แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคMaple Model ประกอบแบบฝึกทักษะการอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ พระอนันท์ อุตฺตรวาที กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนวัดไทรเหนือวิทยา Email :[email protected] ๐๙๖-๒๖๙-๒๖๓๐
แผนการจัดการจัดการเรยี นรแู้ บบกลมุ่ ร่วมมือเทคนคิ Maple Model ประกอบแบบฝกึ ทักษะ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สาระที่ 1 การอ่าน ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 256๖ หน่วยท่ี 1 เรื่อง การอา่ นวินจิ สาร เวลา ๔ ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง การอา่ นแปลความ ตคี วาม และขยายความ เวลา 1 ชั่วโมง วนั ทสี่ อน: วัน……………..ท…่ี …….เดอื น…………………………..พ.ศ……………………………….. ๑.ตัวชี้วัด/จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรูแ้ ละความคิดเพื่อนำไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการดำเนินชวี ิตและมีนสิ ัยรักการอา่ น ท 1.1 ม.4-6/2 อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้อยา่ งถกู ต้อง ไพเราะและ เหมาะสมกบั เรือ่ งทีอ่ า่ น ม.4-6/6 ตอบคำถามจากการอา่ นงานเขียนประเภทต่างๆ ภายในเวลาท่กี ำหนด ๒.สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การอ่านเป็นการสร้างองค์ความรู้ การฝึกฝนทักษะการอ่านอยู่เสมอจะทำให้เป็นผู้สามารถ อ่าน วนิ จิ สารได้ การอา่ นวนิ จิ สาร คอื การวเิ คราะหแ์ ละพิจารณาประเด็นสำคัญของเรื่องที่อ่านเพื่อมองหา คุณค่าและความดีเด่นของสาร ถือเป็นการฝึกทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการ เลอื ก รบั สารในชีวติ ประจำวัน ๓.เป้าหมายการเรยี นรู้ เร่ือง เป้าหมายการเรยี นรู้ สมรรถนะสาคญั คณุ ลกั ษณะ อนั พงึ ประสงค์ (Topic) (Learning Outcome) (Key Competency) (Desirable Characteristics) การอ่านแปล 1) อธบิ ายการอ่านแปลความ ตคี วาม ความสามารถใน ความ ตีความ และขยายความได้ (K, S,) การสื่อสาร 1. มวี นิ ยั และขยายความ 2) อ่านแปลความ ตคี วาม และขยาย ตวั ชว้ี ดั ท่ี 1 2. ใฝ่เรยี นรู้ ความจากเร่อื งทอ่ี ่านไดถ้ ูกต้อง (K, S, A) 3. มงุ่ มนั่ ในการ ใชภ้ าษาถ่ายทอด ความรู้ ความ ทางาน เขา้ ใจ ความคดิ ความรสู้ กึ และ ทศั นะของตนเอง ดว้ ยการพดู และ การเขยี น
เร่ือง เป้าหมายการเรยี นรู้ สมรรถนะสาคญั คณุ ลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ (Topic) (Learning Outcome) (Key Competency) (Desirable Characteristics) พฤตกิ รรมบ่งชท้ี ่ี 1 พดู ถ่ายทอด ความรู้ ความ เขา้ ใจจากสารท่ี อ่าน ฟัง หรอื ดู ดว้ ยภาษาของ ตนเองพรอ้ ม ยกตวั อย่าง ประกอบได้ ๔.สาระการเรียนรู้ 4.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และ แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ในชุมชน บทความ นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย วรรณกรรมพื้นบ้าน วรรณคดีใน บทเรียน บทโฆษณาสารคดี บันเทิงคดี ปาฐกถา พระบรมราโชวาท เทศนา คำบรรยาย คำสอน บท รอ้ ยกรองร่วมสมัย บทเพลง บทอาเศยี รวาท คำขวัญ ๕.กิจกรรมการเรยี นรู้ วิธีสอนตามรูปแบบ การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค Maple Model ประกอบ แบบฝกึ ทกั ษะ ข้ันที่ 1 สำรวจปัญหา ผสู้ อนนำเสอนปญั หาเป็นคำถามและใช้เกมเปิดประสบการณ์(เกมแฟนพันแท้)เร่ิมต้นเพ่ือ ช่วยใหผ้ เู้ รียนไดร้ วู้ า่ ควรจะเริ่มต้นทำความเข้าใจการแก้ปัญหาจากตรงไหนและครูแนะนำทักษะใน การเรียนรู้ร่วมกนั และจดั นักเรยี นเป็นกลุ่มๆ ละ 3 รูปตามระดับความสามารถสูงปานกลางอ่อน และแนะนำความความรู้เก่ียวกับระเบียบของกลุ่ม บทบาทและหนา้ ที่ ขั้นที่ ๒ ขน้ั การวิเคราะห์ ผเู้ รยี นได้วเิ คราะหข์ ้อมูลและแกป้ ญั หาและใช้คำถามกระตุ้นความคิดเพื่อเป็นตัวช่วยให้ ผู้เรียนในการคดิ แก้ปญั หาได้ ๑.ครนู ำบัตรภาพสัญลักษณ์ มาแสดงให้นักเรียนดูที่หนา้ ชนั้ เรียนแลว้ ให้นกั เรยี นร่วมกนั ทายความหมายของสัญลักษณ์ 2.ครูถามนกั เรยี นว่า ทราบได้อยา่ งไรว่า สญั ลกั ษณท์ ่ีเห็นในภาพหมายถงึ อะไร และส่ือ ความว่าอยา่ งไร นกั เรียนสามารถตอบได้อยา่ งหลากหลาย
๓.ครอู ธิบายใหน้ กั เรียนเข้าใจวา่ การอ่านเป็นการสรา้ งองค์ความรู้ การฝึกฝนทักษะการ อา่ นอยู่เสมอจะทำให้เปน็ ผสู้ ามารถ อ่านวินิจสารได้ การอ่านวนิ จิ สาร คอื การวเิ คราะห์และ พิจารณาประเดน็ สำคัญของเรื่องที่อา่ นเพอ่ื มองหาคณุ ค่าและความดีเด่นของสาร ถอื เปน็ การฝึก ทักษะการคิดอย่างมีเหตุผล ซ่ึงเป็นประโยชนต์ อ่ การเลอื ก รับสารในชวี ิตประจำวัน ขัน้ ท่ี ๒ กิจกรรมการเรียนรู้ สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้: - PowerPoint เรื่อง การอ่านวนิ ิจสาร - หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง นิทานพื้นบ้านเมืองสี่แคว เรื่องเขาหิน กลง้ิ - หนังสอื เรยี น หลกั ภาษา ม.๖ - แบบฝกึ ทักษะการอา่ นแปลความ ตคี วาม และขยายความ ครูผู้สอนนำเขาสู่บทเรียนแนะนำเนื้อหาแนะนำแหล่งข้อมูลนักศึกษา ทบทวนสิ่งที่เรียน มาแล้วและมอบหมายงานให้นักเรยี นแต่ละกลุ่ม ๑.ครูอธิบายเนื้อหาการเรียนเรื่องการอ่านแปลความ ตีความ และขยายความพร้อมเปิด ตวั อย่างการอ่านแปลความ ตีความ และขยาย ๒.ครูแนะนำให้นักเรียน อ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้หนังสือ E-Book เรื่อง นิทานพื้น บา้ นเมอื ง ส่ีแคว เร่ืองเขาหินกล้ิง ๓.ครูมอบหมายให้นักเรียนทำงานเป็นกลุ่ม โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ ขน้ั ที่ ๔ ขัน้ การเรียนรแู้ บบกล่มุ ร่วมมือ สอ่ื การเรยี นรู้: แบบฝึกทักษะ๑-๓ แบบฝึกทกั ษะแบบกลุ่มที่ ๔ ผู้สอนมอบหมายงานและมีสว่ นในการทำงานอย่างทัว่ ถงึ แล้วให้ทกุ คนทำแบบฝกึ ทกั ษะชดุ ท่ี ๑ ให้ผานเกณฑ์ถา้ ไม่ผา่ นเกณฑ์ใหเ้ พื่อนที่เกง่ ชว่ ยอธิบายใหเ้ ข้าใจโดยใหน้ ักเรียนทีเ่ ป็นหวั หนา้ กลุ่มทมี่ ีความเก่งศกึ ษาเกณฑ์ประเมนิ ในการทำแบบฝึกทักษะและทำแบบฝกึ ทักษะชดุ ที่ ๒ หรอื ชุด ที่ ๓ จนกวา่ จะผา่ นเกณฑ์ จึงทำแบบทดสอบย่อยรวมกนั ท้ังชั้น ขน้ั ที่ 5 ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลการทำงานกลุ่ม นักเรียนท่เี ปน็ หวั หนา้ กลุ่มที่มีความเก่งศึกษาเกณฑ์ทำหนา้ ทเ่ี ปน็ ผูช้ ว่ ยครแู ละสรุปผลของ กลุม่ ใหค้ รู และครผู ู้สอนช่วยกันสรุปบทเรยี นและแจง้ คะแนนกลุม่ ใหน้ ักเรียนรบั รู้ กล่มุ ใดที่ทำ คะแนนเฉล่ียได้สงู ผู้สอนจะให้รางวัลเป็นคำชมเชยเพ่อื กระตุ้นให้นกั เรียนรว่ มมือ ๖.การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบฝึกทกั ษะที่ ๑ แบบฝกึ ทกั ษะท่ี ๑ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจแบบฝึกทกั ษะท่ี ๒ แบบฝกึ ทักษะท่ี ๒ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจแบบฝึกทกั ษะที่ ๓ แบบฝกึ ทักษะท่ี ๓ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
การนำเสนอผลงานของกลมุ่ แบบการนำเสนอผลงานของกล่มุ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มนั่ ในการทำงาน แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ รายการประเมิน คำอธบิ ายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน 1. การแปลความ (5) (4) (3) (2) (1) ตีความ และขยาย ความจาก งาน แปลความ ตีความ แปลความ ตวี าม และ แปลความ ตคี วาม และ แปลความ ตคี วาม และ แปลความ ตคี วาม เขียน และขยายความจาก ขยายความจากงานเขยี น ขยายความจากงานเขยี น ขยายความจากงานเขยี น และขยายความจาก งานเขียนไดถ้ กู ต้อง ได้ถูกตอ้ ง ชดั เจนเป็น ได้ถูกต้อง สมบูรณ์ ชัดเจน ได้ถกู ต้องเพียงเลก็ นอ้ ย งานเขยี นไมถ่ กู ตอ้ ง สมบูรณ์ ชดั เจนทกุ ประการ สว่ นใหญ่ พอเขา้ ใจ 2. การแสดงความ แสดงความคิดเหน็ และ แสดงความคิดเหน็ และ แสดงความคดิ เหน็ และ แสดงความคดิ เหน็ และ แสดงความคดิ เหน็ คดิ เห็นและการ ประเมินคา่ งานเขยี น ประเมนิ ค่างานเขยี น ประเมนิ คา่ งานเขยี นอยา่ ง ประเมนิ คา่ งานเขยี นอยา่ งมี และประเมินค่างาน ประเมนิ ค่า อย่างมีเหตุผล และ อยา่ งมเี หตุผล และ มีเหตุผล และชดั เจนพอ เหตุผล แต่ไมช่ ดั เจน เขียนไมม่ ีเหตุผล และ งานเขียน ชัดเจนครบถว้ น ชดั เจนเปน็ สว่ นใหญ่ เข้าใจ ไมช่ ัดเจน 3. การใหข้ ้อคดิ หรอื ให้ข้อคดิ หรอื แนวทาง ให้ขอ้ คดิ หรือแนวทาง ให้ขอ้ คดิ หรอื แนวทาง ให้ขอ้ คิดหรือแนวทางเพอ่ื ให้ข้อคิดหรอื แนวทาง นำไปปรับใชใ้ น แต่ไมส่ ามารถนำไป แนวทางเพอ่ื นำไป เพ่อื นำไปปรับใช้ใน เพอ่ื นำไปปรับใช้ใน เพอ่ื นำไปปรับใชใ้ น ชีวติ ประจำวันไดเ้ พียง ปรบั ใชใ้ น ปรบั ใชใ้ น เลก็ น้อย ชีวติ ประจำวนั ได้ ชวี ิตประจำวัน ชีวิตประจำวนั ได้ชดั เจน ชวี ติ ประจำวันไดช้ ัดเจน ชีวติ ประจำวันได้ชดั เจน 4. การลำดับ ความคิดอยา่ งเปน็ และเหมาะสม เปน็ สว่ นใหญ่ พอเข้าใจ ขน้ั ตอนและมีระบบ ลำดับความคดิ อยา่ งเปน็ ลำดบั ความคดิ อยา่ งเปน็ ลำดบั ความคิดอยา่ งเปน็ ลำดบั ความคิดอยา่ งเป็น ลำดับความคิดอยา่ ง เป็นลำดบั ขนั้ ตอน แต่ ขนั้ ตอนและมีระบบ ข้นั ตอนและมรี ะบบเปน็ ขั้นตอนและมรี ะบบพอ ขั้นตอนและมรี ะบบเปน็ ไมม่ รี ะบบ ส่วนใหญ่ เขา้ ใจ บางส่วน 5. การใช้ภาษาได้ ใช้ภาษาไดส้ ละสลวย ใชภ้ าษาไดส้ ละสลวย ใช้ภาษาไดส้ ละสลวย ใชภ้ าษาไดส้ ละสลวย เขา้ ใจ ใชภ้ าษาไดส้ ละสลวย สละสลวย เขา้ ใจ เข้าใจงา่ ย เหมาะสมกับ เขา้ ใจงา่ ย เหมาะสมกบั เขา้ ใจงา่ ย เหมาะสมกับ งา่ ย เร่อื ง เรอ่ื งเป็นส่วนใหญ่ เรือ่ งพอเข้าใจ ง่าย เหมาะสมกบั เรือ่ งเป็น เขา้ ใจงา่ ย แต่ไม่ ส่วนนอ้ ย เหมาะสมกับเรื่อง ๗.ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 7.1สือ่ การเรียนรู้ ๑.หนงั สือเรยี น หลกั ภาษา ม.๖ ๒.หนงั สอื E-Book เรือ่ ง นทิ านพื้นบ้านเมืองส่แี คว เรอ่ื งเขาหินกลงิ้ 3.แบบฝึกทักษะการอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ
แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๑ เรื่อง การอ่านแปลความ ตคี วาม ขยายความ ช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรยี นพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ วัดไทรเหนือวทิ ยา อำเภอ เมืองนครสวรรค์ จังหวดั นครสวรรค์ . ******************************************************************************************************************************************************* คำแนะนำ : ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. การอ่านวินิจสารควรใช้ทักษะการอ่านพ้ืนฐานใดเป็นสำคัญ ก. การอ่านแบบกวาดสายตา ข. การอ่านจับใจความสำคัญ ค. การอ่านเพื่อประเมินค่า ง. การอ่านแปลความ 2. การอา่ นสารชนิดใด ทีไ่ ม่ควรใชก้ ารอ่านแปลความ ก. การอา่ นบทกวนี พิ นธ์ ข. การอ่านตำราวิชาการ ค. การอา่ นป้ายโฆษณาสนิ ค้า ง. การอา่ นขา่ วพยากรณ์อากาศ 3. หลักการสำคญั ของการอ่านแปลความ คอื ข้อใด ก. ควรจบั ประเด็นสำคญั ของผูเ้ ขยี นใหไ้ ด้ ข. ควรแปลเพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจเร่ืองทีอ่ ่านได้งา่ ยขึน้ ค. ควรแปลความหมายทุกคำทปี่ รากฏในเรือ่ ง ง. ควรแปลแลว้ ยงั รักษาเนื้อหาและสาระความสำคัญของเร่ืองภาษาตา่ งประเทศ 5. ข้อใดเปน็ หลักเกณฑ์การอ่านตคี วาม ก. ตอ้ งมีความคดิ แทรกขณะทอ่ี ่าน ข. ต้องเข้าใจความหมายของศพั ท์ทีอ่ ่าน ค. ต้องคาดคะเนส่ิงท่ีน่าจะเป็นขณะทีอ่ ่าน ง. ตอ้ งจับประเดน็ สำคัญของเรือ่ งท่ีอ่านได้ 6. ขอ้ ใดตีความได้ตรงกบั ข้อความตอ่ ไปน้ี“อย่าเอ้ือมเด็ดดอกฟา้ มาถนอม” ก. อยา่ มุ่งหมายสตรีสามญั มาไวใ้ นครอบครอง ข. ไม่ควรมงุ่ หมายสตรีสูงศกั ดิม์ าไว้ในครอบครอง ค. อยา่ มุ่งหมายดอกไม้ทห่ี ายาก ง. ไมค่ วรเอ้ือมเดด็ ดอกไม้มาดูแล 7. พิจารณาข้อความที่ขีดเส้นใต้มีต่อไปน้ี เจ้าหญิงสร้อยลัดดา “แห่งเมืองเมืองไพศาลี เธอเป็นเจ้า หญิงที่มี ความงดงามจากภายในสู่ภายนอก เพียบพร้อม สมเป็นกุลสตรี จึงทำให้เมืองไพศาลี หัว กระไดไมแ่ ห้งเลย” ข้อใดมีการตคี วามได้ถกู ตอ้ ง ก. เจ้าหญิงสรอ้ ยลดั ดามคี วามงดงามเป็นทเี่ ล่ืองลอื จากภายในวงั สภู่ ายนอกวัง
ข. เจ้าหญิงสร้อยลัดดาเธอเปน็ เจ้าหญงิ มีท้งั ความสวยและกรยิ าเรยี บรอ้ ย ค. เจ้าหญงิ สร้อยลดั ดาเธอเป็นเจา้ หญิงมีความสวยจึงเกิดการแข่งขนั แย่งชนิ กัน ง. เจา้ หญิงสร้อยลดั ดาเธอมีความงดงามจนเป็นเหตุใหม้ กี ารสู้รบ พิจารณาเหตกุ ารณใ์ นนทิ านเขาหนิ กลิ้งต่อไปนี้ ใช้ตอบคำถามขอ้ 8 วันหนึ่ง\"เจ้าชายประสาททอง\" แห่งเมืองจำคานครและ \"เจ้าชายจิตเกษม\" แห่งเมืองประคำ ต่างได้มาสู่ขอเจ้าหญิง พรอ้ ม ๆ กัน ทา้ วไพศาลไมอ่ าจตัดสินใจได้ว่าจะยกพระธิดาให้กบั เจ้าชายพระองค์ใด ด้วยเพราะเกรงว่าถา้ ยกพระธิดาให้กับนคร หนึ่ง อีกนครหนึง่ ก็จะไม่พอใจ หาเหตุยกกองทพั มาโจมตี ท้าวไพศาลจงึ ออกกติกาให้มีแขง่ ขันกันกล้ิงหินใหญ่ โดยให้แตล่ ะเมือง เกณฑ์ไพร่พลมาแข่งกันกลิ้งหินขนาด ๓๐ คนโอบ เริ่มจากนครของตนเองตรงมายังเมืองไพศาลี ที่ตั้งหินหลักชัยขนาดเดียวกนั เอาไว้ หากนครใดสามารถกลิ้งหินมาถึงหนิ หลักชยั ก่อน จะต้องตีกลองชยั เป็นสัญญาณ แล้วจะยกพระธิดาใหแ้ ก่ผู้ชนะแต่ละนคร ตา่ งรบี เกณฑ์ไพร่พลมาแข่งกันกล้ิงหินใหญใ่ นทนั ที ผลปรากฏวา่ เจ้าชายประสาททอง แห่งเมอื งจำคานครนำไพร่พลกลิ้งหินมาถึง หนิ หลักชัยก่อนแต่ไมไ่ ด้ล่นั กลองชยั พากันรอ้ งรำทำเพลงดใี จกับชยั ชนะกันอย่างสนกุ สนานพอเจา้ ชายจติ เกษมนำไพร่พลกลิ้งหิน มาถึงหลักชัยเช่นเดียวกัน แล้วลั่นกลองชัยเป็นสัญญาณ ท้าวไพศาล ออกมาดูเห็นเจ้าชายจิตเกษม กำลังลั่นกลองชัย แต่ทหาร รายงานวา่ เจา้ ชายประสาททองมาถึงเสน้ ชยั ก่อนแต่ไมไ่ ด้ล่ันกลองชัยท้าวไพศาลจึงตัดสิน ให้เจ้าชายจิตเกษมเป็นผู้ชนะ เพราะได้ ทำตามกติกาทกี่ ำหนดใหไ้ ว้ทง้ั หมด แต่พระธิดากลับไม่พอใจ ด้วยเพราะดันไปหลงรกั เจ้าชายประสาททองและเจ้าชายก็มาถงึ หลกั ชัยก่อนแตล่ มื ลั่นกลองชัย 8. จากนทิ านเขาหนิ กล้ิง นกั เรยี นคิดวา่ ทา้ วไพศาลเป็นคนอย่างไรทเี่ ด่นชัดท่สี ดุ ในนิทานเรอ่ื งนี้ ก. ทา้ วไพศาลเปน็ พระราชานกั ปกครองทด่ี รี ู้จกั แก้ปญั หา ข. ทา้ วไพศาลเป็นพระราชาที่ไม่เลอื กที่รกั ไม่มกั ที่ชงั่ ค. ท้าวไพศาลเปน็ พระราชาที่ตง้ั อย่ใู นความยุตธิ รรม ง. ท้าวไพศาลเป็นพระราชาท่ีความเกรงกลวั ตอ่ อำนาจเมืองอนื่ 9. ...ฝ่ายเจ้าชายปราสาททองใคร่ครวญวา่ การกลิง้ หินกันในคราวนี้ฝ่ายตนเองเปน็ ฝ่ายชนะ แต่ทำผิด กตกิ าจึงถูกปรบั ให้แพ้จงึ สงั่ ลงโทษทหารทก่ี ล้งิ หินในคร้ังนน้ั ดว้ ยการจองจำใส่ \"ขื่อคา\" ย่างข่าไฟให้ตาย ทงั้ เปน็ จากข้อความขา้ งต้นนกั เรียนคิดวา่ ฝา่ ยเจ้าชายปราสาท ขาดพฤตกิ รรมในข้อใด ก. ขาดการมนี ้ำใจนักกีฬา ข. ขาดความเออื้ เฟือ้ เผือ่ แผ่ ค. ขาดคนมคี วามโอบอ้อมอารี ง. ขาดความอดทน ๑0. นักเรียนคิดว่าข้อคดิ ที่ไดจ้ ากนิทานเขาหนิ กลงิ้ ตรงกบั ข้อใด ก. รูแ้ พ้ รูช้ นะ ข. จงรกั ษากตกิ าแข่งขนั ค. กตัญญูกตเวทบี ิดา ร้จู กั แกแ้ คน้ ใหบ้ ิดา ง. รจู้ ักแบ่งปนั และการให้อภัย
แบบการนำเสนอผลงานของกลุ่ม แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรอ่ื ง การอา่ นแปลความ ตคี วาม ขยายความ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ โรงเรียนพระปริยตั ิธรรมแผนกสามัญ วัดไทรเหนอื วิทยา อำเภอ เมืองนครสวรรค์ จงั หวดั นครสวรรค์ . ******************************************************************************************************************************************************* คำแนะนำ : ให้ ผู้สอน ประเมินการนำเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการท่กี ำหนด แล้วขดี ✓ ลง ในชอ่ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน กลมุ่ ที่ ................ ลำดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 543 2 1 1 นำเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถูกตอ้ ง 2 การลำดบั ขั้นตอนของเนื้อเร่ือง 3 การนำเสนอมีความนา่ สนใจ 4 การมสี ่วนรว่ มของสมาชิกในกลุม่ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชอ่ื ....................................................ผปู้ ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมีความสมบรู ณช์ ดั เจน ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี อ้ มีความชัดเจน ให้ 5 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี ้อบกพรอ่ งบางส่วน ให้ 4 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมมขี ้อบกพร่องเป็นมาก ให้ 3 คะแนน 21-25 ดเี ยยี่ ม ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี ้อบกพรอ่ งสว่ นมาก ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ตำ่ กวา่ 10 ปรบั ปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง การอ่านแปลความ ตีความ ขยายความ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๖ โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรมแผนกสามัญ วัดไทรเหนอื วทิ ยา อำเภอ เมืองนครสวรรค์ จงั หวดั นครสวรรค์ . ******************************************************************************************************************************************************* คำแนะนำ : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ ลงในชอ่ งท่ตี รงกับระดบั คะแนน ที่ ช่อื -สกลุ ความตงั้ ใจ ความ การตรงตอ่ ความ ผลสำเรจ็ รวม ของผรู้ ับการประเมิน ในการทำงาน รบั ผดิ ชอบ เวลา สะอาด ของงาน 20 เรียบรอ้ ย คะแนน 4321432143214321432 1 1 สามเณรอภิศักดิ์ เฮงสงเคราะห์ 2 สามเณรพงษ์นรนิ ทร์ แสนศักดา 3 สามเณรศุภณฐั พรพว่ ง 4 สามเณรไพสนั พิมสวรรค์ 5 สามเณรปิยวฒั น์ ชาญคำ 6 สามเณรสุพชยั เทียมจันทร์ 7 สามเณรอภชิ ิต ศิลาเลิศ 8 สามเณรอภิชยั ศิลาเลิศ 9 สามเณรสุรวชิ ญ์ ไชยเสนา ลงช่ือ....................................................ผปู้ ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยครั้ง ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้ัง 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกวา่ 10 ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑ เรอื่ ง การอา่ นแปลความ ตีความ ขยายความ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๖ โรงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรมแผนกสามญั วัดไทรเหนือวิทยา อำเภอ เมืองนครสวรรค์ จังหวดั นครสวรรค์ . ******************************************************************************************************************************************************* คำแนะนำ : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน กล่มุ ท่ี ................ ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 543 2 1 1 การแบง่ หน้าท่ีกนั อย่างเหมาะสม 2 ความร่วมมือกนั ทำงาน 3 การแสดงความคิดเห็น 4 การรับฟงั ความคดิ เหน็ 5 ความมนี ำ้ ใจช่วยเหลือกนั รวม ลงช่ือ....................................................ผปู้ ระเมนิ ................ /................ /................ เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ผลงานหรือพฤติกรรมมีความสมบรู ณช์ ดั เจน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี อ้ มคี วามชดั เจน ให้ 5 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ผลงานหรอื พฤตกิ รรมมขี อ้ บกพรอ่ งบางสว่ น ให้ 4 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมขี อ้ บกพรอ่ งเป็นมาก ให้ 3 คะแนน 21-25 ดเี ยยี่ ม ผลงานหรอื พฤติกรรมมขี อ้ บกพร่องส่วนมาก ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ตำ่ กว่า 10 ปรับปรงุ
แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เรือ่ ง การอ่านแปลความ ตีความ ขยายความ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามญั วดั ไทรเหนือวทิ ยา อำเภอ เมืองนครสวรรค์ จงั หวัด นครสวรรค์ . ******************************************************************************************************************************************************* คำแนะนำ : ให้ ผสู้ อน สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ ลงในชอ่ งท่ตี รงกบั ระดบั คะแนน คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 อันพึงประสงค์ดา้ น 432 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเมื่อไดย้ นิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาตไิ ด้ และอธิบายความหมายของ เพลงชาติ กษัตรยิ ์ 1.2 ปฏบิ ตั ิตนตามสิทธแิ ละหนา้ ทข่ี องนักเรียน 1.3 ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการทำงานกับสมาชกิ ในโรงเรยี น 1.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมและมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมทีส่ รา้ งความสามคั คี ปรองดอง และเปน็ ประโยชนต์ ่อโรงเรียนและชมุ ชน 1.5 เข้ารว่ มกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถอื ปฏบิ ตั ิตนตามหลักของศาสนา 1.6 เขา้ รว่ มกิจกรรมและมสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมท่เี ก่ยี วกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ตามท่ีโรงเรียนและชุมชนจัดข้ึน 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ใหข้ อ้ มูลทีถ่ ูกตอ้ ง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบตั ิในสิง่ ทถี่ กู ต้อง ละอาย และเกรงกลัวทจ่ี ะทำความผดิ ทำตามสัญญาทต่ี นให้ ไว้กับเพอื่ น พอ่ แม่ หรือผู้ปกครอง และครู 2.3 ปฏิบตั ิตอ่ ผูอ้ ื่นด้วยความซือ่ ตรง ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถกู ตอ้ ง 3. มวี นิ ัย รบั ผิดชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของครอบครัว และโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ งๆ ในชีวิตประจำวัน และ รับผดิ ชอบในการทำงาน 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ การเรียนรู้ต่างๆ 4.2 มกี ารจดบนั ทกึ ความร้อู ยา่ งเป็นระบบ 4.3 สรุปความร้ไู ด้อย่างมีเหตุผล 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 5.1 ใชท้ รพั ย์สินของตนเอง เชน่ ส่งิ ของ เคร่อื งใช้ ฯลฯ อย่างประหยัด คุ้มคา่ และเก็บ รกั ษาดแู ลอย่างดี และใชเ้ วลาอยา่ งเหมาะสม 5.2 ใช้ทรพั ยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษาดแู ลอย่างดี 5.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความรอบคอบ มีเหตุผล 5.4 ไม่เอาเปรยี บผอู้ ื่น และไมท่ ำใหผ้ ูอ้ ื่นเดอื ดรอ้ น พรอ้ มให้อภัยเม่อื ผู้อ่ืนกระทำ ผิดพลาด
คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อันพงึ ประสงคด์ า้ น 4 3 21 5.5 วางแผนการเรยี น การทำงานและการใช้ชวี ิตประจำวันบนพ้ืนฐานของความรู้ ขอ้ มลู 6. มงุ่ ม่ันในการ ข่าวสาร ทำงาน 5.6 รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงทางสงั คม และสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัว อยู่ 7. รกั ความเป็นไทย รว่ มกับผูอ้ นื่ ไดอ้ ยา่ งมีความสุข 8. มีจิตสาธารณะ 6.1 มีความตง้ั ใจและพยายามในการทำงานท่ีได้รบั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรคเพอ่ื ใหง้ านสำเรจ็ 7.1 มจี ิตสำนึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย 7.2 เหน็ คุณค่าและปฏิบัตติ นตามวัฒนธรรมไทย 8.1 ร้จู กั ชว่ ยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน 8.2 อาสาทำงาน ชว่ ยคิด ช่วยทำ และแบง่ ปันส่ิงของให้ผู้อ่นื 8.3 ดูแล รักษาทรัพยส์ มบัตขิ องห้องเรียน โรงเรียน ชมุ ชน 8.4 เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรยี น ลงชื่อ....................................................ผปู้ ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 4 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยครงั้ 18 - 20 ดมี าก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ำกว่า 10 ปรับปรุง
บนั ทึกหลังการสอน 1.ด้านความรู้ .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2.ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ......................................................................................................................................................................... 3.ด้านคณุ ลักษณะอนั พึง่ ประสงค์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………… ......................................................................................................................................................................... 4.ปญั หา/อุปสรรค์ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………...............................................................................................……………… ......................................................................................................................................................................... 5.แนวทางการแกไ้ ข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………...............................................................................................…………………………………… ......................................................................................................................................................................... ลงช่อื ………………………………ครผู สู้ อน ความคดิ เห็นของผู้บรหิ าร (พระอนนั ท์ อุตฺตรวาที) …………………………………….................................................................................................................. …….……………………............................................................................................................................. (นางสาวภรนิพา คงสิบ) รองผ้อู ำนวยการฝ่ายวชิ าการ ความคิดเหน็ ของผบู้ ริหาร …………………...……………….................................................................................................................. …….……………………............................................................................................................................. (พระมหาชยั วฒั น์ จตฺตมโล, ดร.) ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดไทรเหนือวทิ ยา
โรงเรียนวัดไทรเหนือวิทยา สังกัด สำนักเขตการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ เขต ๔
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: