Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี5

วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี5

Published by military2 student, 2022-05-17 03:05:16

Description: วิชา เหล่าทหารปืนใหญ่ ปี5

Search

Read the Text Version

ทำ� ลาย (Destroy) ได้แก่ ท�ำความเสยี หายให้กบั เป้าหมายต้ังแต่ 30% ขนึ้ ไป ซง่ึ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 41 หน่วยนน้ั ไม่อาจจะใช้รบได้อกี ต่อไปเป็นการถาวร การขม่ ตดั รอนกำ� ลงั หรอื ทำ� ลายนน้ั ใชไ้ ดก้ บั เปา้ หมายทงั้ ทเ่ี ปน็ บคุ คลและอาวธุ ยทุ โธปกรณท์ ง้ั ผลทางกายภาพ คอื ตาย บาดเจบ็ ชำ� รดุ สญู เสยี ทง้ั ผลทางขวญั และกำ� ลงั ใจ ซ่ึงกระทบกระเทือนต่อขีดความสามารถในการปฏิบัติงานของบุคคลและระบบต่าง ๆ ให้ ลดประสิทธภิ าพลง การยงิ ในสนามน้นั อาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ การยิง ของหน่วยและการยงิ สนบั สนนุ การยิงของหน่วย (Unit Fire) หมายถึงการยงิ ของอาวุธในอัตราของหน่วยนน้ั ๆ เพอื่ ให้หน่วยสามารถปฏบิ ตั ภิ ารกจิ หรอื หน้าทข่ี องตนได้ โดยมากมกั จะได้แก่การยงิ เลง็ ตรง เช่น การยงิ จากปืนเลก็ ปืนกลหรือปืนรถถังของหน่วยดำ� เนนิ กลยุทธ์ในการเข้าตหี รอื ต้ังรบั เป็นต้น การยิงสนบั สนนุ (Supported Fire) หมายถึงการยิงจากอาวธุ ของหน่วยอืน่ เพื่อ สนับสนุนหรือช่วยเหลืออีกหน่วยหน่ึงให้สามารถปฏิบัติภารกิจได้ส�ำเร็จ เช่น การยิงของ รอ้ ย.ป. เพอ่ื ชว่ ยให้ รอ้ ย.ร. เคลอื่ นทเี่ ขา้ ตี หรอื ชว่ ยใหย้ ดึ รกั ษาพนื้ ทใ่ี นการตงั้ รบั ไวไ้ ด้ เปน็ ตน้ หลกั นยิ มในการรบปจั จบุ นั ของทกุ กองทพั เน้นเรอ่ื งการโจมตขี า้ ศกึ แตเ่ นน่ิ ทส่ี ดุ (Fight Early) ตง้ั แต่ระยะไกลท่สี ดุ และโจมตพี ร้อม ๆ กันทกุ ส่วน หรือให้ได้มากหน่วยทีส่ ดุ ดงั นนั้ เครื่องมอื หลกั หรือวิธกี ารหลกั ท่ผี ู้บังคบั บัญชาใช้ข่ม ตัดรอนก�ำลัง หรอื ทำ� ลายข้าศกึ ได้อย่างอ่อนตวั และตอบสนองได้ทนั ควัน ได้แก่ อาวุธรศั มที ำ� การหรอื ระยะยงิ ไกลทั้งหลาย ซง่ึ กค็ อื ระบบอาวธุ ยิงสนบั สนุนต่าง ๆ นนั่ เอง 2. ระบบการยิงสนบั สนุน การยิงสนับสนุนน้ันจ�ำเป็นจะต้องท�ำงานเป็นระบบสอดประสานกัน ผู้บังคับ บญั ชาจงึ จะสามารถใชไ้ ดอ้ ยา่ งออ่ นตวั และตอบสนองไดท้ นั ควนั โดยทว่ั ไปแลว้ มอี ยู่ 3 ระบบ คือ ระบบค้นหา ปม. ระบบอาวธุ และกระสุน และระบบการประสานและการควบคุมบงั คบั บัญชา ก. ระบบคน้ หาเปา้ หมาย (Target Aquisition System) ไดแ้ ก่ สว่ นทท่ี �ำหนา้ ทเี่ ปน็ หู และเปน็ ตาของผบู้ งั คบั บญั ชาในอนั ทจี่ ะตรวจใหพ้ บ พสิ จู นท์ ราบและกำ� หนดทตี่ งั้ เปา้ หมายตา่ ง ๆ ให้ได้ทันเวลาและถูกต้องเพยี งพอที่จะโจมตไี ด้ผล เครอื่ งมือหรือวิธีการในระบบน้ี ได้แก่ 1) ผู้ควบคุมอากาศยานหน้า (ของ ทอ.) 2) ผู้ตรวจการณ์ต่าง ๆ ของ ป. สนาม

42 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ 3) เรดาร์ต่าง ๆ 4) หน่วยทหารม้าอากาศหรอื การตรวจการณ์ทางอากาศ 5) เครอ่ื งมือเฝ้าตรวจต่าง ๆ 6) หน่วยข่าวกรองทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์และการส่ือสาร 7) ฐานแสง-เสยี ง 8) ผู้ตรวจการณ์ปืนเรอื 9) หน่วยลาดตระเวนต่าง ๆ ท้งั ทางอากาศและพ้นื ดิน ข. ระบบอาวธุ และกระสนุ (Weapons and Ammunition System) ไดแ้ ก่ เครอ่ื งมอื เครื่องส่งหรือพาหนะในอันที่จะส่งหัวรบเข้าโจมตีเป้าหมาย เปรียบระบบนี้ได้กับแขกและ ก�ำปั้นทจ่ี ะกระแทกหน้าข้าศกึ ได้แก่ 1) ปืนใหญ่สนามท้ัง ป. ลำ� กล้องและจรวดต่าง ๆ 2) เครอื่ งยิงลูกระเบดิ 3) การสนบั สนนุ ทางอากาศใกล้ชิด (ของ ทอ.) 4) ปืนใหญ่เรอื 5) เฮลิคอปเตอร์โจมตี 6) อาวุธ ปภอ.ทเ่ี ลือกแล้ว 7) รถถัง (เม่อื ใช้ในบทบาทการยงิ เลง็ จ�ำลอง) 8) การรบกวนวิทยุและเรดาร์ ฯลฯ ค. ระบบประสานและควบคมุ บงั คบั บญั ชา (Command, Control and Coordination System) เปรยี บเสมอื นสมองของระบบในอนั ทจี่ ะอำ� นวยการปฏบิ ตั ทิ งั้ ทางยทุ ธวธิ แี ละเทคนคิ ของส่วนอน่ื ๆ ให้สามารถโจมตเี ป้าหมายได้อย่างคุ้มค่ามีประสทิ ธิผลสงู สุด ได้แก่ 1) แนวความคดิ ในการปฏิบัตขิ องผู้บังคับบัญชา 2) แนวทางในการวางแผนของผู้บังคบั บญั ชา 3) การแบ่งมอบอาวธุ และกระสนุ ของผู้บังคบั บญั ชา 4) ลำ� ดบั ความเร่งด่วนในการสนบั สนุนของผู้บังคับบัญชา 5) หนา้ ทข่ี อง ผปยส. และองคก์ ารวางแผนและประสานการยงิ สนบั สนนุ ตา่ ง ๆ 6) การวางแผนและประสานการยงิ สนบั สนนุ 7) คำ� สงั่ ตา่ ง ๆ

3. ลกั ษณะโดยท่ัวไปของระบบการยงิ สนบั สนุน เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 43 การแบง่ มอบการยงิ สนบั สนนุ ใหก้ บั หนว่ ยตา่ ง ๆ นนั้ เปน็ การตกลงใจทส่ี ำ� คญั ยง่ิ ของผบู้ งั คบั บญั ชาเพราะอาวธุ ยงิ สนบั สนนุ นนั้ มกั จะขาดแคลนหรอื มไี มพ่ อกบั ความตอ้ งการ จงึ เปน็ ปญั หาทจี่ ะคดิ แลว้ คดิ อกี การเขา้ ใจลกั ษณะสำ� คญั ของระบบการยงิ สนบั สนนุ ทง้ั ปวง ทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ นนั้ จะตอ้ งมลี กั ษณะโดยทวั่ ไปดงั น้ี ก. รวมการยงิ ได้ (MASS) คอื การยงิ จากอาวธุ หลายชนดิ หรอื หลายหนว่ ยลงบน เป้าหมายเดยี วกนั ได้อย่างแม่นย�ำ การรวมการยิงเป็นวธิ ีการท่ีสำ� คญั และมปี ระสิทธิภาพ สงู สดุ ในการเพมิ่ อำ� นาจกำ� ลงั รบใหท้ วขี น้ึ อย่างทนั ทที นั ใด ประโยชนข์ องการรวมการยงิ คอื 1) ยิงต่อส่วนใดส่วนหนึ่งของขบวนรบข้าศึก เพ่ือทำ� ลายหรือแยกออกจาก การดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ในส่วนหลงั 2) ยิงเพื่อท�ำให้ข้าศึกเสียขบวนและท�ำให้ข้าศึกรุกชักช้าในพ้ืนที่ส่วนก�ำบัง หรอื ส่วนระวงั ป้องกนั 3) ยิงเพอื่ ท�ำลายขบวนรบ และก่อความยุ่งเหยิงต่อกำ� ลงั ส่วนเข้าตหี ลักของ ข้าศกึ 4) ยงิ เพือ่ ลิดรอน หรอื กดั กร่อนกำ� ลงั และทำ� ให้ขบวนหรอื ระลอกทสี่ องหรือ กองหนุนของการเข้าตชี กั ช้าเสียระเบยี บ เสยี ขบวนให้ตามส่วนหน้าไม่ทัน การรวมการยงิ อาจทำ� ไดท้ งั้ การรวมการยงิ ตามแผนและการรวมการยงิ ฉบั พลนั ซึ่งมีเวลาเตรยี มการน้อย การรวมการยงิ ของฝา่ ยขา้ ศกึ นนั้ มกั จะใชอ้ าวธุ จำ� นานมากมายมหาศาล แตฝ่ า่ ย เราเมื่อมอี าวธุ น้อยกว่าจะต้องกระท�ำด้วยเทคนิคและคุณภาพทเ่ี หนือกว่า ข. ตอบสนองทันควัน (RESPONSIVENESS) โดยปกติแล้วการยิงสนับสนุน นั้นใช้เพื่อข่มหรือกดอาวุธเล็งตรงและเล็งจ�ำลองของข้าศึก ขยายจุดอ่อนให้ทวีขึ้นหรือ ลดแรงกดดันและความต่อเน่ืองในการเข้าตี การปฏิบัติการอย่างรวดเร็วและอ�ำนาจใน การท�ำลายมหาศาลของอาวุธในปัจจุบันต้องการการยิงสนับสนุนท่ีตอบสนองได้ทันควัน เพอื่ โจมตเี ปา้ หมายทกี่ ำ� ลงั แตกกระจดั กระจายทำ� ลายขบวนเขา้ ตี กอ่ นทจ่ี ะกระจดั กระจายหนี หรือท�ำการเข้าตีฝ่ายเราและจะต้องตอบสนองการตกลงใจที่รวดเร็วได้

44 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ ในสงครามนน้ั ครงั้ ทส่ี องถอื วา่ แพงเกนิ ไป การยงิ สนบั สนนุ ทช่ี กั ชา้ หรอื ไวใ้ จไมไ่ ดน้ น้ั หมายถงึ ชวี ติ เลอื ดเนอ้ื และการแพส้ งคราม ค. อยรู่ อดได้ (SURVIVABILITY) ตอ้ งรำ� ลกึ ไวเ้ สมอวา่ หวั ใจของหนว่ ยยงิ สนบั สนนุ น้ัน จะต้องสามารถอยู่รอดได้ในสงครามท่ีมีความคล่องแคล่วรวดเร็ว และอ�ำนาจการยิง ครองความเปน็ จา้ ว หนว่ ยรบผสมเหลา่ ตอ้ งอาศยั หนว่ ยยงิ สนบั สนนุ กเ็ พอื่ ทจ่ี ะเอาตวั รอดและทำ� ลาย ข้าศึกให้ได้ และน่นั คือ ความส�ำเรจ็ หรือชยั ชนะในการรบ ขา้ ศกึ ตอ้ งการทำ� ลายหนว่ ยยงิ สนบั สนนุ เหลา่ นเี้ ปน็ อนั ดบั แรกกเ็ พอื่ ความส�ำเรจ็ ในการรบของเขาเช่นเดยี วกนั หนว่ ยยงิ สนบั สนนุ จะอยรู่ อดไดใ้ นสนามรบปจั จบุ นั กด็ ว้ ยวธิ กี ารโดยสรปุ ดงั น้ี 1) ลดขดี ความสามารถหรอื โอกาสทข่ี า้ ศกึ จะตรวจจบั ทราบทตี่ ง้ั ของฝา่ ยเรา ลงใหม้ ากทส่ี ดุ ดว้ ยเทคนคิ การเลอื กทต่ี ง้ั การกำ� บงั และซอ่ นพราง หลกี เลย่ี งกจิ กรรมทอี่ าจเดา หรอื ทำ� นายได้ วนิ ยั ในการอำ� นวยการยงิ และสงครามอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 2) การรกั ษาความลบั ในการปฏบิ ตั กิ าร หมายถงึ มาตรการลวงหรอื แสดงลวง การรกั ษาความปลอดภยั ทางวตั ถุ การรกั ษาความปลอดภัยทางการส่อื สารและการ รปภ. ทางการข่าว 3) คน้ หาขา้ ศกึ ใหพ้ บและชงิ ทำ� ลายเสยี กอ่ น กอ่ นทจี่ ะเปน็ อนั ตรายตอ่ ฝา่ ยเรา ง. ความคลอ่ งแคลว่ (MOBILITY) หนว่ ยยงิ สนบั สนนุ จะตอ้ งมคี วามคลอ่ งแคลว่ เทา่ เทยี มกบั หนว่ ยรบั การสนบั สนนุ ทงั้ นกี้ เ็ พอ่ื ใหต้ ามยงิ สนบั สนนุ ไดท้ นั ดว้ ยการเคลอ่ื นยา้ ย ทง้ั ทางขา้ งและทางลกึ ตามความจำ� เปน็ ขณะทหี่ นว่ ยรบั การสนบั สนนุ ดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ การเคลื่อนย้ายหน่วยยิงสนับสนุนมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นเช่นเดียวกับหน่วย ดำ� เนนิ กลยทุ ธ์ ซง่ึ ผวู้ างแผนการรบจะตอ้ งไมล่ มื เสยี ระยะยิงของอาวุธเป็นปัจจัยหลักในการพิจารณาว่าจะต้องเคล่ือนย้ายหน่วย บอ่ ยเพยี งใด อาวธุ ระยะยงิ ไกลอาจจะเคลอ่ื นยา้ ยหนว่ ยนอ้ ยครง้ั เพราะสามารถยงิ สนบั สนนุ ได้ ตลอดเขต และเป็นเวลานาน นอกจากนี้ปัจจัยในการอยู่รอดในสนามรบให้ได้ก็ต้องได้ พจิ ารณาอย่างพถิ พี ิถันในการเคลอ่ื นย้ายหรือเปลีย่ นท่ตี ง้ั ยงิ ในการสนบั สนนุ การรกุ หนว่ ยยงิ สนบั สนนุ ควรจะวางกำ� ลงั อยใู่ นแนวหนา้ มาก ๆ เพอ่ื ยงิ สนบั สนนุ ไดเ้ ปน็ เวลานานและลกึ ไปขา้ งหลงั มาก ๆ สว่ นในการตง้ั รบั ควรจะวางทง้ิ ใน ทางขา้ งและทางลกึ เพอ่ื ใหพ้ รอ้ มทจี่ ะรบั มอื กบั การเจาะหรอื การโอบได้

จ. ความออ่ นตวั (FLEXIBILITY) การทจ่ี ะใชร้ ะบบการยงิ สนบั สนนุ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ เตม็ ทน่ี นั้ จำ� เปน็ จะตอ้ งเปลยี่ นแปลงหรอื ปรบั ระเบยี บและแนวความคดิ ใหเ้ หมาะกบั ภารกจิ และ สถานการณต์ ามความสามารถ เม่ือจะเข้าตีอย่างเร่งรีบ ความรวดเร็วในการยิงสนับสนุนจะเป็นความต้องการ หลักความแม่นย�ำเป็นรอง แต่เม่ือใดความเร่งด่วนมีน้อย ความแม่นย�ำถูกต้องของการยิง จะต้องได้รบั พิจารณาเป็นพเิ ศษ ระบบการยิงสนบั สนุนจะต้องมคี วามอ่อนตัวคอื สามารถ ใช้ได้หลายอย่าง ปรบั ได้หลายแบบตามความจ�ำเป็นของสถานการณ์ 4. การยิงสนับสนุนจะเก้ือกูลการดำ�เนินกลยุทธ์และการยิงเล็ง ตรงได้ อยา่ งไร เป็นท่ียอมรับกันแล้วว่าในสงครามสมัยใหม่น้ัน รถถังหรือยานเกราะเป็น เครอ่ื งมอื รบหลกั เพราะรถถงั มคี วามคลอ่ งแคลว่ มเี กราะมอี ำ� นาจการทำ� ลายขวญั และอำ� นาจ การยิงทร่ี นุ แรงแม่นย�ำ แต่อย่างไรกต็ าม รถถงั เพยี งอย่างเดียวไม่อาจรบชนะได้ เชน่ เดยี วกบั ระบบหรอื อาวธุ ยงิ สนบั สนนุ กเ็ ปน็ เครอื่ งมอื ทท่ี รงอานภุ าพและเปย่ี ม ด้วยพิษสงแต่จะใช้เพยี งอย่างเดยี วก็หาประโยชน์มไิ ด้ วิธีเดียวที่จะรบชนะได้ ก็ด้วยการผสมผสานหน่วยรบผสมเหล่าให้ได้สัดส่วนท่ี เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 45 พอเหมาะใช้ให้ถกู วธิ ี ณ ต�ำบลและจงั หวะเวลาทจ่ี ะผลติ ผลสูงสดุ ก. การยงิ สนบั สนุนเก้อื กูลหรือเป็นประโยชน์ต่อการยิงเล็งตรงได้โดย 1) กดหรอื ข่มอาวธุ ยิงเล็งตรงข้าศึก 2) กดหรอื ข่มอาวธุ เลง็ จ�ำลองของข้าศึก 3) ขดั ขวางหรอื รบกวนทศั นวสิ ยั ของผตู้ รวจการณแ์ ละการเลง็ ของพลประจำ� ปนื 4) ทำ� ให้ขบวนรบของข้าศกึ เสียเวลา เพิ่มโอกาสในการยิงด้วยอาวธุ เล็งตรง ให้ได้ผลมากข้นึ 5) กดหรือข่มอาวธุ ปภอ. ของข้าศึกเพอ่ื เปิดโอกาสให้ บ. หรือ ฮ. เข้าโจมตี รถถงั หรอื เป้าหมายท่สี �ำคญั ได้ 6) กดหรอื ขม่ การรบกวนวทิ ยขุ องขา้ ศกึ ทำ� ใหผ้ ตู้ รวจการณใ์ ชว้ ทิ ยขุ องตนได้ สะดวก เป็นต้น ข. การยงิ สนบั สนนุ เก้ือกลู การด�ำเนินกลยทุ ธ์โดย 1) กดหรอื ข่มอาวธุ เล็งตรงและเลง็ จ�ำลองของข้าศึก 2) สร้างฉากควนั ปิดบงั และแยกเป้าหมายให้โดดเด่ียว

46 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ 3) โจมตแี ละขดั ขวางการเพมิ่ เตมิ ก�ำลงั 4) คุ้มครองการลวงและการแสดงลวง 5) คุ้มครองการถอนตัว การร่นถอยและการเคลอื่ นย้าย 6) ปิดกั้นหรอื ท�ำลายหวั หอกในการตีโต้ตอบของข้าศึก 7) ส่งเสริมการออมกำ� ลังให้มโี อกาสและมีค่ายงิ ขึน้ 8) อาจจะยงิ ดว้ ยหวั รบพเิ ศษ เชน่ นวิ เคลยี ร์ เคมี ชวี ะ เพอ่ื ชว่ ยหนว่ ยทตี่ กอยู่ ในห้วงอนั ตราย เหล่าน้เี ป็นตวั อย่างทจ่ี ะใช้ระบบการยงิ สนับสนุน เพอื่ ช่วยส่งเสริมเพมิ่ พูน ผลของการยิงเล็งตรงและการด�ำเนินกลยุทธ์ให้ทวีอานุภาพมากข้ึน นอกจากน้ัน การยิง สนบั สนนุ ยงั ใช้เปน็ เครอ่ื งมอื ในการท�ำลายขา้ ศกึ ได้เป็นอยา่ งดอี กี ด้วย ความเขา้ ใจและรจู้ กั เทคนิคในการใช้อย่างถกู ต้องของผู้บังคับบัญชาอาจจะเป็นประโยชน์แก่ก�ำลังรบผสมเหล่า ยงิ่ กว่านก้ี ใ็ ต้ 5. จะใชก้ ารยิงสนบั สนุนให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดได้อย่างไร เม่ือหน่วยถูกเข้าตีอย่างดุเดือดรุนแรงและผู้บังคับบัญชาได้ใช้หน่วยด�ำเนิน กลยุทธ์และอำ� นาจในการยิงเล็งตรงไปจนหมดสิ้นแล้ว สถานการณ์เช่นนี้จะต้องได้รับการ ช่วยเหลือโดยด่วน เพราะไม่มีเวลาและเคร่ืองมืออะไรอีกแล้ว ท่ีจะโจมตีเป้าหมายที่ดุร้าย ซงึ่ คกุ คามอยู่ ปญั หาเผชญิ หน้าขณะนกี้ ค็ อื จะใช้อำ� นาจกำ� ลงั รบทงั้ หมดทม่ี อี ย่ใู นเวลา และ ต�ำบลท่ีเหมาะ ให้ได้ประโยชน์สูงสุดได้อย่างไรหากได้วางแผนการรบร่วมกันตั้งแต่ต้นแล้ว ผบู้ งั คบั บญั ชาจะรแู้ ละเขา้ ใจเปน็ อยา่ งดี วา่ จะใชอ้ งคก์ ารยงิ สนบั สนนุ ทม่ี อี ยเู่ ปลยี่ นโฉมหนา้ ของสงคราม หรือวิธีการรบไปได้อย่างไร แต่ท้ังนี้จะต้องได้พิจารณาร่วมกับข้อควรคำ� นึง ทางการด�ำเนนิ กลยทุ ธ์อย่างรอบคอบด้วยการพิจารณา เพอื่ วางแผนและตกลงใจในการใช้ องค์การยงิ สนบั สนุนจะต้องรวมถงึ รายละเอยี ดเหล่านี้ด้วย ก. เส้นทางเคลอ่ื นทีห่ รอื แนวทางเข้าถงึ ข. ระบบอาวธุ ท่ีมีอยู่ การจัดองค์การยิงสนับสนนุ และการจัดก�ำลงั รบ ค. ท่หี มายของการเข้าตีหรอื พื้นท่ีในการต้ังรบ ง. วิธเี ข้าตหี รอื ตัง้ รบั จ. เวลาเข้าตหี รือเวลาเร่มิ ตโี ต้ตอบ เป็นต้น ในบางกรณี ข้อพิจารณาทางการยิงสนับสนุนอาจจะเป็นเหตุให้ต้อง เปลีย่ นแผนการดำ� เนินกลยทุ ธ์ก็ได้ เช่น การขาดแคลนหน่วยดำ� เนินกลยุทธ์ที่จะปฏบิ ัตกิ าร

ตามแผน ในกรณีเช่นนี้ก็อาจจะใช้การยิงสนับสนุนปฏิบัติภารกิจเป็นบางส่วนของแผนได้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 47 แทนทีจ่ ะต้องระดมก�ำลังหรือรวบรวมหน่วยขน้ึ มาให้ใหญ่เพียงพอ นอกจากน้ี จะต้องได้วางแผนไว้แล้วก่อนท่ีจะท�ำการรบว่า จะบังคับข้าศึกให้ ชกั ชา้ ทตี่ รงไหน จดุ ออ่ นหรอื ชอ่ งโหวข่ องแนวอยทู่ ใ่ี ด และจะใชก้ ารยงิ สนบั สนนุ ทม่ี อี ยใู่ หเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ ด้วยเวลายาวนานท่สี ุดได้อย่างไร จะต้องพิจารณาล�ำดับความเร่งด่วนในการโจมตีของแต่ละเป้าหมาย รวมท้ัง ความส�ำคญั อิทธพิ ลหรืออ�ำนาจการคกุ คามของเป้าหมายนนั้ ๆ อาวธุ ยงิ ทง้ั หลายทม่ี อี ยใู่ นกำ� มอื จะตอ้ งไดพ้ จิ ารณาใชอ้ ยา่ งรอบคอบและเหมาะกบั คุณลักษณะและขดี ความสามารถ เช่น อาวุธเล็งตรง อาวธุ ต่อสู้รถถงั ค. ป. การสนับสนุน ทางอากาศใกล้ชดิ และการยงิ ของปืนเรือ เป็นต้น ขน้ั ตอนในการปฏบิ ตั กิ ารรบจรงิ ของหน่วยรบผสมเหล่า น่าจะมลี �ำดบั ดังน้ี ก. เม่อื ได้รับภารกจิ จะเรม่ิ วางแผนร่วมกับทุกส่วนทเี่ กยี่ วข้อง ข. พฒั นาแนวความคดิ แผนและหนทางปฏบิ ตั โิ ดยตอ่ เนอ่ื งตามสถานการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ค. เมอ่ื การรบระเบดิ ขน้ึ แลว้ สงิ่ สำ� คญั กค็ อื จะใชอ้ ำ� นาจกำ� ลงั รบทมี่ อี ยชู่ ว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู หรอื สง่ เสรมิ ซงึ่ กนั และกนั ไดอ้ ยา่ งไร นนั่ คอื การพฒั นาอำ� นาจกำ� ลงั รบใหท้ วขี นึ้ สงู ทส่ี ดุ ณ ตำ� บลและเวลาท่ตี ้องการผลแตกหัก น่ันคอื ชัยชนะในการรบ 6. ความรเิ ริ่มในการจดั การยิงสนับสนุน สงครามคราวต่อไปคาดว่าจะกระทำ� ในระดบั กองพลลงมา ดังนน้ั ผบ.กรม ป. และ ผบ.พัน.ป.ชต. จะต้องทำ� หน้าที่เป็น ผป.ยส. ท่ีสำ� คัญยง่ิ ยวด ผบ.กรม.ป. หรือ ผบ.พัน.ป.ชต. ที่คุ้นเคยกับกองพลหรือกรมของตนจะทำ� ให้ การยิงสนบั สนุนรวดเรว็ และแน่นแฟ้นยง่ิ ขึ้น นอกจากน้นั กรม ป. ยงั จะต้องกำ� หนดระบบ การยงิ สนบั สนุนและการควบคมุ ประสานการยงิ สนบั สนนุ ให้แก่กองพลอกี ด้วย ศปย. ของ กรม ป. ยงั จะตอ้ งจดั ใหม้ รี ะบบการยงิ ตอ่ ตา้ นอาวธุ ยงิ ไกลของขา้ ศกึ ให้ เปน็ ระบบเดยี วกนั ทวั่ ทง้ั กองพลอกี ดว้ ย ซง่ึ ไดแ้ กก่ จิ การเกย่ี วกบั การคน้ หาเปา้ หมาย กรรมวธิ ี ในการกำ� หนดแบ่งมอบเป้าหมาย และการใช้องค์การยงิ ทจี่ ะได้ผลมากทส่ี ดุ ในการโจมตใี น ระดบั ตาํ่ ลงไป นยส. และ ผตน. ยอ่ มท�ำหน้าทเ่ี ปน็ ผปยส. หรอื ชดุ ประสานการยงิ สนบั สนนุ ให้แก่กองพันและกองร้อย และเป็นส่วนหนงึ่ ของระบบการยิงสนบั สนุน ซ่ึงจะต้องควบคุม

48 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ และประสานการยงิ ให้กบั อาวธุ เลง็ จ�ำลองทุกชนดิ ในหน่วยนน้ั ๆ เช่น ค. ป. การสนับสนุน ทาง อากาศใกล้ชดิ และการยงิ ของปืนเรือ เป็นต้น สรปุ ไดว้ า่ ผบ. หนว่ ยดำ� เนนิ กลยทุ ธแ์ ละ ผบ.หนว่ ย ป. ซงึ่ เปน็ ผปยส. ของหนว่ ย นนั้ ๆ ย่อมมคี วามสมั พนั ธ์ซง่ึ กันและกัน มีหน้าทีแ่ ละความสำ� คญั ต่อกันอย่างแยกไม่ออก เพราะอ�ำนาจก�ำลังรบนนั้ ส่วนใหญ่ ได้แก่ การด�ำเนนิ กลยทุ ธ์และอ�ำนาจการยงิ หน้าที่ของ ท้ังสองท่านคือหาวิธีเพิ่มพูนอ�ำนาจก�ำลังรบให้ทวีข้ึนสูงสุดในส่วนท่ีตนรับผิดชอบ การฝึก การท�ำงานและการวางแผนร่วมกันย่อมก่อให้เกิดความเชื่อม่ันซึ่งกันและกัน และน่ันคือ น�้ำใจรุกรบหรือวิญญาณในการต่อสู้จะกระพือโหมอย่างห้าวหาญ ซึ่งเป็นหนทางเดียวที่ จะชนะสงครามได้ นายพล แพตตัน กล่าวไว้ว่า “ถ้าวงดนตรีเริ่มเล่นด้วยบิคโคโล แล้ว เปาแซก็ คารเิ นต และเล่นทรมั เปตทหี ลัง มันก็จะกลายเป็นกลุ่มเสย่ี งต่าง ๆ ไปเท่านั้นเอง ไม่ใช่วงดนตรเี ด็ดขาด เพ่อื ให้ได้จงั หวะและท่วงทำ� นองทคี่ ล้องจองเป็นเพลงไพเราะ เครือ่ ง ดนตรีทุกช้ินจะต้องสอดประสานและส่งเสริมช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันเพื่อให้ ได้จังหวะเพลงรบ อาวุธทุกชนิดจะต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกันในจังหวะเวลาท่ีเหมาะนั่นคือ ชยั ชนะของชดุ รบ” 7. การยิงของ ป. สนาม อาวธุ สนบั สนนุ ตา่ ง ๆ ตามทกี่ ลา่ วไวใ้ นขอ้ 2-1 ข. นนั้ ระบบอาวธุ ทสี่ ามารถรวม การยงิ ได้ อยู่ในสนามรบได้ตลอด 24 ช่ัวโมง มคี วามคล่องแคล่วในการเคลื่อนทแี่ ละการ โยกยา้ ยการยงิ มรี ะยะยงิ ทยี่ าวไกล ยงิ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ มคี วามแมน่ ย�ำสงู มหี วั รบทม่ี อี ำ� นาจ ร้ายแรงนานาชนิด ใช้ได้ทุกสภาพภูมิประเทศ ทุกสภาพอากาศและทัศนวิสัยน้ันได้แก่ ปืนใหญ่สนามประเภทต่าง ๆ ท้งั ปืนใหญ่ล�ำกล้อง จรวด และขปี นาวธุ ปืนใหญ่สนามจึงเป็นอาวุธที่อ่อนตัวย่ิงที่จะตอบสนองต่อการใช้ของผู้บังคับ บัญชา เพื่อทวีอ�ำนาจก�ำลังรบข้ึนให้สูงสุดอย่างทันทีทันใด ณ ตำ� บลและเวลาที่ต้องการ หน่วยปืนใหญ่สนามจงึ ถอื ได้ว่าเป็นองค์การยงิ หลกั ของผู้บังคบั บญั ชาในการรบทางบก การยิงของ ป. สนามนัน้ มีเทคนคิ และวิธกี ารหลายอย่างซึ่งพฒั นาขน้ึ เพื่อให้ได้ ผลต่อเป้าหมายดที ่ีสดุ ตามความต้องการ อาจแบ่งประเภทหรอื ชนดิ การยงิ ของ ป. สนาม ออกได้เป็นหลายแบบ ดงั นี้

ก. แบ่งตามผลหรอื ระดับความเสยี หาย เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 49 1) ยิงข่ม (Suppression Fire) 2) ยงิ ตัดรอนกำ� ลัง (Neutralization Fire) 3) ยงิ ทำ� ลาย (Destruction Fire) ข. แบ่งตามวธิ ีเล็ง 1) ยิงเล็งตรง (Direct Fire) 2) ยิงเล็งจำ� ลอง (Indirect Fire) ค. แบ่งตามแบบของกระสุนวิถี 1) ยิงมุมเล็ก (Low Angle Fire) 2) ยงิ มมุ ใหญ่ (High Angle Fire) ง. แบ่งตามขนาดของเป้าหมายหรอื เทคนคิ การยิง 1) ยิงเป็นพืน้ ท่ี (Area Fire) 2) ยิงประณีต (Precision Fire) จ. แบ่งตามการตรวจการณ์ 1) ยงิ มีการตรวจการณ์ (Observed Fire) 2) ยงิ ไม่มกี ารตรวจการณ์ (Unobserved Fire) ฉ. แบ่งตามการเตรียมการ 1) ยิงเป้าหมายตามเหตกุ ารณ์ (Target of Opportunity Fire) 2) การยงิ ตามแผน (Planned Fire) 3) การยิงตามคำ� ขอ (On Call Fire) 4) การยงิ ตามกำ� หนดเวลา (Scheduled Fire) ช. แบ่งตามความมุ่งหมาย 1) ยงิ หาหลกั ฐาน (Registration) ซง่ึ มหี ลายแบบ เชน่ ยงิ หาหลกั ฐานประณตี (Precision Registration) ยงิ หาหลกั ฐาน เอ. บ.ี ซ.ี เอ. (ABCA Registration) ยงิ หาหลกั ฐาน แตกอากาศสงู (High Burst Registration) ยงิ หาหลกั ฐานจดุ ปานกลางมณฑล (Mean Point of Impact Registration) ยงิ หาหลกั ฐานแบบยอ่ (Abbreviation Registration) ยงิ หาหลกั ฐานนอกทต่ี ง้ั (Off-set Registration) ยงิ หาหลกั ฐานไปขา้ งหลงั หรอื ในทศิ ทางอนื่ (Registration to the Rear)

50 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ 2) ยงิ เทยี บสภาพ (Calibration Fire) 3) ยงิ รบกวน (Harrassing Fire) 4) ยิงขัดขวาง (Interdicton, Barrier or Blocking Fire) 5) ยงิ เตรยี ม (Preparation Fire) 6) ยงิ ทำ� ลายการเตรยี ม (Counter Preparation Fire) 7) ยงิ ฉากหรอื ยิงป้องกันขนั้ สดุ ท้าย (Barrage or Final Protective Fire) 8) ยงิ ต่อต้าน ป. หรอื ยิงต่อต้านการยิง (Counter Battery or Counter Fire) 9) ยิงข่ม ปภอ. (Air Defense Suppression Fire) 10) ยงิ ข่มอาวธุ เลง็ ตรง (Direct Weapon Suppression Fire) 11) ยงิ ข่มฉบั พลนั (Immediate Suppression Fire) 12) ยงิ ข่มเร่งด่วน (Quick Suppression Fire) 13) ยิงควันฉบั พลัน (Immediate Smoke Fire) 14) ยงิ ควนั เร่งด่วน (Quick Smoke Fire) 15) ยิงคุ้มครอง (Covering Fire) 16) ยงิ พร้อมกนั ณ เป้าหมาย (Time On Target Fire) 17) ยงิ ช่วยใกล้ชดิ (Close Support Fire) 18) ยิงในทางลกึ (Fire in Depth) 20) ยงิ ควันพลาง (Smoke Curtain or Smoke Screen Fire) 20) ยงิ ควนั กำ� บงั (Smoke Blanket Fire) 21) ยิงส่องสว่างหรอื ยงิ ส่องแสง (Illumination Fire) 22) ยิงท�ำลายใกล้ชดิ (Assault Fire) 23) ยงิ ขับไล่ (Flushing Fire) 24) ลาดตระเวนด้วยการยงิ (Reconnaisance by Fire) 25) ยงิ กวาดล้าง (Crearing Fire) 26) ยงิ ต่อต้าน ปภอ. (Counter Flak Fire) 27) ยงิ สนบั สนนุ การตง้ั รบ (Defensive Fire)

28) ยิงสนบั สนุนการรกุ (Offensive Fire) เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 51 29) ยิงต่อเป้าหมายป้องกนั (Def Con of Def Tar Fire) 30) ยิงชี้ทิศ (Orienting Fire) 31) ยงิ ลวง (Deceiving Fire) 32) ยงิ หมายพกิ ดั หรอื การยงิ หมาย (Marking Fire or Marking Round) 33) ยงิ กระสนุ พเิ ศษ (Special Ammunition Fire) 8. กระสนุ ป. ทหารปืนใหญ่น้ันรบด้วยอำ� นาจของกระสุนของตน ปัจจุบันการพัฒนากระสุน ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วมากท้ังอ�ำนาจการท�ำลายและการเพิ่มระยะยิง การที่หน่วย ป. สามารถทจี่ ะยงิ ภารกจิ ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งมากมายดงั กลา่ วแลว้ นนั้ กเ็ พราะมกี ระสนุ หลายแบบ หลายชนดิ ทสี่ �ำคัญ ๆ ได้แก่ ก. ระเบดิ แรงสงู (High Explosive, HE) ใชส้ งั หารและทำ� ลายวตั ถุ ข. ระเบดิ แรงสงู ตอ่ สรู้ ถถงั (High Explosive Antitank, HEAT, HEAT-T, HEP) ใช้ สำ� หรบั เจาะเกราะตอ่ สยู้ านรบ ค. ควัน (Smoke, HC, Color) ใช้ท�ำควนั กำ� บงั และสัญญาณต่าง ๆ ง. ฟอสฟอรสั ขาว (White Phosphorus, WP) ใชก้ �ำบงั , เผา, สงั หารหรอื สญั ญาณ จ. ส่องแสง (Illuminating, ILL) ส่องสว่าง, เผาผลาญ ฉ. รังผึง้ , ลูกศร (Flechette, Bee Hive) สงั หารระยะใกล้ ช. ระเบดิ ปรับปรุง (Improve Conventional Munition, ICM) มีทัง้ แบบสงั หาร (AP) และสองความมุ่งหมาย (DP) ใช้เพิม่ อ�ำนาจการสงั หารและทำ� ลายยานรบขนาดเบา ซ. โปรยทนุ่ ระเบดิ (Family Scatterable Mine, FASCAM) มที ง้ั แบบระเบดิ สงั หาร (AP) และระเบดิ ดักรถถงั (AT) ใช้สร้างสนามทุ่นระเบิดเร่งด่วน ด. น�ำวถิ ี (Cannon Launched Guide Missile, CLGM, Copperhead) ใช้โจมตี ม. เป็นจดุ เช่น ถ. ท่ีตรวจการณ์ เป็นต้น ต. จรวดช่วย (Rocket Assisted Projectile, RAP) เป็นกระสนุ ระเบดิ ทเี่ พิม่ ระยะ ยงิ ขึ้น 25 - 30% ถ. ท้ายกลวง (Hollow Base) และ BASE BLEED เป็นกระสุนระเบิดเพ่ิมระยะ เช่นเดียวกัน

52 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ ท. เคมี (Chemical) สังหาร, ท�ำอันตราย, อาบพิษ น. นิวเคลียร์ (Nuclear) ก่อความหายนะ ฯลฯ 9. อำ�นาจของกระสุน ป. อำ� นาจท่เี กิดจากการยงิ กระสนุ ป. ไปตกยังบริเวณ ม. นน้ั โดยปกติแล้วจะก่อ ให้เกิดผล โดยสรปุ ดังนี้ ก. อ�ำนาจคลน่ื ระเบดิ (Blast) ข. อ�ำนาจสะเกด็ ระเบิด (Fragments) ค. อำ� นาจหลมุ ระเบดิ (Crater) ง. อ�ำนาจเพลงิ หรือการเผาผลาญ (Incendiary) จ. อ�ำนาจควนั (Smoke) ฉ. อ�ำนาจทะลทุ ะลวง (Piercing) ช. อำ� นาจของสารทบ่ี รรจุ เช่น เคมี นวิ เคลียร์ ซ. อำ� นาจท�ำลายขวัญ (Shock Effect) ด้วยอ�ำนาจเหล่านี้เฉพาะอย่างหรือหลายอย่างรวมกันของกระสุนแต่ละชนิด จึงท�ำให้ทหารปืนใหญ่สามารถก่อผลให้กับเป้าหมายได้หลายประการ ทำ� หน้าท่ีได้หลาย หน้าท่ตี ามแต่ผู้บังคบั บัญชาจะพงึ ใช้ สตาลนิ เคยกล่าวไว้ว่า “Artillery is the God of War” และทวั่ โลกกเ็ ชอื่ ว่าทหาร ปืนใหญ่น้นั เป็นราชาในสนามรบ ในฐานะเจ้าของเหล่า ควรอย่างยิ่งที่จะต้องศกึ ษาประวัติ และบทบาทของทหารปืนใหญ่ในการสงครามให้ลึกซึ้ง

บทที่ ศพั ททใ่ี ชในสวนยิง 1. กลาวนาํ เหลาทหาร ปนให ญ 53 ส่วนยิงเป็นส่วนหน่ึงของกองร้อยทหารปืนใหญ่สนาม ซ่ึงอยู่ ณ ที่ต้ังยิง ประกอบด้วย ปืนใหญ่สนาม, กา� ลังพล และยุทโธปกรณ์ทจ่ี า� เป็นส�าหรบั ปฏิบตั ิการยงิ และเป็นส่วนหน่งึ ของชดุ หลักยงิ ที่ปฏบิ ัตติ ามค�าสง่ั ยงิ ซง่ึ ศอย. เป็นผู้ส่งมาให้ในเรอื่ ง การฝก การควบคมุ การยงิ การปฏบิ ตั ขิ องส่วนยงิ ย่อมมศี พั ท์ต่าง ๆ ทเี่ จ้าหน้าทใี่ นส่วน ยงิ จ�าเป็นต้องรู้และเข้าใจเพอ่ื จะได้ปฏบิ ัตหิ น้าทีไ่ ด้ถกู ต้อง 2. ความมงุ หมาย เพื่อให้นักเรียนเข้าใจถึงค�าจ�ากัดความและความหมายของศัพท์ต่าง ๆ ที่ใช้ปฏบิ ัตใิ นส่วนยงิ 3. คําจาํ กัดความท่ีเกีย่ วกับแผนทีแ่ ละมมุ ภาค (MAP AND AZIMUTH TERMS) ก. เส้นตาราง (GRID LINE) คือ เส้นท่ีต่อออกไปตามแนวทิศเหนอื และทิศใต้ หรอื ออกไปตามแนวทศิ ตะวนั ออกและทศิ ตะวนั ตกบนแผนที่ แผนทภี่ าพถา่ ยตา่ ง ๆ หรอื กระดาษตารางใช้สา� หรบั บอกที่อยู่ของจดุ ต่าง ๆ

54 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ ข. ก. (มมุ ภาคจาก ก. ไป ข. 500 มลิ .) (มมุ ภาคกลบั จาก ข. มา ก. 3,700 มิล.) ข. ทิศเหนอื เข็มทิศ (นข) (MAGNETIC NORTH) คอื ทศิ ทางท่ตี รงไปยังข้วั โลก ของแม่เหลก็ โลก ค. ทิศเหนือจริง (นจ) (TRUE NORTH) คือ ทิศทางที่ตรงไปยังขั้วเหนือของ แม่เหล็กโลก ง. ทศิ เหนอื ตาราง (นต) (GRID NORTH) คือ ทิศทางที่ช้ีไปทางเหนอื ของเส้น ตารางบนแผนทท่ี หาร แผนท่ภี าพถ่าย หรือกระดาษตาราง จ. มุมภาค (ภ) (AZIMUTH) คือ มุมทางระดับวัดเวียนตามเข็มนาฬิกาจาก ทิศเหนือไปยงั แนวพิจารณา เนอ่ื งจากเรามที ศิ เหนอื 3 ชนดิ ดงั น้ันเราจงึ มีมมุ ภาค 3 ชนิด เช่นเดียวกนั 1. มมุ ภาคเขม็ ทิศ (ภข) (MAGNETIC AZIMUTH) คือ มุมทางระดบั วัดเวียน ตามเขม็ นาฬิกา จากทศิ เหนอื เขม็ ทิศไปยังแนวพจิ ารณา 2. มุมภาคจริง (ภจ) (TRUE AZIMUTH) คือ มุมทางระดับวัดเวียนตาม เข็มนาฬิกาจากทศิ เหนอื จริง ไปยงั แนวพจิ ารณา 3. มุมภาคตาราง (ภต) (GRID AZIMUTH) คือ มุมทางระดับวัดเวียนตาม เข็มนาฬิกา จากทศิ เหนอื ตารางไปยังแนวพจิ ารณา หมายเหตุ ป. สนามใชม้ มุ ภาคตารางเสมอ เพอ่ื กำ� หนดทศิ ทางยงิ วา่ เปน็ มมุ ภาค (ตาราง) เท่าใด คำ� ว่า “มมุ ภาค” ตามธรรมดาย่อมหมายถงึ มมุ ภาคตาราง ฉ. มมุ ภาคกลบั (ภ.กลบั ) (BACK AZIMUTH) คอื มมุ ภาคของทศิ ทางทอี่ ยตู่ รงขา้ ม กบั ทศิ ทางของมมุ ภาคนน้ั ซง่ึ หมายถงึ มมุ ภาคทบี่ วกหรอื ลบดว้ ย 3,200 มลิ เลยี ม มมุ ภาค ของ ก. ไป ข. มคี า่ 500 มลิ . มมุ ภาคกลบั จาก ข. มา ก. จะได้ 3,700 มลิ . (500 - 3,200) หรอื มมุ ภาค จาก ค. ไป ง. มคี ่า 4,000 มิล. มมุ ภาคกลบั จาก ง. มา ค. จะได้ 800 มลิ . (4,000 - 3,200)

ทิศเหนอื ตาราง เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 55 ช. มุมเยื้องเข็มทิศ (ยข) (MAGNETIC DECLINATION) คือ มุมเล็กระหว่าง ทิศเหนือจริงกับทิศเหนือเข็มทิศ เป็นมุมที่แสดงไว้ในรายการใต้ขอบระวางแผนที่ กำ� หนด ค่าตะวนั ออก ตะวนั ตก ของทศิ เหนอื จรงิ เช่น มุมเยือ้ งเขม็ ทศิ 150 มลิ . ตะวนั ตก มมุ เยอื้ งเขม็ ทศิ 120 มลิ . ตะวนั ออก มมุ เยอ้ื งเขม็ ทศิ นจี้ ะเปลย่ี นไปทลี ะนอ้ ยทกุ ๆ ปี ตวั แกก้ ค็ อื การเปลยี่ นแปลง ของแม่เหลก็ ประจ�ำปี ซงึ่ จะแสดงไว้ในระวางแผนทท่ี างทหาร ซ. มมุ เยอื้ งตาราง (ยร) (GRID DECLINATION) คอื มมุ เล็กระหว่างทศิ เหนือจริง กับทศิ เหนอื ตารางในแผนท่ี มุมน้ีจะแสดงไว้เป็นตะวนั ออก ตะวนั ตกของทิศเหนือจรงิ เช่น

56 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ มมุ เยอ้ื งตาราง 120 มิล. ตะวนั ตก มมุ เยื้องตาราง 140 มลิ . ตะวันออก ฌ. มมุ เยอ้ื งประจำ� (ยจ) (DECLINATION CONTANT) คอื มมุ ทางระดบั วดั เวยี นตาม เขม็ นาฬิกา จากทิศเหนอื ตารางไปทิศเหนอื เขม็ ทศิ หรอื มมุ ภาคตารางของทศิ เหนือเข็มทิศ นนั่ เองกลอ้ งทใี่ ชเ้ ขม็ ทศิ จำ� เปน็ จะตอ้ งหาคา่ และบนั ทกึ มมุ เยอ้ื งประจำ� ของกลอ้ งนนั้ ไวเ้ สมอ กลอ้ งแตล่ ะกลอ้ งอาจมมี มุ เยอ้ื งประจำ� ไมเ่ ทา่ กนั ในพนื้ ทเ่ี ดยี วกนั กไ็ ด้ และกลอ้ ง ๆ หนงึ่ จะมี ค่ามุมเยอ้ื งประจ�ำแตกต่างกนั ตามต�ำบลต่าง ๆ เช่น 6,300 120 มมุ เยอื้ งประจ�ำ 6,300 มลิ . มมุ เยื้องประจ�ำ 120 มลิ .

ศพั ทส์ ามญั ของสว่ นยงิ (COMMON FIRING BATTERY TERMS) เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 57 ก. ที่หมายเล็ง (AIMING POINT) คือจุดหรือวัตถุเล็ก ๆ ที่มองเห็นเด่นชัด ซ่ึงอยู่ในแนวเส้นเลง็ และใช้เป็นหลกั ในการต้งั ปืนใหญ่ให้ถกู ทศิ ทาง อาจจะเป็นเป้าหมาย ก็ได้ แต่ในการยงิ ด้วยวธิ เี ล็งจำ� ลองทห่ี มายเลง็ ควรเป็นจดุ หรอื วตั ถเุ ล็ก ๆ ทเี่ หน็ เด่นชัดและ อยู่กบั ที่ และเป็นวตั ถอุ น่ื ซึง่ ไม่ใช่เป้าหมาย โดยทว่ั ไปท่ีหมายเลง็ มีอยู่ 2 ชนดิ คือ ท่ีหมาย เลง็ ไกล และท่หี มายเล็งใกล้ 1. ทห่ี มายเลง็ ไกล (DISTANT AIMING POINT) คอื ทห่ี มายเลง็ ทจี่ ะตอ้ งอยหู่ า่ ง จากปืนเป็นระยะไม่น้อยกว่า 1,500 เมตร ซ่ึงระยะนีแ้ ม้ปืนจะเคล่อื นถอยเองขณะทำ� การยงิ จะไม่ท�ำให้ง่ามมมุ ทางระดบั เคลือ่ นไปเกนิ กว่าครงึ่ มลิ . (เมอ่ื ตง้ั มาตรามุมทิศเดยี วกนั ) ข้อดขี องท่หี มายเลง็ ไกลคอื เมื่อเข้าทตี่ ัง้ ยงิ กส็ ามารถใช้ได้ทนั ที ขอ้ เสยี กค็ อื ลำ� บากแกก่ ารใชใ้ นเวลาคำ่� มดื เวลาฝนตก มหี มอกหรอื ควนั จำ� เปน็ ต้องใชก้ ระสนุ สอ่ งแสงช่วย จงึ ไม่เหมาะทจี่ ะใชใ้ นโอกาสเชน่ น้ี นอกจากนถี้ ้าจะตง้ั ปืนใหเ้ ลง็ ขนานคู่กนั แล้วโดยใช้มมุ เดยี วกนั ปืนจะไม่ขนานกัน 2. ทห่ี มายเลง็ ใกล้ (CLOSE IN AIMING POINT) คือที่หมายเล็งท่ีอยู่ภายใน บริเวณทต่ี งั้ ยิง เช่น ใช้หลกั เลง็ 2 หลกั หลกั ไกลต้องห่างจากปืนเป็น 2 เท่า ของหลกั เล็ง อันใกล้ เช่น หลกั เลง็ ไกลห่างจากปืน 100 เมตร หลักเลง็ อนั ใกล้จะต้องห่าง 50 เมตร หลกั เลง็ ทงั้ 2 นจี้ ะตอ้ งอยใู่ นแนวเสน้ เลง็ เดยี วกนั การตดิ ไฟหลกั เลง็ ใชใ้ นเวลากลางคนื จะตอ้ งให้ ไฟหลักเล็งอันไกลอยู่สูงกว่าหลักเล็งอันใกล้ หรืออาจจะจ�ำเป็นต้องถอดหลักเล็งอันใกล้ให้ เหลือเพยี งคร่งึ เดียว เพอ่ื การมองเหน็ ในเวลากลางคนื ข. ศนู ยก์ ลางกองรอ้ ย (ศก.รอ้ ย.) (BATTERY CENTER) คอื ทซ่ี งึ่ หมายไวบ้ นพน้ื ดนิ ตั้งอยู่ประมาณกึ่งกลางทางเรขาคณิตของที่ต้ังปืนหมู่ต่าง ๆ เป็นจุดซ่ึงได้กรุยลงบนแผ่น เรขายิงเพอ่ื ให้แทนทต่ี ั้งยงิ ของกองร้อย ค. ปืนหลัก (BASE PIECE) คือ ปืนท่ีมีความเร็วต้นใกล้เคียงกับความเร็วต้น เฉลี่ยของปืนในกองร้อยมากท่สี ดุ โดยปกตอิ ยู่ใกล้ชิดกบั ศนู ย์กลางกองร้อยมากท่สี ุด และ ใช้สำ� หรับยิงหาหลกั ฐาน ง. เส้นยงิ (LINE OF FIRE) คอื เส้นทลี่ �ำกล้องปืนชี้ไปตามทศิ ทางทจ่ี ะยิง จ. แนวแสดงมมุ ภาค (นภ.) (ORIENTING LINE) คอื แนวทที่ ราบมมุ ภาคทกี่ �ำหนด ไว้บนพ้ืนดิน แนวแสดงมุมภาคน้ีปกติแล้วเจ้าหน้าท่ีแผนที่ของกองร้อยเป็นผู้กำ� หนด และ มักอยู่ใกล้กับที่ต้ังยิง อาจจะอยู่ข้างหลังหรือข้างหน้าของท่ีต้ังยิงก็ไต้ และแนวที่จะใช้เป็น

58 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ ทิศทางอ้าง ส�ำหรับต้ังปืนตรงทศิ ด้วยวธิ มี ุมตรงทศิ ค่าของมมุ ภาคของแนวแสดงมมุ ภาคน้ี วัดจากจดุ ตั้งกล้องไปยังปลายแนวแสดงมุมภาคท่กี �ำหนด ฉ. จดุ ต้ังกล้อง (จก.) (ORIENTING STATION) คือ จุดจุดหนึ่งบนแนวแสดงมุม ภาค ซง่ึ กำ� หนดขนึ้ บนพน้ื ดนิ เปน็ จดุ ท่ี รอง ผบ.รอ้ ย. นำ� กลอ้ งกองรอ้ ยไปตงั้ เพอื่ ตงั้ ปนื ตรงทศิ ด้วยวธิ มี ุมตรงทศิ ช. มมุ ตรงทศิ (ตท.) (ORIENTING ANGLE) คอื มุมทางระดบั วดั เวียนตามเขม็ นาฬิกาจากเส้นยงิ ไปยงั แนวแสดงมมุ ภาค ซ. จดุ อ้าง (จอ.) (REFERENCE POINT) คือ จดุ จดุ หน่งึ ที่เหน็ เด่นชดั และสังเกต เห็นได้ง่ายในภูมปิ ระเทศ เพอ่ื ใช้หลักในการก�ำหนดเป้าหมายต่าง ๆ ด. มมุ ทศิ (ท) (DETECTION) คอื มมุ ทางระดบั วดั เวยี นตามเขม็ นาฬกิ าจากเสน้ ยงิ ไปยงั แนวท่หี มายเล็งท่กี �ำหนดให้ (หลักเลง็ ) และมียอดของมุมอยู่ทก่ี ล้องเล็ง ค่าของมมุ ทศิ ไม่เกิน 3,200 มลิ . เว้นแต่ปืนทใ่ี ช้กล้องพาโนรามคิ M100, M115 หรือ M117 ต. การจ�ำลองทิศ (REFER) คือ การวัดมุมทิศไปยังเป้าหมายเล็งท่ีก�ำหนดให้ (ดว้ ยกลอ้ งพาโนรามคิ ) โดยมใิ หล้ ำ� กลอ้ งปนื เคลอื่ นที่ เมอ่ื มคี ำ� สงั่ วา่ “จำ� ลองทศิ ” หมายความวา่ ใหว้ ดั และรายงานมมุ ทศิ ถา้ ตอ้ งการใหบ้ นั ทกึ มมุ ทศิ ไวใ้ หส้ งั่ วา่ “บนั ทกึ มมุ จำ� ลองทศิ ” ถ. การเล็งจำ� ลอง (INDIRECT LAYING) คือ การเลง็ ทีใ่ ช้กล้องพาโนรามิคของ ปืนไปเลง็ ทห่ี มายเลง็ ท่กี �ำหนดให้ โดยตงั้ ค่ามุมทิศที่ก�ำหนดให้ แล้วส่ายล�ำกล้องปืนไปจน กระท่งั เส้นเลง็ ทับที่หมายเลง็ ท. การเล็งตรง (DIRECT LAYING) คอื การเล็งให้เส้นเล็งตรงไปยังเป้าหมายท่ี จะท�ำการยิง หรอื การเล็งโดยใช้เป้าหมายเป็นท่ีหมายเล็ง 2,400 2,600

ธ. กรวยพ้ืนยิง (SHEAF) คือ ต�ำบลระเบิดทางข้าง (พ้ืนยิง) ของปืนตั้งแต่ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 59 2 กระบอกขึ้นไป ท�ำการยิงร่วมกัน ซ่ึงจัดไว้เพื่อให้ดูรูปแบบของต�ำบลระเบิดท่ีต้องการ แบ่งตามลกั ษณะของกรวยได้ดงั นี้ 1. กรวยปกติ (NORMAL SHEAF) ก. กรวยขนานคู่ (PARALLEL SHEAF) ข. กรวยมาตรฐาน (STANDARD SHEAF) 2. กรวยปิด (CONVERGED SHEAF) 3. กรวยเปิด (OPEN SHEAF) 4. กรวยพเิ ศษ (SPECIAL SHEAF) 1. กรวยปกติ (NORMAL SHEAF) 1.1 กรวยขนานคู่ (PARALLEL SHEAF) คอื กรวยพน้ื ยงิ อยา่ งหนงึ่ ซง่ึ มพี น้ื ยงิ ของปืนทกุ กระบอกขนานกัน ตำ� บลระเบิดต่าง ๆ จะมีระยะเคียงระหว่างนดั เช่นเดียวกับ ระยะเคยี งระหว่างปืน ท้งั นไ้ี ม่ต้องค�ำนึงถึงทางระยะ กรวยขนานคู่

60 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ 1.2 กรวยมาตรฐาน (STANDARD SHEAF) คือ กรวยท่ีมีขนาดกว้างด้าน หน้าคงท่ี (ตามขนาดของปืน) คือ ปบค. 95 ขนาด 105 มม. กรวยกว้าง 100 เมตร, ปกค. 03 ขนาด 155 มม. กรวยกว้าง 200 เมตร ใช้เมื่อกองร้อยมีขนาดกว้างด้านหน้ามาก ๆ ต้อง คำ� นวณตวั แก้เป็นรายกระบอกไว้ล่วงหน้า กว้างตามขนาดอาวธุ กรวยมาตรฐาน 2. กรวยปิด (CONVERGED SHEAF) เป็นกรวยพน้ื ยงิ อันหนงึ่ ซึง่ พนื้ ยิงทั้งหมด ไปรวมกนั ณ จดุ จดุ หนึง่ ท่กี �ำหนดให้ กรวยปดิ

3. กรวยเปิด (OPEN SHEAF) เป็นกรวยพื้นยิงอย่างหน่ึง ซ่ึงมีระยะทางข้าง ระหว่างศูนย์กลางต�ำบลระเบิดสองต�ำบลท่ีเคียงกัน มีค่าเท่ากับความกว้างท่ีได้ผลของ ตำ� บลระเบิดหนง่ึ นดั กรวยเปดิ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 61 3.1 ความกว้างของกรวย (WIDTH OF SHEAF) คือ ความกว้างระหว่าง จดุ ศนู ยก์ ลางของตำ� บลระเบดิ ของปกี ทงั้ สองซงึ่ ตงั้ ฉากกบั พน้ื ยงิ ซงึ่ จะไดจ้ ากเอาความกวา้ ง ของตำ� บลระเบิดของกระสนุ หน่งึ นดั คณู ด้วยจ�ำนวนปืนในกองร้อยลบด้วยหนงึ่ แต่อย่างไร กต็ าม ความกว้างของกรวยได้แสดงไว้ในตารางข้างล่างน้ี ขนาดปืน ป. 2 กระบอก ป. 4 กระบอก ป. 6 กระบอก หมายเหตุ 75 มม. 20 เมตร 60 เมตร 100 เมตร 105 มม. 30 เมตร 90 เมตร 150 เมตร 155 มม. 50 เมตร 150 เมตร 250 เมตร

3.2 กวา้ งดา้ นหนา้ ของกรวย (FRONT OF SHEAF) คอื ระยะทางขา้ งระหวา่ ง ขอบนอกตำ� บลระเบดิ ทางปกี ซง่ึ ตง้ั ฉากกบั พนื้ ยงิ หรอื ความกวา้ งของกรวยบวกดว้ ย 1 ตำ� บล ระเบดิ ตามกว้างด้านหน้าของกรวยได้แสดงไว้ในตารางข้างล่าง ขนาดปืน ป. 2 กระบอก ป. 4 กระบอก ป. 6 กระบอก หมายเหตุ 75 มม. 40 เมตร 80 เมตร 120 เมตร 105 มม. 60 เมตร 120 เมตร 180 เมตร 155 มม. 100 เมตร 200 เมตร 300 เมตร 4. กรวยพเิ ศษ (SPECIAL SHEAF) คือ กรวยท่มี ลี กั ษณะผดิ แปลกไปจากกรวย ทั้ง 3 อย่างข้างต้น 62 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่

บทที่ เหล่าทหาร ปนให ่ญ 63 การปรับเสน เล็ง 1. กล่าวท่ัวไป ก. การปรับเส้นเล็ง คือ กรรมวิธีในการท�าให้เส้นเล็งของกล้องเล็งและ กล้องข้อศอก (ถ้าม)ี ของปืนขนานกบั แกนหลอดล�ากล้องปืนท้งั ทางดง่ิ และทางระดบั ข. โอกาสท่จี ะต้องปรบั เส้นเลง็ 1) ทา� ทนั ทีทกี่ ล้องเล็ง หรอื ฐานกล้องเลง็ ถูกกระทบกระเทอื น นอกจาก การกระเทอื นจากการยิงตามปกติ 2) ก่อนทจ่ี ะเปดการยงิ เมอ่ื เข้าท่ตี งั้ ยิงใหม่ 3) เม่ืออยู่ในทร่ี วมพลหรือจุดนดั พบให้ปรับเส้นเล็งโดยวธิ ีท่ีดีท่ีสดุ เสมอ 4) เม่ือผลการยิงผิดปกติ ตรวจหาความผิดพลาดไม่พบหรือทราบว่า เส้นเลง็ คลาดเคล่อื น จะต้องปรบั เส้นเล็ง 5) เมอ่ื อยใู่ นทตี่ งั้ ยงิ เปน็ เวลานาน ๆ ควรจะไดป้ รบั เสน้ เลง็ หรอื ตรวจสอบ เป็นประจา� ทุกวนั โดยปกตมิ กั ทา� ในตอนเช้า ค. วธิ ปี รบั เสน้ เลง็ การปรบั เสน้ เลง็ กระทา� ไดห้ ลายวธิ ี วธิ ตี อ่ ไปนจี้ ดั ลา� ดบั ไว้ตามความละเอยี ดถูกต้องจากมากไปหาน้อย คอื 1) วธิ แี ผ่นเป้าทดสอบ 2) วิธที ี่หมายเลง็ ไกล 3) วิธใี ช้กล้องกองร้อย 4) วธิ ีมุมมาตรฐาน 5) วธิ ใี ช้คอลลมิ ิเตอร์ (Collimator)

64 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ 2. การปรับเส้นเล็งโดยวิธีแผ่นเป้าทดสอบ เปน็ วธิ ปี รบั เสน้ เลง็ ของกลอ้ งใหข้ นานกบั แกนหลอดลำ� กลอ้ งปนื อยา่ งแทจ้ รงิ โดย ใหแ้ ผน่ เปา้ ทดสอบ ซง่ึ จำ� ลองออกมาจากปนื แตล่ ะแบบวา่ เสน้ เลง็ ของกลอ้ งเลง็ อยหู่ า่ งจาก แกนหลอดล�ำกล้องปืนแท้ ๆ เท่าใด ท้งั ทางดิ่งและทางระดบั วิธีปฏบิ ัตกิ ค็ ือ ก. การเตรยี มการ 1) ตง้ั ปืนในท่าตง้ั ยงิ ในพ้นื ท่รี าบเรียบ 2) ให้ลำ� กล้องปืนอยู่ก่ึงกลางเขตส่าย 3) ให้ระดับแก่เพลาปืน 4) ให้ระดับแก่ล�ำกล้องปืนอย่างประณตี 5) ประกอบแผ่นศูนย์หน้า และศนู ย์หลงั เข้ากบั ล�ำกล้องปืน 6) ให้ระดับแก่ฐานกล้องเล็งทง้ั ทางยาวและทางข้าง 7) น�ำแผ่นเป้าทดสอบพร้อมขาต้ังไปตั้งข้างหน้าปืน ให้แผ่นเป้าทดสอบ ตัง้ ฉากกับแนวแกนหลอดลำ� กล้องปืน ห่างปืนอย่างน้อย 50 เมตร 8) เล็งผ่านศูนย์หลังไปยังศนู ย์หน้า แล้วให้สญั ญาณคนถือแผ่นเป้าทดสอบ ขยบั ขน้ึ -ลง จนจดุ เล็งของล�ำกล้อง (ผเี ส้อื ) ตรงกับเส้นเล็งของล�ำกล้องปืนแล้วน่ิง ข. การปรับเสน้ เลง็ ของกลอ้ งเลง็ 1) ตรวจสอบหมดุ เกลยี วสมั ผัสว่าขันแน่นพอดี 2) ต้งั มาตรฐานมมุ ทิศส่วนใหญ่ของกล้องให้ตรงศูนย์ 3) ตงั้ มาตรามมุ ทศิ สว่ นยอ่ ยใหต้ รงศนู ย์ ถา้ จำ� เปน็ อาจตอ้ งคลายหมดุ เกลยี ว ยึดออก แล้วขนั ให้แน่น มาตราตวั แก้มมุ ทศิ ต้องตรงศูนย์ด้วย 4) ใช้ไขควง หรอื เครอื่ งมอื ประจำ� หมู่ปืนน้ัน ๆ ปรบั เส้นเลง็ (กากบาท) ของ กล้องให้ตรงกับจุดเล็ง (ผีเส้ือ) บนแผ่นเป้าทดสอบ โดยคลายหมุดเกลียวหรือแป้นเกลียว ทีเ่ ก่ียวข้องออกปรบั ให้ตรง แล้วขนั ให้แน่น การปรับต้องปรบั ทง้ั ทางด่งิ และทางระดบั 5) ถ้ามกี ล้องข้อศอกกท็ �ำเช่นเดยี วกนั 6) ถ้าปืนมีมาตรามุมสูงด้วย ก็ให้ทำ� การปรับมาตรามุมสูงของปืน ให้มีค่า มมุ สูงเป็นศูนย์ด้วย หมายเหตุ ถ้ายังไม่ทราบค่ามุมมาตรฐาน ก็ให้ด�ำเนินการหามุมมาตรฐานไว้ ใช้ตรวจสอบเส้นเลง็ ในโอกาสต่อไปด้วย

3. การปรับเสน้ เล็งโดยวิธีทีห่ มายเลง็ ไกล เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 65 การปรบั เส้นเลง็ โดยวิธนี ี้ใช้สมมตฐิ านที่ว่า เมื่อเส้นเลง็ 2 เส้นไปตดั กันในระยะ ไกลพอสมควร ถือว่าเส้น 2 เส้นน้ันขนานกัน โดยหลักนิยมแล้ว ความแตกต่างระหว่าง เส้นเล็งของแกนหลอดล�ำกล้องปืน และเส้นเล็งของกล้องเล็งจะต้องมีค่ามุมทิศต่างกัน ไมเ่ กนิ 1/4 มลิ . นนั่ คอื ปนื เบา ตอ้ งใชท้ หี่ มายเลง็ ไกลในระยะ 1,500 เมตรขน้ึ ไป ปนื กลาง ในระยะ 2,500 เมตรขึน้ ไป ก. การปฏิบตั ิ 1) ตงั้ ปนื ในทา่ ตงั้ ยงิ ชไี้ ปยงั ทห่ี มายเลง็ ใหล้ ำ� กลอ้ งอยปู่ ระมาณกงึ่ กลางเขตสา่ ย 2) ให้ระดับแก่เพลาปืนพอประมาณ 3) ประกอบแผ่นศนู ย์หน้า และศูนย์หลงั ของลำ� กล้องปืน 4) ใชค้ วงสา่ ยทางทศิ และทางสงู สา่ ยปนื ใหเ้ สน้ เลง็ (ศนู ยห์ ลงั และศนู ยห์ นา้ ) ของลำ� กล้องปืนตรงไปยงั ท่ีหมายเลง็ ไกลนน้ั 5) ต้งั มาตรามมุ ทศิ ของกล้องเลง็ เป็นศนู ย์ (0) ทั้งส่วนใหญ่และส่วนย่อย 6) ปรับเส้นเลง็ ของกล้องเล็งให้ตรงไปยังทห่ี มายเล็งไกล ณ จดุ เดียวกบั เส้น เล็งของลำ� กล้อง โดยใช้ควงเกลยี วหรอื แป้นเกลยี วของฐานกล้องเล็งน้นั ๆ 7) ถ้ามีกล้องข้อศอกกก็ ระท�ำเช่นเดยี วกนั 8) ขณะนเ้ี สน้ เลง็ ทงั้ 3 เสน้ คอื ลำ� กลอ้ งปนื กลอ้ งเลง็ และกลอ้ งขอ้ ศอก (ถา้ ม)ี ถอื ว่าขนานกนั แล้ว (เพราะแตกต่างกนั ไม่เกินกว่า 1/4 มลิ .) 4. การปรับเส้นเลง็ โดยวธิ ีมุมมาตรฐาน เป็นวิธีปรับหรือตรวจสอบเส้นเล็งแบบเร่งด่วน โดยเลือกจุดเล็งขึ้นจุดหน่ึง ณ ปากล�ำกล้องปืน แล้วปรบั เส้นเลง็ ของกล้องเล็งให้มมี ุมทิศและมุมสงู เท่ากับมุมมาตรฐาน ซ่งึ หาไว้ล่วงหน้าแล้ว โดยใช้จดุ เล็ง ณ ปากลำ� กล้องปืน (จดุ เดยี วกัน) เป็นทห่ี มายเล็ง การ หามุมมาตรฐาน ให้ด�ำเนินการเม่ือท�ำการตรวจและปรับปืนตามห้วงระยะเวลาเสร็จแล้ว ซึ่งเส้นเล็งของกล้องเล็ง และค่ามุมสูงต่าง ๆ ถูกต้องที่สุด หรืออาจจะหาไว้หลังจากการ ปรับเส้นเล็งด้วยวิธีแผ่นเป้าทดสอบแล้วก็ได้ ข้อส�ำคัญของการปรับเส้นเล็งด้วยวิธีน้ี ก็คือ ส่วนเคล่ือนถอยของปืนจะต้องกลับเข้าที่เรียบร้อยอยู่ในต�ำแหน่งเดียวกันท้ังในการหามุม

66 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ มาตรฐาน และในตอนปรับเส้นเล็ง นั่นคือนำ้� มันรับแรงต้องพอดี และการกลับเข้าท่ีของ ล�ำกล้องต้องไม่ผดิ ปกตไิ ป ค่ามมุ มาตรฐานทห่ี าไว้จึงจะไม่ผิดพลาดได้ ก. การหามุมมาตรฐาน 1) เมอ่ื สว่ นเคลอ่ื นทถี่ อยของปนื กลบั เขา้ ทเี่ รยี บรอ้ ยแลว้ ใหห้ มายตำ� แหนง่ ไว้ ใชอ้ า้ งในคราวตอ่ ไป โดยขดี เสน้ ครอ่ มระหวา่ งสว่ นเคลอ่ื นถอยกบั สว่ นทอี่ ยกู่ บั ท่ี ณ ทแี่ หง่ ใด แห่งหน่งึ กไ็ ด้ 2) ตัง้ ยิง และให้ระดบั เพลาปืนอย่างประณีต 3) ปรับเส้นเลง็ ของปืน โดยใช้แผ่นเป้าทดสอบ 4) ใช้เข็มหมุดหรือวัสดุที่คล้ายกันติดเข้ากับรอยบากทางซ้ายของปาก ลำ� กล้องปืน ให้ปลายโผล่จนมองเหน็ ได้อย่างชดั เจน 5) ประกอบแผ่นวสั ดุ ซง่ึ เจาะรูเท่ารเู ข็ม เพ่อื ป้องกนั การมองไม่ตรงเข้ากบั เลนส์ตาของกล้องเลง็ 6) ตรวจสอบมาตรฐานของกล้องเล็งให้ตรงศนู ย์จรงิ ๆ 7) ยกลำ� กล้องข้นึ ให้ได้ระดบั ความสูงของกล้องเลง็ 8) ให้ระดับฐานกล้องเลง็ อย่างประณตี 9) หมนุ กล้องเลง็ ไปยังโคนของเขม็ หมดุ ณ ปากล�ำกล้องปืน ยกลำ� กล้อง ปืนขึ้นจนจดุ ตัด (กากบาท) ของเส้นสายใยทาบกับโคนเข็มหมดุ พอดี โดยทีฐ่ านกล้องเล็ง ยังคงได้ระดบั ดงั เดิม 10) อ่านค่ามมุ จากกล้องเลง็ ให้ละเอยี ด 1/4 มิล. โดยประมาณด้วยสายตา 11) มุมทอ่ี ่านได้ คอื มมุ ทศิ หรอื มุมข้างมาตรฐาน 12) ใช้เครอื่ งต้งั มุมยิงประณตี วัดค่ามมุ สูงของล�ำกล้องไว้ มมุ น้ี ก็คือ มุมสงู หรือมุมดง่ิ มาตรฐาน 13) ใชใ้ บมดี หรอื ของมคี มขดี เสน้ อา้ งเอาไวใ้ ชต้ รวจสอบในคราวตอ่ ไปบนฐาน กล้องเล็ง ดงั น้ี ก) ขดี เสน้ ครอ่ มระหวา่ งควงและแกนใหร้ ะดบั ทางขา้ งของฐานกลอ้ งเลง็ ข) ขดี เส้นคร่อมระหว่างควงให้ระดับทางข้างกับก้านของควง ค) ขดี เสน้ ครอ่ มระหวา่ งควงและแกนใหร้ ะดบั ทางยาวของฐานกลอ้ งเลง็ ง) ขดี เสน้ ครอ่ มระหวา่ งควงใหร้ ะดบั ทางยาว แหวน และกา้ นควง (ผา่ น 3 ส่วน)

14) ขีดหมายเหล่านี้ให้ขีดเป็นเส้นตรงผ่านท้ังส่วนเคล่ือนที่และส่วนที่อยู่ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 67 กับที่ เพอื่ เป็นเส้นอ้างสำ� หรับเมื่อจะใช้มมุ มาตรฐานตรวจสอบเส้นเลง็ ในคราวต่อไป ข. ระเบยี บการใชเ้ มอื่ จะปรบั เสน้ เลง็ โดยวธิ มี มุ มาตรฐาน ใหด้ ำ� เนนิ การ ดงั นี้ 1) ตรวจสอบส่วนเคล่ือนถอยของปืนว่าเข้าท่เี รียบร้อย 2) ตรวจเพลาปนื วา่ เอยี งไมเ่ กนิ 10 มลิ . (ใชเ้ ครอ่ื งตงั้ มมุ ยงิ ประณตี วดั ) ถา้ เกนิ ให้ปรับระดบั เพลาปืน 3) ยกล�ำกล้องปืนขน้ึ เท่ากบั มมุ สงู มาตรฐาน โดยใช้เคร่อื งต้งั มมุ ยงิ ประณีต 4) สวมแผ่นรเู ขม็ เข้ากบั เลนส์ตาของกล้องเลง็ 5) ปรบั กลอ้ งเลง็ ใหข้ ดี อา้ งทกุ แหง่ ตรงกนั แลว้ ตง้ั มมุ ทศิ มาตรฐานบนกลอ้ งเลง็ 6) น�ำเข็มหมดุ ไปติดไว้ ณ ปากล�ำกล้องปืนที่จุดเดมิ 7) ถ้าภาพการเล็งไม่พอดีให้ปรับเส้นเล็งของกล้องเล็งจนได้ภาพการเล็งท่ี พอดี โดยใช้หมดุ เกลยี วหรอื แป้นเกลยี วตามชนดิ ของปืนน้ัน ๆ 8) ขณะน้ีเส้นเลง็ ของกล้องเลง็ และแนวแกนหลอดล�ำกล้องปืนจะขนานกนั เหมอื นกบั ตอนท่ีหามมุ มาตรฐานไว้แล้ว (ภาพการเลง็ และความประณตี ในการตัง้ มุมเป็น หวั ใจของความถกู ต้อง เพราะว่าทห่ี มายเลง็ อยู่ใกล้ ถ้าผดิ พลาดไปเพยี งเลก็ น้อยจะเป็นมมุ ใหญ่มาก) หมายเหตุ วธิ ีมมุ มาตรฐานน้ปี รบั ได้เฉพาะกล้องเลง็ เท่าน้ัน กล้องข้อศอกปรับ ไม่ได้ 5. การปรับเส้นเลง็ โดยใชก้ ลอ้ งกองรอ้ ย ก. ต้ังกล้องกองร้อยหน้าปืน และห่างปืนประมาณ 30 - 50 เมตร ข. ประกอบศูนย์แผ่นหน้าและศูนย์หลังเข้ากบั ลำ� กล้องปืน ค. ตั้งค่ามมุ บนกล้องกองร้อยเท่ากบั ศนู ย์ (0) ง. ปรับแกนหลอดล�ำกล้องปืนให้ตรงกับกล้องกองร้อย แล้วให้ระดับทางข้าง แก่ฐานกล้องเลง็ จ. ดว้ ยควงจานทศิ ลา่ ง ปรบั เสน้ เลง็ ของกลอ้ งกองรอ้ ยใหไ้ ดแ้ นวกบั แกนหลอด ล�ำกล้องปืน ฉ. ดว้ ยควงจานทศิ บนหมนุ กลอ้ งกองรอ้ ยไปเลง็ ยงั แวน่ กระจกหนา้ กลอ้ งเลง็ ของปนื

68 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ ช. อา่ นคา่ งา่ มมมุ ระหวา่ งแกนหลอดลำ� กลอ้ งปนื กบั แวน่ กระจกหนา้ กลอ้ งเลง็ ของปนื ซ. ขานคา่ มมุ นใี้ หพ้ ลเลง็ แลว้ พลเลง็ ตงั้ คา่ มมุ นบ้ี นกลอ้ งเลง็ ของตน ถา้ เสน้ เลง็ ไมต่ รงกบั กลอ้ งกองรอ้ ยกป็ รบั ใหต้ รงโดยควงเกลยี วสมั ผสั หมดุ เกลยี ว หรอื ควงเกลยี วอน่ื ๆ ของปืนแต่ละแบบ ด. ขณะนเ้ี ส้นเลง็ ของกล้องเลง็ (0 - 3,200) จะขนานกับแกนหลอดล�ำกล้องปืน 6. การปรับเสน้ เล็งโดยคอลลมิ ิเตอร์ ก. ตง้ั ปืนในท่าตง้ั ยงิ แล้วต้ังคอลลิมิเตอร์ไว้หน้าปืน ห่างปืนประมาณ 20 ฟุต (6 เมตร) ข. ประกอบแผ่นศูนย์หน้าและศูนย์หลังเข้ากับล�ำกล้องปืน แล้วปรับเส้นแกน หลอดล�ำกล้องให้ตรงกบั คอลลมิ เิ ตอร์ ค. ปรับเส้นเล็งของคอลลิมิเตอร์ ให้เส้นศูนย์ตรงกับเส้นดิ่งของศูนย์หน้าของ ล�ำกล้องปืน ง. หมุนกล้องเลง็ ไปยงั คอลลิมเิ ตอร์ แล้วปรับค่ามมุ ทิศให้ตรงกบั ค่าทม่ี องเหน็ ในคอลลิมเิ ตอร์ จ. คา่ มมุ ทศิ ทอี่ า่ นไดค้ วรจะเปน็ 3,200 มลิ . ถา้ ไมต่ รงใหป้ รบั จนไดค้ า่ 3,200 มลิ . หมายเหตุ แผน่ ศนู ยห์ นา้ เปน็ วสั ดโุ ปรง่ แสง มขี ดี กากบาทตรงกลาง ซงึ่ จะใชส้ วม เขา้ กบั ลำ� กลอ้ ง หรอื อาจจะใชเ้ สน้ ดา้ ยคาดทป่ี ากลำ� กลอ้ งปนื ตามรอยบากทห่ี มายไวใ้ หต้ ดั กนั เป็นกากบาทก็ได้ ส่วนศูนย์หลังน้ันปกติแล้วเป็นเครื่องมือประจ�ำปืน เป็นแผ่นทึบเจาะรู เล็ก ๆ ไว้ตรงกลาง ใช้สวมเข้ากับท้ายรังเพลิง หรืออาจจะใช้วิธีอ่ืนในการหมายกึ่งกลาง ของท้ายรงั เพลิงก็ได้

บทที่ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 69 ค�ำสั่งยิง ตอนท่ี 1 กลา่ วนำ� 1. กลา่ วทวั่ ไป ค�ำส่ังยิง ใช้เพ่ือส่งหลักฐานที่จ�ำเป็นทั้งหมด ในการที่จะให้เป็นหมู่ต่าง ๆ เริม่ การยงิ ปฏิบตั ิการยิงต่อไปและหยุดยิง ค�ำส่ังยงิ เริม่ แรกมีองค์ประกอบต่าง ๆ ที่จำ� เป็น เพอ่ื ตงั้ ปนื ใหต้ รงไปยงั ทศิ ทางยงิ เพอ่ื การบรรจกุ ระสนุ และเพอื่ ทำ� การยงิ คำ� สง่ั ยงิ ขน้ั ตอ่ ไป มีเฉพาะองค์ประกอบทเ่ี ปล่ียนแปลงไปเท่านน้ั ยกเว้นมมุ ยงิ ซงึ่ จะต้องส่งั เสมอ 2. ค�ำ สงั่ ยิงขนั้ ตอ่ ไป ก. ค�ำส่ังยิง จะประกาศไปยังหมู่ปืนตามล�ำดับขององค์ประกอบที่ก�ำหนด (ดตู ารางท่ี 1) ข. ค�ำสั่งยิง จะประกาศไปตามล�ำดับขององค์ประกอบที่ก�ำหนดไว้ เพ่ือให้ บรรลุถึงความมุ่งหมายดงั ต่อไปน้ี 1) ประหยัดเวลา องค์ประกอบของค�ำส่ังยิง จะอ�ำนวยให้การปฏิบัติใน หลาย ๆ ส่วน ปฏบิ ตั ิงานได้พร้อมกนั ตวั อย่างเช่น สิง่ แรกก็คือ ทำ� ให้ปืนหมู่ต่าง ๆ เตรียม พร้อมท่ีจะปฏิบัติ และแล้วก็จะได้รับหลักฐานเก่ียวกับกระสุนท่ีจะท�ำการยิงตามด้วยค่า

70 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ มุมทิศและมุมยิง องค์ประกอบของค�ำสั่งยิงจะอ�ำนวยให้สามารถเตรียมกระสุนไว้ส�ำหรับ การบรรจขุ ณะท่ีปืนกำ� ลงั ตง้ั หลกั ฐาน มุมทิศ และมมุ ยงิ 2) ขจัดข้อผิดพลาด ปืนทุกหมู่จะต้องเข้าใจความหมายของล�ำดับองค์ ประกอบในค�ำสง่ั ยิง ค.ผบ.หมู่ปืน จะยังไม่ทำ� การยิงจนกว่าจะได้รับคำ� สง่ั ยิงที่สมบรู ณ์แล้ว เสยี ก่อน ตอนท่ี 2 องค์ประกอบของคำ�ส่งั ยงิ 3. คำ�สง่ั เตอื น คำ� สง่ั เตอื น “ภารกจิ ยงิ ” ประกาศใหห้ มปู่ นื ทราบวา่ กองรอ้ ยไดร้ บั ภารกจิ ยงิ แลว้ เปน็ การเตอื นใหพ้ ลประจำ� ปนื เขา้ ประจำ� ตำ� แหนง่ และพรอ้ มทจี่ ะรบั หลกั ฐานจะไมป่ ระกาศ เมอ่ื ส่งค�ำส่งั ยงิ ขัน้ ต่อไป 4. ปืนทจี่ ะปฏบิ ตั ติ ามคำ�ส่งั /ปนื ทจี่ ะยงิ /วธิ ียิง องคป์ ระกอบในข้อนจี้ ะระบถุ งึ อาวธุ ทจ่ี ะปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ยงิ อาวธุ ทจ่ี ะต้องทำ� การ ยงิ ก่อน และจะต้องโจมตเี ป้าหมายอย่างไร ก. ปนื ทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ ามคำ� สงั่ เปน็ การบอกใหก้ องรอ้ ยทราบวา่ มปี นื หมใู่ ดบา้ ง ทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามคำ� สงั่ ยงิ ขอ้ นี้ สำ� หรบั ภารกจิ ทม่ี กี ารปรบั การยงิ คำ� สงั่ ทวี่ า่ “กองรอ้ ยปรบั การยิง” ซง่ึ แสดงว่าภารกจิ ยิงน้เี ป็นภารกจิ ที่มกี ารปรบั การยงิ และปืนทุกหมู่จะต้องบนั ทกึ ค�ำสงั่ ยงิ และตดิ ตามภารกจิ และในที่สุดจะร่วมทำ� การยิง ในขนั้ การยงิ หาผลอาจใชป้ นื เปน็ บางหมหู่ รอื เปน็ รายหมู่ ปฏบิ ตั ติ ามคำ� สงั่ ยงิ นไ้ี ด้ ตัวอย่างเช่น “คู่ซ้ายปรับการยิง” หรือ “หมู่ 3 ปรับการยิง” ถ้าเป็นภารกิจท่ีต้องท�ำการ ยิงหาผล ปืนท่จี ะปฏิบัติตามคำ� ส่งั จะไม่กล่าวถึงในทน่ี ี้ ข. ปืนที่จะยิง แสดงให้ทราบว่า หมู่ปืนหน่ึงหมู่ หรือหมู่ปืนที่จะต้องยิงตาม หลักฐานท่ีให้ไว้ในค�ำส่ังยิงเริ่มแรก ค�ำส่ังที่ว่า “กองร้อย ปรับการยิง หมู่...” แสดงว่า ระหว่างด�ำเนินภารกิจปรับการยิงปืนหมู่ 3 ต้องท�ำการยิงในนัดแรกของการปรับการยิง

ถา้ เปน็ ภารกจิ ทต่ี อ้ งทำ� การยงิ หาผล จะสง่ คำ� สงั่ วา่ “กองรอ้ ย...” องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ เหลา่ นี้ อาจกำ� หนดไวเ้ ปน็ มาตรฐาน เมอื่ ไดก้ ำ� หนดองคป์ ระกอบใดไวเ้ ปน็ หลกั ฐานแลว้ จะประกาศ คำ� สง่ั ยิงเฉพาะองค์ประกอบทแ่ี ตกต่างไปจากมาตรฐานท่กี �ำหนดเท่าน้นั ค. วธิ ียิง เป็นการบอกหมู่ปืนจะยิง ทราบถึงจำ� นวนนัดทจ่ี ะยิง เช่น “กองร้อย ปรบั การยงิ , หมู่ 3, 1 นดั ” แสดงวา่ ระหวา่ งทม่ี กี ารปรบั การยงิ ปนื หมู่ 3 ตอ้ งยงิ กระสนุ 1 นดั ด้วยหลกั ฐานทรี่ ะบไุ ว้ในคำ� ส่ังยิงเรม่ิ แรก คำ� ส่ังว่า “กองร้อย 1 นัด” แสดงให้ทราบว่าเป็น ภารกิจยิงหาผล ซ่ึงปืนทุกกระบอกในกองร้อยต้องท�ำการยิงกระสุน 1 นัด ด้วยหลักฐาน ทร่ี ะบุไว้ในคำ� สัง่ ยงิ เรม่ิ แรก ง. ปนื ทจ่ี ะยงิ และวธิ ียงิ อาจจะก�ำหนดไว้เป็นมาตรฐาน (ดขู ้อ 14.) ล�ำดบั และองคป์ ระกอบ ค�ำสั่งยงิ เริม่ แรก ค�ำส่งั ยงิ ข้นั ตอ่ ไป ไม่ต้องสง่ั 1. คำ� สง่ั เตอื น สัง่ เสมอ สั่งเมือ่ เปลยี่ น 2. ปนื ทจ่ี ะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามคำ� สง่ั , ปนื ทจี่ ะยงิ วธิ ยี งิ ส่ังเม่อื ใช้ สัง่ เมือ่ เปล่ียน 3. คำ� แนะนำ� พเิ ศษ สั่งเม่อื ใช้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 71 ก. อย่าบรรจุ สง่ั เมอ่ื เปลย่ี น ข. ตามคำ� สง่ั ขา้ พเจา้ , เปน็ หมตู่ ามคำ� สงั่ ขา้ พเจา้ สง่ั เมอ่ื ต่างจาก ส่งั เมอ่ื เปลยี่ น ค. มมุ ใหญ่ มาตรฐาน ส่ังเมอื่ เปลย่ี น ง. ใช้เคร่ืองต้งั มมุ ยิงประณีต สง่ั เมอ่ื เปล่ียน จ. มุมภาค สัง่ เม่ือต่างจาก ฉ. ตัวแก้พิเศษ มาตรฐาน ช. การยิงเป็นเขตหรอื ยงิ กวาด สง่ั เสมอ 4. กระสุน 5. งวดงานกระสนุ 6. ส่วนบรรจุ 7. ชนวน, เวลาชนวน สัง่ เมือ่ ต่างจาก มาตรฐาน ตารางที่ 1 คำ� สง่ั ยงิ

ล�ำดบั และองคป์ ระกอบ คำ� ส่งั ยิงเรมิ่ แรก ค�ำสง่ั ยงิ ข้นั ตอ่ ไป 8. มมุ ทิศ สงั่ เสมอ สั่งเมอ่ื เปล่ียน 9. มุมยิง สั่งเสมอ สัง่ เสมอ 10. วธิ ยี งิ ในการยิงหาผล สัง่ เสมอ สง่ั เมอ่ื เปลีย่ น ตารางท่ี 1 คำ� ส่งั ยิง (ต่อ) 72 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ 5. ค�ำ แนะนำ�พิเศษ จะใช้ค�ำแนะน�ำพิเศษก็ต่อเม่ือต้องการให้มีการปฏิบัติที่ผิดไปจากการปฏิบัติ ตามวธิ ปี กติ ก. อยา่ บรรจุ (ยบจ.) เป็นค�ำส่งั ห้ามบรรจุกระสนุ และห้ามทำ� การยงิ ให้หมู่ ปืนเตรียม ส่วนบรรจุ, ตั้งเวลาชนวน (ถ้าใช้) และให้ทางทิศและทางสูงแก่ปืนไว้ให้พร้อม (หรือต้ังมุมสูงไว้ส�ำหรับการบรรจุกระสุน) แต่ไม่บรรจุกระสุน เม่ืองานต่าง ๆ เหล่านี้เสร็จ เรยี บร้อยแล้ว ผบ.หมู่ปืนจะรายงาน “หมู่...พร้อม” เมื่อต้องการจะให้ท�ำการยิง ศอย. จะสั่ง ว่า “ยกเลกิ อย่าบรรจ,ุ มมุ ยิง” คำ� ว่า “อย่าบรรจ”ุ จะใช้ได้ไม่ตลอดภารกิจ จะประกาศได้ ทัง้ ในค�ำส่งั ยงิ เรม่ิ แรก และคำ� สง่ั ยงิ ขัน้ ต่อไป ข. ตามคำ� สง่ั ขา้ พเจา้ (ตคจ.) (หรอื เปน็ หมตู่ ามคำ� สง่ั ขา้ พเจา้ ) เปน็ คำ� สง่ั หา้ ม หมปู่ นื ไมใ่ หท้ ำ� การยงิ จนกวา่ จะไดร้ บั คำ� สง่ั จาก ศอย. ปนื แตล่ ะหมจู่ ะใหท้ างทศิ ทางสงู แลว้ บรรจกุ ระสนุ เมอื่ พรอ้ มทำ� การยงิ ผบ. หมจู่ ะรายงานให้ ศอย. ทราบวา่ “หม.ู่ ..พรอ้ ม” เมอื่ จะ ให้ยงิ ศอย. จะสง่ั ว่า “กองร้อย (หรอื หมู่...) ยิง!” เมอื่ ต้องการจะเลิกควบคุมการยิง ศอย. จะประกาศว่า “ยกเลิก ตามค�ำส่ังข้าพเจ้า (เป็นหมู่ตามค�ำส่ังข้าพเจ้า), มุมยิง...” ค�ำว่า ตามค�ำส่งั ข้าพเจ้า สามารถนำ� ไปใช้ได้ตลอดภารกจิ ค. มมุ ใหญ่ เปน็ การประกาศเตอื นใหห้ มปู่ นื ทราบวา่ ภารกจิ นจ้ี ะทำ� การยงิ ดว้ ย มมุ ใหญ่ คือ มมุ ท่เี กินกว่า 800 มิล. ปืนใหญ่ขนาดเบา อาจบรรจุกระสุนได้เมื่อตัง้ ค่ามมุ ยิง แล้ว ส่วนปืนใหญ่ขนาดกลางและขนาดหนกั ต้องบรรจกุ ระสุนท่ีมมุ สูงทีเ่ หมาะส�ำหรบั การ บรรจุกระสนุ เท่านน้ั

ง. ใชเ้ ครอ่ื งตงั้ มมุ ยงิ ประณตี จะประกาศใชใ้ นการยงิ กรณที เ่ี ปน็ อนั ตรายใกล้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 73 ฝ่ายเรา และภารกจิ ยิงทำ� ลาย เพอื่ ให้ได้หลักฐานอย่างประณีตถูกต้อง จ. มมุ ภาค ประกาศมมุ ภาค แลว้ ตามดว้ ยคา่ มมุ ภาค เพอื่ เตอื นใหห้ มปู่ นื ทราบ ว่าจะต้องย้ายพ้นื ยิงไปมาก ๆ ฉ. ตวั แกพ้ เิ ศษ เพอื่ ประกาศเตอื นหมปู่ นื ใหท้ ราบวา่ จะสง่ คา่ เวลาชนวน, มมุ ทศิ และ/หรือมุมยิง ให้แก่ปืนหนึ่งหมู่หรือหลายหมู่ โดยส่งแยกกัน ตัวแก้ท่ีต้ังปืนท่ีน�ำมาใช้ สำ� หรับการยงิ โดยใช้กรวยเปิดหรอื กรวยปิดในภารกิจยงิ เป้าหมายท่มี ีรปู ร่างผดิ ปกติ อาจ จะประกาศใช้คำ� สง่ั นีไ้ ด้ เช่น “ตวั แก้พเิ ศษ, ต่อหมู่...., ซ้าย 7 มิล.” คำ� ส่งั นอ้ี าจเป็นค�ำสั่ง เพ่ิมเติมหรือแยกต่างหากจากค�ำส่ังยิงหรืออาจจะประกาศไว้ในองค์ประกอบของค�ำส่ังยิง ในข้อค�ำแนะนำ� พิเศษ ช. การยิงกวาด/การยิงเป็นเขตประกาศเตือนพลประจ�ำปืนทราบว่าภารกิจ ยิงนี้เป็น ภารกจิ ยงิ กวาด/ยงิ เป็นเขต รายละเอยี ดของการยงิ กวาด/ยงิ เป็นเขต (ดูข้อ 13.) 6. กระสุน ก. ชนดิ ของกระสนุ ซงึ่ ใชใ้ นการโจมตเี ปา้ หมายอาจจะประกาศไดเ้ ปน็ “กระสนุ ระเบดิ ” หรือ “กระสนุ ระเบิดปรบั ปรุง” ข. องค์ประกอบส่วนนอี้ าจจะกำ� หนดไว้เป็นมาตรฐานได้ (ดูข้อ 14.) 7. งวดงานกระสนุ ก. องคป์ ระกอบในขอ้ งวดงานกระสนุ แสดงถงึ งวดงานกระสนุ และดนิ สง่ กระสนุ ทใ่ี ชย้ งิ จะประกาศงวดงานกระสนุ ไวใ้ นคำ� สงั่ ยงิ เรมิ่ แรก และจะไมป่ ระกาศซาํ้ อกี ในคำ� สงั่ ยงิ ขัน้ ต่อไป นอกเสยี จากต้องการจะเปลยี่ นเป็นงวดงานใหม่ ข. งวดงานของกระสุนกึ่งรวม เป็นงวดงานรวม (กระสุนและดินส่งกระสุน) อยู่ในตวั กระสนุ โดยมีรหัสง่าย ๆ (เช่น งวด ก, งวด ข) รวมกนั อยู่ในอักษรตัวเดยี ว เช่น งวด ก งวดงานของกระสุนแยกบรรจุนั้นจะประกาศเป็นอักษรสองตัว เช่น “งวด กข”

74 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ ก หมายถงึ งวดงานของกระสนุ และ ข หมายถงึ งวดงานของดนิ ส่งกระสนุ ค. กระสุนงวดงานใดท่ีมีจ�ำนวนมาก ให้ใช้ส�ำหรับการยิงหาหลักฐาน และ ใช้ในภารกิจยิงหาผลที่ต้องการความแม่นย�ำสูง ส่วนงวดงานท่ีมีจ�ำนวนน้อย ควรจะน�ำ มาใช้ในภารกิจที่มีการปรับการยิง ปืนแต่ละหมู่ต้องแยกกระสุนแต่ละงวดงานเก็บไว้และ จดบนั ทกึ ยอดของกระสนุ ทไ่ี ดร้ บั ไวด้ ว้ ยจำ� นวนนดั ทถ่ี กู ตอ้ ง โดยบนั ทกึ ในแบบบนั ทกึ ภารกจิ ยงิ ของหมู่ปืน (ดรู ปู ท่ี 1) ง. องค์ประกอบส่วนนอ้ี าจจะกำ� หนดไว้เป็นมาตรฐาน (ดขู ้อ 7.) 8. สว่ นบรรจุ ส่วนบรรจุจะแสดงถึงปริมาณของดินส่งกระสุนท่ีใช้ และยอมให้พลประจ�ำปืน ตัดดนิ ส่งกระสนุ ออก ตัวอย่างเช่น “ส่วนบรรจุ 6” เมือ่ ประกาศส่วนบรรจุแล้วจะต้องตรวจ จ�ำนวนดนิ ส่งกระสุนนดั นัน้ มีครบตามจำ� นวนหรอื ไม่ แล้วตดั ส่วนท่เี กินออกนำ� ไปทิ้งให้ห่าง ในระยะท่จี ะปลอดภยั แก่หมู่ปืน 9. ชนวน/เวลาชนวน แบบของชนวนทใี่ ช้ จะประกาศไว้ในคำ� สงั่ ยงิ เรม่ิ แรก จะประกาศชนวนไว้ในคำ� สงั่ ยงิ ขน้ั ตอ่ ไปเมอื่ ตอ้ งการเปลยี่ นชนวนเทา่ นน้ั เมอื่ ทำ� การยงิ ดว้ ยชนวนวที ี หรอื ชนวนเวลา องค์ประกอบข้อนจ้ี ะมีค่าเวลาชนวนด้วย เช่น “ชนวนวที ,ี เวลาชนวน 59.0” 10. มุมทศิ ในคำ� ส่ังยงิ มมุ ทิศจะต้องสง่ั เสมอ โดยใช้ระบบตวั เลขสต่ี ัว เช่น “มมุ ทิศ 0218” พลเล็งจะต้ังค่ามุมทิศท่ีประกาศให้ท่ีกล้องพาโนรามิค และหมุนควงส่ายไปจนกระทั่ง เส้นเลง็ ทบั ที่หมายเลง็

11. มมุ ยิง เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 75 ก. มมุ ยงิ จะประกาศมมุ ยงิ ทกุ ครง้ั ทงั้ ในคำ� สงั่ ยงิ เรม่ิ แรกและคำ� สงั่ ยงิ ขนั้ ตอ่ ไป คำ� วา่ “มมุ ยงิ ...” เปน็ การอนญุ าตให้ ผบ.หมปู่ นื สง่ั พลประจำ� ปนื บรรจกุ ระสนุ และทำ� การยงิ ได้ เว้นแต่จะมีข้อจ�ำกัดอย่างอ่ืนสั่งไว้ในองค์ประกอบข้อค�ำแนะน�ำพิเศษ หรืออยู่ในสภาวะ ไม่ปลอดภัย ข. เพอ่ื ทจ่ี ะเพมิ่ ความรวดเรว็ ในการสนองตอบใหม้ ากขนึ้ การบรรจกุ ระสนุ อาจ จะเปลยี่ นแปลงการปฏบิ ัตไิ ด้ดังน้ี 1) บรรจุกระสุนเมอ่ื ส่งั มมุ ทศิ วิธนี ้ีอาจใช้ได้เมอ่ื การบรรจกุ ระสนุ ไม่ขดั ขวาง ต่อการปฏบิ ัตติ ามคำ� สัง่ ยิงทเ่ี หลอื 2) ปนื ทป่ี รบั การยงิ บรรจกุ ระสนุ หลงั จากทำ� การยงิ ไปแลว้ วธิ นี ใี้ ชไ้ ดส้ ำ� หรบั กระสุน/ชนวนทุกชนิดท่ีไม่ต้องตั้งค่าเวลาชนวนโดยไม่สามารถจะน�ำมาใช้กับชนวนเวลา หากเป็นการยิงด้วยชนวนที่ต้องตั้งค่าเวลาชนวนในข้ันยิงหาผล แต่ถ้าได้บรรจุกระสุนด้วย ชนวนไวไปแล้ว ก็ให้ทำ� การยิงนัดนน้ั ไปก่อนแล้วจงึ ทำ� การยงิ นดั ที่เหลือด้วยชนวนทถ่ี กู ต้อง ต่อไป เมือ่ จบภารกิจแล้ว ผบ. หมู่ปืนจะต้องรายงานให้ ศอย. ทราบ ตวั อย่างเช่น ส่งค�ำ สั่งยิงว่า “3 นดั ชนวนวที ีในการยิงหาผล” และ ป. หมู่ 4 ทำ� การยิงด้วยชนวนไวไป 1 นัด และอกี 2 นดั ยิงด้วยชนวนวที ,ี ผบ. หมู่รายงานว่า “หมู่ 4 ยงิ ชนวนไว 1 นัด และชนวนวีที 2 นัด ในการยิงหาผล” ศอย. จะต้องแก้ยอดกระสนุ และชนวนให้ถกู ต้อง ถ้า ศอย. ต้องการ จะเปล่ียนแปลงระบบการบรรจุกระสุนโดยอัดโนมัติก็จะสั่งยกเลิกก่อนที่จะประกาศมุมยิง เช่น “หมู่ 4 ยกเลกิ การบรรจอุ ตั โนมัติ, มุมยิง 314” 3) ปืนท่ีไม่ได้ปรับการยิงบรรจุกระสุนได้ทันทีท่ีได้รับค�ำสั่งยิงเร่ิมแรก วิธีน้ี จะใช้ได้กับกระสุน/ซนวนที่ไม่ต้องต้ังค่าเวลาชนวน เม่ือใช้ชนวนวีทีในการยิงหาผล ศอย. จะค�ำนวณค่าเวลาชนวนให้ก่อน ณ ระยะไปยังที่ตั้งเปา้ หมายเริ่มแรกและส่งไปยังหมู่ปืน ทีไ่ ม่ได้ปรบั การยิง ถ้าสภาพภูมปิ ระเทศ ลมฟ้าอากาศอ�ำนวยให้แล้ว ศอย. จะสามารถส่ง ค่าเวลาปลอดภยั น้อยสุดสำ� หรบั ชนวนวที ใี ห้กับปืนทีไ่ ม่ได้ปรบั การยงิ ขอ้ ควรระวงั : อย่าบรรจุกระสนุ ไว้ในรังเพลงิ ขณะท่ีลำ� กล้องร้อนหรอื เย็นนาน เกนิ กว่าทร่ี ะบุไว้ในคู่มอื ทางเทคนิคของอาวุธแต่ละประเภท

76 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ 12. วิธีในการยงิ หาผล องคป์ ระกอบขอ้ นจี้ ะระบจุ ำ� นวนนดั และชนดิ ของกระสนุ /ชนวนทใ่ี ชย้ งิ หาผลหรอื สั่งเมื่อใช้ จะประกาศองค์ประกอบข้อนี้ไว้ในค�ำส่ังยิงเร่ิมแรกหลังจากสั่งมุมยิงแล้ว และ อาจต้องประกาศก่อนท่จี ะส่งคำ� ส่ังยิงข้ันต่อไปคร้งั สุดท้ายในภารกจิ ปรับการยงิ บางภารกิจ ตวั อยา่ ง : ถ้าคำ� สั่งยิงเรมิ่ แรกระบวุ ่า “กองร้อยปรับการยิง” วธิ ียงิ หาผลอาจ เป็น “2 นดั ในการยงิ หาผล” 13. วธิ ียิงพเิ ศษ ก. การยิงเป็นเขต การยงิ วิธนี ี้ จะใช้เม่อื กรวยปกติของกองร้อยมคี วามลกึ ไม่ พอท่ี จะครอบคลุมเป้าหมายที่มีความลึกมากกว่าในการยิงเป็นเขตเป็นการยิงโดยใช้มุม ทิศเดียวกนั ด้วยมมุ ยิงหลาย ๆ มมุ ยงิ จำ� นวนมุมยงิ และจำ� นวน มิล. ในแต่ละเขตที่ใช้ยิง จะประกาศให้ทราบโดย ศอย. ตวั อย่างเช่น “เขต 5 มลิ ., 5 มุมยงิ ” “ผบ.หมู่ปืนแต่ละหมู่ ค�ำนวณหาจ�ำนวนมุมยิงท่ีต้องการและท�ำการยิงหลังจากที่มุมยิงเริ่มแรกประกาศจบลง ถา้ ในตวั อยา่ งนมี้ มุ ยงิ ทปี่ ระกาศ คอื 310 มลิ . จะตอ้ งทำ� การยงิ ดว้ ยมมุ ยงิ นเ้ี สยี กอ่ น สว่ นมมุ ยงิ ทเ่ี หลอื ควรเปน็ มมุ ยงิ 320, 315, 305 และ 300 โดยทำ� การยงิ มมุ ยงิ ใดกอ่ นกไ็ ด้ ตอ้ งกำ� หนด จำ� นวนมมุ ยิงเป็นเลขค่เี สมอ ข. การยงิ กวาด การยงิ กวาดกค็ ลา้ ยกบั การยงิ เปน็ เขต แตย่ งิ ดว้ ยมมุ ยงิ เดยี วกนั โดยใช้หลายมมุ ทศิ ตัวอย่างเช่น “กวาด 10 มลิ ., 3 มุมทศิ ” ผบ.หมู่ปืนแต่ละหมู่คำ� นวณหา มุมทิศที่ต้องการ และท�ำการยิงหลังจากท่ีประกาศมุมทิศเร่ิมแรกจบลง ตัวอย่างเช่น ถ้า มุมทศิ ท่ปี ระกาศ คือ 3220 กค็ วรจะยงิ ด้วยมมุ ทิศนีก้ ่อนเป็นลำ� ดบั แรก ส่วนมุมทศิ ทเ่ี หลือ ได้แก่ มมุ ทศิ 3230 และมุมทศิ 3210 จะท�ำการยิงมุมทศิ ใดก่อนก็ได้ จ�ำนวนมุมทิศที่ใช้ยิง ต้องกำ� หนดไว้เป็นเลขค่ี ค. การยงิ กวาดเปน็ เขต วธิ นี เ้ี ปน็ การผสมผสานระหวา่ งการยงิ กวาดและการ ยงิ เป็นเขตเขา้ ดว้ ยกนั ผบ. หมปู่ นื จะต้องทำ� การยงิ ดว้ ยคา่ มมุ ทศิ และมมุ ยงิ ทป่ี ระกาศมาให้ เสยี กอ่ น และแลว้ จงึ ทำ� การยงิ ดว้ ยคา่ มมุ ทศิ และมมุ ยงิ ตา่ ง ๆ ทผี่ สมกนั จนครบ ตวั อยา่ งเชน่

“กวาด 10 มลิ ., 3 มมุ ทศิ , เขต 4 มิล., 3 มมุ ยงิ ” ถ้ามุมทศิ ทป่ี ระกาศให้ คือมมุ ทศิ 3200 เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 77 และมุมยิงท่ปี ระกาศให้คือมมุ ยิง 310 จำ� นวนมมุ ทิศ 3 มมุ ทิศ ทใ่ี ช้ยิงจะได้แก่ 3200, 3210 และ 3190 จำ� นวนมมุ ยิง 3 มุมยิง ทใี่ ช้ยงิ ได้แก่ 310, 306 และ 314 แต่ละมมุ ยงิ ท่ที ำ� การ ยงิ จะยิงด้วยค่ามมุ ทศิ ในแต่ละมมุ ทศิ (รวม 9 ชดุ ) มุมทิศ 3200 และมมุ ทศิ 310 จะต้อง ท�ำการยงิ ก่อน ง. การยงิ ตอ่ เนอื่ ง เมอื่ จำ� เปน็ ตอ้ งทำ� การยงิ ตอ่ เนอ่ื งตอ่ เปา้ หมาย จะออกคำ� สง่ั ว่า “ยิงต่อเน่ือง” เม่ือได้รับค�ำสั่งน้ี หมู่ปืนจะบรรจุกระสุนและท�ำการยิงด้วยอัตราเร็วเท่า ทป่ี นื สามารถจะกระทำ� ได้ พลประจำ� ปนื จะทำ� การยงิ ตอ่ เนอื่ งไปจนกวา่ จะไดร้ บั คำ� สงั่ “หยดุ ยงิ ” หรือ “หยุดบรรจุ” คำ� สง่ั “หยุดบรรจ”ุ ควรนำ� มาใช้มากกว่า เพราะปืนจะได้ทำ� การยิง กระสุนนัดท่ไี ด้บรรจุเข้าไปแล้วได้ เม่อื สงั่ “หยุดยงิ ” นัดท่ไี ด้บรรจเุ ข้าไปแล้วไม่สามารถจะ ท�ำการยงิ ได้ อาจจะเป็นอนั ตราย ถ้าลำ� กล้องปืนร้อนมาก ดงั น้นั ค�ำส่ัง “หยดุ ยิง” จงึ ควร น�ำมาใช้ในกรณฉี ุกเฉนิ เท่านน้ั จ. การยงิ ตามลำ� พัง การยงิ ตามล�ำพังใช้ในการยงิ เลง็ ตรง เพอ่ื สนับสนุนการ ระวัง ป้องกันโดยรอบตัว วิธียิงของปืนที่จะท�ำการยิงตามล�ำพัง สั่งไว้เป็น “เป้าหมาย..., ยงิ ตามลำ� พงั ” ถ้าได้เตรยี มแผนระวังป้องกันในระยะประชิดไว้เรียบร้อยแล้ว กอ็ าจสงั่ เพียง ว่า “ยิงตามลำ� พงั ” เมือ่ ได้รบั คำ� สั่งนี้ ปืนหมู่ท่ีได้รับคำ� สัง่ ให้ดำ� เนนิ การยงิ จะอยู่ภายใต้การ ควบคุมของ ผบ.หมู่ ตราบเท่าท่สี ถานการณ์และเป้าหมายยังเป็นภยั คกุ คามอยู่ ตอนที่ 3 การใชค้ ำ�สัง่ ยงิ 14. มาตรฐานของค�ำ สั่งยิง หลังจากท่ีได้พิจารณาถึงสถานการณ์ทางยุทธวิธี อาวุธ และความสามารถ ของเจ้าหน้าที่, สถานภาพของกระสุนและการยิงตอบโต้ของข้าศึกท่ีคุกคามอยู่นั้น องค์ประกอบของค�ำส่ังยิงบางหัวข้ออาจก�ำหนดไว้เป็นมาตรฐานได้ ตามที่ได้แสดงไว้ใน ตารางท่ี 1 องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ของคำ� สงั่ ยงิ ขอ้ ทอ่ี าจกำ� หนดไวเ้ ปน็ มาตรฐาน ไดแ้ ก่ ปนื ทจี่ ะ ยงิ /วธิ ยี งิ กระสนุ งวดงาน กระสนุ และชนวน/เวลาชนวน ถา้ นอย. ตอ้ งการใหม้ กี ารเปลยี่ นแปลง

78 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ มาตรฐานตา่ ง ๆ แลว้ จะต้องยกเลกิ มาตรฐานเดมิ ทกี่ ำ� หนดไวเ้ สยี ก่อน แล้วสงั่ ใชม้ าตรฐาน ทก่ี ำ� หนดขนึ้ ใหมแ่ ทนมาตรฐานทก่ี ำ� หนดขน้ึ แตล่ ะครง้ั จะเปน็ ผลใชไ้ ดภ้ ายในหว้ งเวลาหนงึ่ ๆ เมื่อได้ก�ำหนดมาตรฐานข้ึนใช้ กองร้อยจะต้องท�ำการยิงตามมาตรฐานที่ก�ำหนด เว้นแต่ องค์ประกอบบางข้อแตกต่างไปจากมาตรฐานท่กี �ำหนดไว้ ตวั อยา่ ง:นอย./รองผบ.รอ้ ย.พจิ ารณาจากสถานการณท์ างยทุ ธวธิ ีและปจั จยั อน่ื ๆ ตามกล่าวไว้ข้างต้น ซง่ึ กำ� หนดมาตรฐานของคำ� สง่ั ยงิ ได้ดงั น้ี 1) ปืนที่จะยงิ /วธิ ียิง : หมู่ 3, 1 นดั 2) กระสนุ : ระเบดิ 3) งวดงานกระสนุ : งวด กข 4) ชนวน/เวลาชนวน : ไว มาตรฐานเหล่านี้จะส่งไปให้ส่วนยิงทราบ ซึ่งในระหว่างท่ีมีการด�ำเนินภารกิจ ปรบั การยงิ ป. หมู่ 3 จะเป็นหมู่ทป่ี รับการยงิ และระหว่างทป่ี รับการยิงแต่ละครงั้ จะต้องยิง หนึ่งนัดด้วยกระสนุ ระเบดิ งวดงาน กข และให้ชนวนไว หลงั จากท่ไี ด้ยิงกระสุนแต่ละนดั ไป แล้ว ป. หมู่ 3 สามารถท�ำการบรรจุกระสุนนัดต่อไปได้ เพ่ือเตรียมรับค�ำสั่งยิงข้ันต่อไป การใช้ค�ำส่ังยิงท่ีเป็นมาตรฐานและการบรรจุกระสุนในทันทีทันใด ท�ำให้ได้รับผลในการ สนองตอบเพ่ิมมากขึ้นอย่างมากมาย 15. ตวั อย่างค�ำ ส่งั ยิง ก. ภารกิจปรับการยิง เม่ือไม่ได้ก�ำหนดมาตรฐานค�ำสั่งยิงในตัวอย่างน้ีไม่ได้ ก�ำหนดมาตรฐานของคำ� สง่ั ยิงข้ึนใช้ “ภารกิจยงิ กองร้อย ปรบั การยงิ , หมู่ 3, 1 นดั , กระสุนระเบดิ , งวด กข, ส่วน บรรจุ 4 ชนวน ไว, มมุ ทศิ 3025, มมุ ยงิ 247, 2 นดั ในการยิงหาผล” 1) เมอื่ ประกาศใหป้ นื หมู่ 3 เปน็ ปนื ทปี่ รบั การยงิ จะทำ� การยงิ กระสนุ ไปหนงึ่ นดั (ด้วยกระสนุ ระเบดิ งวด กข, ชนวนไว) ตามส่วนบรรจุ มุมทิศและมุมยงิ ท่ีประกาศ และ แลว้ จะบรรจกุ ระสนุ นดั ใหมเ่ ขา้ แทนท่ี สว่ นปนื หมทู่ เี่ หลอื ของกองรอ้ ย จะเตรยี มกระสนุ ระเบดิ ชนวนไวสองนดั ทำ� การบรรจกุ ระสุน และด�ำเนนิ การตามภารกจิ ยิงต่อไป 2) ค�ำสัง่ ยิงขน้ั ต่อไปท่ปี ระกาศคร้งั แรก ตามตวั อย่างนี้ คอื “มุมทิศ 2978, มมุ ทิศ 218” ป. หมู่ 3 ทำ� การยงิ ด้วยค่ามมุ ทศิ และมุมยงิ ทไ่ี ด้รับใหม่นี้

3) คำ� สงั่ ยงิ ขนั้ ตอ่ ไปทป่ี ระกาศครงั้ ทส่ี อง ตามตวั อยา่ งนคี้ อื “กองรอ้ ย 2 นดั , เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 79 มุมทศิ 2950, มมุ ยิง 210” ปืนทัง้ กองร้อยจะทำ� การยงิ กระสุนไปจนครบทั้งสองนดั ด้วยค่า มมุ ทศิ และมมุ ยงิ ตามทป่ี ระกาศใหแ้ ลว้ ไดร้ บั คำ� สง่ั วา่ “จบภารกจิ ” เมอ่ื ไดร้ บั คำ� สงั่ จบภารกจิ จะจำ� หน่ายยอดกระสนุ ท่ใี ช้ไป ข. ภารกิจปรบั การยงิ เม่อื ได้กำ� หนดมาตรฐานของค�ำสั่งยิง องค์ประกอบของ คำ� ส่งั ยงิ ทก่ี ำ� หนดไว้เป็นมาตรฐาน ตามตวั อย่างน้ี คอื หมู่ 3, 1 นดั , กระสุนระเบิด, งวด กข และชนวนไว “ภารกจิ ยิง, กองร้อยปรบั การยงิ , ส่วนบรรจุ 6, มมุ ทศิ 2938, มุมยิง 200, 2 นัด กระสนุ ระเบดิ ปรับปรุงในการยงิ หาผล” 1) ป. หมู่ 3 จะทำ� การยงิ กระสนุ ไปหนงึ่ นดั ดว้ ยกระสนุ ระเบดิ , งวด กข, ชนวน ไว โดยใช้ส่วนบรรจุ, ค่ามุมทิศ และมุมยิง ตามที่ประกาศให้ปืนหมู่ที่ไม่ได้ปรับการยิง จะเตรยี มกระสนุ ระเบดิ ปรบั ปรงุ ไว้สองนดั เพอื่ ปฏบิ ตั ติ ามคำ� สงั่ ยงิ ขน้ั ตอ่ ไป การปรบั การยงิ จะด�ำเนนิ ต่อไปเช่นเดยี วกบั ในตวั อย่างแรก 2) เมอื่ เข้าข้นั การยงิ หาผล จะสั่งว่า “กองร้อย 2 นัด, กระสุนระเบิดปรับปรุง, ชนวนเวลา, เวลาชนวน 24.2, มุมทิศ 3008, มมุ ยิง 443” 3) ปืนทั้งกองร้อยจะท�ำการยิงกระสุนระเบิดปรับปรุงไปสองนัดด้วยค่าเวลา ชนวน, มมุ ทิศและมุมยิง ตามท่ปี ระกาศต่อมาได้รบั คำ� สั่งว่า “จบภารกจิ ” หมายเหตุ : เม่ือจบภารกิจแล้วก็จะจ�ำหน่ายกระสุนที่ใช้ไป เพ่ือให้ยอดของ กระสุนคงไว้อย่างถูกต้อง ค. ภารกจิ ยงิ หาผล เมอื่ ไมไ่ ดก้ ำ� หนดมาตรฐานของคำ� สงั่ ยงิ ในตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี ไม่ได้ก�ำหนดองค์ประกอบของคำ� สงั่ ยิงไว้ “ภารกิจยิง, หมวดกลาง, 3 นดั , กระสุนควันขาว, งวด กข, ส่วนบรรจุ 7, ชนวนไว, มุมทิศ 2870, มุมยิง 320” ปืนหมู่ 3 และปืนหมู่ 4 เป็นปืนหมวดกลางท�ำการยิงกระสุนสามนัดตามค�ำสั่งเพ่ือบอก “จบภารกิจ” จะจ�ำหน่าย กระสุนที่ใช้ไป เพอ่ื ให้ยอดกระสุนถูกต้องอยู่เสมอ ง. ภารกิจยิงหาผล เม่ือได้ก�ำหนดมาตรฐานของค�ำส่ังยิง องค์ประกอบของ ค�ำสง่ั ยิงท่กี ำ� หนดไว้เป็นมาตรฐานในตวั อย่างน้ีคอื หมู่ 3, 1 นดั , กระสุนระเบิดงวด กข และ ชนวนไว “ภารกจิ ยิง, กองร้อย 2 นดั , ส่วนบรรจุ 4, มมุ ทศิ 3377, มมุ ยิง 487”

80 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ ปืนแต่ละหมู่ในกองร้อยจะท�ำการยิงกระสุนสองนัดด้วยกระสุน, งวดงานและ ชนวนตามมาตรฐานทก่ี ำ� หนดด้วยส่วนบรรจุ, ค่ามมุ ทิศและมุมยิง ตามท่ปี ระกาศเมื่อบอก “จบภารกจิ ” กจ็ ะจ�ำหน่ายกระสนุ ทใี่ ช้ไปเพื่อให้ยอดกระสนุ ถูกต้องอยู่เสมอ 16. แผน่ บันทกึ ภารกิจยิงของหมปู่ นื ก. แผ่นบันทึกภารกิจยิงของหมู่ปืน ใช้ส�ำหรับบันทึกค�ำสั่งยิง, กระสุนที่ใช้ยิง และที่ได้รับมา และใช้บันทึกองค์ประกอบของค�ำสั่งยิงท่ีก�ำหนดไว้เป็นมาตรฐาน (และ รายการอ่นื ๆ) ข. ในส่วนที่ใช้คุมของแผ่นบันทึก ผบ. หมู่ปืนจะต้องบันทึกหมายเลขของหมู่ ปืน วันท่,ี หมายเลขหน้ากระดาษและคำ� สั่งยงิ ทก่ี �ำหนดไว้เป็นมาตรฐาน 1) ปกติ การใช้แผ่นบันทกึ นี้ จะใช้กนั ภายในรอบ 24 ชม. เมื่อครบก�ำหนด เวลานนั้ แลว้ ผบ. หมปู่ นื จะตอ้ งเขยี นเตมิ หมายเลขของจำ� นวนกระดาษทใ่ี ชไ้ ปทงั้ สนั้ สำ� หรบั การยงิ ไปวนั นน้ั เอาไว้ 2) ค�ำส่ังยิงท่ีก�ำหนดไว้เป็นมาตรฐานอาจระบุไว้ใน รปจ.ของหน่วย หรือ กำ� หนด โดย นอย./รอง ผบ.ร้อย. โดยต้องนำ� มาบนั ทึกไว้ ค. ในส่วนท่ใี ช้บันทึกกระสุนของแผ่นบนั ทึก ผบ. หมู่จะต้องบนั ทกึ จำ� นวนนดั ของกระสุน และดนิ ส่งกระสนุ เป็นงวด ๆ และชนดิ ของชนวนแบบต่าง ๆ เอาไว้ด้วย 1) งวดงานจะถกู กำ� หนดใหโ้ ดย ฝอ.3 กองพนั /นอย. กองพนั หรอื อาจกำ� หนด โดย รอง ผบ.ร้อย. 2) เม่ือได้ใช้กระสนุ ไปในการยงิ กจ็ ะจ�ำหน่ายกระสนุ 3) เมอ่ื ไดร้ บั คำ� สงั่ ให้ “จบภารกจิ ” ผบ. หมปู่ นื จะเอาจำ� นวนกระสนุ ทไ่ี ดใ้ ชไ้ ป ลบออกจากยอดกระสนุ ท่ไี ด้รับ 4) เมอื่ ไดร้ บั กระสนุ เพมิ่ เตมิ ผบ. หมปู่ นื จะเพมิ่ ยอดกระสนุ โดยเพมิ่ จากยอด กระสุนท่ีมอี ยู่เดิม ง. ในส่วนที่ใช้บันทึกค�ำส่ังยิงของแผ่นบันทึก ค�ำส่ังยิงที่ส่งมาจาก ศอย. ถึง หมู่ปืนจะถูกบนั ทกึ เอาไว้

จ. แผ่นบันทึกควรจะได้กรอกข้อความลงไว้ให้สมบูรณ์ ผบ. หมู่ปืนควรจะได้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 81 ตรวจสอบ เพ่ือให้แน่ใจว่าเสรจ็ สมบรู ณ์และเรยี บร้อย 17. หยุดยงิ /หยุดบรรจุ ก. ปกตแิ ลว้ คำ� สง่ั “หยดุ ยงิ ” ศอย. จะเปน็ ผสู้ งั่ แตใ่ นกรณที เี่ หน็ วา่ จะเกดิ ความ ไมป่ ลอดภยั หรอื อาจจะไดร้ บั ความเสยี หาย กอ็ าจจะสงั่ หยดุ ยงิ ไดท้ กุ คน การยงิ จะตอ้ งหยดุ ลงในทนั ที ทำ� สญั ญาณใหห้ ยดุ ยงิ นน้ั แสดงไดโ้ ดยเหยยี ดแขนตรงไปขา้ งหนา้ เสมอหนา้ ผาก หนั ฝา่ มอื ไปขา้ งหนา้ แลว้ โบกขนึ้ ลงหลาย ๆ ครงั้ พรอ้ มกบั สง่ั วา่ “หยดุ ยงิ ” การยงิ จะดำ� เนนิ ต่อไปเมอื่ สั่งว่า “ยกเลกิ หยุดยงิ , มมุ ยงิ ...” ข. คำ� สงั่ “หยดุ บรรจ”ุ มลี กั ษณะคล้ายกนั กบั คำ� สงั่ “หยดุ ยงิ ” เมอ่ื ไดร้ บั คำ� สงั่ น้ี พลยงิ สามารถทำ� การยงิ นดั ท่ไี ด้บรรจไุ ปแล้วได้ แต่ต้องไม่บรรจกุ ระสนุ นดั ต่อไปเข้ารังเพลิง อกี การยงิ จะดำ� เนนิ ต่อไปอกี เมือ่ สั่ง “ยกเลกิ หยุดบรรจุ, มมุ ยงิ ” 18. จบภารกจิ ค�ำสั่ง “จบภารกจิ ” แสดงถงึ ภารกจิ ยิงได้เสรจ็ สน้ิ ลงแล้ว ให้เอาตัวแก้ทั้งหมด ท่ีตั้งไว้บนเครื่องควบคุมการยิงของปืนท่ีใช้ส�ำหรับภารกิจน้ันออกเสีย ถ้ามีเป้าหมายที่มี ความเร่งด่วนสูง ปืนแต่ละหมู่จะต้งั หลักฐานยงิ ท่เี หมาะสมต่อไป 19. การทวนซ้าํ ค�ำ ส่งั ก. เมอ่ื ใหว้ ทิ ยหุ รอื โทรศพั ทต์ ดิ ตอ่ ระหวา่ ง ศอย. กบั ปนื แตล่ ะหมู่ จะตอ้ งกำ� หนด ใหป้ นื หนง่ึ หมู่ (ปกติ ไดแ้ ก่ ปนื หลกั ) ทำ� หนา้ ทใ่ี นการทวนซาํ้ คำ� สงั่ ยงิ แตถ่ า้ ลำ� โพงหรอื เครอ่ื ง ขยายเสียงของหมู่ปืนใช้งานไม่ได้ ผบ. หมู่ปืนควรก�ำหนดให้คนใดคนหนึ่งท�ำหน้าที่เป็น พนกั งานวทิ ยโุ ทรศัพท์ มหี น้าทใี่ นการทวนซํ้าค�ำส่ังยิงให้หมู่ปืนได้ยิน

82 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ ข. ผบ. หมู่ปืนจะสง่ั เฉพาะค�ำว่า “ยงิ ”, “หยุดยงิ ” และ “หยุดบรรจุ” เท่านน้ั ส่วนในคำ� สง่ั ยงิ ข้ออ่นื ๆ จะทานซํา้ ให้ทราบเมือ่ ร้องขอ หรอื เมือ่ ฟังไม่ชัดเจนหรอื ไม่เข้าใจ การขอให้ทวนซํ้าค�ำสง่ั จะอยู่ในรปู ของคำ� ถาม เช่น “มมุ ทศิ , หมู่ 4 ?” ค. การทวนซํ้าค�ำสั่ง โดย ศอย. ปกติจะข้ึนต้นด้วยค�ำว่า “หมู่...” ตามด้วย “คำ� สง่ั คอื ...” ตัวอย่าง เช่น “หมู่ 4, คำ� สง่ั คือ มมุ ทิศ 2768” 20. เปา้ หมายตามแผน ก. บ่อยครั้งที่กองร้อยได้รับเป้าหมายตามแผน ซ่ึงจะต้องท�ำการยิงโดยเร็ว สว่ นหนง่ึ ของเปา้ หมายน้ี ศอย. จะเปน็ ผกู้ ำ� หนดความเรง่ ดว่ น เมอ่ื ไมม่ ภี ารกจิ ยงิ อน่ื ปนื แตล่ ะหมู่ จะตอ้ งตง้ั หลกั ฐานยงิ ไปยงั เป้าหมายทม่ี คี วามเร่งดว่ นสงู จะตอ้ งเตรยี มกระสนุ ไว้ในจำ� นวน ทีพ่ อเพียงเอาไว้ให้พร้อมทจ่ี ะยิงได้ทันที เม่อื ได้รบั คำ� สัง่ ปกติแล้ว คำ� สงั่ ต่าง ๆ จะระบุไว้ใน รปจ. ของหน่วย หรือกำ� หนดเป็นสัญญาณนัดหมายล่วงหน้าท่จี ะให้ทำ� การยิงต่อเป้าหมาย ท่ีมคี วามเร่งด่วนสูงน้ี โดยทไี่ ม่ต้องออกค�ำส่ังยิงทป่ี ฏบิ ัตกิ ันตามปกติ ข. ในการรบด้วยวิธีรับ การยิงฉากป้องกันข้ันสุดท้าย เป็นการยิงท่ีมีความ เรง่ ดว่ นสงู เมอ่ื ตอ้ งการใหท้ ำ� การยงิ ฉากปอ้ งกนั ขนั้ สดุ ทา้ ย จะออกคำ� สง่ั วา่ “ยงิ ฉากปอ้ งกนั ข้ันสดุ ท้าย” ค. ในการรบดว้ ยวธิ รี กุ การยงิ ขม่ เปน็ การยงิ ตามแผน หมปู่ นื จะตอ้ งมหี ลกั ฐาน ยิงต่อเป้าหมายท่ีมีความเร่งด่วนสูงน้ี ซึ่งหาให้โดย ศอย. หลักฐานยิงจะบันทึกไว้ในแผ่น บนั ทึกหลกั ฐานอ้างองิ ของหมู่ปืน ในส่วนท่กี ำ� หนดไว้ว่า “เป้าหมายเร่งด่วน” เนื่องจากในช่วงเวลาหน่ึง ๆ ปืนจะตั้งหลักฐานยิงไปยังเป้าหมายท่ีมีความ เรง่ ดว่ นสงู ไดเ้ พยี งเปา้ หมายใดเปา้ หมายหนงึ่ เทา่ นน้ั ศอย. จงึ ตอ้ งกำ� หนดลงไปวา่ เปา้ หมาย ตามแผนใดจะเป็นเป้าหมายที่มีความเร่งด่วนสูง ตัวอย่างเช่น สมมติว่า ศอย. ก�ำหนด เป้าหมาย กค 7343 เป็นเป้าหมายที่มีความเร่งด่วนสูง ส�ำหรับให้ปืนหมวดขวาทำ� การยิง หมปู่ นื ทอ่ี ยใู่ นหมวดนจ้ี ะตง้ั หลกั ฐานยงิ ไปยงั เปา้ หมาย กด 7343 คำ� สง่ั จาก ศอย. ทจ่ี ะใหท้ ำ� การ

ยิงเป้าหมายนค้ี วรเป็น “คู่ขวา, ยิงข่ม กค 7343” ถ้าเป้าหมาย กค 7354 ได้วางแผนไว้ให้ เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 83 ปนื หมวดกลางทำ� การยงิ คำ� สง่ั ทจ่ี ะใหป้ นื หมวดกลางทำ� การยงิ ควรเปน็ “คกู่ ลาง, ยงิ ขม่ กค 7354” ซงึ่ หมายความว่าหมวดปืนจะต้องท�ำการยงิ ด้วยหลักฐานยงิ ของเป้าหมาย กค 7354 21. การรายงาน ผบ. หมู่ปืนจะรายงาน ศอย. ถงึ การปฏิบัติท้ังหมดทเ่ี ป็นผลเน่อื งมาจากการยิง ของปืนในการดำ� เนินการยงิ จะรายงานในเรือ่ งต่าง ๆ ดังน้ี ก. “หมู่...ยิงไปแล้ว” รายงานหลังจากท่ีได้ท�ำการยิงแต่ละนัดไปแล้ว ถ้าใน วิธียิง ก�ำหนดให้ยิงกระสุนมากกว่าหน่ึงนัดในการยิงหาผล ก็ให้รายงานว่า “ยิงไปแล้ว” เฉพาะนัดแรกที่ยิงไปเท่านั้น ถ้าท�ำการยิงด้วยกระสุนและชนวนที่ผิดไปจากที่ ศอย. สั่ง จะต้องรายงาน ให้ ศอย. ทราบด้วย ข. “หมู่...จบ” รายงานเม่อื ได้ยงิ กระสนุ นดั สุดท้ายในการยงิ หาผลไปแล้ว ค. “หมู่...ขัดข้อง” รายงานเม่ือเกิดขัดข้อง ผบ. หมู่ปืนจะรายงานว่า “หมู่... พร้อม” เมื่อปืนพร้อมท่จี ะทำ� การยงิ ได้ต่อไปแล้ว ง. “หมู่...ไม่ได้ยงิ (เหตผุ ล)” รายงานเม่อื ปืนไม่ได้ทำ� การยงิ จ. จ�ำนวนกระสนุ ที่ใช้ไป เมอ่ื ศอย. ต้องการทราบจ�ำนวนกระสุนท่ใี ช้ไปกใ็ ห้ หมู่ปืนรายงานโดยบอกถงึ ชนดิ และงวดงานไปด้วย ฉ. ผบ. หมู่ปืนจะต้องรายงาน ศอย. ให้ทราบถึงหลักฐานยิงท่ียิงไปจริงและ ไม่ถูกต้องของกระสุนท่ียิงไปบางนัด เช่น “หมู่ 2 ยิงมุมทิศ....” การรายงานข้อผิดพลาด ไปยัง ศอย.พนั . ทำ� ได้ดังตวั อย่างต่อไปน้ี “หมู่ 2 ยิงไปทางขวา...มลิ .” 22. การแก้ไขค�ำ สงั่ ยิง ก. ถ้าส่งคำ� สั่งยงิ ผดิ แต่ยังไม่ได้สั่งมุมยงิ ศอย. จะส่งั ว่า “ผิดหยดุ ” แล้วส่ง ค�ำสัง่ ท่ถี กู ต้องแล้วตามด้วยองค์ประกอบต่อไปทั้งหมด ข. ถ้าได้สง่ั มมุ ยงิ ไปแล้ว ศอย. จะสง่ั ว่า “หยดุ ยงิ ” แล้วสง่ั ว่า “ยกเลกิ หยดุ ยงิ ” ตามด้วยองค์ประกอบทถ่ี ูกต้อง และองค์ประกอบอื่น ๆ ไปจนถึงมุมยงิ

แผ่นบนั ทึกหลักฐานอา้ งอิงของหมู่ปืน มมุ ภาคตง้ั ปืนตรงทิศ ระยะไปยงั กล้องกองร้อย มุมทศิ ไปยงั กล้องกองร้อย มมุ ทศิ ไปกลอ้ งนายทหารปลอดภยั มุมทศิ ไปคอลลมิ เิ ตอร์ มมุ ทศิ ไปหลกั เล็ง เขตจำ� กดั ทางขวา มมุ ทิศไปท่หี มายเล็งไกล เขตจ�ำกดั ทางซ้าย มมุ ยิงสูงสดุ มุมยงิ ตา่ํ สุด ปืนทีจ่ ะยงิ /วิธยี ิง กระสนุ งวด ชนวน มาตรฐานคำ� สัง่ ยิง เปา้ หมายเร่งด่วน 84 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ อนั ดบั หเปมา้ าหยมเลายข คำ� พแิเนศะษนำ� จ�ำนวนนัด กส. งวด บจ. ชนวน ชเวนลวาน มมุ ทิศ มมุ ยิง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

บทท่ี เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 85 การตงั้ ปนื ตรงทศิ 1. กลา่ วทว่ั ไป การต้ังปืนตรงทิศ คือ กรรมวิธีในการทำ� ให้ล�ำกล้องปืนชี้ตรงไปยังทิศทางที่ ต้องการ โดยปกติจะใช้กล้องกองร้อย ด�ำเนินการได้เป็น 2 ข้ันตอน คือ การต้ังกล้อง กองรอ้ ยหรอื เครอ่ื งมอื หาทศิ อยา่ งอน่ื ใหต้ รงทศิ แลว้ ดำ� เนนิ การใหล้ ำ� กลอ้ งปนื ขนานกบั ทศิ ทาง ของกล้องกองร้อยน้นั ซง่ึ เรียกว่า การเล็งขนานคู่ การเล็งขนานคู่ ได้แก่ กรรมวธิ ีในการ ท�ำให้เส้น 0 - 3,200 ของกล้องเลง็ หรอื กล้องกองร้อยกล้องหน่งึ ขนานกบั เส้น 0 - 3,200 ของอีกกล้องหน่ึง โดยอาศัยทฤษฎีทางเรขาคณิตที่ว่า เม่ือเส้นตรงสองเส้นขนานกัน มมุ ภายในทตี่ รงขา้ มกนั อนั เกดิ จากเสน้ ตรงทล่ี ากตอ่ ระหวา่ งเสน้ ขนานนน้ั จะมคี า่ เทา่ กนั ในการเล็งขนานคู่เส้นขนานกค็ อื เส้น 0 - 3,200 ของกล้องกองร้อย และเส้น 0 - 3,200 ของกล้องเล็งปืน เส้นที่ลากต่อระหว่างเส้นขนานก็คือ เส้นเล็งของกล้องเล็งท้ังสอง มุม ภายในทอ่ี ยู่ตรงข้ามกนั กค็ อื มมุ ทศิ ทอี่ ่านได้จากกล้องทงั้ สองนั่นเอง ทิศทางยิง กล้องเลง็ ลำ� กลอ้ งปนื หลกั การเลง็ ขนานคู่

86 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ 2. วิธตี ั้งปนื ตรงทิศ การตั้งปืนตรงทศิ ให้กบั ร้อย.ป. หรอื มว.ป. กระท�ำได้หลายวธิ ี ดงั ต่อไปน้ี 1. วิธีมุมตรงทิศ วิธีน้ีจ�ำเป็นต้องให้กล้องกองร้อย และจะต้องทราบค่ามุม ภาคต่าง ๆ จากการท�ำงานแผนท่ี 2. วธิ มี มุ ภาคตาราง วธิ นี จี้ ำ� เปน็ ตอ้ งทราบคา่ มมุ เยอ้ื งประจำ� ของกลอ้ งกองรอ้ ย 3. วิธเี ขม็ ทศิ M2 วิธนี จ้ี �ำเป็นต้องทราบค่ามมุ เยื้องประจ�ำของเข็มทศิ M2 4. วิธีท่ีหมายเล็งและมุมทิศ วิธีนี้จ�ำเป็นต้องให้ท่ีหมายเล็งไก ซ่ึงสามารถ มองเหน็ ได้ และอยู่ห่างจากท่ตี ง้ั ยงิ ของ ร้อย.ป. หรือ มว.ป. ไม่น้อยกว่า 1,500 เมตร 5. วธิ หี มายแนวลำ� กลอ้ งปนื วธิ นี จี้ ำ� เปน็ ตอ้ งใหค้ า่ มมุ เยอื้ งประจำ� ของเขม็ ทศิ M2 และมีกล้องกองร้อยหน่งึ กล้อง 3. การตง้ั ปืนตรงทิศดว้ ยวิธีมุมตรงทศิ ก. เมอ่ื ปนื เขา้ ประจำ� ทต่ี ง้ั แลว้ การยงิ สนบั สนนุ ทง้ั มวลจะกระทำ� ไดอ้ ยา่ งเปน็ ผล เมื่องานแผนที่เสร็จแล้วจะอ�ำนวยให้ทราบพิกัดของจุดต่าง ๆ อันเป็นระบบตารางร่วม เดยี วกนั และยงั ประโยชนไ์ หก้ ารรวมอำ� นาจการยงิ ของ ป. เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู กวา่ หากไมม่ งี านแผนที่ ถา้ เปน็ ไปได้ ควรพยายามกำ� หนดจดุ ควบคมุ ทศิ ทางขนึ้ ไวใ้ ชเ้ สยี แตเ่ นนิ่ ๆ ข. เมอื่ มงี านแผนท่ี อย่างน้อยควรทราบหลกั ฐานต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ 1) จดุ ตั้งกล้อง พร้อมด้วยพิกดั และความสงู 2) แนวแสดงมมุ ภาค (แนว OL) 3) ที่หมายเลง็ บนปลายแนวแสดงมุมภาค ค. ขนั้ ตอนในการตงั้ ปืนตรงทศิ มีดงั นี้ 1) นำ� กลอ้ งกองรอ้ ยไปตงั้ ยงั จดุ ตงั้ กลอ้ งบนแนวแสดงมมุ ภาค ใหต้ รงจดุ โดยใช้ ลกู ดงิ่ และให้ระดบั 2) ค�ำนวณหามุมตรงทิศ โดยเอามุมภาคทิศทางยิงไปลบมุมภาคของแนว แสดงมมุ ภาค (แนว OL) 3) ตั้งค่ามมุ ตรงทศิ ทห่ี าได้ไว้ทก่ี ล้องกองร้อย ด้วยควงจานทิศบน 4) ด้วยควงจานทิศล่าง หมุนกล้องไปเล็งที่หมายเล็งบนปลายแนวแสดง มมุ ภาค ขณะนเ้ี ส้น 0 - 3,200 ของกล้องกองร้อยจะขนานกบั ทิศทางยงิ

5) ต่อไปทำ� การเลง็ ขนานคู่ให้กบั ปืนหมู่ต่าง ๆ ด้วยควงจานทิศบน เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 87 ง. หากยงั ไม่มงี านแผนท่ี จะต้องก�ำหนดจดุ ควบคุมทศิ ทางขนึ้ เพ่อื ใช้หาแนว แสดงมุมภาคส�ำหรับการต้ังปืนตรงทิศด้วยวิธีมุมตรงทิศ อาจหาแนวแสดงมุมภาคได้จาก การส่งทศิ ทาง โดยการวดั จากเทห์ฟ้า เม่ือได้แนวแสดงมุมภาคแล้ว ก็จะดำ� เนนิ การตง้ั ปืน ตรงทศิ ตามขน้ั ตอนต่าง ๆ ในข้อ ค. ข้างต้น พิกัดและความสงู ของจุดตัง้ กล้องอาจหาได้ โดยใช้งานแผนท่เี ร่งด่วน หรอื การตรวจ ตวั อย่าง : เมื่อกองร้อยต้ังปืนตรงทิศตามมุมภาคตาราง 0600 มิล. มุมภาค แนวแสดงมมุ ภาค 2,000 มลิ . วธิ ีด�ำเนินการตงั้ ปืนตรงทิศ กระทำ� ได้ดังนี้ 1) ค�ำนวณหาค่ามุมตรงทิศ โดยเอามุมภาคทิศทางยิงไปลบออกจากมุมภาค ของแนวแสดงมมุ ภาค (2,000 - 0600 = 1,400) 2) นำ� กล้องกองร้อยไปตัง้ ณ จดุ ต้งั กล้อง 3) วางเส้น 0 - 3,200 ของกล้องกองร้อยให้ชี้ไปในแนวมมุ ภาคทศิ ทางยงิ โดย ประมาณ 4) ต้ังค่ามมุ ตรงทศิ 1,400 มลิ . ทกี่ ล้องฯ ด้วยควงจานทศิ บน 5) ใชค้ วงจานทศิ ลา่ ง หมนุ กลอ้ งฯ ไปเลง็ ทห่ี มายเลง็ บนปลายแนวแสดงมมุ ภาค ขณะน้ีเส้นเลง็ จะทับทหี่ มายเลง็ สนิท ตรวจดใู ห้แน่ใจว่าขีดหลกั ยังคงชอ้ี ยู่ท่มี าตรา 1,400 6) ขณะนี้เส้น 0 - 3,200 ของกล้องฯ จะช้ขี นานไปกับทิศทางทต่ี ้องการ นน่ั ก็ คอื มุมภาคทศิ ทางยงิ ข้นั ต่อไปก็จะเล็งขนานคู่ให้กับปืนหมู่ต่าง ๆ โดยให้ลำ� กล้องปืนของ ปืนทุกหมู่ขนานกบั เส้น 0 - 3,200 ของกล้องกองร้อย กค็ อื ขนานกบั ทิศทางยงิ นน่ั เอง 4. การต้ังปืนตรงทิศดว้ ยวธิ ีมุมภาคตาราง ก. ถา้ ไมม่ งี านแผนท่ี และงานแผนทเ่ี รง่ ดว่ นไมส่ ามารถจะกระทำ� ไดแ้ ลว้ วธิ ที ดี่ ี ทสี่ ดุ ในการต้งั ปืนตรงทิศ กค็ ือ วิธีกลอ้ งกองร้อยโดยใชเ้ ข็มทศิ หมายเหตุ : เน่ืองจากการต้ังปืนตรงทิศด้วยวิธีมุมภาคตาราง จ�ำเป็นต้องใช้ เข็มทศิ ของกล้องกองร้อย จงึ ต้องตัง้ กล้องกองร้อยให้ห่างจากสิง่ รบกวนแม่เหลก็ อย่างน้อย ในระยะต่อไปน้ี

88 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ - สายไฟแรงสงู และเครื่องมอื ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ 150 เมตร - รางรถไฟ, ปืนใหญ่, รถถัง และยานพาหนะ 75 เมตร - ลวดหนาม, อาวธุ ประจำ� กาย และวตั ถุเล็ก ๆ ท�ำด้วยโลหะ 10 เมตร ข. ข้ันตอนในการต้งั ปืนตรงทศิ มีดงั นี้ 1) หาค่ามุมที่ใช้ต้ังกล้องฯ โดยเอามุมภาคทิศทางยิง ไปลบค่ามุมเยื้อง ประจำ� ของกล้องฯ (บวก 6,400 เมอ่ื จ�ำเป็น) 2) ตงั้ ค่ามมุ นที้ ี่กล้องฯ ด้วยควงจานทศิ บน 3) ปลอ่ ยเขม็ ทศิ ใหเ้ ปน็ อสิ ระ เลยี้ งเขม็ ทศิ ใหต้ รงกงึ่ กลางขดี หลกั ดว้ ยควงจาน ทศิ ล่างแล้วยดึ เขม็ ทิศ 4) ขณะนเี้ ส้น 0 - 3,200 ของกล้องฯ จะช้ีไปยังทิศทางยิง ค. ขัน้ ต่อไปเป็นการเล็งขนานคู่ให้กบั ปืนหมู่ต่าง ๆ ตวั อยา่ ง : กองรอ้ ยตง้ั ปนื ตรงทศิ ตามมมุ ภาคตาราง 5,000 มลิ . คา่ มมุ เยอ้ื งประจำ� ของกล้องกองร้อย 0200 มลิ . 1) เอามุมภาคทิศทางยิงไปลบออกจากค่ามุมเย้ืองประจ�ำ(บวก 6,400 เมอื่ จำ� เป็น) ผลทีไ่ ด้คอื มมุ ทางระดบั วดั เวยี นตามเขม็ นาฬิกาจากทศิ ทางยิงไปยงั ทศิ เหนือ เขม็ ทิศมคี ่า 1,600 มิล. (0200 + 6,400 - 5,000 = 1,600) 2) วางเส้น 0 - 3,200 ของกล้องฯ ให้ชี้ไปในแนวมุมภาคทิศทางยิงโดย ประมาณ 3) ตัง้ ค่ามมุ 1,600 มิล. (ตวั เลขสดี �ำ) ท่กี ล้องฯ ด้วยควงจานทศิ บน 4) ปลอ่ ยเขม็ ทศิ ใหเ้ ปน็ อสิ ระ เลยี้ งเขม็ ทศิ ใหต้ รงกง่ึ กลางขดี หลกั ดว้ ยควงจาน ทิศล่าง แล้วยดึ เขม็ ทศิ ไว้ การปฏิบัติเช่นน้จี ะท�ำให้เส้น 0 - 3,200 จะชีไ้ ปในแนวมมุ ภาค ตาราง 5,000 มลิ . โดยต้องแน่ใจว่าขดี หลักยังคงชี้ตรงกบั ขดี มาตรา 1,600 5) หลงั จากท่เี ส้น 0 - 3,200 ของกล้องกองร้อยชี้ไปในแนวมุมภาคตาราง 5,000 มิล. แล้วทำ� การเลง็ ขนานคู่ให้กบั ปืนหมู่ต่าง ๆ ด้วยควงจานทิศบน ลำ� กล้องของปืน ทกุ กระบอกกจ็ ะชไ้ี ปในแนวมมุ ภาคตาราง 5,000 มลิ . ด้วย

5. การต้งั ปืนตรงทศิ ด้วยวธิ เี ขม็ ทิศ M2 เห ่ลาทหาร ืปนให ่ญ 89 ก. ปกตแิ ล้ว การตง้ั ปืนตรงทศิ ดว้ ยวธิ นี ใี้ ช้ในระหว่างการเขา้ ประจำ� ทตี่ ง้ั อย่างมี เวลา (ประณตี ) ในกรณที ไ่ี ม่มกี ล้องกองร้อยจะใช้เข็มทศิ M2 ทำ� การตง้ั ปืนตรงทิศให้แก่ปืน หน่ึงกระบอกก่อน แล้วจงึ ท�ำการเลง็ ขนานคู่ให้กบั ปืนหมู่ต่าง ๆ ที่เหลอื ต่อไป ข. ขัน้ ตอนในการตง้ั ปืนตรงทศิ มีดงั นี้ 1) วางเขม็ ทศิ ไว้บนทซ่ี ่งึ มคี วามมั่นคง ห่างจากสิง่ รบกวนแม่เหลก็ หมายเหตุ : ขอ้ จำ� กดั ในการใชเ้ ขม็ ทศิ จากสง่ิ รบกวนแมเ่ หลก็ ของกลอ้ งกองรอ้ ย น�ำมาใช้ได้กบั เขม็ ทิศ M2 2) ใช้เขม็ ทศิ วดั มมุ ภาคไปยงั กล้องเล็งของปืนทีจ่ ะท�ำการตงั้ ปืนตรงทิศ 3) หาค่ามมุ ทิศให้ปืน โดยเอามมุ ภาคทศิ ทางยิงไปลบค่ามุมภาคทวี่ ดั ได้ใน ข้อ (2) (บวก 6,400 เม่อื จ�ำเป็น) 4) ท�ำการต้ังปืนตรงทิศให้กับปืนหมู่นั้นโดยออกค�ำส่ังว่า “หมู่...(เท่าใด) ต่อเขม็ ทศิ M2, มมุ ทิศ...(กี่มลิ .)...” (พลเล็งของปืนหมู่น้ันตั้งค่ามุมทิศท่ีกล้องเล็งของปืน แล้วส่ายลำ� กล้องปืนเพื่อ ให้เกิดภาพการเล็งที่ถูกต้องไปยังเข็มทิศ M2 แล้วประกาศทวนค�ำสั่งว่า “หมู่...(เท่าใด)... ต่อเข็มทศิ M2, มุมทิศ...(กม่ี ลิ .)...” 5) จากน้ันทำ� การตง้ั ปืนตรงทศิ ให้กบั ปืนหมู่ทีเ่ หลอื โดยออกค�ำสง่ั ว่า “หมู่... (เท่าใด) ...เสรจ็ , กองร้อยต่อหมู่...(เท่าใด)...เลง็ ขนานคู่” (พลเล็งของปืนหมู่ทต่ี ้ังปืนตรงทศิ แล้ว กจ็ ะทำ� การเลง็ ขนานคู่ให้กบั ปืนหมู่ทเ่ี หลอื ของกองร้อย ดขู ้อ 8) ค. การตง้ั ปนื ตรงทศิ วธิ นี ้ี มที งั้ ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี จงึ ควรจะตอ้ งพจิ ารณากอ่ นการใช้ 1) ข้อดี การต้งั ปืนตรงทศิ วธิ ีนท้ี �ำให้ล�ำกล้องปืนของปืนทกุ หมู่ขนานกนั 2) ข้อเสีย เนื่องจากมาตรามมุ ภาคบนเขม็ ทศิ แบ่งละเอียดไว้ทุก ๆ 20 มลิ . และสามารถอ่านละเอียดถึง 10 มิล. ความละเอียดถูกต้องในการใช้จึงขึ้นกับขีดความ สามารถของเจ้าหน้าทผ่ี ู้ใช้เข็มทศิ ตัวอย่าง : คณะลาดตระเวนก�ำลังจัดเตรียมท่ีตั้งส�ำหรับการเข้าประจ�ำที่ตั้ง แตเ่ นอ่ื งจากวา่ เกดิ การสญู เสยี จากการรบ จงึ ท�ำใหไ้ มม่ กี ลอ้ งกองรอ้ ยไวใ้ ชง้ าน รอง ผบ.รอ้ ย. หาแนวเส้นเลง็ ทสี่ ามารถมองเหน็ ไปยัง ป. หมู่ 4 และ ป. หมู่อื่น ๆ ทเี่ หลือ จึงสัง่ ให้นายสบิ หวั หน้าส่วนยงิ ตั้ง ป. ตรงทศิ ให้กบั ป. หมู่ 4 ก่อน เมอ่ื เข้าประจำ� ทตี่ ง้ั แล้วด้วยเข็มทศิ M2

90 เหลา่ ทหารปนื ใหญ่ นายสบิ หวั หนา้ สว่ นยงิ นำ� เอาพลวั่ จากรถของคณะลาดตระเวนเดนิ ออกจากทตี่ งั้ ของ ป. หมู่ 4 ไปข้างหน้าทางซ้าย 100 เมตร เม่ือ ป. หมู่ 4 มาถงึ นายสบิ หัวหน้าส่วนยงิ (ใช้พลัว่ ขดุ หลุมปักหลกั เพือ่ ใช้วางเขม็ ทศิ ) วัดมมุ ภาคไปยังกล้องเล็งของ ป. หมู่ 4 แล้วเอาค่ามมุ ภาคทว่ี ดั ได้ ลบด้วยมมุ ภาคทิศทางยงิ (บวก 6,400 เมื่อจ�ำเป็น) มุมภาคท่วี ัดได้ 0730 + 6,400 ผลบวก 7,130 มมุ ภาคทศิ ทางยงิ - 4,550 มมุ ทศิ 2,580 - นายสบิ หวั หน้าส่วนยงิ ออกค�ำสงั่ ว่า “หมู่ 4 ต่อเขม็ ทิศ M2, มมุ ทิศ 2,580” - พลเลง็ ของ ป. หมู่ 4 ตงั้ คา่ มมุ ทศิ ทก่ี ลอ้ งเลง็ ของปนื แลว้ จดั ภาพการเลง็ ไปยงั เขม็ ทิศ M2 ให้ถกู ต้อง และรายงานว่า “หมู่ 4 ต่อเขม็ ทิศ M2, มมุ ทศิ 2,580” - นายสบิ หวั หน้าส่วนยงิ ออกค�ำสั่งทว่ี ่า “หมู่ 4 เสรจ็ , กองร้อยต่อหมู่ 4 เล็ง ขนานคู่” 6. การต้ังปนื ตรงทศิ ด้วยวิธที ี่หมายเล็งและมมุ ทิศ ก. ปกติแล้ว วิธีท่ีหมายเล็งและมุมทิศเป็นวิธีการตั้งปืนตรงทิศสำ� หรับใช้ยิงใน ภารกจิ ยงิ ฉกุ เฉนิ เมอ่ื ตอ้ งการความรวดเรว็ ในการยงิ มากกวา่ ตอ้ งการความถกู ตอ้ งในการยงิ จากกระสนุ นดั แรก ระยะหา่ งจากทตี่ ง้ั ยงิ ไปยงั ทห่ี มายเลง็ ตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่ 1,500 เมตร ดงั นนั้ ปืนทุก ๆ หมู่ จะต้องมองเหน็ ได้จากท่ตี งั้ ยงิ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการต้งั ปืนตรงทิศควรมีเขม็ ทศิ M2 หรือแผนทก่ี บั แผ่นวัดมุม หมายเหตุ : การตงั้ ปนื ตรงทศิ ดว้ ยวธิ ที ห่ี มายเลง็ และมมุ ทศิ สามารถนำ� มาใชไ้ ด้ กบั การเขา้ ประจ�ำทต่ี งั้ อยา่ งมเี วลา กรณที ไี่ มม่ กี ล้องกองร้อย หรอื เขม็ ทศิ M2 โดยจะท�ำการ ตง้ั ปนื ตรงทศิ ใหก้ บั ปนื เพยี งหมเู่ ดยี วกอ่ น ตอ่ จากนนั้ กจ็ ะเลง็ ขนานคใู่ หก้ บั ปนื หมตู่ า่ ง ๆ ดว้ ย ปืนหมู่ทต่ี ั้งตรงทิศแล้ว ท้งั นีเ้ พือ่ ให้ล�ำกล้องของปืนทง้ั กองร้อยขนานกัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook