูดโน้มน้าวโดยนาเสนอหลกั ฐานตามลาดับ  การพดู โนม้ นา้ ว เน้ือหาอยา่ งมีเหตุผล และน่าเช่ือถือ 6. มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด  มารยาทในการฟัง การดู และการพูด สาระท่ี 4 หลกั การใชภ้ าษา มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิ ปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. จาแนกและใช้คาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ใน  คาที่มาจากภาษาตา่ งประเทศ ภาษาไทย 2. วเิ คราะห์โครงสร้างประโยคซบั ซอ้ น ประโยคซบั ซอ้ น 3. วิเคราะหร์ ะดบั ภาษา  ระดบั ภาษา 4. ใชค้ าทบั ศพั ทแ์ ละศพั ทบ์ ญั ญตั ิ  คาทบั ศพั ท์  คาศพั ทบ์ ญั ญตั ิ 5. แต่งบทร้อยกรอง  โคลงสี่สุภาพ

สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ คา่ และนามา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ส รุ ป เน้ื อ ห าว ร รณ ค ดี ว รร ณ ก ร ร ม แ ล ะ  วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ้ งถ่ิน เกี่ยวกบั วรรณกรรมทอ้ งถ่ินในระดบั ท่ียากยงิ่ ข้นึ - ศาสนา - ประเพณี - พธิ ีกรรม - สุภาษติ คาสอน - เหตกุ ารณ์ในประวตั ิศาสตร์ - บนั เทิงคดี 2. วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและ  การวิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและ วรรณกรรมท่ีอ่าน วรรณกรรม 3. สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพ่ือนาไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง 4. ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนด  บทอาขยานและบทร้อยกรองท่ีมีคณุ คา่ และบทร้อยกรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจและ - บทอาขยานตามท่ีกาหนด นาไปใชอ้ า้ งอิง - บทร้อยกรองตามความสนใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook