Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือและแนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอน

คู่มือและแนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอน

Published by puyteachthai04kku, 2021-01-15 08:55:48

Description: คู่มือและแนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย

Search

Read the Text Version

๑ คำนำ คู่มือและแนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โรงเรียน ราชสีมาวิทยาลัย ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) จัดทำขึ้นเพื่อเป็น แนวปฏิบัตขิ องครู บุคลากร นักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของนักเรียน รวมถึงนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 เพื่อให้กระบวนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง เกิดประโยชน์สูงสุดต่อนักเรียน พร้อมสร้างความเข้าใจให้กับนักเรียน ผู้ปกครอง ครแู ละบุคลากรของโรงเรยี นราชสมี าวทิ ยาลยั ทั้งนี้โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการสร้าง ความเข้าใจและถือเป็นแนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) อย่างเป็นระบบและ เกดิ ประสิทธภิ าพในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ให้กบั นกั เรียนทุกคน นายประยงค์ ประทมุ วัน ผู้อำนวยการโรงเรยี นราชสีมาวทิ ยาลัย

๒ สำรบัญ หน้า 3 1. ข้อมลู สถานศึกษา ๔ ๒. รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนของสถานศึกษาในสถานการณ์แพร่ระบาด ๕ ของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ๖ ๓. กระบวนการจัดการเรียนรูแ้ บบออนไลนข์ องครู ๗ ๔. กระบวนการจัดการเรยี นรแู้ บบออนไลน์สำหรบั นักเรยี น ๘ ๕. รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ ๑๑ ๖. บทบาทของฝ่ายบริหาร ๑๒ ๗. บทบาทของครู ๑๓ ๘. บทบาทของนักเรียน ๑๔ ๙. บทบาทของผู้ปกครอง ๑๖ ๑๐. โครงสรา้ งและการนบั เวลาเรียน 1๗ ๑๑. การวัดและประเมินผล 1๙ ๑๒. การตัดสนิ ผลการเรยี น ๒๐ ๑๓. การเปล่ยี นระดบั ผลการเรียน ๒๐ ๑๔. การอนมุ ัติการจบหลักสูตร ๒๑ 1๕. การสอบแก้ตวั เอกสารอา้ งอิง

๓ ขอ้ มูลสถำนศกึ ษำ ชือ่ โรงเรียนราชสมี าวิทยาลยั ท่ตี ้งั 1753 ถนนมติ รภาพ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวดั นครราชสีมา 30000 สงั กดั สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต ๓๑ โทรศพั ท์ 0-4421-4557 โทรสาร 0-4421-4440 Website www.rajsima.ac.th ระดบั ช้ันท่เี ปิดสอน ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถงึ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เนื้อที่ 162 ไร่ 3 งาน 14 ตารางวา เขตพ้นื ทบ่ี รกิ าร ตำบลในเมือง ตำบลโคกกรวด ตำบลบ้านใหม่ ตำบลปรุใหญ่ ตำบลโพธิ์กลาง ตำบลสุรนารี ตำบลหนองกระทุ่ม ตำบลหนองจะบก จำนวนนักเรยี น ตำบลหนองไผ่ลอ้ ม ตำบลหมนื่ ไวย จำนวนครู 4,094 คน (ข้อมูล ณ เดอื นธนั วาคม 2563) จำนวนห้องเรยี น 229 คน 110 ห้อง

๔ รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนของสถานศึกษา ในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ๑ Online Learning การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยครูประจำวิชาดำเนินการจัดการเรียนการสอนแบบ Real time โดยมกี ารโต้ตอบกับนักเรียนในชนั้ เรยี นด้วยโปรแกรม Meet, Zoom, Microsoft Team ประกอบ กับการจดั ทำบทเรยี นเพ่อื ประกอบการเรียนการสอน ผ่านช่องทางการส่อื สารผา่ นสอื่ โซเชยี ลมีเดยี ตา่ งๆ ๒ On-Site การจดั การเรียนการสอนแบบปกติ โดยปฏิบตั ติ ามมาตรการการป้องกัน จดั ให้มกี ารตรวจวัดอุณหภูมิ เจลแอลกอฮอลล์ า้ งมือก่อนเขา้ ห้องเรยี น จัดโตะ๊ เรยี นในหอ้ งเรยี นโดยเวน้ ระยะห่างอย่างน้อย 1-2 เมตร ๓ On Demand ครูใช้การสอนแบบ online สลับกับการสอนแบบ offline ตามธรรมชาติเนื้อหาของสาระวิชา และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ทบทวนเนื้อหาผ่านช่องทางต่างๆ ที่ผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ ตามความต้องการได้ ทกุ ท่ีทกุ เวลา ๔ On hand ครูประจำวิชาจัดทำบทเรียนสำเร็จรูป โดยใช้สื่อออนไลน์ประกอบการเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ แบบทดสอบ เพอื่ ประกอบการเรียนการสอนผ่านช่องทางการติดต่อสื่อสารกับผเู้ รียน เช่น YouTube, Google Classroom, Google Form, Facebook, LINE เปน็ ตน้ ๕ Blended Learning การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน โดยจัดการเรียนรู้ที่ใช้รูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ผสมผสานกับการเรียนรู้นอกห้องเรียนที่ครู และนักเรียนไม่ได้ เผชิญหนา้ กัน หรือการใช้แหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย เช่น การสลับช้ันมาเรยี นของนักเรยี น การแบ่งนักเรียน ออกเปน็ 2 กลุม่ เป็นตน้ หมายเหตุ รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาขึ้นอยูก่ ับสถานการณ์และระดับความ รนุ แรงของการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา่ 2019 ในพน้ื ท่ีและปฏิบัตติ ามคำสัง่ ของต้นสงั กัด

๕ กระบวนกำรจัดกำรเรยี นร้แู บบออนไลนข์ องครู โรงเรียนรำชสมี ำวทิ ยำลยั

๖ กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้แบบออนไลน์สำหรบั นกั เรยี น โรงเรียนรำชสีมำวทิ ยำลยั

๗ รูปแบบกำรจัดกำรเรยี นกำรสอน ออนไลน์ 1 การจัดการเรียนการสอนผ่านช่องทาง ออนไลน์ Google Classroom การจัดการเรียนการสอนผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและ ๒ Application ต่าง ๆ เช่น Google Meet, Zoom, Line, Facebook, OBS, Website เปน็ ต้น ๓ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ใบงาน ใบกิจกรรม แบบฝึกหัด แบบทดสอบ ภาระงาน และหนงั สอื เรียน ท่ีครูประจำวิชาไดม้ อบหมายใหน้ กั เรียนศกึ ษา

๘ บทบาทของ ฝา่ ยบริหาร 1 เฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์ความเสี่ยงการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ติดตามข่าวสาร จำนวนผู้ติดเชื้อในจังหวัดนครราชสีมาในแต่ละวัน เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน การเฝ้าระวังและประเมินสถานการณ์ความเสี่ยงในการติดเชื้อโรคโควิด – 19 และ ความปลอดภยั ของนักเรียน ๒ กำหนดนโยบายและมาตรการควบคุม ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในโรงเรียน ผู้บริหารมีการกำหนดนโยบายและมาตรการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาด ของโรคโควิด-19 ในโรงเรียน เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติให้ครู บุคลากร นักเรียนและ ผู้มาติดต่อภายในโรงเรยี นมีความปลอดภัยจากโรคโควิด-19 ๓ เตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ โรงเรียนมีการสำรวจ ข้อมูลความพร้อมในการเรียนด้วยรูปแบบออนไลน์ของนักเรียนทุกคน เพื่อช่วยเหลือ นักเรียนที่ขาดความพร้อมในการเรียน และมีการเตรียมความพร้อมด้านครูผู้สอน อาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สัญญาณอินเทอร์เน็ตเพื่อให้การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างสะดวก ผ่านช่องทางท่หี ลากหลาย ๔ กำกับ ติดตาม และรายงานการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ของครูผู้สอน ผู้บริหารมีการกับกับ ติดตามการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของครูผู้สอน โดยให้ ครูผู้สอนรายงานการจัดการเรียนการสอนเป็นรายชั่วโมงตามตารางสอน และมีการสรุป รายงานของกลุ่มบริหารงานวิชาการเป็นรายวัน เพื่อนำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาการจัด การเรยี นการสอนรูปแบบออนไลนข์ องครู และเกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ แกผ่ เู้ รยี น



๑๐

๑๑ บทบาทของ ครู 1 นำโครงสร้างรายวิชา การวัดและประเมินผลของรายวิชา แผนการจัดการเรียนรู้ คลิปการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เอกสารประกอบการสอน ใบงาน ใบกิจกรรม ใบความรู้ ข้อสอบ แบบฝึกหัด Power Point , E-book ทีค่ รูออกแบบไวล้ งใน Google Classroom ๒ ครูออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้สามารถสื่อสารกับนักเรียนเพิ่มเติม โดยการใช้โปรแกรมอื่น ๆ เช่น Google Meet, Zoom, Line, Facebook, E-mail หรือ โทรศัพท์ เพื่อสามารถตอบโต้ ในการจัดกิจกรรมการสอน และใช้ตารางสอน ท่ีโรงเรียนกำหนด มีภาระงานเหมาะสมให้กบั นักเรียน ๓ ครูออกแบบการวัดและประเมินผลทั้งคะแนนเก็บก่อนกลางภาคเรียน การวัด และประเมินผลกลางภาคเรียน ตามบริบทรายวิชาของตนเอง กำหนดค่าเป้าหมายรายวชิ า เพือ่ พัฒนานกั เรียนใหม้ คี วามรู้ ทักษะ และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๔ การนับเวลาเรียนของนักเรียนให้ครูประจำวิชาได้ชี้แจงนักเรียนและนับเวลาเรียน ตามบริบทของแต่ละรายวิชา อาจผ่านการตรวจใบงาน ใบความรู้ การทำแบบฝึกหัด การทดสอบ การร่วมกจิ กรรมในชน้ั เรียน การเข้าเรียนในโปรแกรมต่าง ๆ ทีค่ รูกำหนด เช่น Google Classroom, Google Meet, Zoom, Line, Facebook สามารถนำมานับเวลา เรียนโดยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของครูประจำวิชากำหนดเป็นข้อตกลงอย่างชัดเจนกับนักเรียน ในโครงสร้างรายวิชาของตนเอง ๕ ประสานงานกับนักเรียนและผู้ปกครอง เพื่อติดตามการเรียนด้วยระบบออนไลน์ ด้วยช่องทางต่าง ๆ เชน่ Line , E-mail หรอื โทรศัพท์ เป็นตน้ ๖ การปฏิบัติหน้าที่ในบทบาทครูที่ปรึกษา ประสานงานกับผู้ปกครองเกี่ยวกับพฤติกรรม การเรียน และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนและของโรงเรียนให้ผู้ปกครองทราบ ติดตามการเข้าชั้นเรียนของนักเรียน จัดกิจกรรมในคาบ Homeroom ให้เกิดประโยชน์ สูงสดุ ตอ่ นักเรยี นในการทราบขอ้ มูล ข่าวสาร การประชาสมั พันธ์ต่าง ๆ

๑๒ บทบาทของ นกั เรยี น 1 เข้ารหสั ชั้นเรยี นให้ครบทกุ รายวิชาท่ีเรียนตามตารางเรยี นของภาคเรยี นที่ 2/2563 ๒ เรยี นตามตารางเรียนของนกั เรียนทโ่ี รงเรียนกำหนด ผ่านทางชอ่ งทางต่าง ๆ ทโี่ รงเรยี น และครูประจำวชิ ากำหนด ๓ ศึกษา ทบทวนและเรียนรู้ด้วยตนเองจาก Google Classroom หนังสือเรียน ใบความรู้ Power Point ตามชอ่ งทางที่ครปู ระจำวิชาไดจ้ ดั ทำ ๔ ทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึกหัด แบบทดสอบ การบ้านที่ครูประจำวิชามอบหมาย และสง่ งานตามช่องทางตา่ ง ๆ ท่คี รูกำหนดใหเ้ รยี บรอ้ ย ๕ กรณีมีข้อสงสัย ต้องการคำปรึกษาสามารถติดต่อครูประจำวิชา หรือครูที่ปรึกษา ผ่านช่องทาง Line Chat, E-mail หรอื โทรศัพท์

๑๓ บทบาทของ ผปู้ กครอง 1 ควบคุม ดูแล หรือติดตามการศึกษาและเรียนรู้ด้วยตนเองในรูปแบบออนไลน์ที่ทาง โรงเรียนและครูประจำวิชากำหนด ผ่านช่องทาง Google Classroom หรือช่องทางอื่น ๆ รวมทั้งการกำชับ ติดตาม การจัดทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึกหัด แบบทดสอบ การบ้าน ที่ครูประจำวิชามอบหมาย และส่งงานตามช่องทางต่าง ๆ ท่คี รกู ำหนดให้เรียบร้อย ๒ รับฟังข่าวสารของทางโรงเรียนและข้อมูลต่าง ๆ ของนักเรียนผ่านทางเว็บไซต์, Facebook ของโรงเรียน,ระบบ PS School หรือทางช่องทางอื่น ๆ เช่น ทาง Line กลุ่มหอ้ งเรียน เปน็ ต้น ๓ ตรวจสอบตารางเรียนของนักเรียนในความควบคุมดูแล เพื่อควบคุมติดตามการเรียน ของนกั เรยี นให้ตรงตามตารางเรียนทีโ่ รงเรยี นกำหนด

๑๔ โครงสรำ้ งและกำรนบั เวลำเรยี น โครงสร้างและการนับเวลาเรียนของนักเรียนเริ่มนับเวลาเรียนในรูปแบบออนไลน์ตั้งแต่วันท่ี โรงเรียนประกาศใหม้ ีการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ออนไลน์ โดยพิจารณาจากการนับเวลาเรยี นด้วยระบบการ สอนออนไลน์ ผา่ น Google Classroom หรอื ชอ่ งทางอน่ื ๆ ทค่ี รปู ระจำวชิ ากำหนด เชน่ Line, Facebook, Google Meet, Zoom เป็นต้น ผ่านการตรวจใบงาน ใบความรู้ การทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ การร่วมกิจกรรมในช้นั เรียน สามารถนำมานับเวลาเรียนโดยขน้ึ อยู่กับเง่ือนไขของครปู ระจำวิชากำหนดเป็น โครงสร้างรายวชิ าและมีข้อตกลงอยา่ งชัดเจนกบั นักเรียน การนับจำนวนเวลาเรียนของรายวชิ า 0.5 หนว่ ยกิต จำนวน 20 คาบ รปู แบบ สปั ดาห์ท่ี จำนวนคาบ Onsite (1 ธ.ค.63 – 28 ธ.ค.63) 1-4 4 Online (29 ธ.ค. 63 เปน็ ตน้ ไป) 5 เปน็ ต้นไป คาบที่ 5 เป็นต้นไป สอบกลางภาค 10 1 สอบปลายภาค 20 1 รวมทงั้ หมด 20 20 เกณฑ์การนับเวลาเรยี นขึ้นอยู่กบั ภาระงาน / ชิ้นงาน / ใบงาน / ใบความรู้ / แบบฝึกหัด / แบบทดสอบ / การเขา้ เรียนดว้ ยระบบออนไลนต์ ามทค่ี รูประจำวชิ ามอบหมาย การนบั จำนวนเวลาเรยี นของรายวิชา 1.0 หน่วยกิต จำนวน 40 คาบ รปู แบบ สัปดาหท์ ่ี จำนวนคาบ Onsite (1 ธ.ค.63 – 28 ธ.ค.63) 1-4 8 Online (29 ธ.ค. 63 เป็นต้นไป) 5 เปน็ ต้นไป คาบท่ี 9 เป็นตน้ ไป สอบกลางภาค 10 2 สอบปลายภาค 20 2 รวมท้ังหมด 20 40 เกณฑ์การนับเวลาเรียนขึ้นอยู่กับภาระงาน / ชิ้นงาน / ใบงาน / ใบความรู้ / แบบฝึกหัด / แบบทดสอบ / การเข้าเรียนด้วยระบบออนไลนต์ ามท่ีครูประจำวชิ ามอบหมาย

๑๕ การนับจำนวนเวลาเรยี นของรายวชิ า 1.5 หนว่ ยกติ จำนวน 60 คาบ รปู แบบ สัปดาห์ที่ จำนวนคาบ Onsite (1 ธ.ค.63 – 28 ธ.ค.63) 1-4 12 Online (29 ธ.ค. 63 เปน็ ตน้ ไป) 5 เป็นตน้ ไป คาบท่ี 13 เปน็ ตน้ ไป สอบกลางภาค 10 3 สอบปลายภาค 20 3 รวมทงั้ หมด 20 60 เกณฑ์การนับเวลาเรียนขึ้นอยู่กับภาระงาน / ชิ้นงาน / ใบงาน / ใบความรู้ / แบบฝึกหัด / แบบทดสอบ / การเขา้ เรียนดว้ ยระบบออนไลนต์ ามท่คี รปู ระจำวิชามอบหมาย การนับจำนวนเวลาเรยี นของรายวิชา 2.0 หน่วยกิต จำนวน 80 คาบ รปู แบบ สัปดาห์ที่ จำนวนคาบ Onsite (1 ธ.ค.63 – 28 ธ.ค.63) 1-4 16 Online (29 ธ.ค. 63 เปน็ ต้นไป) 5 เปน็ ต้นไป คาบท่ี 17 เป็นต้นไป สอบกลางภาค 10 4 สอบปลายภาค 20 4 รวมทง้ั หมด 20 80 เกณฑ์การนับเวลาเรียนขึ้นอยู่กับภาระงาน / ชิ้นงาน / ใบงาน / ใบความรู้ / แบบฝึกหัด / แบบทดสอบ / การเข้าเรยี นดว้ ยระบบออนไลนต์ ามทคี่ รูประจำวิชามอบหมาย

๑๖ กำรวัดและประเมนิ ผล วิธีการวัดและประเมินผลของแต่ละรายวิชา ให้นักเรียนทุกคนศึกษาจากโครงสร้างรายวิชาท่ี ครูประจำวิชาได้จัดทำและนำเสนอไว้ใน Google Classroom อย่างละเอียด โดยมีการตัดสินผลการเรียน ใหถ้ ือปฏบิ ัติดงั นี้ 1 ให้ใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายให้เหมาะสมกับนักเรียน โดยแจ้งนักเรียนทราบ พร้อมเกณฑ์การประเมินก่อนการจัดการเรียนรู้รายวิชานั้นตามโครงสร้างรายวิชาที่เสนอไว้ใน Google Classroom ๒ ประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามรายวชิ าโดยใช้เกณฑท์ ี่โรงเรยี นกำหนด ๓ ประเมนิ การอ่าน คิด วเิ คราะห์และเขยี น ตามรายวชิ าโดยใชเ้ กณฑท์ โี่ รงเรยี นกำหนด ๔ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามโครงสร้างกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แต่ละกิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์และกิจกรรมนักเรียน (ลูกเสือ กิจกรรมชุมนุม และกิจกรรมรักษาดินแดน) ท่ีครูประจำวิชาได้จัดทำและนำเสนอไว้ใน Google Classroom ๕ วิธกี ารวดั และประเมินผลให้มีความยดื หย่นุ ทั้งการวัดดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะและคุณลักษณะ / เจคติ

๑๗ กำรตัดสนิ ผลกำรเรยี น การตัดสินผลการเรียนให้นำคะแนนจากการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบปกติ (Onsite) และรูปแบบการสอนแบบออนไลน์ (Online) มาตัดสินผลการเรียนเป็นรายภาคโดยให้ใช้ตัวเลขแสดงระดับ ผลการเรยี นในแต่ละรายวชิ า ดงั ตอ่ ไปน้ี ระดบั ผลการเรยี น ความหมาย คะแนนรวม 4 ผลการเรียนดเี ย่ยี ม 80-100 3.5 ผลการเรียนดีมาก 75-79 3 ผลการเรยี นดี 70-74 2.5 ผลการเรยี นค่อนข้างดี 65-69 2 ผลการเรยี นน่าพอใจ 60-64 1.5 ผลการเรียนพอใช้ 55-59 1 ผลการเรยี นผ่านเกณฑ์ข้นั ตำ่ 50-54 0 ผลการเรยี นตำ่ กวา่ เกณฑ์ 49-0 ให้ใช้อักษรแสดงผลการเรยี นทีม่ ีเงอื่ นไขในแตล่ ะรายวชิ า ดังนี้ ผลการเรยี น หมายถึง มส ร ไมม่ ีสทิ ธิ์เขา้ รบั การประเมินผลปลายภาคเรยี น ผ รอการตัดสินหรอื ยังตัดสินไม่ได้ มผ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ โดยมีการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ของเวลาเรียนทั้งหมดที่จัดกิจกรรมของแต่ละภาคเรียนและผ่าน 80 จดุ ประสงคส์ ำคญั ของกิจกรรมทก่ี ำหนด ไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมิน โดยมีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรมไม่ถึงร้อยละ ของเวลาทั้งหมดที่จัดกิจกรรมแต่ละภาคเรียน 80 และไม่ผ่าน จุดประสงคส์ ำคญั ของกิจกรรมตามท่ีกำหนด

๑๘ กำรตัดสนิ ผลกำรเรยี น การตัดสินผลการเรยี นรู้ ใหถ้ ือปฏิบตั ดิ ังนี้ 1 พิจารณาตัดสินผลการเรยี นเป็นรายวชิ า ๒ พิจารณาตดั สินว่าผ้เู รยี นได้หน่วยกติ เฉพาะผูท้ สี่ อบได้ผลการเรียน 1 ถึง 4 เทา่ นนั้ ๓ วัดผลปลายภาคเรียน เฉพาะผู้ที่มีเวลาเรียนตลอดเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลา เรยี นในรายวิชาน้นั หรอื อยู่ในดุลยพนิ จิ ของหวั หน้าสถานศึกษา ๔ ผู้เรียนที่มีเวลาไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในรายวิชานั้น และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับ การวดั ผลปลายภาคเรยี นให้ได้ผลการเรยี น “มส” ๕ ผู้เรยี นทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑข์ ั้นต่ำที่กำหนดไวใ้ หไ้ ดร้ บั ผลการเรยี น “0” ๖ ผู้เรียนที่ทุจริตในการสอบหรือทุจริตในงานที่ได้รับมอบหมายให้ทำในรายวิชาใดครั้งใดก็ตาม ให้ ได้คะแนน “0” ในคร้งั นั้น ๗ ผู้เรียนที่มเี หตสุ ุดวิสยั ที่ทำใหป้ ระเมินผลการเรียนไม่ได้ให้ไดผ้ ลการเรียน “ร” กรณีที่ผู้เรียนได้ผล การเรยี น “ร” เพราะไมส่ ่งงานนนั้ จะต้องไดร้ บั ความเหน็ ชอบ จากหัวหน้าสถานศึกษาก่อน ๘ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม โดยผ่านเกณฑ์การประเมินให้ได้ผลการเรียน “ผ” ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์การ ประเมนิ ใหไ้ ด้ผลการเรียน “มผ”

๑๙ กำรเปลี่ยนระดบั ผลกำรเรยี น ให้ถือปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. การเปลีย่ นระดับผลการเรยี น “0” ให้นักเรียนติดต่อกลุ่มบริหารวิชาการ งานวัดและประเมินผลของสถานศึกษาผ่านระบบ ออนไลน์ เพอ่ื จดั สอนซ่อมเสริมตามมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ที่ผู้เรียนไมผ่ ่านก่อน แลว้ จงึ สอบแก้ตัวได้ การสอบแก้ตัวให้ไดร้ ะดับผลการเรยี นไม่เกนิ “1” การสอบแก้ตวั 2 คร้ังแล้ว ยงั ไดร้ ับผลการเรียน “0” อกี ใหเ้ รียนซำ้ 2. การเปลยี่ นผลการเรียน “ร” ให้นักเรียนดำเนินการดังน้ี 2.1 ในกรณที ่ีผู้เรยี นได้ผลการเรียน “ร” เพราะเหตุสดุ วิสยั เมอ่ื แก้ปัญหาเสร็จสิน้ แล้วให้ได้รับ ผลการเรียนตามปกติ (0 – 4) 2.2 การเปลี่ยนผลการเรียน “ร” ให้กระทำให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนนั้น ถ้าผู้เรียนไม่มา ดำเนินการแก้ “ร” ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้นี้ให้เรียนซ้ำ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลยพินิจของ หวั หนา้ สถานศึกษา 3. การเปล่ยี นผลการเรียน “มส” กรณผี เู้ รยี นไดผ้ ลกาเรียน “มส” เพราะมเี วลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 ใหส้ ถานศึกษาจัดให้ผู้เรียน เรียนเรียนเพิ่มเติมผ่านระบบออนไลน์ หรือมอบหมายงานให้ทำจนมีเวลาเรียนครบตามที่กำหนดไว้สำหรบั รายวิชาน้นั แลว้ จึงให้สอบ และผลการสอบแก้ “มส” ให้ไดร้ ะดับผลการเรยี นไมเ่ กิน “1” การแก้ “มส” ให้กระทำให้เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนนั้น ถ้าผู้เรียนไม่มาดำเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้น้ีใหเ้ รียนซ้ำ ยกเว้นมีเหตุสุดวสิ ัยให้อยู่ในดุลยพินจิ ของหวั หนา้ สถานศึกษา 4. การเรียนซ้ำ การเรียนซ้ำให้อยู่ในดุลยพินิจของหัวหน้าสถานศึกษาที่จะกำหนดช่วงเวลาในการเรียนซ้ำให้ เหมาะสม และต้องประเมินผลการเรียนตามที่ระเบียบนี้กำหนดไว้ โดยการเรียนซ้ำอาจใช้รูปแบบทั้ง แบบ ปกติ (Onsite) และรูปแบบออนไลน์ (Online) ข้ึนอยู่กับชว่ งสถานการณข์ ณะนั้น 5. การเปลี่ยนผลการประเมนิ การเปลี่ยนผลการประเมิน “มผ” เปน็ “ผ” ให้ผู้เรยี นทำกจิ กรรมในสว่ นทย่ี งั ขาดอยูใ่ หค้ รบ

๒๐ กำรอนมุ ัตกิ ำรจบหลกั สตู ร เมื่อโรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย จัดการเรียนการสอนตามโครงสร้างเวลาเรียนและเกณฑ์การจบ แต่ละระดบั ใหอ้ นุมัตผิ ลการจบการศึกษาภายใน 9 เมษายน 2564 กำรสอบแก้ตัว กรณนี กั เรียนมผี ลการเรยี นไม่สมบูรณ์ (ติด o, ร, มส, มผ) ต้องดำเนินการสอบแก้ตัวตามปฏิทิน ปฏิบตั ิงานกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ งานวดั และประเมินผลของทางโรงเรียนกำหนดไว้ และใหน้ ักเรยี นดำเนินการ ติดตามผ่านครูประจำวิชาโดยใช้การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบปกติ (Onsite) และแบบการสอบ ออนไลน์ (Online) เพื่อดำเนินการวดั และประเมินผลให้เสร็จสิน้ เพ่ือให้สามารถอนุมัตจิ บการศกึ ษา ภายใน วันที่ 15 พฤษภาคม 2564 เปน็ วันสดุ ท้ายของปีการศกึ ษา 2563

๒๑ เอกสำรอำ้ งองิ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย, 2551. โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย. หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนราชสมี าวิทยาลยั ตามแนวทางหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาพุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ : โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย, 2561. โรงเรียนราชสีมาวิทยาลยั . หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนราชสมี าวทิ ยาลัย ตามแนวทางหลักสตู ร แกนกลางการศกึ ษาพุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ : โรงเรยี นราชสีมาวทิ ยาลัย, 2562. โรงเรียนราชสีมาวิทยาลยั . หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนราชสมี าวิทยาลยั ตามแนวทางหลกั สูตร แกนกลางการศกึ ษาพุทธศกั ราช 2560. กรงุ เทพฯ : โรงเรียนราชสีมาวิทยาลยั , 2563.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook