Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ปี4

วิชา การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ปี4

Published by military2 student, 2022-05-20 02:40:38

Description: วิชา การอ่านแผนที่และการใช้เข็มทิศ ปี4

Search

Read the Text Version

บทท่ี ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 67 เสน้ กรดิ 1. การกำ�หนดจดุ ทอี่ ยู่ “จงไปพบข้าพเจ้าท่ีถนนสายท่ี 21 และสายที่ 26” ข้อความดังกล่าวนี้ เปน็ วธิ กี ารกำ� หนดจดุ ทอี่ ยซู่ งึ่ สว่ นมากแลว้ พวกเราเคยใชก้ นั อยใู่ นบางโอกาส การกำ� หนด จดุ ทอ่ี ยวู่ ธิ นี จี้ ะใชไ้ ดเ้ ปน็ ผลดตี ามบรเิ วณเมอื งทมี่ ถี นนสายตา่ ง ๆ เปน็ เครอื่ งบง่ ชเี้ ทา่ นนั้ แตถ่ า้ ออกไปปฏบิ ตั กิ ารอยใู่ นภมู ปิ ระเทศหรอื ในพน้ื ทใี่ ด ๆ ในโลกทไี่ มเ่ คยไปมากอ่ นแลว้ เราจะทำ� อยา่ งไร ฉะนนั้ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ งมวี ธิ กี ารบางอยา่ งทจี่ ะนำ� มาใชเ้ พอื่ การกำ� หนดจดุ ที่อยู่ของส่ิงต่าง ๆ เป็นแบบฉบับอย่างเดียวกัน และอย่างสั้น ๆ วิธีการบอกจุดท่ีอยู่ ยอ่ มมอี ยดู่ ว้ ยกนั หลายวธิ ี สำ� หรบั ในทางการทหารนนั้ มงุ่ หมายทจี่ ะใหม้ คี วามละเอยี ด และถกู ตอ้ งไวเ้ ปน็ สว่ นใหญ่ แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามวธิ กี ารตา่ ง ๆ ทจ่ี ะน�ำมาใชน้ น้ั จะตอ้ งมี ลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี คอื ก. ไม่จำ� เป็นต้องมคี วามรอบรู้เก่ยี วกับพ้ืนทีน่ ัน้ ๆ ข. สามารถจะนำ� ไปประยกุ ต์ใช้กับพ้ืนทท่ี ีม่ คี วามกว้างใหญ่ไพศาลได้ ค. ไม่จำ� เป็นต้องอาศยั ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศทเ่ี ป็นจดุ เด่น ง. นำ� ไปใช้กับแผนท่ีได้ทุกมาตราส่วน

68 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ 2. เสน้ กริดของยูนิเวอรแ์ ซลทรานสเวอรส์ เมอรเ์ คเตอร์ (ยู ที เอ็ม) ส่วนมากแล้ว แผนที่ทางทหารมาตราส่วนใหญ่ และมาตราส่วนปานกลาง นอกจากจะมีพิกัดภูมิศาสตร์แล้วยังต้องใช้ระบบกริดอีกด้วย เพื่อใช้หาที่ต้ังหรืออ้างถึง จุดที่ตั้งของต�ำบลต่าง ๆ กองทัพบกมักนิยมใช้ระบบกริดมากกว่าการใช้พิกัดภูมิศาสตร์ เพือ่ แสดงให้ทราบเก่ยี วกับท่ีตง้ั เพราะว่าระบบกรดิ น้ีมคี วามง่ายกว่า รูปที่ 1 เสน้ กรดิ ก. ระบบกริดย่อมประกอบด้วยหมู่ต่าง ๆ ของเส้นตรงที่ลากขนานกัน และ ตดั กนั เป็นมมุ ฉากจนเกดิ เป็นรูปส่เี หลยี่ มจัตุรัสต่าง ๆ ข้นึ ข. ระบบกริดของรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัสน้ี ย่อมมีข้อดีเหนือกว่าพิกัดภูมิศาสตร์ อยู่บางประการคอื (1) ทุก ๆ จตั รุ ัสกริดจะมรี ปู ร่างและขนาดเดียวกนั (2) ระบบกรดิ จะสามารถวดั ระยะเปน็ ทางเสน้ ได้ โดยไมต่ อ้ งวดั ระยะทางมมุ

ค. ในรูปท่ี 1 น้ันได้แสดงถึงส่วนหน่ึงของแผนที่พร้อมด้วยเส้นกริดต่าง ๆ ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 69 ระบบของจัตรุ ัสต่าง ๆ เหล่าน้ี จะช่วยให้หาทตี่ ้งั หรอื อ้างถงึ ตำ� บลใดต�ำบลหนง่ึ ได้โดยการ ระบุว่า ต�ำบลน้ันตั้งอยู่ในจัตุรัสใด แต่ละเส้นของระบบกริดน้ีจะมีหมายเลขก�ำกับอยู่ และจะต้องให้หมายเลขต่าง ๆ เหล่าน้ี เพื่อการพสิ จู น์ทราบจัตุรสั กริดเป็นแห่ง ๆ ไป ง. มาตรการวัดท่ีน�ำมาใช้กับระบบกริดนี้ ก็คือ วัดระยะเป็นทางเส้น และ ตามปกตยิ ่อมใช้หน่วยวดั เป็นเมตร ช่วงระหว่างเส้นกรดิ ต่าง ๆ ก็คอื ระยะห่างของเส้นกริด ซึ่งจะมีปรากฏอยู่ทร่ี ายละเอยี ดขอบระวาง จ. เส้นกรดิ ของยนู ิเวอร์แซลทรานสเวอร์สเมอร์เคเตอร์ (เส้นกรดิ ยู ที เอ็ม) นน้ั ก�ำหนดข้นึ เพ่อื ใช้ทัว่ โลกระหว่างเส้นละตจิ ูด 80 องศาใต้ และเส้นละติจดู 84 องศาเหนือ โดยแบ่งรูปโลกออกเป็นโซนแคบ ๆ เริ่มต้นจากเส้นเมอริเดียนของลองติจูด 180 องศา ไปทางตะวนั ออก ซงึ่ ตามปกตแิ ลว้ แตล่ ะโซนจะมคี วามกวา้ งเทา่ กบั คา่ ของเสน้ ลองตจิ ดู 6 องศา และใหห้ มายเลขประจำ� โซนไวต้ ง้ั แต่ 1 ถงึ 60 แตล่ ะโซนจะแบง่ ออกเปน็ พน้ื ทแี่ ถบตะวนั ออก และตะวันตกของโซนด้วยเส้นลองติจูดเมอริเดียน โดยมีเส้นเมอริเดียนย่านกลางลากผ่าน กึ่งกลางของกริดโซนน้ี (รูปท่ี 2) ในแต่ละโซนจะใช้จุดที่เส้นเมอริเดียนย่านกลางตัดกับ เสน้ ศนู ย์สตู รเป็นศนู ยก์ ำ� เนดิ หรอื จดุ เรม่ิ ต้น แล้วกำ� หนดค่ากรดิ ของตำ� บลตา่ ง ๆ โดยเรม่ิ ต้น จากศนู ยก์ ำ� เนดิ นวี้ ดั ระยะเปน็ ทางยาวไปเหนอื หรอื ใตข้ องเสน้ ศนู ยส์ ตู ร และไปทางตะวนั ออก หรือตะวันตกของเส้นเมอริเดียนย่านกลาง แต่อย่างไรก็ตามการก�ำหนดการเช่นน้ีจ�ำเป็น จะต้องบ่งให้ทราบทิศทางเกี่ยวกับระยะห่างจากศูนย์ก�ำเนิดโดยการใช้ค�ำว่า เหนือ, ใต้, ตะวนั ออก, หรอื ตะวนั ตกดว้ ย หรอื จะใชว้ ธิ กี ารบอกคา่ เปน็ บวก หรอื ลบกไ็ ด้ ความไมส่ ะดวก ดังกล่าวน้ีจะขจัดให้หมดส้ินไปได้โดยการก�ำหนดค่าเป็นจ�ำนวนเลขให้กับศูนย์ก�ำเนิด ซง่ึ จะทำ� ให้ทกุ ๆ จดุ ที่อยู่ในกริดโซนน้นั มีค่าไปในทางบวกหมด จะก�ำหนดให้เส้นเมอริเดียนย่านกลางมีค่าเท่ากับ 500,000 เมตร ท้ังน้ี เพื่อหลีกเล่ียงมิให้เกิดจ�ำนวนเลขที่มีค่าไปในทางลบ ณ ขอบด้านตะวันตกของกริดโซน การอ่านค่าดังกล่าวนี้ จะต้องอ่านว่า “ตะวันออกเท็จ” (รูปท่ี 3) ค่าของเส้นกริดต่าง ๆ จะเพิ่มข้ึนจากทางตะวันตกไปทางตะวันออก ส�ำหรับค่าในทางเหนือ-ใต้น้ันทางซีกโลก ดา้ นเหนอื จะกำ� หนดใหเ้ สน้ ศนู ยส์ ตู รมคี า่ เทา่ กบั 0 เมตร และใหม้ คี า่ เพมิ่ ขนึ้ ไปทางขว้ั โลกเหนอื ในทางซีกโลกด้านใต้จะก�ำหนดให้เส้นศูนย์สูตรมีค่าเท่ากับ 10,000,000 เมตร และ ให้มีค่าลดลงไปทางขว้ั โลกใต้ ค่าเหล่านเ้ี รียกว่า “เหนือเท็จ” (รูปท่ี 3) คำ� ว่าตะวันออกเทจ็ และเหนอื เท็จนนั้ จะน�ำมาใช้เฉพาะในการจดั ทำ� ต้นฉบับระบบกริดเท่าน้ัน

70 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ รปู ที่ 2 กรดิ โซนของยู ที เอม็ ฉ. แตล่ ะเสน้ ทเี่ วน้ ระยะหา่ งเทา่ ๆ กนั ทป่ี ระกอบกนั ขน้ึ เปน็ เสน้ กรดิ ของ ยู ที เอม็ บนแผนที่นั้น จะมีค่าท่ีก�ำกับด้วยค�ำว่า ตะวันออกเท็จ หรือเหนือเท็จเสมอ (แสดงถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเส้นน้ัน ๆ กับจุดศูนย์ก�ำเนิดของกริดโซน) ตามปกติแล้วในแผนท่ี มาตราส่วนใหญ่ เส้นกริดจะอยู่ห่างกัน 1,000 เมตร, แผนท่ีมาตราส่วนปานกลางจะอยู่ หา่ งกนั 1,000 เมตร หรอื 10,000 เมตร และแผนทม่ี าตราสว่ นเลก็ จะอยหู่ า่ งกนั 100,000 เมตร นอกจากค่าท่ีก�ำกับเส้นกริดเส้นแรกในแต่ละทิศทางที่ปรากฏอยู่ทางมุมตะวันตกเฉียงใต้ ของแผนทแ่ี ล้ว บนแผนทีท่ ่มี ีค่าของเส้นกรดิ ห่างกนั 1,000 เมตร ตัวเลขสามหลักท้าย (000) ของทุก ๆ เส้นกริดจะเว้นไว้ ตวั เลขที่แสดงค่าของเส้นกริดแต่ละเส้นจะพมิ พ์ไว้ด้วยตวั ใหญ่ อยสู่ องหลกั และเรยี กตวั เลขนวี้ า่ เปน็ ตวั เลขหลกั บนแผนทท่ี มี่ เี สน้ กรดิ อยหู่ า่ งกนั 10,000 เมตร ตัวเลขส่ีหลกั ท้าย (0000) ของทกุ ๆ เส้นกรดิ

รูปที่ 3 ตะวันออกเทจ็ และเหนือเทจ็ ส�ำหรบั กริดโซนหน่งึ ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 71 เส้นกริดจะเว้นไว้ ตัวเลขที่แสดงค่าของเส้นกริดแต่ละเส้นจะพิมพ์ไว้ด้วย ตัวใหญ่เพียงหลักเดียวเท่าน้ัน และเรียกตัวเลขน้ีว่าเป็นตัวเลขหลัก ตัวเลขหลักต่าง ๆ เหล่าน้ีย่อมมีความส�ำคัญ เพราะเป็นตัวเลขที่จะต้องน�ำมาใช้เพ่ือการอ้างถึงต�ำบลท่ีต้ัง ของจดุ ต่าง ๆ เส้นกริดเส้นแรกท่ตี อนล่างของแผนท่ี จะเรม่ิ จากทางมมุ ล่างซ้ายของแผนที่ และจะมีตัวเลขและตัวอักษรก�ำกับไว้ เช่น 328000 mE เป็นต้น ตัวเลขหลัก 28 ที่ก�ำกับเส้นน้ีอยู่น้ัน จะน�ำมาใช้เพื่อการอ้างถึงต�ำบลต่าง ๆ (ให้ดูรูปท่ี 4 ประกอบด้วย) ส�ำหรับเส้นกริดเส้นแรกที่อยู่ทางเหนือของมุมล่างซ้ายของแผนที่นั้น เช่น ถ้าพิมพ์ไว้ด้วย ตัวเลขและตัวอักษรว่า 434700 mN จะหมายความถึงว่า เส้นน้ีอยู่ทางเหนือของ เส้นศูนย์สตู ร 4,347,000 เมตร ตวั เลขหลัก 47 ท่ีกำ� กบั เส้นนอ้ี ยู่จะน�ำมาใช้เพื่อการอ้างถงึ ต�ำบลต่าง ๆ (ให้ดูรูปท่ี 4) ย่อมแสดงถึงพ้ืนที่ในจัตุรัสที่อยู่ทางด้านขวา และด้านบน ของเส้นกรดิ 28 และ 47 ตดั กัน แต่อย่างไรกต็ ามการกำ� หนดทีต่ งั้ ของจตั ุรัสกรดิ ท้ังจัตุรสั น้ัน ย่อมไม่เป็นการถูกต้องเพียงพอเพราะลักษณะภูมิประเทศท่ีสำ� คัญต่าง ๆ อาจจะต้ังอยู่

72 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ ภายในจตั รุ สั กรดิ นกี้ ไ็ ด้ ฉะนน้ั เพอื่ เปน็ การกำ� หนดจดุ ทตี่ งั้ ของจดุ ใดจดุ หนงึ่ ใหถ้ กู ตอ้ งแนน่ อน มากยิ่งข้ึน จึงอาจแบ่งด้านแต่ละด้านของจัตุรัสกริดออกไปเป็น 20 ส่วน การแบ่งด้าน ดงั กลา่ วน้ี อาจจะกระทำ� ไดโ้ ดยการประมาณดว้ ยสายตา หรอื จะใชเ้ ครอื่ งมอื ทม่ี มี าตราสว่ น ก็ได้ ในรปู ท่ี 4 นน้ั จดุ x ต้ังอยู่ในจตั รุ ัสกริด 2847 ซึง่ อยู่ห่างจากเส้นกริด 28 ไปทางขวา ประมาณเศษส่ีส่วนสิบ และอยู่สูงจากเส้นกริด 47 ไปหาเส้นกริด 48 ในระยะประมาณ เศษสามส่วนสบิ เพราะฉะน้นั พกิ ดั ของจดุ x ก็ควรจะเป็น 284473 การเขียนพิกัดจะต้อง เขียนเป็นเลขจ�ำนวนเดยี วกันทั้งหมด และมีตวั เลขเป็นคู่ ๆ เสมอตวั เลขพกิ ัดในครงึ่ แรกน้ัน หมายถงึ การอ่านไปทางขวา ตัวเลขในครง่ึ หลงั หมายถงึ การอ่านขนึ้ ขา้ งบน รปู ที่ 4 การแบง่ จัตรุ ัสกรดิ ช. ส�ำหรับในการปฏิบัติการทางทหารบางโอกาสนั้น การใช้พิกัดเลขหกตัว อาจไม่มีความละเอียดเพียงพอ ดังนั้นจึงต้องใช้เลขพิกัดแปดตัว (พิกัดเลขหกตัวบอกจุด ท่ีต้ังได้ใกล้เคียงเพียง 100 เมตรเท่าน้ัน ถ้าใช้เลขพิกัดแปดตัวจะบอกจุดที่ตั้งได้ใกล้เคียง ถึง 10 เมตร) เพื่อให้สามารถก�ำหนดพิกัดเลขแปดตัวได้อย่างถูกต้องแน่นอน จึงจ�ำเป็น ต้องใช้บรรทัดมาตราส่วนพิกัดด้วย ในรูปที่ 5 น้ัน เป็นรูปที่แสดงถึงบรรทัดมาตราส่วน พิกดั ชนิดสองมาตราส่วน

(1) มาตราส่วน 1:25,000 (ตอนล่างทางขวาของรูปท่ี 5) จะแบ่งช่องของ ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 73 เส้นกรดิ 1,000 เมตร ออกเป็น 10 ส่วนใหญ่ ๆ แต่ละส่วนมคี ่าเท่ากบั 100 เมตร แต่ละช่อง 100 เมตร จะแบ่งออกเป็นห้าช่องย่อย ๆ แต่ละช่องมคี ่าเท่ากับ 20 เมตร จดุ ต่าง ๆ ท่ีอยู่ใน ระหวา่ งขดี ยอ่ ยสองขดี จะอา่ นคา่ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเทา่ กบั 10 เมตร คา่ ของเสน้ กรดิ จะอา่ นได้ เป็นเลขสต่ี ัว และจะเป็นพกิ ดั เลขแปดตัว รูปท่ี 5 บรรทัดมาตราส่วนพิกัด (2) มาตราส่วน 1:50,000 (ข้างบนด้านซ้ายของรูปท่ี 5) จะแบ่งช่องของ เส้นกรดิ 1,000 เมตร ออกเป็น 10 ส่วนใหญ่ ๆ แต่ละส่วนมีค่าเท่ากับ 100 เมตร แต่ละช่อง 100 เมตร จะแบ่งออกเป็นสองช่องย่อย ๆ จดุ ต่าง ๆ ทอ่ี ยู่ในระหว่างขดี ย่อยเหล่าน้ี จะต้อง อ่านประมาณค่าให้ได้ใกล้เคียง 10 เมตร เพื่อให้อ่านค่าของเส้นกริดได้เป็นเลขสี่ตัวและ เปน็ พกิ ดั เลขแปดตวั

74 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ (3) การใชบ้ รรทดั มาตราสว่ นพกิ ดั 1:50,000 นน้ั คงใชใ้ นลกั ษณะการเชน่ เดยี ว กับบรรทัดมาตราส่วนพิกัด 1:25,000 คงมีข้อแตกต่างกันเฉพาะตรงท่ีมาตราส่วนย่อย ของชอ่ งหนงึ่ ในสบิ สว่ นของจตั รุ สั กรดิ เทา่ นน้ั (รปู ที่ 6) บนบรรทดั มาตราสว่ นพกิ ดั 1:50,000 นน้ั แตล่ ะชอ่ งหนงึ่ ในสบิ สว่ นจะแบง่ สว่ นยอ่ ยออกไปเปน็ เพยี งสองสว่ น แตล่ ะสว่ นจะมคี า่ เทา่ กบั 0.05 (5/100) ฉะนน้ั การเขยี นเลขพกิ ดั เปน็ เลขแปดตวั จะสามารถกระทำ� ไดโ้ ดยการสอดแทรก มาตราสว่ นยอ่ ยลงไปในแตล่ ะสว่ นนอี้ กี (โดยการอา่ นเลขสต่ี วั ไปทางขวาและเลขสต่ี วั ขน้ึ ขา้ งบน) รปู ท่ี 6 การขยายส่วนช่องหนึง่ ในสบิ ของจตั ุรสั กริด (4) ในการใช้บรรทดั มาตราส่วนพกิ ดั เพ่อื หาพิกัดต่าง ๆ น้ัน จะต้องวาง บรรทัดมาตราส่วน โดยให้เลข 0 ของบรรทัดมาตราส่วนจุดท่ีมุมล่างซ้ายของจัตุรัสกริด (จตั รุ สั กรดิ 3170 ในรปู ที่ 7) แลว้ เลอ่ื นบรรทดั มาตราสว่ นพกิ ดั ไปทางขวาจนกวา่ จดุ ทตี่ อ้ งการ จะหาพกิ ดั ไดจ้ ดุ กบั ขอบของบรรทดั มาตราสว่ นพกิ ดั โดยพยายามรกั ษาใหบ้ รรทดั มาตราสว่ น

พิกัดวางอยู่บนเส้นกรดิ ทางระดบั เส้นล่าง เมื่อจะอ่านพกิ ดั จะต้องตรวจสอบให้ทั้งสองด้าน ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 75 ของบรรทัดมาตราส่วนพิกัดอยู่ในลักษณะท่ีมาตราส่วนทางระดับอยู่ในแนวเดียวกันกับ เสน้ กรดิ ตะวนั ออก-ตะวนั ตกและมาตราสว่ นทางดง่ิ อยขู่ นานกบั เสน้ กรดิ เหนอื -ใตเ้ สยี กอ่ นเสมอ รปู ท่ี 7 การวางบรรทดั มาตราสว่ นพกิ ัดลงบนเส้นกริดอยา่ งถูกต้อง (5) บรรทดั มาตราสว่ นพกิ ดั น้ี อาจจะทำ� ขนึ้ ใชเ้ องกไ็ ดโ้ ดยการใชก้ ระดาษชน้ิ สว่ น ซึ่งมีมมุ หนง่ึ เป็นมมุ ฉาก ให้ทาบมมุ ของกระดาษลงไปบนมาตราส่วนขยายของมาตราส่วน เส้นบรรทดั ทเี่ ป็นเมตรของแผนที่ ลอกมาตราส่วนนนั้ โดยให้เรมิ่ ต้นทางมมุ ขวาของกระดาษ แล้วจึงทาบด้านประชิดอีกด้านหน่ึงของกระดาษลงไปบนมาตราส่วนเส้นบรรทัด และ ลอกมาตราส่วนในท�ำนองเดียวกัน ดังน้ันจึงสามารถน�ำบรรทัดมาตราส่วนพิกัดที่ท�ำข้ึนนี้ ไปใช้ตามวธิ กี ารซึ่งได้อธบิ ายไว้ในข้อ (4) ข้างบนนน้ั ได้

76 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ 3. ระบบการก�ำ หนดค่าของกรดิ ทางทหาร ระบบการก�ำหนดค่าของกริดทางทหารน้ัน เป็นระบบการก�ำหนดค่าของทาง ราชการทหาร เมอื่ ใชแ้ ผนทที่ พี่ มิ พด์ ว้ ยระบบกรดิ ของยนู เิ วอรแ์ ซลทรานสเวอรส์ เมอรเ์ คเตอร์ (ยู ที เอม็ ) หรอื ระบบกรดิ ของยนู เิ วอรแ์ ซล โพลา่ สเตอรโิ อกราฟฟคิ (ยู พี เอส) เพอื่ ความสะดวก จะตอ้ งแบง่ พน้ื ทที่ างภมู ศิ าสตรข์ องโลกออกไปเปน็ สว่ นใหญ่ ๆ ใหม้ รี ปู รา่ งลกั ษณะเหมอื น ๆ กนั ซงึ่ แตล่ ะสว่ นจะไดก้ ำ� หนดเลขอกั ษรทไ่ี มซ่ ำ�้ กนั เอาไว้ ซง่ึ เรยี กวา่ เลขอกั ษรประจำ� กรดิ โซน จะต้องแบ่งพ้ืนที่ต่างๆ เหล่านี้ออกไปเป็นจัตุรัส 100,000 เมตร ย่อย ๆ หลาย ๆ จัตุรัส โดยให้มีเส้นกริดครอบคลุมพ้ืนท่ีน้ีไว้ท้ังหมด แต่ละจัตุรัส 100,000 เมตร จะต้องก�ำหนด ใหม้ ตี วั อกั ษรสองตวั กำ� กบั ไวซ้ ง่ึ เรยี กวา่ อกั ษรประจำ� จตั รุ สั 100,000 เมตร และภายในพนื้ ท่ี ของเลขอกั ษรประจำ� กรดิ โซนเดยี วกนั จะตอ้ งมอี กั ษรเหลา่ นไ้ี มซ่ ำ�้ กนั ดว้ ย การอา้ งถงึ หมายเลข ของเส้นกรดิ ต่าง ๆ ภายในจตั ุรัส 100,000 เมตรนน้ั จะต้องกำ� หนดให้มคี วามถูกต้องตาม ความจำ� เป็นด้วยค�ำว่า ตะวนั ออกเท็จ (E) และเหนือเท็จ (N) ไว้ด้วย ก. เลขอักษรประจ�ำกริดโซน จะต้องแบ่งพ้ืนท่ีของโลกระหว่างเส้นละติจูด 80 องศาใต้ กับเส้นละติจดู 84 องศาเหนอื ออกไปเป็นพื้นทส่ี ่วนต่าง ๆ โดยให้แต่ละส่วน มีขนาดกว้างตามแนวตะวันออก-ตะวันตก 6 องศา และสูงตามแนวเหนือ-ใต้ 8 องศา ช่องต่าง ๆ (ตามปกติจะกว้าง 6 องศา) จะต้องกำ� หนดให้มีหมายเลขประจำ� โซนตามระบบ ของ ยู ที เอม็ กำ� กบั เอาไว้ด้วย ตวั อย่างเช่น เมอื่ ได้เร่ิมต้นจากเส้นเมอรเิ ดยี น 180 องศา แลว้ แบง่ เปน็ ชอ่ ง ๆ ออกไปทางตะวนั ออก จะตอ้ งก�ำหนดหมายเลขกำ� กบั ชอ่ งตา่ ง ๆ เหลา่ นน้ั ไวด้ ว้ ยเลข 1 ถงึ 60 ตามลำ� ดบั เปน็ ตน้ สำ� หรบั เสน้ ขดี ขวางตา่ ง ๆ (ตามปกตจิ ะหา่ งกนั ในทางสงู 8 องศา ยกเวน้ ระยะจากเสน้ ขดี ขวาง 72 องศา เหนอื ถงึ 84 องศาเหนอื ซง่ึ จะมรี ะยะหา่ งกนั ในทางสงู 12 องศา) นนั้ จะตอ้ งกำ� กบั ไวด้ ว้ ยตวั อกั ษรตา่ ง ๆ และอกั ษรทจี่ ะกำ� หนดใหก้ ำ� กบั เส้นต่าง ๆ น้นั จะต้องล�ำดบั ตวั อกั ษรต้งั แต่ C ไปจนถึง X (เว้น I และ O) โดยให้เร่มิ ต้น จากเส้นละตจิ ูด 80 องศาใต้ ตามล�ำดบั ข้ึนไปทางเหนอื จนถงึ เส้นละติจูด 84 องศาเหนอื การก�ำหนดกริดโซนของพื้นที่ทั้งทางเหนือและใต้ของเส้นศูนย์สูตรที่มีขนาดกว้าง 6 องศา สูง 8 องศา หรือ 12 องศา น้ัน จะกระท�ำได้โดยการอ่าน (ไปทางขวาและขึ้นข้างบน) ชื่อช่องก่อนแล้วจงึ อ่านช่อื เส้นขดี ขวางตามล�ำดับ (รปู ที่ 8)

รูปที่ 8 เลขอักษรประจำ� กริดโซนของโลก วชิ าการอา่ นแผนท่ีและการใช้เขม็ ทศิ 77

78 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ ข. จัตุรัส 100,000 เมตร ในพื้นที่ของแต่ละจัตุรัสท่ีมีขนาดกว้าง 6 องศา สูง 8 องศา และกว้าง 6 องศา สูง 12 องศา ระหว่างเส้นละติจูด 80 องศาใต้ กับ 84 องศาเหนอื น้ัน จะต้องแบ่งออกไปเป็นจตั ุรสั 100,000 เมตร หลาย ๆ จตั ุรสั โดยการใช้ เส้นกริดของ ยู ที เอ็ม เป็นเคร่ืองแสดงเขต แต่ละช่องและแต่ละเส้นขีดขวางของจัตุรัส 100,000 เมตร น้ี จะต้องก�ำกับไว้ด้วยตัวอักษรท้ังสองเส้นช่อง 100,000 เมตร ซ่ึงรวมถึง ช่องต่าง ๆ ที่เป็นช่องเศษทอ่ี ยู่ตามรอยเช่อื มต่อของเส้นกริดโซนด้วย จะต้องกำ� กับไว้ด้วย ตวั อกั ษรตัง้ แต่ A ถงึ Z (เว้นตวั อักษร I และ O) โดยเร่ิมต้นจากเส้นเมอรเิ ดยี น 180 องศา ต่อไปทางตะวันออกตามเส้นศนู ย์สตู รในระยะ 18 องศา การให้ล�ำดับตัวอักษรดังกล่าวน้ี จะตอ้ งกระทำ� ซำ้� ในเมอ่ื ถงึ ระยะ 18 องศา แลว้ ส�ำหรบั เสน้ ขดี ขวาง 100,000 เมตร ตา่ ง ๆ นน้ั จะต้องก�ำกับไว้ด้วยอกั ษร A ถึง V (เว้น I และ O) โดยเริม่ ต้นจากทางใต้ขน้ึ ไปทางเหนอื การให้ล�ำดับตัวอักษรดังกล่าวน้ี จะต้องกระท�ำซ�้ำกันในทุก ๆ ระยะ 2,000,000 เมตร ตามปกติแล้วทุก ๆ เส้นกริดโซนของ ยู ที เอ็ม ท่ีมีหมายเลขก�ำกับเป็นเลขคี่จะมีล�ำดับ ตัวอักษรของตัวอักษรประจ�ำเส้นขีดขวาง 100,000 เมตร ก�ำกับอยู่อีกด้วยโดยเร่ิมต้น ทเี่ สน้ ศนู ยส์ ตู รและเสน้ กรดิ โซนของ ยู ที เอม็ ทม่ี หี มายเลขกำ� กบั เปน็ เลขคู่ จะมลี ำ� ดบั ตวั อกั ษร ของตวั อกั ษรประจำ� เสน้ ขดี ขวาง 100,000 เมตร กำ� กบั อยดู่ ว้ ย โดยเรม่ิ ตน้ ทเี่ สน้ กรดิ เหนอื เทจ็ 500,000 เมตร ใต้เส้นศูนย์สูตรอกั ษรประจ�ำจตั รุ สั 100,000 เมตร ต่าง ๆ จะประกอบด้วย ตวั อกั ษรสองตวั ตวั อกั ษรตวั แรกไดม้ าโดยการอา่ นไปทางขวา และตวั อกั ษรตวั ทส่ี องไดม้ า โดยการอ่านข้ึนข้างบน (รูปท่ี 9) ส�ำหรับแผนท่ีต่าง ๆ ท่ีอยู่ในระหว่างกริดโซนสองเขต จะมีค�ำอธิบายในเรื่องกริดโซน พิมพ์ไว้อยู่ทั้งสองข้างของเส้นกริดโซนนั้นด้วย (รูปที่ 10) เม่ือพ้ืนท่ีของแผนท่ีครอบคลุมจัตุรัส 100,000 เมตร ไว้มากกว่าหนึ่งจัตุรัส ตามปกติแล้ว จะพิมพ์ตัวที่อักษรเป็นอักษรประจ�ำของแต่ละจัตุรัสไว้บนแผนท่ีตรงทุก ๆ มุมของแต่ละ จัตรุ ัส 100,000 เมตร (รูปท่ี 11)

ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 79 รปู ท่ี 9 อกั ษรประจำ� จัตรุ ัส 100,000 เมตร ส�ำหรบั ระบบการกำ� หนดคา่ ของกรดิ ทางทหาร

80 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ รปู ที่ 10 การแยกเสน้ กริดโซนหลกั สองเส้นดว้ ยเส้นกรดิ โซนรว่ ม ตามที่แสดงไวบ้ นแผนทม่ี าตราส่วนใหญ่

รปู ท่ี 11 การกำ� หนดอกั ษรประจำ� จตั ุรัส 100,000 เมตร ไวบ้ นแผนท่ี ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 81 ค. การกำ� หนดค่าของกรดิ ทางการทหาร การกำ� หนดค่าของกรดิ ทางการทหาร ย่อมประกอบด้วยตัวอกั ษรและตัวเลขหมู่หนง่ึ ซ่งึ จะแสดงให้ทราบเกี่ยวกบั (1) เลขอักษร ประจำ� กรดิ โซน (2) อักษรประจ�ำจตั ุรัส 100,000 เมตร และ (3) พิกัดกริดของตำ� บลต่าง ๆ อย่างถกู ต้องแน่นอนตามความต้องการ ตารางก�ำหนดค่าของกริด (รูปที่ 12) จะมีปรากฏ อยู่ในรายละเอียดขอบระวางของแผนท่ีแต่ละฉบับ ตารางน้ีจะมีคำ� แนะน�ำในเรื่องการใช้ เส้นกริดและระบบกริดทางทหารไว้เป็นข้ัน ๆ ตารางก�ำหนดค่าของกริดจะแบ่งออกเป็น สองสว่ น สว่ นทางซา้ ยจะแสดงใหท้ ราบถงึ เลขอกั ษรประจ�ำกรดิ โซน และจตั รุ สั 100,000 เมตร เส้นกริดท่ีแบ่งแยกจัตุรัสจะต้องแสดงไว้เป็นแผนผังและให้ค่าของเส้นกริดต่าง ๆ เหล่าน้ี ไวด้ ว้ ย สำ� หรบั สว่ นทางขวาของตารางกำ� หนดคา่ ของกรดิ จะอธบิ ายใหท้ ราบวา่ จะใชเ้ สน้ กรดิ นัน้ ได้อย่างไรโดยใช้จดุ จดุ หน่งึ บนแผนท่นี นั้ เป็นตวั อย่าง

82 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ ตัวอยา่ งเกีย่ วกับการก�ำหนดค่าของกริดทางทหาร เชน่ 15 S จะตงั้ อยู่ภายในพ้นื ที่ 6 องศา x 8 องศา (เลขอักษรประจ�ำกริดโซน) 15 SUP จะตัง้ อยู่ภายในจตั รุ ัส 100,000 เมตร 15 SUP 46 จะตง้ั อยู่ภายในจตั ุรสั 10,000 เมตร 15 SUP 4062 จะต้งั อยู่ภายในจตั ุรัส 1,000 เมตร 15 SUP 403622 จะต้งั อยู่ภายในจตั รุ ัส 100 เมตร รปู ท่ี 12 เลขอกั ษรประจ�ำกริด

รปู ที่ 13 อักษรประจำ� กริดโซนของระบบกรดิ ยู พี เอส ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 83

84 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ บทท่ี ทศิ ทางและมุมภาคทศิ เหนือ 1. ทิศทาง คือ แนวเส้นตรงที่ต้องการพิจารณาแนวใดแนวหน่ึงบนแผนท่ี หรือ ในภูมิประเทศ ทศิ ทางแสดงด้วยมมุ ภาคทิศเหนอื 2. มุมภาคทิศเหนอื คือ มุมทางระดับวัดตามเข็มนาฬิกาจากทิศทางหลักไปยังแนวพิจารณา หรือไปยังท่หี มาย 3. ทศิ ทางหลกั คือ ทศิ ทางทใ่ี ช้เป็นแนวเร่มิ ต้นในการวัดหรอื แนวศูนย์ มี 3 ชนดิ 3.1 ทศิ เหนอื จรงิ แสดงด้วยรูปดาว () 3.2 ทิศเหนอื กริด แสดงด้วยอักษร (GN) 3.3 ทศิ เหนอื แม่เหลก็ แสดงด้วยหวั ลกู ศรผ่าซีก ( หรอื ) 4. ทิศทางมุม ทศิ ทางจะเรมิ่ ทจี่ ดุ ศนู ยก์ ลางของวงกลม ซงึ่ เรยี กวา่ วงกลมมมุ ภาคทศิ เหนอื วงกลมนแี้ บง่ ออกเปน็ 360 หนว่ ย เรยี กว่า องศา เลของศาจะกำ� หนดตามเขม็ นาฬิกา 0 ํ อยู่ที่ทศิ เหนอื , 90 ํ ทิศตะวนั ออก, 180 ํ ทศิ ใต้, 270 ํ ทศิ ตะวันตก และ 360 ํ หรอื 0 ํ อยู่ที่ทิศเหนอื

5. ระยะทางจะไมท่ ำ� ใหค้ ่าของมุมภาคทศิ เหนือแตกตา่ งกัน ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 85 6. มุมภาคทศิ เหนอื กลบั คือ มุมภาคทิศเหนือท่ีวัดตรงข้ามกับมุมภาคทิศเหนือของแนวใดแนวหน่ึง หรือเป็นมุมที่วัดจากจุดปลายทางมายังจุดเริ่มต้นนั่นเอง ค่าของมุมภาคทิศเหนือกลับ จะแตกต่างกบั มุมภาคทศิ เหนอื อยู่ 180 องศา เสมอ การคิดค่าของมุมภาคทิศเหนือกลับ มหี ลักเกณฑ์ดงั น้ี 13.6.1 ถ้ามมุ ภาคทศิ เหนอื มากกว่า 180 องศา เอา 180 ลบ 13.6.2 ถ้ามมุ ภาคทศิ เหนอื น้อยกว่า 180 องศา เอา 180 บวก 13.6.3 ถ้ามมุ ภาคทิศเหนอื 180 องศา เอา 180 บวก หรือ ลบ 7. การวัดมมุ ภาคทิศเหนอื บนแผนท่ี 7.1 การวดั มมุ ภาคทศิ เหนอื บนแผนทอ่ี าจวดั ดว้ ยเครอ่ื งมอื P-67 หรอื เครอื่ งมอื อย่างหนง่ึ อย่างใดทมี่ ลี กั ษณะการใช้ท�ำนองเดยี วกนั น้ี 7.2 ถา้ จะใช้ P-67 วดั มมุ ภาคทศิ เหนอื บนแผนทข่ี น้ั ตน้ ใหใ้ ชด้ นิ สอดำ� ขดี เสน้ ตรง เชอ่ื มโยงระหวา่ งจดุ เรม่ิ ตน้ และจดุ ปลายทางบนแผนทที่ ต่ี อ้ งการ แลว้ ใชจ้ ดุ หลกั (INDEX POINT) ท่มี ลี กั ษณะเป็นหวั ลูกศร (ปลายหัวลูกศรอยู่ตรงจดุ ศูนย์กลางของวงกลมที่เจาะเป็นรูเล็กๆ) ทับตรงจดุ หรือตำ� บลเรมิ่ ต้น แล้วจดั แนวขนานเส้นกรดิ ของ P-67 ให้ขนานกับเส้นกรดิ ต้งั บน แผนที่ โดยหนั โคง้ วงกลมไปทางตำ� บลปลายทาง จดุ ทเี่ สน้ ตรงตดั กบั โคง้ วงกลม คอื คา่ มมุ ภาค ทศิ เหนอื ทวี่ ดั จากจดุ เรม่ิ ตน้ ไปยงั จดุ ปลายทางทต่ี อ้ งการ โดยถอื หลกั วา่ ถา้ หนั โคง้ วงกลมไป ทางขวามอื จะต้องอ่านเลของศาแถวใน (0 - 180 องศา) แต่ถ้าหนั โค้งวงกลมไปทางซ้ายมอื จะต้องอ่านเลของศาแถวนอก (180 - 360 องศา) (รูปท่ี 1) 7.3 แนวขนานเส้นกรดิ ทีม่ อี ยู่ถงึ 10 เส้น และเรียงเกอื บชิดกนั บน P-67 นี้ ช่วย ในการจัดภาพขนานได้รวดเร็วมาก ท้ังนี้เพราะเส้นหน่ึงเส้นใดใน 10 เส้นนี้ อาจจะเฉียด หรืออาจจะทาบทบั ไปกับเส้นกรดิ ตงั้ บนแผนที่ เลของศาใน 1 รอบวงกลม (0 - 360 องศา) ซง่ึ น�ำมาจัดทำ� เป็นภาพครง่ึ วงกลมแบบ P-67 นีช้ ่วยให้สามารถหามุมภาคทิศเหนือได้ทนั ที โดยตวั เลขแถวในและแถวนอกจะเป็นมมุ ภาคทิศเหนือกลบั กันอยู่ในตวั เช่น วัดมุมภาคได้ 270 องศา (แถวนอก) มมุ ภาคทศิ เหนอื กลบั กค็ อื 90 องศา (แถวใน) เป็นต้น

86 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ รปู ที่ 1 วิธวี ดั มุมภาคทิศเหนอื บนแผนทีด่ ้วยเครื่องวัดมุม P-67 8. มมุ กรดิ แม่เหล็ก (มุม ก - ม) 8.1 การทจี่ ะรแู้ ละเขา้ ใจมมุ กรดิ แมเ่ หลก็ จะตอ้ งรคู้ วามหมายของมมุ ภาคทศิ เหนอื วา่ คอื มมุ ทางระดบั วดั ตามเขม็ นาฬกิ าจากทศิ ทางหลกั ผใู้ ชแ้ ผนทม่ี คี วามเกยี่ วขอ้ งกบั ทศิ ทาง ใช้หลักอยู่ 2 ชนิด คือ ทิศเหนือกริด (วัดจากแผนท่ีด้วยเคร่ืองมือวัดมุม) และทิศเหนือ แม่เหล็ก (วดั ในภูมปิ ระเทศด้วยเขม็ ทิศ) 8.1.1 มุมภาคทิศเหนือกริด คือ มุมทางระดับวัดตามเข็มนาฬิกาจาก แนวทิศเหนอื กริด 8.1.2 มมุ ภาคทศิ เหนอื แม่เหลก็ คอื มมุ ทางระดบั วดั ตามเขม็ นาฬิกาจาก แนวทิศเหนอื แม่เหล็ก 8.1.3 มุม ก - ม คอื ความแตกต่างทางมมุ ระหว่างทศิ เหนือกรดิ กบั มุม ภาคทิศเหนอื แม่เหล็ก

8.2 การใช้มุมภาคทิศเหนือกริดในสนามจะต้องเปลี่ยนเป็นมุมภาคทิศเหนือ แม่เหล็กก่อน 8.3 การใช้มุมภาคทิศเหนือแม่เหล็กบนแผนที่จะต้องเปลี่ยนเป็นมุมภาค ทิศเหนอื กรดิ เสยี ก่อน 8.4 การเปลย่ี นค่าของมมุ เป็นอย่างหนงึ่ อย่างใดนจ้ี ะต้องใช้มุม ก - ม 8.5 การสร้างภาพมมุ ก - ม 8.5.1 แผนท่ีบางระวางจะมีรายการเปลี่ยนแปลงประจ�ำปีของแม่เหล็ก เขยี นไว้ใต้เดคลเิ นช่นั ซ่งึ แผนทีจ่ ะต้องเปล่ียนแปลงผงั เดคลิเนชน่ั ให้ทันสมัยอยู่เสมอ 8.5.2 การคำ� นวณคา่ ของมมุ ก - ม ใหค้ ดิ ใกลเ้ คยี ง ½ องศา โดยถอื หลกั ดงั นี้ 1 ถึง 14 ลิปดา =กา0รเอรยีงศกาช,ื่อ1ม5มุ ต- า44มผลังปิ เดดคาล=ิเน½ ช12่ัน องศา และ 45 - 60 ลิปดา = 1 องศา 8.6 มุมเยื้องแม่เหลก็ 5 ํ ตะวันตก ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 87 มุมกรดิ แม่เหลก็ 3 ํ ตะวันตก มุมเย้อื งกรดิ 2 ํ ตะวนั ตก (5 - 3) มุมภาคทิศเหนอื กริด 225 ํ มุมภาคทศิ เหนือจรงิ 223 ํ (255 ํ- 2 ํ) มุมภาคทศิ เหนอื แม่เหลก็ 228 ํ (255 ํ+ 3 ํ) รูปท่ี 2 การเรยี กชื่อมมุ ตา่ งๆ ตามผังเดคลิเนชัน่ 8.7 การแปลงค่าของมุมภาคทิศเหนอื กริดเป็นมุมภาคทิศเหนือแม่เหล็ก หรือ การแปลงค่ามมุ ภาคทิศเหนอื แม่เหล็กเป็นมมุ ภาคทศิ เหนือกรดิ ให้ปฏบิ ัตดิ งั น้ี 8.7.1 เม่อื มมุ ก - ม มคี ่าเป็นตะวนั ออก

วดั มุมภาคทิศเหนอื กรดิ ก - ข ได้ = 270 ํ วดั มมุ ภาคทศิ เหนอื แมเ่ หลก็ ก - ข ได้ = 265 ํ (270 ํ - 5 ํ) 88 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ วัดมมุ ภาคทิศเหนอื แม่เหลก็ ก - ข ได้ = 265 ํ วัดมุมภาคทศิ เหนอื กรดิ ก - ข ได้ = 270 ํ (265 ํ + 5  )ํ รูปที่ 3 การแปลงคา่ มุม ก - ม ทมี่ ีค่าเป็นตะวันออก เปน็ มุมภาคทศิ เหนือกรดิ

8.7.2 เมือ่ มุม ก - ม มคี ่าเป็นตะวนั ตก วัดมมุ ภาคทิศเหนือกรดิ ก - ข ได้ = 90  ํ วดั มุมภาคทิศเหนอื แม่เหลก็ ก - ข ได้ = 95 ํ (90  ํ + 5  )ํ วดั มมุ ภาคทิศเหนือแม่เหลก็ ก - ข ได้ = 95 ํ ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 89 วัดมมุ ภาคทศิ เหนอื กรดิ ก - ข ได้ = 90 ํ (95 ํ - 5 ํ) รปู ท่ี 4 การแปลงค่ามุม ก - ข ท่ีมคี ่าเปน็ ตะวันตก เปน็ มมุ ภาคทิศเหนือกริด หมายเหตุ : การแปลงคา่ มมุ ตามขอ้ 8.7 จะเหน็ วา่ ตอ้ งเอามมุ ก - ม มาเกยี่ วขอ้ งทง้ั + (บวก) และ – (ลบ) ยุ่งยากและสบั สนในการจดจ�ำ จึงใคร่แนะน�ำวธิ จี ดจ�ำท่ีดีท่สี ดุ คอื การเขยี น ภาพประกอบการพจิ ารณาแล้วท�ำความเข้าใจ

บทที่ เข็มทศิ เลนเซติกและการใช้ 1. ลกั ษณะของเขม็ ทิศเลนเซติก (รปู ท่ี 1) 90 วชิ าการอา่ นแผนท่ีและการใช้เขม็ ทศิ ฝาตลับเขม็ ทศิ เส้นเลง็ จดุ เล็งพรายนำ�้ ก้านเล็ง เรือนเข็มทศิ ครอบหน้าปดั เขม็ ทศิ บากเล็ง หนา้ ปดั เขม็ ทศิ แวน่ ขยาย หว่ งมอื ถือ รูปที่ 1 เขม็ ทศิ เลนเซติก 1.1 เขม็ ทศิ เลนเซตกิ เป็นเขม็ ทศิ ทที่ ำ� ขนึ้ ให้สามารถปิด-เปิดได้ เพอื่ ป้องกนั การช�ำรดุ และเสียหายทข่ี อบด้านข้างมีมาตราส่วนบรรทัดขนาดมาตราส่วน 1 : 25,000 หรอื 1 : 50,000 สำ� หรบั วดั ระยะจรงิ บนแผนที่ เขม็ ทศิ แบบนส้ี ามารถอา่ นไดถ้ กู ตอ้ งใกลเ้ คยี ง 2 องศา 1.2 ส่วนประกอบของเขม็ ทศิ แบบเลนเซติกทสี่ ำ� คญั มี 3 ส่วน 1.2.1 ฝาตลบั เข็มทิศ 1.2.2 เรือนเขม็ ทศิ 1.2.3 ก้านเลง็

1.3 ฝาตลบั เขม็ ทศิ ส่วนประกอบส่วนนที้ ำ� หน้าท่ีเสมอื นเป็นศนู ย์หน้า ซงึ่ มที ง้ั ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 91 เส้นเลง็ และจดุ พรายน้�ำเพอ่ื สามารถใช้ได้ทง้ั กลางวนั และกลางคืน 1.4 เรอื นเขม็ ทศิ ประกอบด้วย 1.4.1 ครอบหน้าปัดเข็มทิศ หมายถึง ส่วนบนทั้งหมดท่ีเรือนเข็มทิศ ซ่ึงประกอบด้วยวงแหวนมีลักษณะเป็นร่องหมุนไปมาได้ เมื่อวงแหวนหมุนไป 1 คลิก มมุ ภาคทศิ เหนอื จะเปลยี่ นไป 3 องศา นอกจากนย้ี งั มกี ระจกตดิ อยกู่ บั วงแหวน ทก่ี ระจกมขี ดี พรายนำ�้ ยาวและขดี พรายนำ�้ สน้ั จดุ (45) เพอื่ ใชใ้ นการตง้ั เขม็ ทศิ เพอื่ เดนิ ทางในเวลากลางคนื 1.4.2 กระจกหน้าปัดเข็มทิศมีเส้นขีดด�ำหรือดัชนีชี้มุมภาคทิศเหนือและ จุดพรายนำ้� 3 จุด (90, 180 และ 270) การอ่านค่ามุมภาคทิศเหนือจะต้องอ่านเลขที่ตรงกบั ดชั นีสดี �ำเสมอ สำ� หรบั จุดพรายนำ้� 3 จดุ จะช่วยให้นบั คลิกน้อยลง 1.4.3 หน้าปัดเข็มทิศเป็นแผ่นใสลอยตัวอยู่บนแกน และจะหมุนไปมาได้ เมอ่ื จบั เขม็ ทศิ ใหไ้ ดร้ ะดบั ทหี่ นา้ ปดั มลี กู ศรพรายนำ�้ ชท้ี ศิ เหนอื อกั ษร E, S และ W นอกจากนี้ ยังมีมาตราวดั มุมภาคทศิ เหนอื 2 ชนิด รอบนอกเป็นมลิ เลียมเรม่ิ ต้งั แต่ 0 - 6,400 มิลเลียม รอบในเป็นองศาเรม่ิ ตง้ั แต่ 0 - 360 องศา 1.4.4 พรายน้�ำเรือนเข็มทิศ เพื่อช่วยให้เกิดความสว่างข้ึนภายในเรือน เข็มทศิ 1.4.5 กระเดอื่ งบงั คบั หนา้ ปดั เขม็ ทศิ เปน็ กระเดอ่ื งทใี่ ชเ้ พอื่ ปลดใหห้ นา้ ปดั ลอยตัวหรอื บงั คบั ไม่ให้เคลื่อนไหวเมอ่ื มกี ารยกหรอื กดก้านเลง็ 1.5 ก้านเล็ง ท�ำหน้าที่เป็นเสมือนศูนย์หลังของเข็มทิศมีช่องเล็งไปยังท่ีหมาย และมีแว่นขยายไว้สำ� หรบั อ่านมาตรามมุ ภาคทศิ เหนือทห่ี น้าปัดเข็มทศิ 1.6 นอกจากส่วนประกอบดังกล่าวแล้ว ยังมีบากเล็งหน้า บากเล็งหลัง เพ่ือใช้ในการวัดมุมภาคทิศเหนือแม่เหล็กบนแผนท่ี และมีห่วงถือเพื่อสะดวกในการจับถือ อีกด้วย (แต่โดยปกติแล้ว เรามักใช้ขอบด้านตรงของเข็มทิศวัดมุมภาคทิศเหนือบนแผนที่ ท้ังนเี้ พราะสะดวกและรวดเรว็ กว่า)

92 วชิ าการอา่ นแผนท่ีและการใช้เขม็ ทศิ 2. การจบั เข็มทิศและการวดั มุมภาคทศิ เหนอื 2.1 จบั เพือ่ ยกข้นึ เล็งเป็นวธิ ีท่ีใช้กนั อยู่โดยท่วั ไปนานมาแล้ว (รูปท่ี 2) รูปที่ 2 การจับเข็มทิศเพอื่ ยกขนึ้ เลง็ 2.1.1 จับเข็มทิศด้วยมือที่ถนัด โดยเอาหัวแม่มือสอดเข้าไปในห่วงถือ น้วิ ช้รี ดั อ้อมไปตามขอบข้างล่างของเรอื นเขม็ ทศิ นว้ิ ท่ีเหลอื รองรบั อยู่ข้างล่าง 2.1.2 เปิดฝาตลบั เขม็ ทิศ ยกขึ้นให้ตัง้ ฉากกับเรือนเขม็ ทิศ และยกก้านเลง็ ให้สงู ข้นึ ทำ� มมุ ประมาณ 45 องศา 2.1.3 จบั เขม็ ทิศให้ได้ระดบั เสมอ เพ่อื ให้หน้าปัดลอยตวั เป็นอิสระ 2.1.4 การวดั มุมภาคทศิ เหนือ 2.1.4.1 ยกเขม็ ทศิ ใหอ้ ยใู่ นระดบั สายตาและเลง็ ผา่ นชอ่ งเลง็ ตรงไปยงั เส้นเลง็ และท่หี มาย 2.1.4.2 ในขณะนี้ให้เหลือบสายตาลงมาท่ีแว่นขยาย และอ่านค่า มุมภาคทศิ เหนอื ที่อยู่ใต้เส้นดชั นีสีดำ� ของกระจกหน้าปัดเข็มทศิ

รปู ที่ 3 การจับเข็มทิศโดยไม่ต้องยกขึน้ เล็ง (เล็งเร่งด่วน) ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 93 2.2 จับโดยไม่ต้องยกขึ้นเล็ง เป็นการใช้เทคนิคการจับให้เข็มทิศอยู่กึ่งกลาง ของลำ� ตวั + (รปู ท่ี 3) 2.2.1 เปิดฝาตลับเล็งเข็มทิศจนเป็นแนวเส้นตรงกับฐาน และยกก้านเล็ง ข้นึ จนสดุ 2.2.2 สอดหวั แมม่ อื ขา้ งหลงั เขา้ ไปในหว่ งถอื นว้ิ ชท้ี าบไปตามขอบดา้ นขา้ ง ของเขม็ ทศิ และน้ิวทเ่ี หลอื รองรับอยู่ข้างล่างให้มน่ั คง 2.2.3 เอาหวั แม่มืออีกข้างหน่งึ วางลงระหว่างก้านเล็งกับเรือนเขม็ ทิศ และ ใช้นิ้วช้ีทาบไปตามด้านข้างของเข็มทิศอีกข้างหนึ่ง น้ิวที่เหลือรัดพับบนนิ้วมือของอีกข้าง หน่ึงเพ่อื ให้แน่นมากยง่ิ ขน้ึ 2.2.4 การจับโดยวิธีนี้จะต้องให้ข้อศอกท้ังสองข้างแนบแน่นกับล�ำตัว และให้เขม็ ทศิ อยู่ระหว่างคางกบั เขม็ ขดั 2.2.5 การวดั มมุ ภาคทศิ เหนอื 2.2.5.1 หมุนตัวให้ไปอยู่ในแนวของที่หมายและให้ฝาตลับเข็มทิศ พุ่งตรงไปยงั ทห่ี มาย 2.2.5.2 ในขณะที่อยู่ตรงแนวท่ีหมาย ก้มศีรษะลงอ่านมุมภาค ทิศเหนอื ท่ีอยู่ใต้ดัชนีสีดำ�

94 วชิ าการอา่ นแผนท่ีและการใช้เขม็ ทศิ 2.3 จากประสบการณ์การใช้เทคนิคการจับเข็มทิศให้อยู่ก่ึงกลางของล�ำตัว โดยวธิ นี มี้ คี วามถกู ตอ้ งเชน่ เดยี วกบั การจบั เขม็ ทศิ ยกขนึ้ เลง็ และยง่ิ ไปกวา่ นนั้ การจบั เขม็ ทศิ กงึ่ กลางลำ� ตวั ยงั ดีกว่าการจบั เข็มทศิ ยกข้ึนเลง็ อกี หลายประการดังต่อไปน้ี 2.3.1 ใช้ได้รวดเรว็ กว่า 2.3.2 ใช้ได้ง่ายกว่าเพราะลดขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิลงมาก 2.3.3 สามารถใช้ได้ทกุ สภาพการมองเหน็ 2.3.4 สามารถใช้ได้ในภมู ปิ ระเทศทกุ ชนดิ 2.3.5 สามารถใช้ได้โดยไม่ต้องน�ำเอาอาวุธออกจากตัว แต่ต้องสะพายไว้ ขา้ งหลงั 2.3.6 สามารถใช้ได้โดยไม่ต้องถอดหมวกเหล็กออก 3. การเดนิ ทางตามมุมภาคทิศเหนือท่กี �ำ หนด 3.1 จับเขม็ ทิศหนั หน้าไปให้มมุ ภาคทศิ เหนอื ท่กี �ำหนดอยู่ใต้ดชั นสี ีดำ� 3.2 หาท่หี มายทต่ี รงกบั เส้นเล็งตามแนวมมุ ภาคทศิ เหนอื น้ี 3.3 เดนิ ทางไปยงั ต�ำบลท่หี มายที่เลอื กไว้และท�ำเช่นนตี้ ลอดไป 4. การตัง้ เขม็ ทศิ เพอ่ื ใชง้ านในเวลากลางคืน 4.1 เมือ่ มแี สงสว่าง 4.1.1 จบั เขม็ ทิศหันไปจนดชั นสี ดี ำ� ชี้ตรงมุมภาคทศิ เหนอื ทีต่ ้องการ 4.1.2 หมุนครอบหน้าปัดเข็มทิศให้ขีดพรายน�้ำยาวทับหัวลูกศรและรักษา ไว้เช่นน้ี 4.1.3 ทิศทางตามแนวเส้นเลง็ ขณะนีจ้ ะเป็นทิศทางท่ตี ้องการ 4.2 เมือ่ ไม่มแี สงสว่าง 4.2.1 ตงั้ เขม็ ทิศปกติ (ดชั นสี ดี ำ� , หวั ลูกศร, ขดี พรายน�ำ้ ยาวตรงกัน) 4.2.2 หมนุ ครอบหน้าปัดเขม็ ทศิ ทวนเข็มนาฬิกาตามจ�ำนวนคลิกทไี่ ด้ 4.2.3 ทิศทางตามแนวเส้นเล็งขณะที่ขีดพรายน้�ำยาวทับหัวลูกศรจะเป็น ทิศทางท่ตี ้องการ

5. การเดนิ ทางออ้ มเคร่ืองกดี ขวางหรือข้าศกึ (รูปท่ี 4) ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 95 5.1 ในเวลากลางวนั 5.1.1 ให้ถือหลักว่าหักออกจากแนวเดิมเป็นมุมฉากด้วยระยะหน่ึงท่ี เหมาะสม 5.1.2 เดินหกั ออกทางขวาให้บวกด้วยมมุ 90 องศา 5.1.3 เดนิ หกั ออกทางซ้ายให้ลบด้วยมมุ 90 องศา 5.1.4 ถ้าบวกด้วย 90 องศา มมุ เกนิ 360 องศา ให้เอา 360 ลบออก 5.1.5 ถ้าบวกด้วย 90 องศา มมุ ท่มี ีค่าติดลบให้เอาเฉพาะค่าตวั เลขไปลบ ออกจาก 360 องศา 5.2 ในเวลากลางคนื รปู ที่ 4 การเดินอ้อมเคร่อื งกีดขวาง 5.2.1 ใช้หลักการเดินหักออกจากแนวเดิมเป็นมุมฉากเช่นเดียวกันกับ เวลากลางวนั 5.2.2 เดินหักออกทางขวา หันตัวไปทางขวาจนขีดพรายน้�ำยาวตรงจุด กึ่งกลางของตวั อกั ษร E 5.2.3 เดินหักออกทางซ้าย หันตัวไปทางซ้ายจนขีดพรายน�้ำยาวตรงจุด กง่ึ กลางของตวั อักษร W 5.2.4 ข้อควรจำ� การเดนิ หกั เป็นมุมฉากไม่ต้องใช้คลิกเลย

96 วชิ าการอา่ นแผนท่ีและการใช้เขม็ ทศิ 6. การใช้เข็มทศิ วดั มมุ ภาคทิศเหนอื บนแผนที่ (รปู ท่ี 5) รปู ที่ 5 การใชเ้ ขม็ ทิศวัดมมุ ภาคทศิ เหนอื บนแผนที่ 6.1 วางแผนทใ่ี ห้ถูกทศิ (มมุ ก - ม = 0) 6.1.1 เปิดฝาตลบั เข็มทศิ และก้านเล็งออกจนสดุ 6.1.2 ใช้มาตราส่วนเส้นบรรทัดของเข็มทิศ (ขอบด้านตรง) ทาบไปกับ เส้นกรดิ ตง้ั โดยหนั ฝาตลับไปทางหวั แผนท่ี 6.1.3 จบั แผนทห่ี มนุ จนกงึ่ กลางหวั ลกู ศรทหี่ นา้ ปดั เขม็ ทศิ มาอยใู่ ตเ้ สน้ ดชั นี สดี ำ� 6.2 ยกเขม็ ทิศออกโดยแผนทไ่ี ม่ขยบั เขยือ้ น 6.3 ใช้ขอบด้านตรงของเข็มทิศทาบระหว่างต�ำบลท้ังสอง โดยให้ขอบด้าน ตัวเรือนเขม็ ทศิ ทับต�ำบลต้นทาง และขอบฝาตลบั เข็มทิศทบั ต�ำบลปลายทาง 6.4 อ่านมาตรามมุ ภาคทศิ เหนือตรงใต้เส้นดชั นีสดี ำ�

7. ขอ้ ระวังในการใช้และเกบ็ รักษา 7.1 เมือ่ ไม่ใช้ต้องปิดฝาและใส่ไว้ในซอง 55 เมตร 7.2 การใช้ต้องห่างจากโลหะและสายไฟแรงสงู ดงั น้ี 18 เมตร 7.2.1 สายไฟแรงสูง 10 เมตร 7.2.2 ปืนใหญ่สนาม, รถยนต์, รถถงั 2 เมตร 7.2.3 สายโทรศพั ท์, สายโทรเลข และลวดหนาม 0.5 เมตร 7.2.4 ปืนกล 7.2.5 หมวกเหลก็ หรือปืนเลก็ 8. การกะระยะทางในสนาม ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 97 8.1 วิธใี ช้โดยทั่วไป ได้แก่ การนบั ก้าวจากตำ� บลหนงึ่ ไปยงั อกี ตำ� บลหนึ่ง 8.2 เปลี่ยนระยะทางจากการนบั ก้าวเป็นระยะแผนที่ 8.3 ผู้นบั ก้าวจะต้องตรวจสอบจากก้าวของตนกับระยะทท่ี ราบแล้ว 8.4 พึงระลึกเสมอว่าการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิประเทศ ลมฟ้าอากาศ และอาวธุ ยุทโธปกรณ์ จะมีผลกระทบกระเทอื นเก่ยี วกับระยะของก้าวเป็นอย่างยิง่ 8.5 ปัจจยั ท่ีมีผลกระทบกระเทอื นต่อระยะก้าวทว่ั ไป ได้แก่ 8.5.1 ลาด เดนิ ลงลาดก้าวจะยาว และเดินขึ้นลาดก้าวจะสนั้ 8.5.2 ลม เดนิ ทวนลมก้าวจะสน้ั เดนิ ตามลมก้าวจะยาว 8.5.3 ผวิ พ้นื ทราย กรวด โคลน และผิวพ้ืนในลกั ษณะเดียวกนั นจี้ ะทำ� ให้ ก้าวสน้ั 8.5.4 สภาพอากาศ หมิ ะ ฝน นำ้� แขง็ จะทำ� ให้ก้าวส้นั ลง 8.5.5 เครื่องนุ่งห่ม น้�ำหนกั ของเส้อื ผ้าทม่ี ากไปจะทำ� ให้ก้าวสัน้ 8.5.6 ความอดทน ความเหน็ดเหนื่อย ย่อมเป็นผลกระทบกระเทือน ในการก้าว

98 วชิ าการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ บทที่ การก�ำหนดจดุ ท่ีอยู่ 1. การกำ�หนดจุดที่อยู่ของตนลงบนแผนที่  โดยใช้เข็มทิศและ เครือ่ งมอื วดั มมุ 1.1 การเล็งสกัดกลับ คือ วิธีการก�ำหนดจุดที่อยู่ของตนเองลงบนแผนท่ี โดยวัดมุมภาคทิศเหนือจากต�ำบลท่ียืนอยู่ในภูมิประเทศไปยังต�ำบลเด่นอีก 2 ต�ำบล ในภมู ปิ ระเทศซ่งึ ปรากฏอยู่บนแผนท่ี วธิ ปี ฏบิ ัตดิ งั นี้ (รปู ท่ี 1) รูปท่ี 1 การเลง็ สกดั กลบั

1.1.1 วดั มุมภาคทศิ เหนอื จากจดุ ทยี่ นื ไปยงั ตำ� บลทัง้ สอง ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 99 1.1.2 เปลีย่ นค่าของมมุ ทว่ี ัดได้เป็นมุมภาคทิศเหนอื กลบั 1.1.3 ขีดแนวมมุ ภาคทิศเหนอื กลบั จากจดุ ทั้งสองบนแผนท่ี 1.1.4 จุดท่ีแนวมุมภาคทิศเหนือทั้งสองตัดกัน คือ จุดท่ีอยู่ของตนเอง บนแผนท่ี 1.2 การเลง็ สกดั ประกอบแนว วธิ นี เ้ี ปน็ การหาจดุ ทอ่ี ยขู่ องตนเองทส่ี ะดวกและ รวดเรว็ แตจ่ ำ� กดั ดว้ ยภมู ปิ ระเทศทย่ี นื อยจู่ ะตอ้ งเปน็ ถนน เสน้ ทาง ลำ� นำ�้ หรอื ลำ� ธารทป่ี รากฏ บนแผนท่ี มวี ิธีปฏบิ ตั ิดงั น้ี (รปู ท่ี 2) รปู ท่ี 2 การเล็งสกัดกลับประกอบแนว

100 วิชาการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ 1.2.1 วางแผนท่ใี ห้ถูกทิศ 1.2.2 เลือกต�ำบลเด่นในภมู ปิ ระเทศ 1 ต�ำบล ซงึ่ มอี ยู่บนแผนที่ 1.2.3 วดั มมุ ภาคทศิ เหนือจากจดุ ท่ียืนไปยังตำ� บลน้นั 1.2.4 เปลย่ี นค่าของมมุ ทว่ี ดั ได้เป็นมมุ ภาคทศิ เหนือกลับ 1.2.5 ขีดแนวมมุ ภาคทิศเหนอื กลบั จากจดุ ท่เี ลอื กไว้บนแผนท่ี 1.2.6 จดุ ทแ่ี นวมมุ ภาคทศิ เหนอื ตดั กบั เส้นทางเป็นทอ่ี ยู่ของตนเอง 1.3 การเลง็ สกดั กลบั โดยวธิ หี มายต�ำบลระเบดิ (MARKING ROUNDS) บางครงั้ ตอ้ งปฏบิ ตั กิ ารในพนื้ ทมี่ ลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน็ พนื้ ราบหรอื ปา่ สงู ไมส่ ามารถทจี่ ะมองเหน็ ภมู ิประเทศสูงเด่นได้ วิธกี ารกำ� หนดจดุ ท่ีอยู่ของตนเองท่กี ล่าวมาแล้วน�ำมาใช้ไม่ได้ จึงต้อง อาศัยหน่วยทหารปืนใหญ่เป็นผู้ทำ� ต�ำบลเด่นให้ โดยการใช้กระสุนควันฟอสฟอรัสขาวยิง แตกอากาศตามพกิ ดั ท่ขี อยงิ ซึ่งสามารถปฏบิ ัติได้ 2 วธิ ี คอื การยงิ ป.ยิง 2 จดุ และการใช้ ป.ยงิ จดุ เดยี ว 1.3.1 การใช้ ป.ยงิ 2 จุด ปฏิบตั ดิ ังนี้ (รูปที่ 3) 1.3.1.1 ก�ำหนดท่อี ยู่ของตนเองลงบนแผนท่ีโดยประมาณ รูปท่ี 3 การเลง็ สกัดกลบั โดยใช้ ป.ยิง 2 จุด

1.3.1.2 เลือกจุดขอยิงเป็นพิกัด (ตรงจุดตัดของเส้นกริด) 2 จุด ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 101 หา่ งจากตวั เราประมาณ 2 กม. หรอื มากกวา่ และจดุ ทงั้ สองนคี้ วรหา่ งกนั ประมาณ 3 - 4 กม. 1.3.1.3 ขอยงิ กระสนุ ควนั ทลี ะจดุ แลว้ ใชเ้ ขม็ ทศิ วดั มมุ ไปยงั จดุ ทงั้ สอง 1.3.1.4 แปลงมุมที่วดั ได้เป็นมมุ ภาคทศิ เหนอื กลบั 1.3.1.5 ขีดแนวมมุ ภาคทิศเหนอื กลับจากจุดทง้ั สองบนแผนท่ี 1.3.1.6 จดุ ทเ่ี สน้ ตรงสองเสน้ ตดั กนั คอื จดุ ทอี่ ยขู่ องตนเองบนแผนท่ี 1.3.2 การใช้ ป.ยงิ จดุ เดยี ว ปฏิบตั ดิ ังนี้ (รปู ท่ี 4) 1.3.2.1 เลือกจุดขอยิงเป็นพิกัด (ตรงจุดตัดของเส้นกริด) 1 จุด ห่างจากตวั เราประมาณ 2 กม. หรอื มากกว่า รูปที่ 4 การเลง็ สกัดกลับโดยใช้ ป.ยงิ จุดเดยี ว 1.3.2.2 ขอยงิ กระสนุ ควันท่จี ดุ น้นั 1.3.2.3 นับเวลาเป็นวินาทีตั้งแต่มองเห็นกระสุนระเบิด และ หยดุ นับเมอ่ื ได้ยนิ เสยี งระเบิด พร้อมทง้ั ใช้เข็มทศิ วัดมมุ ไปยงั ต�ำบลระเบดิ น้นั 1.3.2.4 หาระยะทางจากต�ำบลระเบิดถึงตัวเรา โดยใช้สูตร 350 เมตร x (คูณ) จ�ำนวนวนิ าทีท่นี บั ได้ และแปลงมุมทว่ี ดั ได้เป็นมมุ ภาคทศิ เหนอื กลบั 1.3.2.5 ขีดแนวมุมภาคทิศเหนือกลับ และระยะที่คิดได้ตามข้อ 1.3.2.4 บนแผนท่ี โดยเรม่ิ ต้นจากจดุ ขอยงิ

102 วิชาการอา่ นแผนที่และการใช้เขม็ ทศิ 1.3.2.6 ปลายเส้นทข่ี ดี ขน้ึ ตามข้อ 1.3.2.5 คือ จดุ ท่อี ยู่ของตนเอง บนแผนท่ี หมายเหตุ : วธิ ีใช้ ป.ยิงจดุ เดยี วนี้มคี วามถูกต้องไม่มากนกั ปกติตำ� บลระเบิด จะสงู จากพนื้ ดนิ ประมาณ 200 เมตร เมอ่ื ขอยงิ นดั แรกยงั มองไมเ่ หน็ ตำ� บลระเบดิ อาจขอยงิ ซำ้� หรือขอเลื่อนต�ำบลระเบิดสูงขึ้น แต่การขอเล่ือนต�ำบลระเบิดสูงข้ึนกว่าเดิมมากเท่าไร ความถกู ต้องของท่อี ยู่ยง่ิ ลดน้อยลงเท่าน้นั 2. การกำ�หนดจุดท่ีหมายลงบนแผนที่โดยใช้เข็มทิศและเครื่องมือ  วัดมุม 2.1 วิธีโปล่า เป็นวิธีก�ำหนดจุดที่หมายในภูมิประเทศลงบนแผนท่ี โดยใช้มุม ภาคทศิ เหนอื (ทศิ ทาง) และระยะ (เมตร, หลา) จากจุดเร่มิ ต้น (จุดที่ทราบ) วิธีนี้เหมาะ ส�ำหรบั หน่วยขนาดเลก็ ท่ปี ฏบิ ตั ิการในสนาม มีวิธปี ฏบิ ัตดิ ังนี้ (รูปที่ 5) 2.1.4 วัดระยะตามแนวมมุ ภาคทศิ เหนือเท่ากบั ระยะทกี่ ะได้ 2.1.5 จดุ ปลายของระยะตามแนวมมุ ภาคทศิ เหนอื คอื จุดที่หมาย รูปที่ 5 การกำ� หนดทหี่ มายดว้ ยวิธีโปลา่

2.2 การเลง็ สกดั ตรง คือ วิธีการกำ� หนดจุดท่ีหมายต่างๆ ในภมู ิประเทศลงบน ิวชาการ ่อานแผนท่ีและการใช้เ ็ขมทิศ 103 แผนท่ีโดยวัดมุมภาคทิศเหนือ จากต�ำบล 2 ต�ำบลท่ีทราบแล้ว ท้ังในภูมิประเทศและบน แผนที่ไปยงั จุดทหี่ มายในภมู ปิ ระเทศ มีวธิ ปี ฏิบัตดิ งั น้ี (รปู ท่ี 6) 2.2.1 วางแผนทใ่ี ห้ถกู ทศิ 2.2.2 เลอื กต�ำบลเด่น 2 ต�ำบล ซ่งึ มอี ยู่ท้งั ในภมู ปิ ระเทศและบนแผนท่ี 2.2.3 จากต�ำบลทงั้ สองในภูมปิ ระเทศ วดั มมุ ภาคทศิ เหนือไปยังทห่ี มาย 2.2.4 ขดี แนวมมุ ภาคทิศเหนอื ท้ังสองน้ันบนแผนที่ 2.2.5 จุดท่ีแนวท้งั สองตดั กนั เป็นจุดของทีห่ มาย รปู ที่ 6 การเลง็ สกดั ตรง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook