Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PlanPHY1M4

PlanPHY1M4

Published by nattanunya2519, 2018-09-18 02:05:24

Description: PlanPHY1M4

Search

Read the Text Version

แผนการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 1 รหสั วชิ า ว 31201 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 จัดทำโดย นำงสำวณฐั ธนญั ำ บญุ ถงึ ตำแหนง่ ครู คศ. 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลช่างเคง่ิ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษสานักงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

โครงสร้างรายวชิ า กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 รหสั วิชา ว 31201 ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 จานวน 60 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2561หน่วย ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ ช่ือหนว่ ยและสาระ เวลา การประเมินผล นา้ หนกั ที่ คะแนน (ชัว่ โมง) วิธกี าร เคร่อื งมือ (100)1 1. สบื คนและอธบิ าย เรียนรสู้ ฟู่ สิ กิ ส์ 30 - ตรวจแผนผงั - แบบตรวจ 40 การคนหาความรูทาง ความรูทาง ความคิด Mind แผนผงั ความคดิ - Mind Mapping ฟสกิ ส ประวัติความ ฟสกิ ส ประวัตคิ วาม Mapping เร่ือง เปนมา รวมทัง้ พฒั นาการ เรียนรสู้ ฟู่ สิ กิ ส์ เรือ่ ง เปนมา รวมท้ัง พฒั นาการของหลักการ ของหลักการและแนวคิด เรียนรสู้ ฟู่ สิ กิ ส์ และแนวคดิ ทางฟสิกสท่ี ทางฟสิกสทม่ี ผี ลตอการ - ตรวจการออกแบบ - แบบตรวจการ มีผลตอการแสวงหา แสวงหาความรูใหมและการ ขน้ั ตอนวธิ ีการ ออกแบบ ทดลอง ข้นั ตอนวิธีการ ความรูใหมและการ พฒั นาเทคโนโลยี - ตรวจผลงาน ทําการทดลอง ปริมาณฟิสิกส์ และปรมิ าณ พัฒนาเทคโนโลยี สรปุ ผล การเขยี น วทิ ยาศาสตร์ รายงานผล 2. วัดและรายงานผลการ ทางกายภาพ ในหน่วย - แบบตรวจ นาํ เสนอข้อมูล ผลงานสรปุ ผล วัดปริมาณทางฟสิกสได ระหว่างชาติ ( SI unit ) ถกู ตองเหมาะสม โดยนาํ การทดลอง การบันทกึ การเขยี น ความคลาดเคลื่อนในการ ขอ้ มลู ทักษะการทดลอง รายงานผล วดั มา พิจารณาในการ การนําเสนอ ขอ้ มูล การ นาํ เสนอข้อมูล นําเสนอผล รวมทั้ง เขยี น และการนาํ เสนอผล แสดงผลการทดลองใน รวมท้งั แสดงผลการทดลอง รูปของกราฟ วเิ คราะห ในรปู ของกราฟ วิเคราะห และแปลความหมาย และแปลความหมาย จากกราฟเสนตรง จากกราฟเสนตรง

หนว่ ย ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ช่อื หนว่ ยและสาระ เวลา การประเมนิ ผล น้าหนกั ท่ี วธิ ีการ เครื่องมอื คะแนน (ช่ัวโมง) (100)2 3. ทดลองและอธบิ าย การเคลือ่ นทแี่ นวตรง 15 - ตรวจการออกแบบ - แบบตรวจการ 30 ความสมั พนั ธระหวาง ความสมั พันธระหวาง ข้ันตอนวิธกี าร ออกแบบ 30 ตาํ แหนง การกระจัด ตําแหนง การกระจัด ทดลอง ขั้นตอนวธิ ีการ ความเรว็ และความเรง ความเรว็ และความเรง ทําการทดลอง ของการเคล่ือนทข่ี อง ของการเคลื่อนท่ขี องวัตถุใน - ตรวจผลงาน วิทยาศาสตร์ วตั ถใุ นแนวตรงทมี่ ีความ แนวตรงทม่ี ีความเรงคงตวั สรปุ ผล การเขยี น - แบบตรวจ เรงคงตัวจากกราฟและ จากกราฟและสมการ รายงานผล ผลงานสรปุ ผล นําเสนอข้อมูล การเขยี น สมการ รวมทงั้ ทดลอง รวมทั้งทดลองหาคาความ รายงานผล หาคาความเรงโนมถวง เรงโนมถวงของโลก และ นาํ เสนอข้อมลู ของโลก และคาํ นวณ คํานวณปรมิ าณตาง ๆ ที่ เกีย่ วของ ปรมิ าณตาง ๆ ที่ การหาแรงลัพธของแรง เกีย่ วของ 4. อธบิ ายแรง รวมท้ัง สองแรงท่ีทาํ มุมตอกนั ทดลองและอธิบายการ หาแรงลพั ธของแรงสอง แรงทท่ี าํ มุมตอกนั3 5. เขียนแผนภาพวตั ถุ แรงและกฎการเคลอื่ นที่ 15 - ตรวจการออกแบบ - แบบตรวจการ กฎการเคลื่อนที่ของนวิ ขน้ั ตอนวธิ กี าร ออกแบบ อสิ ระ ทดลองและ อธิบายกฎการเคล่อื นที่ ตันและการใชกฎการ ทดลอง ขั้นตอนวธิ กี าร ของนิวตันและการใชกฎ เคล่อื นที่ของนิวตนั กบั สภาพ ทําการทดลอง การเคลอ่ื นท่ขี องนิวตัน การเคลอ่ื นที่ของวัตถุ - ตรวจผลงาน วิทยาศาสตร์ กับสภาพการเคลื่อนที่ รวมท้งั คาํ นวณปริมาณ สรปุ ผล การเขยี น - แบบตรวจ ของวตั ถุ รวมทั้ง คาํ นวณ ตาง ๆ ท่ีเกย่ี วของ รายงานผล ผลงานสรุปผล นาํ เสนอข้อมลู การเขียน ปริมาณตาง ๆ ท่ีเกย่ี ว กฎความโนมถวงสากล รายงานผล ของ และผลของสนามโนมถวงที่ นาํ เสนอขอ้ มลู 6. อธบิ ายกฎความ ทําใหวัตถมุ นี ํา้ หนัก รวมท้ัง โนมถวงสากลและผล คาํ นวณปริมาณตาง ๆ ท่ี ของสนามโนมถวงท่ที ํา เก่ียวของ ใหวัตถุมีนํา้ หนกั รวมท้ัง คาํ นวณปริมาณตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ รวม 60 100

คาอธบิ ายรายวชิ าเพ่ิมเตมิฟสิ กิ ส์ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 60 ชวั่ โมง จานวน 2.0 หนว่ ยกติ ศึกษาการค้นหาความรูทางฟิสิกส์ประวัติความเป็นมา รวมทั้งพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทางฟิสิกส์ท่ีมีผลต่อการแสวงหาความรูใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยี การวัดและการรายงานผลการวัดปริมาณฟิสิกส์ หลักการของกลศาสตร์ในเรื่องการเคล่ือนที่ของวัตถุในแนวตรง แรง การหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงที่ทามุมต่อกัน การเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ กฎการเคล่ือนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานระหวางผิวสัมผสั ของวัตถคุ ูหนึง่ ๆ ในกรณีท่ีวตั ถุหยุดน่งิ และวตั ถเุ คลอื่ นท่ี โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต วิเคราะหเปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพ่อื ใหเกิดความรู ความเขาใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ มีทักษะปฏบิ ตั กิ ารทางวิทยาศาสตร รวมท้ังทกั ษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานการคิดและการแกปญหา ดานการส่ือสาร สามารถสื่อสารสิ่งท่ีเรียนรูและนาความรูไปใชในชีวิตของตนเอง มีจิตวทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานยิ มท่ีเหมาะสมผลการเรยี นรู1. สืบคนและอธบิ ายการคนหาความรูทางฟสกิ ส ประวัติความเปนมา รวมทงั้ พฒั นาการของหลกั การและ แนวคดิ ทางฟสกิ สที่มผี ลตอการแสวงหาความรูใหมและการพัฒนาเทคโนโลยี2. วดั และรายงานผลการวัดปรมิ าณทางฟสิกสไดถูกตองเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลือ่ นในการวดั มา พจิ ารณาในการนาเสนอผล รวมทงั้ แสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วเิ คราะหและแปลความหมายจาก กราฟเสนตรง3. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางตาแหนง การกระจัด ความเร็ว และความเรงของการเคลอ่ื นที่ ของวตั ถใุ นแนวตรงท่มี ีความเรงคงตวั จากกราฟและสมการ รวมทงั้ ทดลองหาคาความเรงโนมถวงของโลก และคานวณปริมาณตางๆ ทเ่ี กีย่ วของ4. อธิบายแรง รวมท้ัง ทดลองและอธบิ ายการหาแรงลัพธของแรงสองแรงท่ที ามุมตอกัน5. เขียนแผนภาพวัตถุอิสระ ทดลองและอธบิ ายกฎการเคลื่อนทข่ี องนิวตนั และการใชกฎการเคล่อื นทีข่ อง นวิ ตันกบั สภาพการเคลอื่ นทข่ี องวัตถุ รวมทั้ง คานวณปริมาณตาง ๆ ที่เกีย่ วของ6. อธิบายกฎความโนมถวงสากลและผลของสนามโนมถวงทที่ าใหวตั ถุมีน้าหนกั รวมท้ังคานวณปริมาณ ตาง ๆ ทเ่ี กย่ี วของ7. วเิ คราะห อธิบายและคานวณแรงเสยี ดทานระหวางผวิ สมั ผสั ของวัตถุคูหนงึ่ ๆ ในกรณีทว่ี ัตถหุ ยดุ น่งิ และ วัตถเุ คล่อื นที่ รวมทั้งทดลองหาสัมประสิทธค์ิ วามเสยี ดทานระหวางผวิ สัมผัสของวัตถุคูหนึง่ ๆ และนา ความรูเร่อื งแรงเสียดทานไปใชในชีวติ ประจาวันรวมทั้งหมด 7 ผลการเรยี นรู

การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์รายวิชาฟิสิกส์ 1 รหัสวชิ า ว 31201 ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เรยี นรสู้ ฟู่ สิ กิ ส์ การเคลอื่ นทใี่ นหนง่ึ มติ ิจานวน 30 ช่วั โมง : 30 คะแนน จานวน 20 ชว่ั โมง : 35 คะแนน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์รายวชิ าฟสิ กิ ส์ 1 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 จานวน 80 ชวั่ โมง แรง มวลและการเคลอ่ื นที่จานวน 30 ชว่ั โมง : 35 คะแนน

รายวชิ าฟิสกิ ส์ 1 รหัสวิชา ว 31201 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง เรียนรสู้ ฟู่ สิ ิกส์ จานวน 30 ช่ัวโมง : 30 คะแนน ประวตั แิ ละความเปน็ มา ปรมิ าณกายภาพและหนว่ ยปรากฏการณธ์ รรมชาตฟิ สิ กิ ส์ และความไมแ่ นน่ อนในการวดัจานวน 6 ชวั่ โมง : 5 คะแนน จานวน 6 ชว่ั โมง : 5 คะแนน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื ง เรยี นรสู้ ฟู่ ิสกิ ส์จานวน 30 ชั่วโมง : 40 คะแนน การทดลองในทางฟสิ กิ ส์ เลขนยั สาคญัการบนั ทกึ และวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง จานวน 8 ชว่ั โมง : 10 คะแนน จานวน 6 ช่วั โมง : 20 คะแนน

รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 รหัสวิชา ว 31201 ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เรือ่ ง การเคลอื่ นทใี่ นหนง่ึ มติ ิ จานวน 20 ช่ัวโมง : 35 คะแนนการวัดอตั ราเรว็ ของการเคลอ่ื นทใี่ นแนวตรง จานวน 4 ชวั่ โมง : 5 คะแนนปรมิ าณตา่ งๆ ของการเคลื่อนท่ี ความเรง่จานวน 4 ชั่วโมง : 5 คะแนน จานวน 4 ชั่วโมง : 5 คะแนน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เรอื่ ง การเคลอ่ื นทห่ี นงึ่ มติ ิจานวน 20 ชวั่ โมง: 35 คะแนนสมการสาหรบั คานวณหาปรมิ าณตา่ ง ๆ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกราฟความเรว็ ของการเคลอ่ื นทใี่ นแนวตรง เวลากบั ระยะทาง ดว้ ยความเรง่ คงตวั สาหรบั การเคลอ่ื นทแ่ี นวตรง จานวน 4 ชว่ั โมง : 10 คะแนน จานวน 4 ชว่ั โมง : 10 คะแนน

รายวิชาฟสิ ิกส์ 1 รหัสวชิ า ว 31201 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เรอื่ ง แรง มวล และการเคลอื่ นที่ จานวน 35 ชว่ั โมง : 30 คะแนน แรง และการหาแรงลพั ธข์ อง กฎการเคลอ่ื นที่ แรงสองแรง และปรมิ าณทเ่ี กยี่ วขอ้ งจานวน 5 ชวั่ โมง : 15 คะแนน จานวน 5 ชวั่ โมง : 10 คะแนน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3เรอ่ื ง แรง มวล และการเคลอื่ นที่จานวน 35 ชว่ั โมง : 35 คะแนน แรง และการหาแรงลพั ธ์ ของแรงสองแรงทที่ ามมุ ตอ่ กนัจานวน 15 ชวั่ โมง : 15 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 เร่ือง เรยี นรู…สฟู ส กิ ส แผนจัดการเรยี นรูที่ 1 เร่ือง ฟสกิ ส ปรมิ าณและหนวยทางฟส ิกส รายวชิ า ฟส ิกส 1 รหสั วิชา ว 31201 ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2560 นาํ้ หนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ช่วั โมง/สปั ดาห เวลาทีใ่ ชในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู 2 ชัว่ โมง ***********************1. สาระสาํ คัญ(ความเขาใจทค่ี งทน) วิชาฟสิกส เปนวิชาวิทยาศาสตรแขนงหน่ึง ที่ศึกษาหาความจริงของธรรมชาติท่ีเกี่ยวกับปรากฏการณทางธรรมชาตติ า งๆท่ีเปน การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ เพ่ือนําไปสูการสรางส่ิงใหมๆมาชวยในการแกปญหาและสรา งเครอ่ื งอาํ นวยความสะดวก ท่ีเรยี กวา เทคโนโลยี การเปลีย่ นแปลงน้จี ะเกดิ ข้นึ มากนอยตางกัน หรือท่ีเรียกวาการเปลี่ยนแปลงปริมาณของส่ิงที่สังเกตน้ันอาจจะมวล น้ําหนัก พลังงาน ความดันและเวลา เปนตน ปริมาณตางๆนี้ จะถูกแยกเปน ปริมาณฐานและปริมาณอนุพัทธ การกําหนดหนวยของปริมาณตางๆน้ี จึงตองกําหนดใหความเขาใจตรงกนั ที่เรยี กวา ระบบหนวยระหวางชาติ (SI unit)2. มาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ช้ีวัดช้นั ป/ผลการเรียนรู/ เปาหมายการเรียนรู มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญ หา รูวา ปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดข้ึนสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบไดภายใตขอ มูลและเคร่อื งมือทม่ี อี ยูใ นชวงเวลาน้นั ๆ เขา ใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และส่ิงแวดลอมมีความเกย่ี วขอ งสัมพนั ธกันผลการเรียนรู สบื คนขอมูล วเิ คราะหและอธิบาย เก่ียวกับวิชาฟสิกส และปริมาณทางกายภาพ ในหนวยระบบระหวางชาติ ( SI unit )3. สาระการเรียนรู 3.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผเู รยี นตอ งรูอะไร) 1. วชิ าวิทยาศาสตร ฟส ิกสและเทคโนโลยี 2. ปริมาณฐานและปริมาณอนุพทั ธ 3. หนว ยในระบบระหวา งชาติ (SI unit) และคาํ อปุ สรรค 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผเู รยี นสามารถปฏบิ ตั ิอะไรได) - ผเู รยี นสามารถอธบิ ายเกี่ยวกับวทิ ยาศาสตร ฟส กิ สและเทคโนโลยี ปริมาณฐานและปริมาณอนุพัทธ หนวยในระบบระหวางชาติ (SI unit) และคําอุปสรรคได(ใบกิจกรรม : ผังความคิด Conceptmapping) - ผูเรียนสามารถคาํ นวณหาปรมิ าณตา ง ๆ ท่ีเกี่ยวของได (ใบงาน/แบบฝก ทกั ษะ)

4. สมรรถนะสําคญั 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร (อธิบาย concept ความสมั พนั ธ) 2. ความสามารถในการคิด (คดิ วิเคราะห) 3. ความสามารถในการแกปญหา5. คุณลกั ษณะของวชิ า - ความรบั ผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุม6. คุณลักษณะที่พงึ ประสงค : Attitude (ผเู รยี นควรแสดงพฤติกรรมการเรยี นอะไรบา ง) - ซื่อสัตยส จุ รติ - มวี ินัย - ใฝเรยี นรู - มุงมน่ั ในการทาํ งาน7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน : ฟสกิ ส ปรมิ าณและหนวยทางฟส กิ ส - ใบกจิ กรรมท่ี 1 : แผนผงั ความคิด (Concept mapping) - ใบงานที่ 1.1 , 1.2 และ 1.3 - แบบฝกทักษะท่ี 18. กิจกรรมการเรียนรู (ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู : 5 E) : เวลา 2 ชว่ั โมง ขน้ั ที่ 1 ขั้นนําเขา สูบทเรียน (Engagement Phase) 1.1 ผูเรียนและครูรวมกันสนทนา เกี่ยวกับ เร่ือง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีคืออะไร? เพ่ือนําไปสูคําถามท่ีวา “รายวชิ าวิทยาศาสตร , ฟสิกส , เคมี , ชีววทิ ยาและเทคโนโลยี” เหมอื นหรอื แตกตา งกันอยางไร 1.2 ผูเรยี นตอบขอ ซักถามของครูวา “รายวิชาวิทยาศาสตร ,ฟสิกส , เคมี , ชีววิทยาและเทคโนโลยี”เหมอื นหรือแตกตา งกนั อยา งไร (ทงิ้ ชว งใหผ ูเรียนคิด) 1.3 ผเู รยี นรว มกนั อภปิ รายในแตละกลุม พรอ มทงั้ บนั ทึกความเหน็ ของกลุมในใบงานที่ 1.1 เฉพาะขอ1 และขอ 2 (เปดโอกาสใหผเู รยี นไดแ สดงความคดิ เห็นโดยยังไมเนนถูกผิด) 1.4 ตัวแทนผูเรียนแตละกลุมนําเสนอความเห็นของกลุม (ของแตละคนในกลุมโดยตัวแทนของกลุมและขอ สรุปของกลมุ ) 1.5 ผูเรียนและครูรวมกันอภิปรายเก่ียวกับ “รายวิชาวิทยาศาสตร , ฟสิกส , เคมี , ชีววิทยา และเทคโนโลยี”เหมอื นหรอื แตกตางกันอยางไร แลว บันทกึ ลงในใบงานที่ 1.1 1.6 ผูเรียนทําแบบทดสอบกอ นเรยี น จาํ นวนขอ สอบ 10 ขอ 1.7 แจงใหผูเรียนทราบวา จะไดศึกษาผลการเรียนรูและเนื้อหาสาระ เก่ียวกับ วิชาฟสิกส ปริมาณและหนวยทางฟส กิ ส ข้ันท่ี 2 ขั้นสาํ รวจและคนพบ (Exploration Phase) 2.1 ผูเรียนสืบคนขอมูลเก่ียวกับรายวิชาฟสิกส ปริมาณและหนวยทางฟสิกส จากใบความรูที่ 1พรอมกับใบงานท่ี 1.2 แลว สรุปสาระสาํ คัญ บันทึกลงในสมดุ จดบนั ทกึ และตอบคาํ ถาม 2.2 สุมผูเรยี น 1 กลุม นาํ เสนอผลการสืบคน ขอมูล

ข้ันที่ 3 ข้นั อธบิ ายและลงขอสรปุ ( Explanation Phase) 3.1 ผเู รียนนําขอมูลจากขัน้ การสบื คน ขอมูล มาอภิปรายรวมกบั ครู 3.2 ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ เกีย่ วกับวิชาฟสกิ ส ปริมาณและหนวยทางฟสิกส เพื่อใหผูเรียนสรุปสาระสําคัญลงในสมุดจดบันทึก ขน้ั ที่ 4 ข้นั ขยายความรู (Expansion Phase) 4.1 ผเู รียนสนทนาซักถามครแู ละตอบคําถามวา “คาของตัวเลขท่ีบอกจํานวนของปริมาณท่ีเหมาะสมในการบันทึก ควรบันทึกเปนจํานวนตัวเลขกี่หลักอยางไร” (ท้ิงชวงใหผูเรียนคิด) เพ่ือนําไปสู เร่ือง การบันทึกตัวเลขทมี่ ีปรมิ าณมากหรอื นอ ย และคําอุปสรรค 4.2 ผูเรียนและครูรวมกันอภิปราย เกี่ยวกับ การบันทึกตัวเลขที่มีปริมาณมากหรือนอย และคําอปุ สรรค และตวั อยางการบนั ทึกตวั เลขทีม่ ปี รมิ าณมากหรอื นอย และคาํ อปุ สรรคจากใบความรทู ี่ 1 4.3 ผูเรียนรว มกันสืบคน แกปญ หา ในใบงานที่ 1.3 4.4 ผเู รยี นทําแบบฝกทกั ษะที่ 1 ขน้ั ท่ี 5 ขน้ั ประเมิน (Evaluation) 5.1 ใหผูเรียนเขียน Concept mapping เก่ียวกับ วิชาฟสิกส ปริมาณและหนวยทางฟสิกส ในใบกจิ กรรม 1 โดยสรุปองคค วามรทู ี่ไดจากการเรยี นรู ตลอดทง้ั 2 ช่ัวโมงที่ผา นมา พรอมตกแตงใหสวยงาม สงครูเม่ือส้นิ สดุ การเรียนรู ตามหนวยการเรยี นรทู ่ี 1 5.2 ผเู รยี นทําแบบทดสอบหลังเรียน9. สอ่ื การเรียนการสอน/แหลง เรยี นรู ประกอบแผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 1 รายการส่ือ จํานวน สภาพการใชสอ่ื1. แบบทดสอบกอนเรยี น 1 ชุด ใชข้นั สรางความสนใจ2. ใบงานที่ 1.1 1 ใบ ใชข ้นั สรางความสนใจ3. แบบฝกทักษะที่ 1 1 ชุด ใชขยายความรู4. ใบความรูท่ี 1 1 ใบ ใชอธิบายและลงขอ สรปุ5. ใบงานที่ 1.2 1 ใบ ใชส าํ รวจและคนหา6. ใบงานที่ 1.3 1 ใบ ใชขยายความรูและลงขอ สรปุ6. สือ่ power point 1 ชุด ใชอ ธิบายและลงขอสรุป 1 ชุด ใชข ยายความรแู ละลงขอสรุป เรอื่ ง “เรยี นรู สูฟสิกส” 1 ชุด ใชข น้ั ประเมิน7. หนงั สือเรยี นฟส ิกสเ พม่ิ เติม เลม 18. แบบทดสอบหลงั เรยี น

10. การวัดและประเมนิ ผล เปาหมาย หลกั ฐานการเรียนรู วิธีวัด เครอ่ื งมือวดั ฯ ประเด็น/เกณฑการ การเรียนรู ชน้ิ งาน/ภาระงาน ตรวจผงั ความคิด แบบประเมินผงั ความคดิ ใหค ะแนน สืบคน ขอ มลู - ผังความคิด Concept แบบประเมินพฤติกรรมผเู รียนวเิ คราะหแ ละอธบิ าย Mapping รอยละ 50 ขนึ้ ไปเกีย่ วกบั วิชาฟสิกส และปรมิ าณทางกายภาพในหนว ยระบบระหวางชาติ ( SI unit ) -ใบงาน ตรวจใบงาน แบบตรวจใบงาน ตอบถกู 1 คะแนน -ใบกิจกรรม ตรวจใบกจิ กรรม แบบตรวจใบกจิ กรรม ตอบผิด 0 คะแนน - แบบฝกทักษะ ตรวจแบบฝก ทักษะ แบบตรวจแบบฝก ทักษะ แบบทดสอบ ตรวจแบบทดสอบ - กอนและหลังเรยี น แบบทดสอบกอน - หลงั เรยี น ตอบถูก 1 คะแนน - ผลการเรียนรทู ี่ 1 แบบทดสอบผลการเรยี นรทู ี่ 1 ตอบผิด 0 คะแนน

11. จุดเนนของโรงเรยี น การบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผเู รยี น 1. ความพอประมาณ พอดีดา นเทคโนโลยี พอดดี า นจิตใจ 2. ความมีเหตุผล รจู กั ใชเ ทคโนโลยมี าผลิตสื่อท่ีเหมาะสม มจี ิตสาํ นึกท่ีดี เอ้ืออาทร และสอดคลองเน้ือหาเปนประโยชนตอ ประนีประนอม นกึ ถงึ ประโยชน 3. มีภูมิคุมกนั ในตัวท่ีดี ผูเรยี นและพฒั นาจากภูมปิ ญ ญาของ สว นรวม/กลุม 4. เง่อื นไขความรู ผเู รียน 5. เงอื่ นไขคุณธรรม - ยดึ ถือการประกอบอาชพี ดวยความ ไมหยดุ น่งิ ทีห่ าหนทางในชวี ติ หลุด ถูกตอง สุจริต แมจะตกอยูในภาวะขาด พน จากความทกุ ขย าก (การคน หา แคลน ในการดาํ รงชวี ติ คําตอบเพื่อใหหลุดพนจากความไม - ปฏบิ ัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สง่ิ ย่วั ร)ู กิเลสใหห มดส้ินไป ไมกอความชว่ั ให เปน เครอ่ื งทําลายตัวเอง ทาํ ลายผูอ่นื พยายาม เพมิ่ พูนรกั ษาความดี ท่ีมีอยูให งอกงามสมบรู ณย ง่ิ ขึ้น ภูมิปญ ญา : มีความรู รอบครอบ และ ภมู ปิ ญ ญา : มคี วามรู รอบครอบ ระมัดระวงั และระมดั ระวงั ภมู ธิ รรม : ซอื่ สตั ย สุจรติ ขยันอดทนและ ภูมธิ รรม : ซื่อสตั ย สุจริต ขยัน แบงปน อดทนและแบงปน ความรอบรเู กย่ี วกับวชิ าการตา งๆ ท่ี ความรอบรูเ กย่ี วกบั เน้ือหาสาระท่ี เกย่ี วของรอบดา น ความรอบคอบท่จี ะนํา เรยี น ทีเ่ ก่ยี วของรอบดา น ความ ความรเู หลาน้ันมาพจิ ารณาใหเช่ือมโยงกนั รอบคอบท่จี ะนําความรูเ หลา นั้นมา เพอื่ ประกอบการวางแผนและความ พจิ ารณาใหเชอ่ื มโยงกัน สามารถ ระมดั ระวงั ในการปฏบิ ตั ิ ประยกุ ตใชใ นชีวติ ประจาํ วนั มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คุณธรรม มี ซอื่ สัตยสจุ รติ และมคี วามอดทน มีความ ความซื่อสตั ยส ุจรติ และมคี วาม เพยี ร ใชส ติปญญาในการดาํ เนินชวี ติ อดทน มคี วามเพยี ร ใชส ติปญญาใน การดําเนนิ ชีวติกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร ครู ผูเรยี น โรงเรียน - - -

บนั ทึกหลังการสอน1. ผลการสอน 1.1) การประเมินดา นความรู : Knowledge 1.1.1) ผลการประเมนิ โดยใชแบบทดสอบกอ นและหลังเรียน 1) การประเมนิ ผลกอนการเรยี น โดยใชแบบทดสอบชนดิ ปรนยั 5 ตัวเลอื ก จาํ นวน 10 ขอ พบวาผเู รยี นไดค ะแนนเฉล่ีย …………………. จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน มีผเู รียนจํานวนทั้งสน้ิ …………….คนคิดเปน รอ ยละ …………………. ไมผานเกณฑข ั้นตาํ่ ทกี่ ําหนดไวคอื รอยละ 50 2) การประเมนิ ผลหลังการเรยี น โดยใชแ บบทดสอบชนิดปรนัย 5 ตวั เลอื ก จาํ นวน 10 ขอ พบวาผเู รยี นไดคะแนนเฉล่ีย …………………. จาก คะแนนเต็ม 10 คะแนน ผูเรยี นมีผลการทดสอบหลงั เรียน……………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………1.1.2) ผลการประเมนิ โดย………………………………………………………….จาํ นวน…………..ขอ จํานวน …………. คะแนนพบวา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2) การประเมินดา นทักษะกระบวนการ : Process ผลการประเมนิ โดยใช…………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………พบวา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 ) การประเมินดา นคุณลักษณะท่พี ึงประสงค : Attitude (ซ่อื สัตยสุจริต มวี ินัย ใฝเ รยี นรูแ ละมงุ ม่ันในการทํางาน) จาํ นวน 2 คะแนนเตม็ ผลการประเมนิ โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมพบวา…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………2. ปญหา - อุปสรรค มดี ังน้ี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. แนวทางแกไ ข วิธีดําเนินกจิ กรรม รายการ ลงชอ่ื …..........………….......................…….. ผูจัดกจิ กรรมการเรยี นรู (นางสาวณัฐธนัญา บุญถงึ ) ตําแหนง ครู คศ. 2 ……… / ……………….. / ………………

บันทึกการนิเทศ รายละเอียดความเห็นของผูนเิ ทศ ลายมือช่อืที่ รายการผูนิเทศ1 หวั หนา กลุมสาระการเรยี นรู/ …………………………………………………………………….. …………………………. …………………………………………………………………….. ผูท ่ีไดร ับมอบหมาย …………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..2 รองผูอ ํานวยการโรงเรยี น กลุมบริหารวชิ าการ …………………………………………………………………….. …………………………. ……………………………………………………………………..3 ผูอํานวยการโรงเรียน …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..

ÊèÍ× »ÃСͺἹ¨´Ñ ¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ŒÙ èÕ 1

รายวชิ า ฟส ิกส 1 แบบทดสอบ ผลการเรยี นรูที่ 1 รหสั วชิ า ว 31201 ( กอ นเรียน – หลงั เรียน ) ประกอบแผนจัดการเรียนรูท ี่ 1ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 4 หนวยการเรียนรูที่ 1 เวลา 15 นาทีผลการเรียนรูท่ี 1 สืบคนขอ มูล วเิ คราะห และอธิบาย เก่ยี วกับวชิ าฟส กิ ส และปริมาณทางกายภาพ ในหนวยระบบระหวา งชาติ( SI unit )คําส่งั จงเลอื กคําตอบทถี่ ูกตองลงในกระดาษคําตอบ1. ความรูทางวิทยาศาสตรสวนใหญไ ดม าจากการกระทําในขอใดก. การสังเกตปรากฏการณธรรมชาติ ข. การทดลองในหองปฏบิ ตั กิ ารค. การสรางแบบจาํ ลองทางความคิด ง. การเรียนรูจ ากการดําเนินชวี ติ ในแตล ะวันจ. ถกู ทกุ ขอ2. ตอ ไปนีข้ อ ใดเปน ขอ มลู เชงิ คณุ ภาพ1. ลูกฟตุ บอลมลี กั ษณะเปนรูปทรงกลม2. โตะ เรยี นสงู จากพนื้ ประมาณ 80 เซนตเิ มตร3. นา้ํ ตาลทรายขาวมรี สหวานกวาน้ําตาลทรายแดงคาํ ตอบท่ถี ูก คือขอ ใดก. ขอ 1 เทา นั้น ข. ขอ 1 และ 2 ค. ขอ 2 และ 3ง. ขอ 1 และ 3 จ. ขอ 1 2 และ 33. ตอไปนข้ี อ ใดเปนขอ มูลเชงิ ปริมาณ1. เส้ือผา สเี ขม เหมาะสําหรับคนอวน2. นกั เรยี นเดินทางจากบานถงึ โรงเรียนใชเ วลา 20 นาที3. วันนอ้ี ากาศรอนมาก วดั อณุ หภมู ไิ ด 38 องศาเซลเซยี สคําตอบทถ่ี กู คอื ขอ ใดก. ขอ 1 เทา นน้ั ข. ขอ 1 และ 2 ค. ขอ 2 และ 3ง. ขอ 1 และ 3 จ. ขอ 1 2 และ 34. จงพิจารณาขอความตอ ไปน้ี1. มวล เวลา ความยาว เปนปรมิ าณฐานทัง้ หมด2. ความเรง ความดัน พลงั งาน เปน ปริมาณอนุพทั ธท ัง้ หมด3. ความเร็ว ความถ่ี อณุ หภมู ิ เปน ปรมิ าณฐานท้ังหมดคาํ ตอบทีถ่ ูกคอื ขอใดก. ขอ 1 เทา นั้น ข. ขอ 1 และ 2 ค. ขอ 2 และ 3ง. ขอ 1 และ 3 จ. ขอ 1 2 และ 35. ตองการวัดความกวา งของกลอ งดนิ สอ ควรใชเ ครอื่ งมอื วัดชนดิ ใดก. สายวดั ข. ไมบ รรทัด ค. เวอรเนียรง. ไมโครมิเตอร จ. ไมโปรแทรกเตอร6. ระบบหนว ยระหวา งชาติ (หนวยเอสไอ) ไดก าํ หนดหนวยของเวลาตามขอใดก. ช่วั โมง ข. วินาที ค. นาทีง. จ. ถกู ทุกขอ7. ขอใดเขียนเปนปริมาณ 250,000,000 เมตร ในรปู เลขยกกําลังไดถกู ตองก. 25 x 108 m ข. 2.5 x 108 m ค. 2.50 x 108 mง. 2.500 x 108 m จ. 2.5000 x 108 m

8. มวล 34 กิโลกรมั มีคา เทา ใดในหนวยไมโครกรมั ง. 3.4 x 107 µg จ. ก. 3.4 x 1010 µg ข. 3.4 x 109 µgค. 3.4 x 108 µg ค. 1.7 x 10- 3 m39. ปริมาตร 17 ลูกบาศกเ ดซเิ มตร เทา กับกีล่ ูกบาศกเ มตรก. 1.7 x 10- 6 m3 ข. 1.7 x 10- 4 m3 ค. 20 m /sง. 1.7 x 10- 1 m3 จ. 1.7 x 100 m310. รถยนตค ันหน่งึ วง่ิ ดว ยอัตราเร็ว 54 กโิ ลเมตรตอ ชว่ั โมง เทา กบั กเ่ี มตรตอวนิ าทีก. 10 m/s ข. 15 m /sง. 25 m /s จ. 30 m /s 

รายวชิ า ฟสกิ ส 1 เฉลยแบบทดสอบ ผลการเรียนรูท่ี 1รหสั วิชา ว 31201 กอนเรยี น – หลังเรียน ประกอบแผนจัดการเรยี นรทู ่ี 1ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 เฉลยแบบทดสอบ กอนเรียนและหลังเรียน ขอ คาํ ตอบ 1ง 2ค 3ข 4ก 5ข 6ข 7ก 8ก 9ง 10 ง

รายวชิ า ฟส กิ ส 1 ใบกิจกรรมท่ี 1 ประกอบรหัสวชิ า ว 31201 แผนผังความคิด ( Concept Mapping ) แผนการจดั การเรียนรูที่ 1ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 4 ฟส ิกส ปริมาณและหนวยทางฟส ิกส หนวยการเรียนรูท่ี 1 ช่ือ..........................................................………………….. ชนั้ ม. 4 /......….…….เลขท่ี............…. ***********************ผลการเรียนรทู ี่ 1 สบื คน ขอมูล วเิ คราะห และอธิบาย เกย่ี วกับวิชาฟสกิ ส และปริมาณทางกายภาพ ในหนวยระบบระหวางชาติ ( SI unit )คาํ ส่ัง ใหผ เู รยี นสรุปความรูท่เี กีย่ วกับ ฟส กิ ส ปริมาณและหนวยทางฟส ิกสเ ปนแผนผงั ความคิด ( Concept Mapping )สรุปองคความรู เร่ือง……………………………………………………………………………… ในหัวขอ เรื่อง ฟส ิกส ปริมาณและหนวยทางฟสิกสมอบหมายงาน วันท่…ี ……………………………………………………………………………กาํ หนดสงงาน วันท…่ี ……………………………………………………………………………สง งาน วนั ที่……………………………..………… ลงชอื่ ……………………………….…………ผสู งงาน ลงชื่อ………………….……………………………ผรู บั งาน ( …………………………………………. ) (นางสาวณัฐธนญั า บุญถึง) ครูผูสอนลําดบั รายการ 5 4 3 2 1 หมายเหตุ1 ความเกีย่ วของเนอ้ื หาสาระกับหวั ขอยอ ย2 การใชภาษาถูกตอ ง เวน วรรคตอน3 รปู แบบ สามารถนาํ ไปเปนแบบอยา งได4 ความคดิ รเิ ร่ิมสรา งสรรคค วามสมั พนั ธก ับ ชวี ิตประจาํ วัน5 ความสะอาด เรียบรอย รวมทัง้ ส้ิน 5 = ดมี ากทส่ี ุด 4 = ดมี าก 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ควรปรับปรงุผปู ระเมิน ลงชือ่ ……………………………………………………………………………ช้ัน……………….…….เลขที่…………………... วันที่………………………………………………………………………………………

แผนผงั ความคิด ( Concept Mapping ) องคค วามรูเรอื่ ง ……………………………………….…………..เจา ของผลงาน ชอื่ ………………………………………………..…………………ชน้ั …………..……..เลขที่……………….….

รายวชิ า ฟส ิกส 1 ใบความรูท ่ี 1 ผลการเรียนรทู ่ี 1รหัสวิชา ว 31201 ใชประกอบแผนจัดการเรียนรทู ่ี 1ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 4 หนว ยการเรยี นรูที่ 1 เร่ือง ฟสิกส ปรมิ าณและหนว ยทางฟสิกส1. ความหมายของวทิ ยาศาสตร วทิ ยาศาสตร (Science) หมายถงึ การศึกษาหาความจรงิ เกี่ยวกบั ปรากฏการณธรรมชาตริ อบๆตัวเรา ทง้ั ทีม่ ีชวี ิตและไมม ชี วี ติ อยางมขี นั้ ตอนและระเบยี บแบบแผน วทิ ยาศาสตรแ บงออกไดด ังน้ี วิทยาศาสตรชีวภาพ พฤกษศาสตร สัตวศาสตร อ่ืน ๆ วทิ ยาศาสตรบ รสิ ทุ ธ์ิ วิทยาศาสตรกายภาพ ฟส ิกส เคมีวทิ ยาศาสตร วทิ ยาศาสตรป ระยกุ ต วิศวกรรมศาสตร อุตนุ ยิ มวทิ ยา แพทยศาสตร ธรณีวทิ ยา สถาปต ยกรรมศาสตร อนื่ ๆ อน่ื ๆ 1. วทิ ยาศาสตรบรสิ ทุ ธ์ิ (pure science) หรือ วิทยาศาสตรธ รรมชาติ ( natural science ) เปนการศึกษาหาความจรงิ ใหมๆ เกี่ยวกับปรากฏการณธรรมชาติ เพ่อื นาํ ไปสกู ฎเกณฑแ ละทฤษฎีตางๆทางวิทยาศาสตร เชนกฎการเคล่ือนท่ขี องนิวตัน กฎของโอหม ทฤษฎีสัมพทั ธภาพของของไอนส ไตน ทฤษฎีคล่ืนแมเ หล็กไฟฟาของแมกซเวลล เปนตน วิทยาศาสตรบริสุทธ์ิแบง ออกเปน 2 สาขาคือ ก. วทิ ยาศาสตรก ายภาพ ( physical science ) ศึกษาคนควาเกีย่ วกบั สิ่งไมมชี ีวติ เชน ฟส กิ ส เคมี ดาราศาสตร ธรณีวิทยา เปน ตน ข. วทิ ยาศาสตรช ีวภาพ ( biological science ) ศึกษาคน ควา เกี่ยวกับสิง่ มีชวี ติ เชน พฤกษศาสตร สัตวศาสตร เปนตน 2. วทิ ยาศาสตรป ระยุกต (applied science ) เปน การนาํ ความรจู ากกฎเกณฑห รือทฤษฎีของวทิ ยาศาสตรบ ริสุทธ์ิ มาประยกุ ตเ ปนหลกั การทางเทคโนโลยี เพ่ือนาํ ไปใชใ หเกดิ ประโยชนแ กสงั คม เชน วศิ วกรรมศาสตรแพทยศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร เปนตน2. การคนควา หาความรูท างวิทยาศาสตร การคนควาหาความรูทางวิทยาศาสตร ความรูทางวิทยาศาสตรเปนการคนควาหาความจริงจากปรากฎการณธรรมชาติ ซ่ึงสามารถทาํ ได 3 แนวทางคือ 1. จากการสังเกตปรากฏการณธ รรมชาติ 2. จากการทดลองในหอ งปฏบิ ตั กิ าร 3. จากการสรางแบบจําลอง (model) ทางความคดิ

3. ฟสิกส เปนวิทยาศาสตรแขนงหนึ่ง ศึกษาธรรมชาติของส่ิงไมมีชีวิต ซ่ึงไดแก การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวเรา การคนควาหาความรูทางฟสิกสทําไดโดยการสังเกต การทดลอง และการเก็บขอมูลมาวเิ คราะหเ พื่อสรปุ ผลเปน ทฤษฎี หลกั หรือกฎ ความรูเหลา นี้ สามารถนําไปใชอ ธบิ ายปรากฏการณธรรมชาติ หรือทาํ นายส่งิ ท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ในอนาคตและความรนู ้สี ามารถนาํ ไปใชเ ปนพื้นฐานในการแสวงหาความรูใหมเพ่ิมเติม และพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนษุ ย ความสําคญั ของการศึกษาทางดานฟส ิกส คอื ขอมลู ที่มีผลตอการเปล่ียนแปลงกฎและทฤษฎีท่ีมีอยูเดิม ขอมูลท่ีไดนแ้ี บงออกเปน 2 ประเภท คือ ขอมลู เชงิ คณุ ภาพ (qualitative data) เปนขอมูลท่ีไมเปนตัวเลข ไดจากการสังเกตตามขอบเขตของการรับรู เชน รูปรา ง ลักษณะ กลิ่น สี รส เปนตน ขอมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) เปนขอมูลท่ีเปนตัวเลข ไดจากการวัดปริมาณตางๆโดยใชเครอ่ื งมือวดั และวธิ กี ารวัดทถี่ กู ตอง เชน มวล ความยาว เวลา อุณหภมู ิ เปนตน4. เทคโนโลยี เปนวทิ ยาการทเ่ี ก่ยี วของกับศลิ ปะ ในการสราง การผลติ หรือการใชอุปกรณ เพื่อกอใหเกิดประโยชนกับมนุษยโดยตรง5. ปรมิ าณกายภาพ ปรมิ าณกายภาพ ( physical quantity) เปนปริมาณทางฟส ิกสทไี่ ดจ ากขอมูลเชงิ ปรมิ าณ เชน มวล แรงความยาว เวลา อุณหภูมิ เปนตน ปริมาณกายภาพแบง ออกเปน 2 ชนดิ คือ 1. ปรมิ าณฐาน (base unit) เปนปริมาณหลักของระบบหนวยระหวา งชาติ มี 7 ปริมาณ ดงั น้ีปริมาณฐาน ช่อื หนวย สัญลกั ษณ ความยาว เมตร m มวล กโิ ลกรมั kg เวลา วนิ าที sกระแสไฟฟา แอมแปร Aอณุ หภมู ิอณุ หพลวัติ เคลวิน Kปริมาณสาร โมล molความเขมของการสอ งสวาง แคนเดลา cd2. ปริมาณอนพุ ทั ธ (derived unit) เปนปริมาณที่ไดจ ากปริมาณฐานต้งั แต 2 ปรมิ าณขน้ึ ไปมาสัมพนั ธก นัดังตัวอยางตอ ไปน้ี เทยี บเปน หนวยฐานปริมาณอนุพทั ธ ชือ่ หนวย สัญลกั ษณ และอนพุ ทั ธอนื่ ความเรว็ เมตรตอ วนิ าที m/s 1m เมตรตอวนิ าที2 m /s2 1m /s = 11 ms ความเรง 1m/ s2 = 1s x1s นวิ ตนั N แรง 1 N = 1 kg. m /s2งาน พลังงาน จูล J 1 J = 1 N.mกาํ ลัง วัตต W 1 W = 1 J /sความดัน พาสคาล Pa 1 Pa = 1 N / m2ความถ่ี เฮิรตซ Hz 1 Hz = 1 s – 1

6. ระบบหนวยระหวา งชาติ ในสมัยกอนหนว ยท่ใี ชสําหรบั วดั ปริมาณตา งๆ มหี ลายระบบ เชน ระบบอังกฤษ ระบบเมตริกและระบบของไทยทาํ ใหไ มเ ปนมาตรฐานเดยี วกนั ดังนั้นปจ จบุ นั หลายๆประเทศ รวมทัง้ ประเทศไทยดวยไดใ ชหนวยสากลทเ่ี รยี กวา ระบบหนว ยระหวางชาติ (The Internation System of Unit) เรยี กยอ วา ระบบเอสไอ ( SI Units) ซ่ึงประกอบดวยหนว ยฐานและหนวยอนพุ ทั ธ ดังน้ี1. หนว ยฐาน (base unit) เปนปรมิ าณหลักของระบบหนวยระหวา งชาติ มี 7 ปริมาณ ดงั น้ี ปรมิ าณฐาน ช่อื หนว ย สญั ลักษณ ความยาว เมตร m กโิ ลกรัม kg มวล วินาที s เวลา แอมแปร A กระแสไฟฟา เคลวนิ K อุณหภมู ิอณุ หพลวัติ โมล mol ปริมาณสาร cdความเขม ของการสอ งสวา ง แคนเดลา2. หนวยอนุพทั ธ (derived unit) เปน ปริมาณที่ไดจ ากปริมาณฐานตั้งแต 2 ปรมิ าณขน้ึ ไปมาสมั พันธก นัดังตัวอยางตอ ไปน้ี เทยี บเปนหนว ยฐานปริมาณอนุพัทธ ชื่อหนว ย สัญลักษณ และอนพุ ทั ธอ นื่ ความเร็ว เมตรตอวินาที m/s 1m เมตรตอ วนิ าที2 m /s2 1m /s = 11 ms ความเรง 1m/ s2 = 1s x1s นิวตนั N แรง J 1 N = 1 kg. m /s2งาน พลังงาน จูล 1 J = 1 N.mกําลงั วัตต W 1 W = 1 J /sความดนั พาสคาล Pa 1 Pa = 1 N / m2ความถ่ี เฮิรตซ Hz 1 Hz = 1 s – 17. การบันทึกปรมิ าณที่มคี า มากหรอื นอยผลทไี่ ดจากการวดั ปริมาณทางวทิ ยาศาสตร บางคร้งั มีคา มากกวา หรอื นอ ยกวา 1 มากๆทาํ ใหเกดิ ความยงุ ยากในการนาํ ไปใชงาน ดังนน้ั การบันทึกปรมิ าณดังกลา ว เพื่อใหเกดิ ความสะดวกในการนาํ ไปใชสามารถทําได 2 วธิ ี คอื7.1 เขียนใหอ ยใู นรปู ของจาํ นวนเต็มหนึ่งตาํ แหนง ตามดวยเลขทศนยิ ม แลวคูณดวยเลขสิบยกกําลงับวกหรือลบ ดงั น้ี จํานวนเต็ม 1 ตาํ แหนง เทา กบั จํานวนตวั เลขหลัง 0.000 x10 ± n จุดหรือตวั เลขระหวา งจุด

ตวั อยา ง จงเขียนปริมาณตอ ไปนใ้ี นรูปเลขยกกาํ ลงั ก. 360,000,000 เมตร ข. 6,539,000 กิโลเมตร ค. 0.00048 กิโลกรมั ง. 0.00127 วนิ าทีวธิ ีทํา ก. 360,000,000 เมตร = 360,000,000 = 3.6x108 เมตร ข. 6,539,000 กโิ ลเมตร = 7,539,000 = 6.5x106 กิโลเมตร ค. 0.00038 กิโลกรมั = 0.00038 = 3.8x10 – 4 กิโลกรมั ง. 0.00117 วนิ าที = 0.00117 = 1.17x10- 5 วินาที 7.2 เขียนโดยใชค ํา “อุปสรรค ( prefix)” คําอุปสรรค คือ คาํ ที่ใชเติมหนา หนวย SI เพ่ือทาํ ใหหนวย SI ใหญข ้นึ หรือเล็กลงดังแสดงในตารางคาํ อปุ สรรค สญั ลกั ษณ ตวั พหคุ ณู คาํ อุปสรรค สญั ลักษณ ตวั พหุคูณ เทอรา T 10 12 พิโค P 10 -12 จกิ ะ G 10 9 นาโน n 10 - 9 เมกะ M 10 6 ไมโคร 10 – 6 กิโล k 10 3 มิลลิ µ 10 – 3 เฮกโต h 10 2 เซนติ m 10 – 2 เดคา da 10 เดซิ c 10 - 1 dตัวอยา ง จงเขยี นปรมิ าณตอไปน้ี โดยใชคําอุปสรรค ก. ความยาว 12 กโิ ลเมตร ใหม หี นวยเปน เมตร ข. มวล 0.00035 เมกะกรัม ใหม หี นว ยเปน มลิ ลิกรัมวธิ ีทํา ก. เปลีย่ น กโิ ล → เมตร ข. เปลีย่ น เมกะ → กโิ ล → กรมั → มิลลิ = 12 x 10 3 = 0.00035 x 10 3 x 10 3 x 10 3 = 1.2 x 10 4 เมตร = 0.00035 x 10 9 = ( 3.5 x 10 – 4 ) x 10 9 = 3.5 x 10 5 มลิ ลกิ รมั ######################

รายวิชา ฟสกิ ส 1 ใบงานที่ 1.1 ผลการเรียนรทู ี่ 1 รหัสวิชา ว 31201 ใชประกอบแผนจดั การเรียนรทู ่ี 1ระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 หนว ยการเรยี นรูที่ 1 เรื่อง ฟส ิกส ปรมิ าณและหนวยทางฟส ิกส ช่ือ…………………………………………………………………...……ชั้น…………………..………เลขที่……………………. *********************************1. ใหผ ูเรียนเขียนแสดงความคิดเหน็ วา วชิ า ( วทิ ยาศาสตร , ฟส ิกส , เคมี , ชวี วทิ ยา และเทคโนโลยี ) เหมือนหรอื แตกตา งกันอยา งไร………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………2. ความคิดเห็นของกลมุ เหน็ วา วิชา ( วทิ ยาศาสตร , ฟส ิกส , เคมี , ชีววทิ ยา และเทคโนโลยี ) เหมือนหรอื แตกตา ง กนั อยางไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………3. ความคิดเห็นที่ผเู รียนและครรู วมกันอภปิ รายสรุป เห็นวา วิชา ( วิทยาศาสตร , ฟส กิ ส , เคมี , ชีววทิ ยา และเทคโนโลยี ) เหมอื นหรอื แตกตางกันอยา งไร………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รายวชิ า ฟส กิ ส 1 ใบงานท่ี 1.2 ผลการเรยี นรทู ี่ 1 รหสั วิชา ว 31201 ใชป ระกอบแผนจดั การเรยี นรูท ี่ 1ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 4 หนวยการเรียนรูที่ 1 เร่อื ง ฟส กิ ส ปรมิ าณและหนว ยทางฟส กิ ส ชือ่ ………………………………….………………………………………ชน้ั ………..………เลขที่…………. *********************************ใหผ ูเรียนเติมคาํ หรอื ขอความลงในชองวางใหถกู ตอง1. วทิ ยาศาสตร คือ………………………………..………………………………………….………………….…………………………………………2. วิทยาศาสตร แบงออกเปน ………..…ชนิด คือ…………………………………………………………………………..…………………..3. ฟส กิ สคือ………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….4. เทคโนโลยีคอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..5. ขอมูลทางวิทยาศาสตรม ี…..ชนดิ คอื ……………………………………………………………………………………..……….…………..6. ปรมิ าณฐาน มีทงั้ หมด……ปรมิ าณ ไดแก………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………….7. ยกตัวอยา งปรมิ าณอนุพัทธ มา 5 ปรมิ าณ………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………8. ระบบ SI คอื ………………………………………………………………………………………………………………….…………………………9. หนวยในระบบ SI หนว ยคอื …………………………………………………………………………………..……………………………………10. คําอปุ สรรค คือ ..………………………………………………………………………………………………………………..…………………….11. จงเขยี นปรมิ าณตอ ไปน้ใี นรปู เลขยกกําลังก. 154,000,000 เมตร ข. 8,139,000 กิโลเมตรค. 0.000237 กโิ ลกรัม ง. 0.00007 วนิ าทีวิธที าํ ก. 154,000,000 เมตร = 1.54 x 100,000,000 = 1.54 x ………………... เมตรข. 8,139,000 กโิ ลเมตร = 8.39 x 1,000,000 กิโลเมตร ค. 0.000237 กโิ ลกรมั = = 8.39 x …………... กิโลเมตร 2.37 x 1 กโิ ลกรัม 10,000 = 2.37 x ………….…….. กิโลกรมั

ง. 0.00007 วินาที = 7.0 x 1 วินาที 100,000 = 7.0 x ………….…….… วนิ าที12. จงเขยี นปริมาณตอไปน้ี โดยใชคําอุปสรรค ก. ความยาว 824 กิโลเมตร ใหมีหนว ยเปน ไมโครเมตร ข. มวล 0.00267 เมกะกรมั ใหมีหนว ยเปน เซนติกรัมวธิ ีทํา ก. เปลย่ี น ความยาว 824 กโิ ลเมตร เทา กับ 824 x 103 เมตร เปล่ยี น ความยาว 824 x 103 เมตร เทา กับ 824 x 103 x 106 x 10- 6 เมตร ตอบ เปลย่ี น ความยาว 824 x 103 x 106 x 10- 6 เมตร เทา กับ …………….…… ไมโครเมตร ข. ……………….…… x 109 ไมโครเมตร หรือ ……………...…… x 1011 ไมโครเมตร 1 เปลีย่ น มวล 0.00267 เมกกะกรมั เทา กับ 2.67 x 1,000 เมกกะกรมั เปลี่ยน มวล 2.67 x 1 เมกกะกรัม เทากบั 2.67 x 10- 3 เมกกะกรมั 1,000 เปลี่ยน มวล 2.67 x 10- 3 เมกกะกรัม เทา กับ 2.67 x 10- 3 x 106 กรมั เปลีย่ น มวล 2.67 x 10- 3 x1 06 กรมั เทา กับ 2.67 x 103 x 102 x 10- 2 กรัม เปล่ียน มวล 2.67 x 105 x 10- 2 กรมั เทา กับ ……………....……… เซนตกิ รมัตอบ …………………..………. เซนตกิ รมั ************************

รายวชิ า ฟสกิ ส 1 ใบงานที 1.3 ผลการเรียนรทู ี่ 1 รหัสวชิ า ว 31201 ใชป ระกอบแผนจดั การเรยี นรทู ่ี 1ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 4 หนว ยการเรียนรทู ่ี 1 เรือ่ ง ฟส กิ ส ปริมาณและหนวยทางฟสิกส ช่อื ………………………………………………………ช้นั ………………………เลขท่ี……………..….. จงเติมคา ใหถ ูกตอ ง 1. ระยะทางจาก A ถงึ B 12 Gm = ……………………… m2. ความเรว็ แสง 3 x 108 m/s = ……………………… Mm/s3. หินกอ นหนึง่ มีมวล 450 kg = ………………………. mg4. พืน้ ที่ 150 ( mm )2 = ………………………. m25. ถังนาํ้ ขนาด 250 ( mm )3 = ………………………. m36. หนวยความจําขนาด 2.56 x 010 B = ……………………… GB7. เช้ือแบคทีเรียขนาด 0.02 nm = ……………………… m8. ลูกฟุตบอลมพี ลังงาน 200 J ( จูล ) = ……………………… MJ9. เวลา 10 ช่วั โมง ( hr ) = ……………………… s10. รถยนตว ิง่ ดว ยขนาด 72 km/hr = ……………………… m/s

รายวชิ า ฟส ิกส 1 แบบฝกทกั ษะท่ี 1 ผลการเรยี นรทู ี่ 1 รหสั วชิ า ว 31201 ใชป ระกอบแผนจัดการเรียนรูที่ 1ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 หนวยการเรยี นรูที่ 1 เร่ือง ฟส กิ ส ปรมิ าณและหนวยทางฟสกิ ส ช่ือ..........................................................………………….. ชน้ั ม. 4 /......………….เลขท่ี............…. ***********************1. สังเกตหนว ยของปริมาณเหลา นี้แลว บอกวาเปนปริมาณฐาน หรือ ปรมิ าณอนุพทั ธ ชอื่ ปริมาณ หนว ยปริมาณ ปรมิ าณฐาน หรอื ปรมิ าณอนพุ ทั ธ1. อณุ หภมู ิ เคลวิน ( K )2. ความดัน นิวตนั ตอ ตารางเมตร ( N/m2 )3. เวลา วนิ าที ( s )4. ความเรง เมตรตอ วินาทียกกาํ ลงั สอง ( m /s2)5. พลังงาน กิโลกรัม.(เมตร)2ตอ (วนิ าท)ี 2 ( kg.m2 /s2 )6. ปริมาณของสาร โมล ( mole )2. จงเติมคาใหถ ูกตอง = ………………………m 1. ระยะทางจาก A ถงึ B 3 Mm = ……………………… Gm/s 2. ความเรว็ แสง 3 x 108 m/s3. หินกอนหนงึ่ มีมวล 80 kg = ………………………. G4. พ้นื ท่ี 200 ( cm )2 = ………………………. m25. ถังนา้ํ ขนาด 5000 ( cm )3 = ………………………. m36. หนว ยความจาํ ขนาด 2.56x108 B = ……………………… MB7. เชอื้ แบคทีเรยี ขนาด 0.002 µm = ……………………… m8. ลูกฟตุ บอลมพี ลงั งาน 200 J ( จลู ) = ……………………… kJ9. เวลา 2 ชัว่ โมง ( hr ) = ……………………… s10. รถยนตว ง่ิ ดว ยขนาด 90 km/hr = ……………………… m/s

แผนการจดั การเรียนรูแ บบองิ มาตรฐาน หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 เรยี นรู … สฟู สกิ ส แผนจัดการเรยี นรทู ี่ 2 เรือ่ ง การทดลองในวชิ าฟสกิ ส รายวชิ า ฟสิกส 1 รหสั วชิ า ว 31201 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2560 นาํ้ หนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ช่ัวโมง/สัปดาห เวลาทีใ่ ชใ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู 2 ชั่วโมง ***********************1. สาระสําคญั (ความเขา ใจท่คี งทน) วิชาฟส ิกส เปนวิชาทศ่ี ึกษาปรากฏการณทางธรรมชาติ ในการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การเคล่ือนที่ของวตั ถุ การนาํ ไฟฟาของวตั ถุ การเปลยี่ นแปลงสถานะของสาร มีปริมาณใดสัมพันธกัน แลวการทดลองจึงเปนการคน หาคําตอบและความจรงิ มาวเิ คราะห อธิบาย ความสําคัญของการบันทึกขอมูลจึงนับวาจําเปน โดย ตัวเลขทีไ่ ดจ ากการวัดจงึ มคี วามสําคัญ และมีความหมาย ตัวเลขเหลาน้ีจึงมีนัยสําคัญ เรียกวา เลขนัยสําคัญ แตความถกู ตองแมนยาํ น้นั จะไม 100 % เน่ืองเคร่อื งมอื และตวั ผูวัดเอง จงึ ตองมคี าคลาดเคลื่อน ( คาความไมแนนอนของการวัด ) แลวนาํ แปลเปนความสัมพันธของปริมาณที่วัดไดเปนกราฟ ในวิชาฟสิกสกราฟท่ีเก่ียวของ จะเปนกราฟเสนตรง กราฟพาราโบลาและไฮเปอรโบลา2. มาตรฐานการเรียนรู/ ตวั ชว้ี ัดช้ันป/ผลการเรียนร/ู เปา หมายการเรยี นรู มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รวู า ปรากฏการณทางธรรมชาติท่ีเกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบไดภายใตข อ มูลและเครือ่ งมอื ท่ีมอี ยใู นชวงเวลานั้นๆ เขา ใจวา วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และส่ิงแวดลอมมีความเก่ยี วขอ งสมั พนั ธก ันผลการเรยี นรู สํารวจตรวจสอบ ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับการบันทึกขอมูล ทักษะการทดลอง การนําเสนอขอมูลการเขยี น และการรายงานกราฟ3. สาระการเรียนรู 3.1 เนอื้ หาสาระหลกั : Knowledge (ผเู รยี นตองรอู ะไร) 1. การทดลองและการบนั ทึกขอ มูล 2. เลขนยั สําคญั 3. คา ความไมแ นนอนในการวัด 4. การเขยี นและการรายงานกราฟ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process (ผูเรยี นสามารถปฏบิ ตั อิ ะไรได) - ผเู รียนสามารถอธบิ ายเกีย่ วกับการบนั ทึกขอมลู ทกั ษะการทดลอง การนาํ เสนอขอมูล การเขยี น และการรายงานกราฟได (ใบกิจกรรม : ผงั ความคิด Concept mapping) - ผเู รยี นสามารถคาํ นวณเกย่ี วกับเลขนัยสาํ คัญได (ใบงาน/แบบฝก ทักษะ)

4. สมรรถนะสาํ คัญ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร (อธิบาย concept ความสมั พันธ นําเสนอขอ มลู ในรูปแบบกราฟ) 2. ความสามารถในการคิด (คดิ วเิ คราะห เลขนัยสําคญั ) 3. ความสามารถในการแกปญหา5. คณุ ลักษณะของวิชา - ความรบั ผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - ทักษะการทดลอง - กระบวนการกลมุ6. คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค : Attitude (ผูเรยี นควรแสดงพฤตกิ รรมการเรยี นอะไรบา ง) - ซือ่ สัตยสุจริต - มีวินัย - ใฝเรยี นรู - มงุ มัน่ ในการทํางาน7. ช้ินงาน/ภาระงาน : การทดลองในทางฟสิกส - ใบกิจกรรมที่ 2 : ผงั ความคิด ( Concept mapping ) - ใบงานท่ี 2.1 , 2.2 และ.3 - แบบฝกทักษะท่ี 28. กจิ กรรมการเรียนรู (ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู : 5 E) : เวลา 2 ช่วั โมง ขั้นท่ี 1 ข้นั นาํ เขาสูบทเรยี น (Engagement Phase) 1.1 ผูเรียนและครูรว มกนั สนทนา เกย่ี วกับ “การทดลอง มคี วามสาํ คัญอยางไร ขณะดําเนินการทดลองสงิ่ ใดท่มี คี วามสําคัญ” เพอ่ื นําไปสูค าํ ถามที่วา “การบันทึกขอมลู ท่ไี ดจ ากการทดลอง โดยเฉพาะจากเคร่ืองมอื แบบสเกล จะเปนขอมูลเชิงปริมาณ ตวั เลขทกุ ตวั มีความสาํ คัญ เทากนั หรอื ตา งกนั อยา งไร” 1.2 ผเู รียนตอบขอซักถามของครูวา “การบนั ทกึ ขอมลู ทไี่ ดจากการทดลอง โดยเฉพาะจากเคร่ืองมือแบบสเกล จะเปนขอมูลเชงิ ปรมิ าณ ตัวเลขทุกตวั มีความสําคญั เทา กนั หรอื ตางกนั อยางไร” (ท้ิงชว งใหผเู รียนคิด) 1.3 ผเู รยี นรวมกนั อภิปรายในแตล ะกลุม พรอมท้ังบนั ทกึ ความเห็นของกลุม ในใบงานที่ 2.1 เฉพาะขอ 1และขอ 2 (เปด โอกาสใหผูเรยี นไดแ สดงความคิดเหน็ โดยยงั ไมเนน ถูกผดิ ) 1.4 ตัวแทนผูเรยี นแตละกลมุ นาํ เสนอความเหน็ ของกลุม ( ของแตละคนในกลุมโดยตัวแทนของกลมุและขอสรปุ ของกลุม) 1.5 ผูเ รียนและครูรวมกันอภิปรายเกยี่ วกับ “การบนั ทึกขอมูล ทไ่ี ดจากการทดลอง โดยเฉพาะจากเครอื่ งมือแบบสเกล จะเปนขอมูลเชงิ ปริมาณ ตัวเลขทกุ ตัวมีความสําคญั เทากนั หรือตางกนั อยางไร” แลว บนั ทกึลงในใบงานท่ี 2.1 1.6 ผเู รียนทําแบบทดสอบกอนเรียน จาํ นวนขอสอบ 10 ขอ 1.7 แจงใหผ ูเ รยี นทราบวา จะไดศึกษาเกี่ยวกับ การทดลองในวชิ าฟส กิ ส ขนั้ ที่ 2 ข้ันสํารวจและคนพบ (Exploration Phase) 2.1 ผูเรียนสืบคนขอมูลเก่ียวกับ การทดลองในวิชาฟสิกส จากใบความรูที่ 2 เร่ือง การทดลองในวิชาฟสิกส พรอมกับใบงานที่ 2.2 แลว สรปุ สาระสําคญั บนั ทึกลงในสมุดจดบันทกึ และตอบคําถาม 2.2 สมุ ผูเรยี น 1 กลมุ เสนอผลการสบื คนขอมูล

ขั้นที่ 3 ข้นั อธบิ ายและลงขอสรุป ( Explanation Phase) 3.1 ผูเ รยี นนาํ ขอ มลู จากขั้นการสบื คน ขอมลู มาอภปิ รายรว มกบั ครู 3.2 ครูอธิบายเพม่ิ เตมิ เก่ียวกับ เลขนยั สําคัญ คา ความไมแนน อนในการวัด เพ่ือใหผูเรียนสรุปสาระสําคัญลงในสมดุ จดบันทึก ขนั้ ที่ 4 ขน้ั ขยายความรู (Expansion Phase) 4.1 ผูเรียนสนทนาซักถามครูและตอบคําถามวา “ความสัมพันธของปริมาณตางๆ เม่ือนํามาคาของอีกปริมาณหน่ึง ผลลัพธท่ีไดควรจะบันทึกอยางไร” (ท้ิงชวงใหผูเรียนคิด) เพ่ือนําไปสู เรื่อง การบวก ลบ คูณ หารเลขนัยสาํ คญั และคา ความไมแ นนอนในการวัด 4.2 ผูเรียนและครูรวมกันอภิปราย เกี่ยวกับ การบวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสําคัญ และคาความไมแนนอนในการวัด และตัวอยางการบวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสําคัญ และคาความไมแนนอนในการวัด จากใบความรูที่ 2 เร่อื ง การทดลองในวชิ าฟสกิ ส 4.3 ผูเรยี นและครรู วมกันอภิปราย เกีย่ วกบั การเขียนกราฟ และการรายงานกราฟ จากใบความรทู ่ี 2 4.4 ผูเรียนรวมกันสบื คน แกป ญ หา ในใบงานที่ 2.3 4.5 ผูเรยี นทําแบบฝกทักษะที่ 2ข้ันท่ี 5 ข้นั ประเมิน (Evaluation) 5.1 ผูเรียนเขียน Concept mapping เก่ียวกับ การทดลองในวิชาฟสิกส ในใบกิจกรรมที่ 2 โดยสรุปองคความรูที่ไดจากการเรียนรู ตลอดท้ัง 2 ชั่วโมงที่ผานมา พรอมตกแตงใหสวยงาม สงครูเม่ือส้ินสุดการเรียนรูตามหนวยการเรยี นรูท ่ี 2 5.2 ผูเรียนทาํ แบบทดสอบหลงั เรยี น9. สื่อการเรยี นการสอน/แหลง เรียนรู ประกอบแผนการจดั การเรียนรูท ่ี 1 รายการสือ่ จาํ นวน สภาพการใชสอื่1. แบบทดสอบกอนเรยี น 1 ชดุ ใชขัน้ สรางความสนใจ2. ใบงานที่ 2.1 1 ใบ ใชข ั้นสรา งความสนใจ3. แบบฝก ทกั ษะที่ 2 1 ชดุ ใชขยายความรู4. ใบความรทู ี่ 2 1 ใบ ใชอธิบายและลงขอสรปุ5. ใบงานที่ 2.2 1 ใบ ใชส ํารวจและคน หา6. ใบงานท่ี 2.3 1 ใบ ใชขยายความรแู ละลงขอ สรปุ6. สอื่ power point 1 ชดุ ใชอธบิ ายและลงขอสรปุ 1 ชดุ ใชข ยายความรูแ ละลงขอ สรุป เร่อื ง “เรยี นรสู ูฟสิกส” 1 ชุด ใชขั้นประเมิน7. หนงั สอื เรยี นฟส กิ สเพิ่มเตมิ เลม 18. แบบทดสอบหลงั เรยี น

10. การวัดและประเมินผลเปา หมาย หลกั ฐานการเรยี นรู วิธีวดั เครอื่ งมือวัดฯ ประเด็น/เกณฑการการเรียนรู ช้นิ งาน/ภาระงาน ตรวจผงั ความคดิ แบบประเมนิ ผงั ความคดิ ใหคะแนนสาํ รวจตรวจสอบ - ผงั ความคิด Concept แบบประเมินพฤตกิ รรมผูเรียนทดลอง และอธบิ าย Mapping ตรวจใบงาน รอ ยละ 50 ขน้ึ ไป ตรวจใบกิจกรรมเกีย่ วกับการบนั ทึก ตรวจแบบฝกทักษะขอ มลู ทกั ษะการทดลอง การนาํ เสนอ - ใบงาน แบบตรวจใบงาน ตอบถกู 1 คะแนนขอ มูล การเขียน - ใบกจิ กรรม แบบตรวจใบกิจกรรม ตอบผดิ 0 คะแนนและการรายงานกราฟ - แบบฝก ทกั ษะ แบบตรวจแบบฝก ทกั ษะ แบบทดสอบ ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบกอ น - หลังเรียน ตอบถกู 1 คะแนน - กอนและหลงั เรยี น แบบทดสอบผลการเรียนรทู ี่ 2 ตอบผิด 0 คะแนน - ผลการเรียนรูที่ 2

11. จดุ เนนของโรงเรยี น การบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร โรงเรยี นปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผเู รยี น 1. ความพอประมาณ พอดีดานเทคโนโลยี พอดดี า นจิตใจ 2. ความมีเหตุผล รจู กั ใชเทคโนโลยมี าผลิตสื่อท่ีเหมาะสม มจี ิตสาํ นึกท่ีดี เอ้อื อาทร และสอดคลองเน้ือหาเปนประโยชนตอ ประนีประนอม นกึ ถึงประโยชน 3. มีภูมิคุมกันในตวั ที่ดี ผูเรยี นและพฒั นาจากภูมปิ ญ ญาของ สว นรวม/กลุม 4. เงอ่ื นไขความรู ผูเ รยี น 5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม - ยึดถือการประกอบอาชพี ดวยความ ไมหยดุ น่งิ ทีห่ าหนทางในชวี ิต หลุด ถูกตอง สุจริต แมจะตกอยูในภาวะขาด พน จากความทกุ ขยาก (การคน หา แคลน ในการดาํ รงชวี ติ คําตอบเพื่อใหหลุดพนจากความไม - ปฏิบัตติ นในแนวทางที่ดี ลด เลิก สง่ิ ย่วั ร)ู กิเลสใหห มดส้ินไป ไมกอความชว่ั ให เปน เครอ่ื งทําลายตัวเอง ทาํ ลายผูอ่นื พยายาม เพมิ่ พนู รักษาความดี ท่ีมีอยูให งอกงามสมบูรณย ง่ิ ขึ้น ภูมิปญ ญา : มีความรู รอบครอบ และ ภมู ปิ ญ ญา : มคี วามรู รอบครอบ ระมัดระวงั และระมดั ระวงั ภมู ธิ รรม : ซ่อื สตั ย สุจรติ ขยันอดทนและ ภูมธิ รรม : ซื่อสตั ย สุจริต ขยนั แบง ปน อดทนและแบงปน ความรอบรูเก่ียวกับวชิ าการตา งๆ ท่ี ความรอบรูเ กย่ี วกบั เนอื้ หาสาระที่ เกี่ยวขอ งรอบดา น ความรอบคอบท่จี ะนํา เรยี น ทีเ่ ก่ยี วของรอบดา น ความ ความรูเหลา นั้นมาพจิ ารณาใหเช่ือมโยงกัน รอบคอบท่จี ะนําความรเู หลานนั้ มา เพื่อประกอบการวางแผนและความ พจิ ารณาใหเชอ่ื มโยงกัน สามารถ ระมัดระวงั ในการปฏบิ ตั ิ ประยกุ ตใชใ นชีวติ ประจาํ วนั มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มี ซ่ือสัตยสจุ ริตและมคี วามอดทน มีความ ความซื่อสตั ยส ุจรติ และมคี วาม เพียร ใชสตปิ ญ ญาในการดาํ เนินชวี ติ อดทน มคี วามเพยี ร ใชส ติปญญาใน การดําเนนิ ชีวติกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร ครู ผูเรยี น โรงเรียน - - -

บันทึกหลงั การสอน1. ผลการสอน 1.1) การประเมินดา นความรู : Knowledge 1.1.1) ผลการประเมินโดยใชแ บบทดสอบกอนและหลังเรยี น 1) การประเมินผลกอนการเรยี น โดยใชแ บบทดสอบชนดิ ปรนัย 4 ตวั เลอื ก จํานวน 10 ขอ พบวาผูเรยี นไดคะแนนเฉลยี่ …………………. จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน มีผเู รยี นจาํ นวนท้งั ส้นิ …………….คนคดิ เปนรอยละ …………………. ไมผา นเกณฑข้ันต่าํ ท่กี าํ หนดไวคอื รอยละ 50 2) การประเมินผลหลงั การเรยี น โดยใชแบบทดสอบชนิดปรนยั 4 ตวั เลือก จาํ นวน 10 ขอ พบวาผเู รยี นไดคะแนนเฉล่ีย …………………. จาก คะแนนเต็ม 10 คะแนน ผเู รยี นมีผลการทดสอบหลังเรยี น……………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………1.1.2) ผลการประเมนิ โดย………………………………………………………….จาํ นวน…………..ขอ จํานวน …………. คะแนนพบวา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.2) การประเมินดา นทักษะกระบวนการ : Process ผลการประเมินโดยใช…………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………พบวา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1.3 ) การประเมนิ ดา นคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค : Attitude (ซอ่ื สัตยสจุ ริต มวี ินยั ใฝเรียนรูและมงุ ม่ันในการทํางาน) จํานวน 2 คะแนนเตม็ ผลการประเมินโดยใชแบบสังเกตพฤตกิ รรมพบวา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………2. ปญหา - อปุ สรรค มดี ังน้ี………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. แนวทางแกไ ข วิธีดําเนินกจิ กรรม รายการ ลงชอ่ื …..........………….......................…….. ผูจัดกจิ กรรมการเรยี นรู (นางสาวณัฐธนัญา บุญถงึ ) ตําแหนง ครู คศ. 2 ……… / ……………….. / ………………

บันทึกการนิเทศ รายละเอียดความเห็นของผูนเิ ทศ ลายมือช่อืที่ รายการผูนิเทศ1 หวั หนา กลุมสาระการเรยี นรู/ …………………………………………………………………….. …………………………. …………………………………………………………………….. ผูท ่ีไดร ับมอบหมาย …………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..2 รองผูอ ํานวยการโรงเรยี น กลุมบริหารวชิ าการ …………………………………………………………………….. …………………………. ……………………………………………………………………..3 ผูอํานวยการโรงเรียน …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..

ÊèÍ× »ÃСͺἹ¨´Ñ ¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã·ŒÙ èÕ 2

รายวชิ า ฟส กิ ส 1 แบบทดสอบ ผลการเรียนเรยี นรทู ี่ 2 รหัสวชิ า ว 31201 ( กอนเรยี น – หลังเรยี น ) ประกอบแผนจัดการเรยี นรูท่ี 2ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 4 เร่ือง การทดลองในทางฟส ิกส หนว ยการเรียนรทู ่ี 1 เวลา 15 นาทีผลการเรียนรูท ่ี 2 สาํ รวจตรวจสอบ ทดลอง และอธิบายเก่ยี วกับการบันทกึ ขอมลู ทักษะการ ทดลอง การนาํ เสนอขอมูล การเขียน และการรายงานกราฟคําสั่ง จงเลือกคําตอบทีถ่ กู ตองลงในกระดาษคําตอบ1. จงเรยี งลําดับเลขนัยสําคัญตอไปน้จี ากมากไปนอย 0.05 , 0.70 , 0.145 , 0.1025ก. 0.05 , 0.70 , 0.145 , 0.1025 ข. 0.70 , 0.145 , 0.1025 , 0.05ค. 0.1025 , 0.145 , 0.70 , 0.05 ง. 0.145 , 0.1025 , 0.05 , 0.702. ผลลัพธตามหลกั เลขนยั สาํ คญั ของ 3.25 + 2.1 – 1.13 คอืก. 4 ข. 4.2 ค. 4.22 ง. 4.273. ผลลพั ธตามหลักเลขนยั สาํ คัญของ ( 4.5 x 1.12 ) – 1.34 คือก. 2.7 ข. 2.66 ค. 3.0 ง. 3.004. ผลลัพธต ามหลกั เลขนยั สาํ คัญของ ( 2.25 ÷ 1.5 ) + 1.25 คือก. 3.0 ข. 3.00 ค. 2.75 ง. 2.85. ผลลพั ธตามหลักเลขนัยสาํ คัญของ 360 ÷3.00 คือก. 12.00 x 101 ข. 1.20 x 102 ค. 1.2 x 102 ง. 12.0 x 1016. ในการวัดความยาวของเหลก็ เสน ไดความยาว 8.25 เมตร ถาผูวดั เห็นวาเลขตัวสุดทายอาจเปน 3 หรอื 7 กไ็ ด เขาควรบนั ทกึ ผลการวัดเปนเทาไรก. 8.23 ± 0.03 เมตร ข. 8.25 ± 0.02 เมตรค. 8.27 ± 0.01 เมตร ง. 8.28 ± 0.05 เมตร7. เหลก็ เสนหน่งึ ยาว 12.24 ± 0.02 เมตร ตัดออกเปน 2 สวน โดยเสน หนึ่งยาว 7.14 ± 0.01เมตร เหลก็ อกี เสน จะยาวเทาใดก. 5.10 ± 0.01 เมตร ข. 5.10 ± 0.02 เมตรค. 5.10 ± 0.03 เมตร ง. 19.38 ± 0.01 เมตร L8. การศกึ ษาการแกวงของลกู ตุม อยางงา ยไดสมการเปน T = 2π g เม่อื นําความสมั พันธระหวา ง คาบ ( T ) และความยาวของเสน เชือก ( L ) ท่ีผกู ลกู ตมุ ไปเขียนกราฟจะไดกราฟในลกั ษณะใด ( g = 10 m / s2 )ก. กราฟเสนตรง ข. กราฟพาราโบลาค. กราฟไฮเปอรโบลา ง. กราฟวงกลม

9. รถคันหนึง่ เคลือ่ นทดี่ ว ยความเรงคงที่ ไดส มการเปน v = 10 – 2t กราฟในขอใดทเ่ี ปน จริง ตามสมการน้มี ากที่สุดก. ข. ค. ง.10. ใตนา กงศารักทยด (ลVอง)กฎกขับอกงรโะอแหสม ไตฟาฟมา ส(มIก)ารในVวง=จกรIRไฟฟใขนาลกวรดะโแลสหตะรชงนิดกตราาฟงๆเสคน วใาดมสมมั คี พวานั มธตระา นหทวาางนคมวาากมท่ีสุด Vค ง Iก. กราฟ ง. ข. กราฟ ค. ค. กราฟ ข. ง. กราฟ ก.

รายวชิ าฟส ิกส 1 เฉลยแบบทดสอบ ผลการเรียนรูท่ี 2รหัสวชิ า ว 31201 กอ นเรยี น –หลงั เรยี น ประกอบแผนจัดการเรยี นรูที่ 2ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 4 เรือ่ ง การทดลองในทางฟส กิ ส หนวยการเรยี นรูที่ 1 เฉลยแบบทดสอบ กอ นเรยี นและหลงั เรียน ขอ คาํ ตอบ 1ค 2ข 3ก 4ง 5ค 6ข 7ค 8ข 9ค 10 ง

รายวชิ า ฟสิกส 1 ใบกจิ กรรมท่ี 2 ประกอบรหสั วชิ า ว 31201 แผนผงั ความคิด ( Concept Mapping ) แผนการจดั การเรียนรูที่ 2ชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 4 การทดลองในวิชาฟส กิ ส หนวยการเรยี นรูท ี่ 1 ช่อื ..........................................................………………….. ช้นั ม. 4 /......………….เลขที่............…. **********************************ผลการเรียนรทู ี่ 2 สํารวจตรวจสอบ ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับการบนั ทกึ ขอมลู ทกั ษะการทดลอง การนาํ เสนอขอ มูล การเขยี น และการรายงานกราฟคาํ สง่ั ใหผ ูเ รยี นสรปุ ความรูทเ่ี ก่ียวกบั การทดลองในวชิ าฟสิกส เปนแผนผงั ความคิด( Concept Mapping )สรปุ องคค วามรู เร่ือง………………………………………………………………………………เกยี่ วของ ในหวั ขอ เร่ือง การทดลองในวิชาฟสิกสมอบหมายงาน วนั ท่ี………………………………………………………………………………กาํ หนดสง งาน วันท…ี่ ……………………………………………………………………………สง งาน วันท่…ี …………………………..…………ลงช่อื ……………………………….…………ผูสงงาน ลงชอื่ ………………….…………………………ผรู บั งาน ( …………………………………………. ) (นางสาวณฐั ธนญั า บุญถึง) ครูผูสอนลําดับ รายการ 54321 หมายเหตุ 1 ความเกยี่ วของเนือ้ หาสาระกบั หวั ขอ ยอย 2 การใชภ าษาถกู ตอ ง เวน วรรคตอน 3 รูปแบบ สามารถนาํ ไปเปนแบบอยา งได 4 ความคดิ ริเรมิ่ สรางสรรคความสัมพนั ธก บั ชีวติ ประจําวนั 5 ความสะอาด เรยี บรอย รวมท้งั สน้ิผูประเมนิ 5 = ดมี ากทส่ี ดุ 4 = ดมี าก 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ควรปรับปรงุ ลงชือ่ ………………………………………………………….……………………ชัน้ ………………….เลขที่………..…... วนั ท่ี………………………………………………………………………………………

แผนผังความคิด ( Concept Mapping )องคค วามรเู รอ่ื ง ………………………………………….. เจาของผลงาน ชือ่ ……………………………………………………ช้นั ……………..เลขท่ี……….

รายวชิ า ฟสิกส 1 ใบความรทู ่ี 2 ผลการเรยี นรทู ่ี 2รหสั วชิ า ว 31201 ใชป ระกอบแผนจดั การเรียนรูท่ี 2ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 เรือ่ ง การทดลองในวชิ าฟส กิ สการทดลองในวิชาฟส กิ ส สิ่งท่ีสําคัญประการหนึ่งในการทดลองคือการบันทึกขอมูลตามความเปนจริง การบันทึกขอมูลน้ันมีได 2ลกั ษณะ คอื การบันทึกขอมลู เชงิ คุณภาพ ( บอกถงึ ลกั ษณะ และคุณสมบัติตางๆที่สังเกตไดจาการทดลอง ) และการบนั ทกึ ขอมลู เชงิ ปรมิ าณ ( บอกถึง จํานวนมากนอ ยในลกั ษณะเปนตัวเลข ) ในการท่ีนี้จะกลาวถึงการบันทึกตัวเลขที่ไดจากเครอื่ งมอื ตา งๆในการทดลอง ดังน้ี1. เลขนัยสาํ คัญ คือ ตวั เลขท่ีไดจ ากการวดั โดยใชเ คร่อื งมือท่เี ปนสเกล โดยเลขทุกตวั ทบ่ี นั ทกึ จะมีความหมายสวนความสําคัญของตวั เลขจะไมเ ทา กนั ดงั น้ันเลขทุกตวั จึงมี นยั สาํ คัญ ตามความเหมาะสม เชน วัดความยาวของไมทอนหนึ่งไดยาว 121.54 เซนติเมตร เลข 121.5 เปนตัวเลขท่ีวัดไดจริง สวน0.04 เปน ตวั เลขทป่ี ระมาณข้นึ มา เรียกตวั เลข 121.54 น้ีวา เลขนัยสาํ คญั และมจี าํ นวนเลขนัยสาํ คัญ 5 ตวั หลักการพิจารณาจํานวนเลขนัยสาํ คัญ 1. เลขทุกตวั ถือเปน เลขท่ีมนี ัยสําคญั ยกเวน 1. เลข 0 ( ศูนย ) ที่ตอทายเลขจํานวนเต็ม เชน 120 ( มีเลขนัยสําคัญ 2 ตัว ) , 200 ( มี เลขนยั สาํ คญั 1 ตวั ) 2. เลข 0 ( ศูนย ) ที่หนา ตัวเลข เชน 0.02 ( มเี ลขนัยสาํ คญั 1 ตัว ) 2. เลข 0 ( ศูนย ) ที่อยูระหวา งตัวเลขถือเปนเลขนัยสําคญั เชน 1.02 ( 3 ตวั ) , 10006 ( 5 ตัว ) 3. เลข 0 ( ศูนย ) ทอี่ ยูทา ยแตอยูในรูปเลขทศนยิ ม ถอื วา เปน เลขนัยสําคญั เชน 1.200 ( 4 ตวั ) 4. เลข 10 ท่ีอยูในรปู ยกกาํ ลัง ไมเ ปน เลขนยั สาํ คัญ เชน 1.20 x105 ( 3 ตัว ) การบันทกึ ตวั เลขจากการคาํ นวณ 1. การบวกลบเลขนัยสําคญั โดยบวกลบเลขนยั สําคญั กอน เม่ือไดผลลัพธ ใหมีจํานวน ทศนิยมเทากับจํานวนทท่ี ศนยิ มนอยทีส่ ุด เชน 12.03 + 152.246 + 2.7 = 166.976 ผลลพั ธ คอื 167.0 2. การคูณหารเลขนัยสําคัญ โดยคูณหารเลขนัยสําคัญกอน แลวพิจารณา ผลลัพธใหมี จํานวนเลขนัยสาํ คัญ เทา กบั ตัวเลขทีน่ ยั สําคญั นอยทีส่ ดุ ท่ีคณู หารกัน เชน 54.62 x 2.5 = ? = 136.550 = 1.36 x 102 ผลลัพธ คอื 1.4 x 1022. ความไมแนน อนในการวัด ในการวดั ปรมิ าณตา งๆ ดวยเครือ่ งยอมมี ความผดิ พลาด ( error ) หรือ ความคลาดเคลื่อน อยูเสมอ เชนวัดความหนาของทอ นไม ได 2.5 เซนติเมตรกวา ๆ แตไมถึง 2.6 เซนติเมตร ดังน้ันจึงควรบันทึก 2.54 หรือ 2.55 หรือ2.56 โดยตัวสุดทาย ( 4 , 5 , 6 ) เปน การคาดคะเน การบนั ทกึ เราควรบนั ทกึ ใหมีความคลาดเคล่ือนนอยท่ีสุด เราควรบันทึกดงั น้ี 2.55 ± 0.01 โดย 2.55 คือปริมาณทว่ี ดั ได ( A ) และ ± 0.01 คือ คาความคลาดเคล่ือน หรือ ความไมแนนอนของการวัด (± ∆A )

สรปุ ไดว า การบันทึกตวั เลขทไ่ี ดจากการวัด ยอ มมีความผดิ พลาด จึงควรแสดงผลการวัดเปน ( A ± ∆A )การบนั ทกึ ผลการคาํ นวณตัวเลขทีม่ คี วามไมแ นน อนในการวัด1. การบวก หรอื ลบกัน ความคลาดเคลื่อนของผลลัพธตองคิดจากปรมิ าณความคลาดเคล่ือนจริง มาบวกกันเสมอ เชน 1.1 ( A ± ∆A ) + ( B ± ∆B ) = ( A + B ) ± ( ∆A + ∆B ) 1.2 ( A ± ∆A ) - (2B ± 2 ∆B ) = ( A - 2B ) ±( ∆A + 2 ∆B )2. การคูณ หรือ หารกัน หาเปอรเซ็นต ( % ) ความคลาดเคลื่อนของผลลัพธจากการคูณหรือหาร โดยนําเปอรเ ซน็ ต ( % ) ของความคลาดเคลอื่ นของแตล ะปรมิ าณมาบวกกัน เชนหาเปอรเ ซ็นตของความคลาดเคลอ่ื นพจิ ารณาดังนี้ ∆A 1. ( A ± ∆A ) หา เปอรเซ็นต ( %) ของความคลาดเคลอ่ื น = A x 100 % 2. ( B ± ∆B ) หา เปอรเ ซ็นต ( %) ของความคลาดเคลอื่ น = ∆B x 100 % B ∆C 3. ( C ± ∆C ) หา เปอรเซน็ ต ( %) ของความคลาดเคลอ่ื น = C x 100 %2.1 ( A ± ∆A ) • ( B ± ∆B ) = (A•B)±( ∆A x 100 % + ∆B x 100 % ) A B ∆A ∆B2.2 ( A ± ∆A ) / ( B ± ∆B ) = (A/B)±( A x 100 % + B x 100 % )2.3 ( A ± ∆A ) • ( B2 ± 2B∆B ) = ( A • B2 ) ± ( ∆A x 100 % + 2 ∆B x 100 % ) A B 1 ∆C ∆A2.4 ( A ± ∆A ) • ( B ± ∆B ) / ( C ± 2 C )= (A•B/ C)±( A x 100 % + ∆B x 100 % + 1 ∆C x 100 % ) B 2 Cตวั อยาง เชอื กสองเสน ยาว 16.32 ± 0.02 เซนติเมตร และ ยาว 20.68 ± 0.01 เซนตเิ มตร อยากทราบวา ถานํามาวางตอกันจะยาวเทาใด และ เชอื กสองเสนนี้มีความยาวตา งกนั เทา ใดวธิ ที าํ วางตอกันจะยาว จาก ( A ± ∆A ) + ( B ± ∆B ) = ( A + B ) ± ( ∆A + ∆B ) ( 16.32 ± 0.02 ) +( 20.68 ± 0.01 ) = ( 16.32 + 20.68 ) ± ( 0.02 + 0.01 ) = 37.00 ± 0.03 เซนติเมตร เชือกสองเสน นม้ี คี วามยาวตางกนั จาก ( B ± ∆B ) - ( A ± ∆A ) = ( A - B ) ± ( ∆A + ∆B ) ( 20.68 ± 0.01 ) - ( 16.32 ± 0.02 ) = (20.68 - 16.32 ) ± ( 0.02 + 0.01 ) = 4.36 ± 0.03 เซนติเมตร

ตวั อยาง แผนพลาสติกรปู ส่ีเหล่ียมผืนผา มดี า นกวาง 36.20 ± 0.05 cm และมีดานยาว 96.45± 0.05 cmแผนพลาสตกิ น้ีจะมพี น้ื ที่เปน เทาไรวธิ ีทํา แผน พลาสตกิ นีจ้ ะมพี ้นื ทีเ่ ปน ∆A ∆B( A ± ∆A ) • ( B ± ∆B ) = (A•B)±( A x 100 % + B x 100 % )( 36.20 ± 0.05 )• ( 96.45± 0.05 )= ( 36.20 • 96.45 ) ±( 0.05 x 100 % + 0.05 x 100 % ) 36.20 96.45 พืน้ ที่แผนพลาสติก = 3491.49 ± ( 0.19 % ) cm2 = 3.49.49 ± 6.63 ตารางเซนติเมตรกราฟในวชิ าฟส ิกส กราฟท่ีมักพบในวิชาฟสิกสสวนใหญไดแก กราฟเสนตรง และกราฟเสนโคง ( กราฟพาราโบลา , กราฟไฮเปอรโบลา ) กราฟเสนตรง เปนกราฟท่ีแสดงความสัมพันธเชิงเสนของคา ในแกน X และ แกน Y คือ X และ Y มีกําลังหน่ึงท้งั คู เชน ( X2 , Y2 )θ ( X1 , Y1 )ความสมั พันธของแกน X และ Y จะมีความหมายในการแปลขอ มูล โดยสวนที่สําคัญของกราฟอยางหน่ึง คือ ความชันและพนื้ ทีใ่ ตกราฟจากสมการ กราฟเสนตรง y = mx + c เมอื่ y2 - y1 m คอื ความชัน ( m = tanθ , m= x2 - x1 ) c เปน คา คงตวั ตดั ท่ีแกน yตวั อยาง วัตถหุ นงึ่ เคล่ือนทด่ี วยความเรงคงท่ี โดยมคี วามสมั พนั ธร ะวา งความเรว็ และเวลา ดังน้ี v = 2t + 6 ความสมั พันธน ี้ เม่อื นาํ ไปเขยี นกราฟจะไดกราฟลกั ษณะใด ขณะเรมิ่ สังเกตวัตถนุ ้ี มีความเร็วหรอื ไม อยา งไร และความเรงของวัตถุน้ีมีคา เทา ไรวธิ ีทํา จากสมการความสมั พันธ v = 2t + 6 จะไดว า v และ t จะยกกาํ ลงั หนงึ่ จึงเปนกราฟเสน ตรง และมีสมการ รปู เดียวกับกราฟเสนตรง คือ y = mx + c จะไดก ราฟเสน ตรงลกั ษณะดงั นี้v ขณะเริม่ สังเกต คอื เวลา 0 s วัตถุมคี วามเร็ว = 6 m/s ความเรง คอื การเปลย่ี นแปลงความเร็วในหนึง่ หนวยเวลา พจิ ารณาจากกราฟเปน กราฟเสน ตรงความชันคงท่ีแสดงวามีการ ( 0 , 6 ) เปลี่ยนแปลงความเรว็ อยางสมํ่าเสมอ ดังน้ัน ความเรง = 2 m/(s)2 t

กราฟพาราโบลา เปนกราฟท่แี สดงความสัมพันธข องปริมาณหนึ่งเปน สัดสว นโดยตรงกับอีกปริมาณหน่ึงยกกําลงั สอง เชนสมการกราฟพาราโบลา y = mx2 Y y = mx2สมการในวิชาฟสิกสท เี่ กยี่ วของ SEk==ut12+mv122at2 X1.2.กราฟไฮเปอรโ บลา เปนกราฟทีแ่ สดงความสมั พันธใ นลกั ษณะทปี่ ริมาณหนง่ึ แปรผกผนั กบัอกี คาหนึ่ง โดยปรมิ าณทั้งสองมกี าํ ลังหนงึ่ ทั้งคู เชน k Y xสมการกราฟไฮเปอรโ บลา xy = k หรอื y =สมการในวชิ าฟส ิกสท ่ีเกยี่ วขอ งF = ma ถา พิจารณา ที่ F และ a โดย m คงท่ี จะไดกราฟ เสน ตรง 1ถา พจิ ารณา m และ a โดย F คงที่ จะได aα m Xและไดก ราฟในลกั ษณะเปน กราฟไฮเปอรโ บลา

รายวชิ า ฟส กิ ส 1 แบบฝก ทกั ษะท่ี 2 ผลการเรียนรทู ่ี 2 รหัสวชิ า ว 31201 ใชป ระกอบแผนจัดการเรยี นรทู ่ี 2 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 เร่ือง การทดลองในวชิ าฟส กิ ส ชอ่ื ..........................................................………………….. ช้ัน ม. 4 /......………….เลขท่ี............…. *************************1. เดก็ คนหน่ึงบนั ทกึ ตวั เลขจากการทดลองเปน 0.0825 กิโลกรมั , 650 x10- 2 เมตร , 20.5 เซนตเิ มตร , 8.00 วินาที และ 200 ลูกบาศกเ ซนติเมตร จํานวนตวั เลขเหลานี้มีเลขนยั สําคญั กี่ตัวตอบ 0.0825 กโิ ลกรมั มเี ลขนัยสําคญั …………….ตวั 650 x 10- 2 เมตร มเี ลขนัยสาํ คญั …………….ตัว 20.5 เซนตเิ มตร มีเลขนัยสาํ คัญ…………….ตวั 8.00 วนิ าที มเี ลขนัยสาํ คัญ…………….ตวั 200 ลกู บาศกเซนตเิ มตร มีเลขนัยสําคญั …………….ตวั 3.502. จงหาผลลัพธของ 7.0 + 4.95 – 2.52 ตามหลกั เลขนัยสําคัญวิธที าํ 3.50 7.0 + 4.95 – 2.52 = ( …………..…… ) + 4.95 – 2.52 = …………………………… ผลลพั ธตามหลักเลขนัยสําคัญ = …………………………… ตอบ3. จงหาผลบวกและผลตางของจํานวน ( 3.45 ± 0.02 ) กับ ( 2.13 ± 0.03 ) ( 3.45 ± 0.02 ) + ( 2.13 ± 0.03 ) = ( …………………….. ) ± ( ………………………. ) = …..………………………. ( 3.45 ± 0.02 ) - ( 2.13 ± 0.03 ) = ( …………………….. ) ± ( ………………………. ) = …..……………………….4. กราฟความสมั พนั ธร ะหวา ง v กบั t ทีไ่ ดจาก สมการ v = 5t – 6 จะเปน กราฟลกั ษณะใด ………………… @@@@@@@@@@@@@@@