Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หินอัคนีแทรกซ้อน (1)

หินอัคนีแทรกซ้อน (1)

Published by MONNAPHA Sanundee, 2021-11-12 06:35:53

Description: หินอัคนีแทรกซ้อน (1)

Search

Read the Text Version

หินอัคนีแทรกซ้อน หินอัคนีแทรกซอน (Intrusive Igneous Rock) คือลักษณะของมวลหินอัคนีที่เกิดจากการแข็งตัวของหินหนืดใต้ เปลือกโลกนี้เรียกว่า พลูตอน (pluton) สามารถแบ่งเป็น 2ลักษณะคือ 1. พลูตอนแบบร่วมแนว (concordant pluton) เป็นมวลหินอัคนี แทรกซอนที่เกิดจากแมกมาแทรกตัวเข้าไปแข็งตัวของหินหนืดเป็น แนวขนานไปกับชั้นหินเดิม • พนังแทรกชั้น (sill) เป็นลักษณะของหินอัคนีที่พบแทรกอยู่ระหว่างชั้น หินเดิม มีรูปร่างเป็นแผ่นแทรกเข้าไปในชั้นหิน • หินอัคนีรูปเห็ด(laccolith) เกิดจากหินหนืดที่มีความเข้มข้นสูงแทรก ดันขึ้นมา และแผ่ออกด้านข้างไม่มากทาให้เกิดการดันตัวขึ้นด้านบนและ แข็งตัวเป็นหินอัคนีแทรกซอนที่ด้านบนโค้งนูน จากการดันตัวขึ้นด้านบน ทาให้ชั้นหินเดิมที่อยู่ด้านบนถูกดันตัวให้โค้งนูนตามไปด้วย ส่วนฐานค่อน ข้างเรียบ • หินอัคนีรูปฝักบัว(lopolith) เป็นหินอัคนีแทรกซอนที่มีลักษณะเป็น แอ่งหรือจาน

2. พลูตอนแบบไม่ร่วมแนว (discordant) เป็นมวลหินอัคนีแทรกซอน ที่ตัดผ่านหินเดิมในลักษณะขวางกับชั้นหินเดิม • พนัง (dike) เป็นหินอัคนีแทรกซอนที่มีลักษณะเป็นสายตัดผ่านชั้น หินเดิมวางตัวตั้งฉากหรือเกือบตั้งฉากกับชั้นหินเดิม • หินอัคนีมวลไพศาล (batholith) เป็นมวลหินอัคนีแทรกซอนระดับ ลึกขนาดใหญ่มีพื้นที่มากกว่า 100 ตารางกิโลเมตรรูปร่างไม่แน่นอน มี มวลหินที่เชื่อมต่อลงไปใต้ผิวดินในระดับลึก • ลำหินอัคนี (stock) เป็นหินอัคนีแทรกซอนที่แยกตัวออกมาจาก หินอัคนีมวลไพศาล มีลักษณะกลม มีพื้นที่น้อยกว่า100 ตาราง กิโลเมตร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook