Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเด็กที่มีความต้องการพิเศษ สำหรับครู

คู่มือเด็กที่มีความต้องการพิเศษ สำหรับครู

Published by Smith Ubailub, 2020-11-12 15:02:35

Description: คู่มือเด็กที่มีความต้องการพิเศษ สำหรับครู

Search

Read the Text Version

คูม่ ือผู้เรียน ทีมคี วามต้องการพิเศษ

คาํ นํา คู่มือครูนีเปนส่วนหนึงของวิชาจิตวิทยาการสอนเด็กทีมีความต้องการพิเศษ รหสั วิชา 2759243 โดยมีจุดประสงค์ เพือเปนคู่มือและเปนแนวทางการจัดการเรยี นการสอนสาํ หรบั ผู้เรยี นทีมีความต้องการพิเศษ ทังนี ในคู่มือครูเล่มนีมีเนือหาประกอบด้วย ความบกพรอ่ ง ข้อจาํ กัด และการเสียเปรยี บของผู้เรยี นทีมีความต้องการพิเศษ ปจจัยทีส่งผลต่อผู้เรยี นทีมี ความต้องการพิเศษ การรบั รูแ้ ละการเรยี นของผู้เรยี นทีมีความต้องการพิเศษ รวมไปถึง การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางจิตวิทยาทีช่วยส่งเสรมิ การเรยี นรูข้ องผู้เรยี นทีมีความต้องการพิเศษ คณะผู้จัดทําหวังเปนอย่างยิงว่า คู่มือครูนีจะใหค้ วามรูแ้ ละเปนประโยชน์แก่ผู้อ่าน หากมีข้อผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยมา ณ ทีนี คณะผู้จัดทํา ค่มู อื ครู

สารบญั หนา้ เรอื ง 1 1 ความบกพรอ่ ง ขอ้ จาํ กัด และการเสยี เปรยี บของผเู้ รยี น 2 - ความบกพรอ่ งทางการมองเหน็ 2 - ความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ 3 - ความบกพรอ่ งทางสติปญญา 3 - ความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ 4 - ความบกพรอ่ งทางการพูดและภาษา 4 - ความบกพรอ่ งทางรา่ งกาย การเคลือนไหวและสขุ ภาพ - ความบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ 5 - ออทิสติก 5 6 ปจจยั ทีสง่ ผลต่อผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษ 6 - ปจจยั ดา้ นปญญา 7 - ปจจยั ดา้ นรา่ งกาย 7 - ปจจยั ดา้ นภาษาและการสอื สาร - ปจจยั ดา้ นการเรยี นรู้ 8 - ปจจยั ดา้ นปฏิสมั พนั ธท์ างสงั คม 8 - ปจจยั ทางวุฒภิ าวะทางอารมณ์ 9 9 การรบั รแู้ ละการเรยี นรขู้ องเดก็ ทีมคี วามต้องการพเิ ศษ 10 - ประสบการณด์ า้ นการเรยี น 11 - ประสบการณด์ า้ นการใชช้ วี ติ ในโรงเรยี น - ประสบการณจ์ ากเพอื นรว่ มชนั 12 - ประสบการณจ์ ากครู 12 - ประสบการณจ์ ากสงั คมนอกโรงเรยี น 13 - ประสบการณด์ า้ นดาํ เนนิ ชวี ติ ประจาํ วนั 13 14 - 16 การประยุกต์เทคนคิ ทางจติ วทิ ยาทีสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ - ปญญานยิ ม - พฤติกรรมนยิ ม - สงั คมเชงิ พุทธปิ ญญานยิ ม - มนษุ ยนยิ ม - หลักการและเทคนคิ การเสรมิ สรา้ งแรงจูงใจ

1 1.ความบกพรอ่ ง ขอ้ จํากดั และการเสยี เปรยี บของผเู้ รยี น 1.1 ความบกพรอ่ งทางการมองเห็น ความบกพรอ่ ง : มองเหน็ เลือนรางไปจนถึงตาบอดสนทิ ตาบอดสี สายตาสนั สายตายาว สายตาเอียง ความพกิ าร : มองไมเ่ หน็ มองไมช่ ดั มองเหน็ ไดเ้ ลือนราง มองเหน็ ต่างจากคนทัวไป ความเสยี เปรยี บ : ไมส่ ามารถมองเหน็ สงิ ต่างๆรอยตัว จนอาจเกิดอันตรายในการใชช้ วี ติ ไมส่ ามารถทํา กิจกรรมทีต้องใชส้ ายตาได้ เชน่ การดหู นงั การอ่านหนงั สอื , หรอื การขบั รถ หรอื ในบางกิจกรรมต้องใชอ้ ุปกรณช์ ว่ ย 1.2 ความบกพรอ่ งทางการได้ยนิ ความบกพรอ่ ง : หตู ึง หหู นวก ความพกิ าร : มคี วามสามารถทางการไดย้ นิ นอ้ ย ไดย้ นิ ไมช่ ดั เจนไปจนถึงไมไ่ ดย้ นิ เสยี งสงิ ต่างๆรอบตัว ความเสยี เปรยี บ : มอี ุปสรรคในการสอื สาร เนอื งจากในบางคนไมส่ ามารถพูดเปนคําได้ ต้องใชภ้ าษามอื รวมทังไมส่ ามารถทํากิจกรรมทีต้องใชก้ ารฟงได้ เชน่ การดหู นงั แบบไมม่ ซี บั ไตเติล หรอื การฟงเพลง คมู่ ือครู

2 1.ความบกพรอ่ ง ขอ้ จาํ กดั และการเสยี เปรยี บของผเู้ รยี น 1.3 ความบกพรอ่ งทางสติปญญา ความบกพรอ่ ง : มคี วามผดิ ปกติทางสมอง, สมองไดร้ บั การกระทบกระเทือน, สมองพกิ าร ความพกิ าร : มรี ะดบั สติปญญาตํากวา่ เกณฑ์, มพี ฒั นาการล่าชา้ กวา่ เดก็ ทัวไป ความเสยี เปรยี บ : มขี อ้ จาํ กัดในดา้ นการเรยี น การทํางาน การดาํ เนนิ ชวี ติ ประจาํ วนั รวมถึงทักษะการเขา้ สงั คม 1.4 ความบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ ความบกพรอ่ ง : ภาวะทางสมองทํางานผดิ ปกติ ทําใหก้ ารประมวลผลต่างไปจากคนทัวไป ความพกิ าร : ไมเ่ ขา้ ใจและไมส่ ามารถจดจาํ ตัวอักษรได,้ ไมเ่ ขา้ ใจค่าของตัวเลข, ไมส่ ามารถคิดคํานวณ ความเสยี เปรยี บ : มขี อ้ เสยี เปรยี บทางการเรยี นรทู้ ีต้องใชท้ ักษะการคิดคํานวณ การเขยี น การอ่าน จนอาจเกิดเปนปญหาในการใชช้ วี ติ เชน่ ไมส่ ามารถอ่านปายบอกทาง, ไมส่ ามารถเขา้ ใจปายราคา ความบกพรอ่ ง ขอ้ จํากดั และการเสียเปรยี บของผูเ้ รยี น

3 1.ความบกพรอ่ ง ขอ้ จํากดั และการเสยี เปรยี บของผเู้ รยี น 1.5 ความบกพรอ่ งทางการพูดและภาษา ความบกพรอ่ ง : การพูดผดิ ปกติ เชน่ พูดไมช่ ดั ติดอ่าง การควบคมุ ระดบั เสยี ง หรอื พูดไมไ่ ด้ ความพกิ าร : ไมส่ ามารถพูดไดห้ รอื พูดไมช่ ดั เสยี งพูดผดิ ปกติ ใชจ้ งั หวะการพูดหรอื การเวน้ วรรคผดิ ความเสยี เปรยี บ : การสอื สารกับบุคคลอืน อาจจะต้องใชภ้ าษามอื ซงึ คนทัวไปไมร่ จู้ กั อาจจะมปี ญหาการเขา้ สงั คม 1.6 ความบกพรอ่ งทางรา่ งกาย การเคลือนไหวและสขุ ภาพ ความบกพรอ่ ง : มคี วามผดิ ปกติดา้ นรา่ งกาย อวยั วะขาดหาย กล้ามเนอื และกระดกู มคี วามผดิ ปกติ ความพกิ าร : ไมส่ ามารถเคลือนไหวเหมอื นคนทัวไปได้ การทรงตัวลําบาก กระดกู มลี ักษณะผดิ รปู ความเสยี เปรยี บ : การเขา้ ถึงสถานทีต่างๆ การชว่ ยเหลือตนเอง การปรบั ตัวเขา้ กับสภาพแวดล้อม หรอื การรว่ มกิจกรรมทีต้องใชร้ า่ งกาย คู่มือครู

4 1.ความบกพรอ่ ง ขอ้ จาํ กดั และการเสยี เปรยี บของผเู้ รยี น 1.7 ความบกพรอ่ งทางพฤติกรรมหรอื อารมณ์ ความบกพรอ่ ง : มคี วามผดิ ปกติทางสมองดา้ นการรบั รแู้ ละควบคมุ อารมณ์ ความรสู้ กึ ความพกิ าร : การควบคมุ อารมณต์ ํา มพี ฤติกรรมทีรนุ แรง ก้าวรา้ ว ความเสยี เปรยี บ : ประสบปญหาดา้ นการเขา้ สงั คม การมปี ฏิสมั พนั ธ์ 1.8 ออทิสติก ความบกพรอ่ ง : บกพรอ่ งทางสงั คม การสอื สารและภาษา ความพกิ าร : มปี ญหาดา้ นปฏิสมั พนั ธ์ พฤติกรรม การรบั รแู้ ละประสาทสมั ผสั ความเสยี เปรยี บ : การสอื สารทียากกวา่ ปกติ การเขา้ สงั คม ความบกพร่อง ข้อจาํ กดั และการเสียเปรยี บของผู้เรยี น

5 2. ปจจยั ทีส่งผลต่อผ้เู รียนทีมีความต้องการพิเศษ 2.1 ปจจยั ด้านปญญา ปจจยั ดา้ นปญญา อาจมาจากหลายสาเหตุ เชน่ สมองไดร้ บั การกระทบกระเทือน เนอื งอกในสมอง สมองติดเชอื หรอื สมองพกิ าร ซงึ สง่ ผลใหเ้ กิดการเรยี นรไู้ ดช้ า้ 2.2 ปจจยั ด้านรา่ งกาย ปจจยั ดา้ นรา่ งกาย เกิดจากหลายสาเหตุ ไมว่ า่ จะเปนการทํางานทีผดิ ปกติ หรอื การทํางานทีบอกพรอ่ งของอวยั วะในรา่ งกาย เชน่ ความบกพรอ่ งทางดา้ น การมองเหน็ ความบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ความบกพรอ่ งของการทํางานของ ดล้ามเนอื ต่าง ๆ ของรา่ งกาย รวมไปถึงความบกพรอ่ งของสขุ ภาพ สง่ ผลต่อ สภาพความพกิ ารในผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษในหลาย ๆ ดา้ น เชน่ มองไมเ่ หน็ หรอื มองไมเ่ หน็ ไมไ่ ดย้ นิ หรอื ไดย้ นิ ไมช่ ดั เคลือนไหวไมไ่ ดห้ รอื ไมป่ กติ เจบ็ ปอยบอ่ ย หรอื ไมส่ ามารถทํากิจกรรมบางอยา่ งได้ คมู่ ือครู

6 2. ปจจยั ทีส่งผลตอ่ ผู้เรยี นทีมคี วามตอ้ งการพิเศษ 2.3 ปจจยั ด้านภาษาและการสอื สาร ปจจยั ดา้ นภาษาและการสอื สาร เปนผลมาจากสมองทีควบคมุ การเขา้ ภาษาไดร้ บั การกระทบกระเทือน สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นไมส่ ามารถสอื สารกับผอู้ ืนได้ อาจจะเขา้ ใจ หรอื ไมเ่ ขา้ ใจสงิ ทีผอู้ ืนสอื สารได้ 2.4 ปจจยั ด้านการเรยี นรู้ ปจจยั ดา้ นการเรยี นรู้ เกิดจากการทํางานทีผดิ ปกติของสมอง ทําใหเ้ กิดความบกพรอ่ ง ในการเรยี นรใู้ น 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ความบกพรอ่ งทางการอ่าน ความบกพรอ่ งทางการเขยี น และความบกพรอ่ งทาง การคิดคํานวณ สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นมสี ภาพความพกิ ารในดา้ นการ เรยี นรทู้ ัง 3 ดา้ น คือ ดา้ นการอ่าน ผเู้ รยี นอ่านไมไ่ ด้ ไมเ่ ขา้ ใจสงิ ทีอ่าน ดา้ นการเขยี น ผเู้ รยี นเขยี นไมไ่ ด้ เขยี นผดิ บอ่ ย และดา้ นการคํานวณ ผเู้ รยี นไมเ่ ขา้ ใจหลักการทาง คณติ ศาสตร์ คิดคํานวณไมไ่ ด้ ปจจัยทีส่งผลตอ่ ผเู้ รียนทมี คี วามต้องการพิเศษ

7 2. ปจจัยทสี ่งผลต่อผูเ้ รยี นทมี ีความตอ้ งการพิเศษ 2.5 ปจจยั ด้านปฏิสมั พนั ธท์ างสงั คม ปจจยั ดา้ นปฏิสมั พนั ธท์ างสงั คม เปนปญหาทางดา้ นการเขา้ สงั คม การมปี ฏิสมั พนั ธก์ ับ ผอู้ ืน ทําใหไ้ มส่ ามารถเขา้ สงั คมได้ ไมม่ เี พอื น รสู้ กึ แปลกแยกจากคนอืนในสงั คม ซงึ จะ สง่ ผลต่อแรงจูงใจในการเรยี นรู้ ทําใหผ้ เู้ รยี นไมอ่ ยากเรยี น และปญหาอาจรนุ แรงขนึ ดว้ ย หากเพอื นคนอืน ๆ กลันแกล้งเค้าจะยงิ ทําใหเ้ ค้าไมอ่ ยากเรยี นเขา้ ไปอีก 2.6 ปจจยั ทางวุฒภิ าวะทางอารมณ์ ปจจยั ทางดา้ นอารมณ์ เปนปญหาในการควบคมุ อารมณข์ องตนเองมคี วามแปรปรวน ไมค่ งทีแลมขี อบเขตของการแสดงออกมากเกินไปหรอื นอ้ ยเกินไป ซงึ จะสง่ ผลกระทบต่อการ เรยี นรใู้ นหอ้ งเรยี นอยา่ งมาก หากเกิดความผดิ ปกติขนึ อาจก่อใหเ้ กิดความรนุ แรงตามมาได้ ค่มู อื ครู

8 3. การรบั รแู้ ละการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นทมี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ 3.1 ประสบการณด์ ้านการเรยี น เปนประสบการณม์ คี ณุ ครทู กุ คนคอยเอาใจใสเ่ ปนพเิ ศษ ครทู กุ คนคอยชว่ ยเหลือในดา้ นต่าง ๆ ไมใ่ ชเ่ ฉพาะดา้ นการเรยี น มกี ารจดั การเรยี นแบบพเิ ศษให้ ซงึ อาจจะง่ายกวา่ การเรยี นการสอน ของเดก็ ทัวไป 3.2 ประสบการณด์ ้านการใชช้ วี ติ ในโรงเรยี น เปนประสบการณท์ ีทกุ คนในโรงเรยี นคอยชว่ ยเหลือ ทกุ คนในโรงเรยี นมคี วามหว่ งใย และใสใ่ จ มกี ารสง่ เสรมิ ใหเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรยี นเหมอื นกับเดก็ นกั เรยี นคนอืน การรับรแู้ ละการเรียนรู้ของผเู้ รยี นทมี ีความต้องการพิเศษ

9 3. การรบั รแู้ ละการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นทมี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ 3.3 ประสบการณจ์ ากเพอื นรว่ มชนั ประสบการณเ์ กียวกับเพอื นรว่ มชนั อาจมที ังประสบการณเ์ ชงิ บวกและเชงิ ลบโดย ประสบการณเ์ ชงิ บวกจะเปนประสบการณท์ ีเพอื นรว่ มชนั เรยี นใหค้ วามชว่ ยเหลือ ในเรอื งต่าง ๆ มกี ารแสดงความใสใ่ จและเขา้ ใจในตัวผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษ รวมถึงมกี ารปฏิสมั พนั ธก์ ับผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษ ทังในชนั เรยี นและนอกเหนอื จากในชนั เรยี น ในทางกลับกันประสบการณเ์ ชงิ ลบทีสง่ ผลกระทบเชงิ ลบต่อความรสู้ กึ หรอื ทัศนคติทีมตี ่อโรงเรยี นของผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษจะเปนประสบการณ์ ทีเกิดจากการถกู กลันแกล้ง (bullying) จากเพอื นรว่ มชนั เรยี น การถกู เพกิ เฉยจาก เพอื นรว่ มชนั เรยี น รวมไปถึงการแสดงความรสู้ กึ สงสาร (sympathy) ทีมากจนเกินไป สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษเกิดความรสู้ กึ วา่ ตนเองไมเ่ ปนสว่ นหนงึ ในชนั เรยี นและขาดการเหน็ คณุ ค่าในตนเอง (self-esteem) 3.4 ประสบการณจ์ ากครู ประสบการณข์ องผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษทีเกียวกับคณุ ครนู นั มที ังประสบการณ์ เชงิ บวกและเชงิ ลบ ซงึ ประสบการณเ์ ชงิ บวกจะเปนประสบการณท์ ีครปู ระจาํ ชนั หรอื ครปู ระจาํ รายวชิ าต่าง ๆ ไดใ้ หก้ ารดแู ล เอาใจใส่ ใหค้ วามชว่ ยเหลือและการสนบั สนนุ อยา่ งเหมาะสมเนอื งจากมคี วามเขา้ ใจในลักษณะของความต้องการพเิ ศษของผเู้ รยี นทีมี ความต้องการพเิ ศษ การจดั การเรยี นการสอนในรปู แบบทีครใู ชว้ ธิ กี ารในการถ่ายทอด ทีมคี วามหลากหลายทีสามารถตอบสนองการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษได้ อยา่ งเหมาะสมนนั สามารถจดั เปนประสบการณเ์ ชงิ บวกไดด้ ว้ ยเชน่ กัน ในขณะเดยี วกัน หากครปู ระจาํ ชนั หรอื ครปู ระจาํ รายวชิ าขาดความเขา้ ใจในลักษณะของความต้องการพเิ ศษ และมกี ารแสดงออกทีสง่ ผลกระทบเชงิ ลบต่อผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษ เชน่ การวา่ กล่าวหรอื ตําหนผิ เู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษเนอื งจากทําไดค้ ะแนนไดไ้ มด่ หี รอื ในกรณที ีเกิดการทะเลาะกับเพอื นรว่ มชนั คนอืนแล้วครมู องวา่ ผเู้ รยี นทีมี ความต้องการพเิ ศษจะเปนผทู้ ีทําผดิ เสมอ รวมถึงการเหมารวม (stereotype) วา่ ผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษไมส่ ามารถเรยี นรไู้ ดห้ รอื มอี คติ (bias) นนั สามารถจดั เปนประสบการณเ์ ชงิ ลบของผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษได้ คู่มอื ครู

10 3. การรบั รแู้ ละการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นทมี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ 3.5 ประสบการณจ์ ากสงั คมนอกโรงเรยี น สงั คมภายนอกโรงเรยี นหรอื โลกภายนอกนนั ถือเปนสงิ ทีผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษ ต้องเผชญิ ในทกุ ๆ วนั ของการดาํ เนนิ ชวี ติ ซงึ ผเู้ รยี นดงั กล่าวสามารถไดร้ บั ประสบการณ์ จากสงั คมภายนอกไดท้ ังประสบการณเ์ ชงิ บวกและ ประสบการณเ์ ชงิ ลบ โดยประสบการณเ์ ชงิ บวกทีเกิดขนึ ไดจ้ ะเกียวกับ การไดร้ บั ความชว่ ยเหลือหรอื การไดร้ บั การอํานวย ความสะดวกจากบุคคลอืน ๆ ในสงั คม รวมไปถึง การไดร้ บั คําแนะนาํ ในการทําปฏิบตั ิสงิ ต่าง ๆ ซงึ จะ สง่ ผลกระทบเชงิ บวกต่อทัศนคติของผเู้ รยี นทีมี ความต้องการพเิ ศษ ทําใหผ้ เู้ รยี นดงั กล่าวรสู้ กึ ไดร้ บั การยอมรบั จากสงั คมและบุคคลอืน ๆ ในสงั คม เกิดความมนั ใจในการดาํ เนนิ ชวี ติ และการปฏิบตั ิสงิ ต่าง ๆ ในทางตรงกันขา้ มหากผเู้ รยี นดงั กล่าวต้องเผชญิ กับ สงั คมภายนอกทีเต็มไปดว้ ยบุคคลทีขาดความเขา้ ใจ ในลักษณะของความต้องการพเิ ศษนนั จดั เปนสงิ ที สามารถสรา้ งแผลในใจหรอื ทัศนคติเชงิ ลบต่อผเู้ รยี น ทีมคี วามต้องการพเิ ศษเปนอยา่ งมาก โดยประสบการณ์ เชงิ ลบทีอาจเกิดขนึ ได้ ไดแ้ ก่ การถกู มองดว้ ยสายตา ทีทําใหผ้ เู้ รยี นดงั กล่าวเกิดความรสู้ กึ วา่ ตนเองแปลกแยก จากคนในสงั คม การถกู ตําหนหิ รอื วา่ กล่าวจากบุคคล ภายในสงั คม การโดนปฏิเสธเขา้ ใชบ้ รกิ ารหรอื การรบั เขา้ ทํางานในบางสถานที เปนต้น การรับรู้และการเรียนร้ขู องผเู้ รยี นมีความต้องการพิเศษ

11 3. การรบั รแู้ ละการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นทมี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ 3.6 ประสบการณด์ ้านดําเนนิ ชวี ติ ประจาํ วนั ในมติ ิของประสบการณด์ า้ นการดาํ เนนิ ชวี ติ ประจาํ วนั ของผเู้ รยี นทีมี ความต้องการพเิ ศษนนั จะมคี วามเกียวขอ้ งกับประสบการณข์ องผู้ เรยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษจากสงั คมภายนอกโรงเรยี น โดยผเู้ รยี นดงั กล่าวจะไดร้ บั ประสบการณใ์ นการดาํ เนนิ ชวี ติ จากทัง ในโรงเรยี นและสงั คมภายนอกโรงเรยี นซงึ ผเู้ รยี นดงั กล่าวนี อาจไดร้ บั ทังประสบการณใ์ นชวี ติ ประจาํ วนั ทังในเชงิ บวกและเชงิ ลบ โดยประสบการณเ์ ชงิ บวกในมติ ินจี ะคล้ายคลึงกับประสบการณ์ จากสงั คมภายนอกในดา้ นของการไดร้ บั ความชว่ ยเหลือ การอํานวยความสะดวกจากบุคคลอืน ๆ ในสงั คมแต่สงิ ทีแตกต่าง คือ การไดร้ บั การอํานวยความสะดวกอาจไมไ่ ดม้ าจากบุคคลเพยี ง อยา่ งเดยี ว อาจไดร้ บั จากสวสั ดกิ ารชว่ ยเหลือจากทังภาครฐั และเอกชนดว้ ยเชน่ กัน รวมถึงสงิ อํานวยความสะดวกใน ชวี ติ ประจาํ วนั เชน่ ทางลาด (ramp) หรอื เบรลล์บอ๊ ก (braille block) ทีชว่ ยในการเดนิ หรอื แมก้ ระทังการใชอ้ ักษรเบลล์ (braille) ตามสถานทีต่าง ๆ เพอื ชว่ ยเหลือผทู้ ีมคี วามต้องการพเิ ศษ ในอีกดา้ นหนงึ นนั ประสบการณเ์ ชงิ ลบในชวี ติ ประจาํ วนั จะเกียวขอ้ ง กับความยากลําบากในเรอื งต่าง ๆ เชน่ การคมนาคมสาธารณะ เนอื งจากขาดสงิ อํานวยความสะดวก การสอื สารเนอื งจากไมส่ ามารถ สอื สารกับผอู้ ืนไดด้ ว้ ยภาษาพูดหรอื ภาษาเขยี น รวมถึงปญหาใน การชว่ ยเหลือดแู ลตนเอง เชน่ การปฏิบตั ิกิจวตั รประจาํ วนั ต้อง มคี นคอยดแู ลอยูต่ ลอด โดยในบางประสบการณใ์ นการดาํ เนนิ ชวี ติ ก็คล้ายคลึงกับประสบการณจ์ ากสงั คมภายนอกดว้ ยเชน่ กัน แต่อาจ กล่าวไดว้ า่ สงิ ทีมากไปกวา่ นนั คือ การทีผเู้ รยี นดงั กล่าวต้องพบเจอ กับประสบการณเ์ ชงิ ลบจากสงั คมภายนอกในทกุ ๆ วนั นนั ยอ่ มสง่ ผลกระทบทีไมด่ ตี ่อทัศนคติและเกิดความรสู้ กึ ท้อแท้ ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ของผเู้ รยี นทีมคี วามต้องการพเิ ศษ ค่มู ือครู

12 4.การประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎที างจติ วทิ ยาทสี ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 4.1 ปญญานยิ ม เปนทฤษฎีทีเกียวกับวธิ กี ารสรา้ งองค์ความรใู้ หม่ สามารถนาํ ไปประยุกต์ใชไ้ ดด้ งั นี 1.จดั การเรยี นรเู้ สรมิ สรา้ งแนวคิดใหม่ ทีสามารถเชอื มโยงกับประสบการณเ์ ดมิ ทีมอี ยูไ่ ด้ 2.ครใู หป้ ระสบการณท์ ีหลากหลาย เพอื เปนฐานใหผ้ เู้ รยี นสามารถนาํ ไปใชเ้ ชอื มโยงในอนาคตได้ 3.ครกู ระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นนาํ สงิ ทีเรยี นไปแล้วมาใชใ้ นสถานการณท์ ีต่างจากเดมิ 4.จดั การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื อาจจะใหอ้ ยูก่ ับผเู้ รยี นปกติ ใหผ้ เู้ รยี นชว่ ยเหลือ แนะนาํ ซงึ กัน และกันมกี ารทบทวนบทเรยี น ความรเู้ ดมิ อยูเ่ สมอ 4.2 พฤติกรรมนยิ ม เปนทฤษฎีทีเกียวกับการปรบั เปลียนพฤติกรรมดว้ ยสงิ เรา้ สามารถนาํ ไปประยุกต์ใชไ้ ดด้ งั นี 1.ศึกษาสงิ ทีผเู้ รยี นชอบและไมช่ อบ จดั การวางเงือนไข ขอ้ ตกลง เพอื ใชใ้ นการเสรมิ แรง ใหเ้ กิดพฤติกรรมทีมากขนึ หรอื ใชใ้ นการลงโทษ ลดพฤติกรรมทีไมพ่ งึ ประสงค์ 2.วเิ คราะหง์ าน แบง่ งานจากยากไปง่าย เพอื ใหผ้ เู้ รยี นทําได้ และมแี รงจูงใจในการทําขนั ตอน ต่อไป การประยุกต์ทฤษฎกี ารเรยี นรู้

13 4.การประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎที างจติ วทิ ยาทสี ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 4.3 สงั คมเชงิ พุทธปิ ญญานยิ ม เปนทฤษฎีทีเชอื วา่ บุคคลจะเรยี นรพู้ ฤติกรรมจากสงิ แวดล้อมรอบตัว สามารถนาํ ไปประยุกต์ ใชไ้ ดด้ งั นี 1.ครจู ดั สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรยี นใหเ้ อืออํานวยต่อการเรยี นรู้ 2.ครจู ดั สภาพสงั คมรอบตัวผเู้ รยี น ครตู ้องเปนแบบอยา่ งทีดี 3.ผปู้ กครองเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการชว่ ยพฒั นาผเู้ รยี นและเปนตัวอยา่ งทีดเี ชน่ เดยี วกับครู 4.4 มนษุ ยนยิ ม เปนทฤษฎีทีเชอื ในคณุ ค่าของตัวบุคคล ทกุ คนสามารถพฒั นาได้ สามารถนาํ ไปประยุกต์ใชไ้ ด้ ดงั นี 1.จดั การเรยี นรแู้ ละกิจกรรมทีเอือต่อความสามารถและความต้องการของผเู้ รยี นเปนสาํ คัญ ครตู ้องเชอื มนั ในตัวของผเู้ รยี น คอยชว่ ยเหลืออยา่ งเต็มความสามารถ เพอื ใหน้ กั เรยี นทกุ คน สามารถพฒั นาและเติบโตไดใ้ นแบบของตนเอง 2.ครตู ังเปาหมายระยะยาวในการพฒั นาผเู้ รยี น จดั ทํา IEP เพอื พฒั นาเฉพาะบุคคล 3.ครเู ปดรบั แนวคิดใหมๆ่ พฒั นาตนเองอยา่ งสมาํ เสมอ เพอื ใหพ้ ฒั นาผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ ค่มู ือครู

14 หลกั การและเทคนคิ การเสรมิ สรา้ งแรงจงู ใจ 1. เห็นคณุ ค่าของสงิ ทีทํา คือ ผเู้ รยี นต้องเหน็ ก่อนวา่ สงิ ทีตนทําหรอื พฤติกรรมทีจะปฏิบตั ิมี คณุ ค่าอยา่ งไร เทคนคิ - ครตู ้องกระตือรอื รน้ ต่อกิจกรรมทีทําอยู่ พยายามบอกเรยี นใหผ้ เู้ รยี นทราบวา่ กิจกรรมที กําลังทํามปี ระโยชนอ์ ยา่ งไรอยูเ่ สมอ - ครตู ้องสรา้ งบรรยากาศตืนเต้น ใชก้ ิจกรรมหลากหลาย พยามยามนาํ เสนอกิจกรรมทีเหนอื ความคาดหมายของผเู้ รยี นหรอื เปนกิจกรรมทีผเู้ รยี นไมเ่ คยมปี ระสบการณม์ าก่อน - ครตู ้องจดั กิจกรรมตามความสนใจของผเู้ รยี น ครคู วรคํานงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ ง บุคคล ผเู้ รยี นแต่ละคนมคี วามสนใจและความต้องการทีแตกต่างกัน - ครคู วรเปดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นเลือกทําในสงิ ทีผเู้ รยี นสนใจ การทําในสงิ ทีชอบถือเปนการเสรมิ แรงจูงใจในการทําสงิ นนั ๆ 2. เชอื มนั ในความพยายาม ครตู ้องทําใหผ้ เู้ รยี นเชอื วา่ ตนเองมคี วามเพยี รพยายามในการทํา สงิ ต่างๆ ไมห่ มดหวงั ในการทําสงิ ต่าง ๆ เทคนคิ - ครคู วรจะเชอื มโยงสงิ ทีกําลังทํากับประสบการณใ์ นอดตี เพอื ใหผ้ เู้ รยี นคิดถึงความพยายาม ของตนเองและกระต้นุ ใหผ้ เู้ รยี นใชค้ วามพยายามมากยงิ ขนึ - ครคู วรเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นทราบวา่ การจะทําสงิ ใดใหส้ าํ เรจ็ ต้องใชค้ วามพยายาม - ครไู มค่ วรสนบั สนนุ ใหผ้ เู้ รยี นเชอื ในเรอื งโชคชะตาเพยี งสงิ เดยี ว แต่ควรสนบั สนนุ ใหผ้ เู้ รยี น เชอื ในเรอื ง การประยกุ ต์ทฤษฎกี ารเรยี นรู้

15 3. เชอื มนั ในความสามารถของตนเอง ครตู ้องทําใหผ้ เู้ รยี นต้องเชอื มนั วา่ ตัวผเู้ รยี นสามารถ ทําสงิ ต่าง ๆ ได้ เทคนคิ - ครคู วรเปนตัวแบบใหแ้ ก่ผเู้ รยี นในการพฒั นาการรบั รคู้ วามสามารถของตนเอง - ครอู าจใชเ้ พอื นทีมลี ักษณะและความสามารถใกล้เคียงกับผเู้ รยี นเปนตัวแบบในการฝกการ ทําพฤติกรรมทีพงึ ประสงค์ - ครมู อบหมายกิจกรรมหรอื งานทีมอบหมายใหผ้ เู้ รยี นทีมคี วามสอดคล้องกับความสามารถ ของผเู้ รยี นทีแท้จรงิ - ครตู ้องพยายามใหผ้ ลปอนกลับกับผเู้ รยี นโดยเนน้ เรอื งความพยายาม และใชก้ ารเสรมิ แรง เมอื ผเู้ รยี น ทําสงิ ต่าง ๆ ได้ - ครตู ้องสรา้ งบรรยากาศการเรยี นในหอ้ งเรยี นใหเ้ ปนบรรยากาศทีผอ่ นคลายแก่นกั เรยี น 4. เรยี นรูจ้ ากความผดิ พลาด ครตู ้องสอนผเู้ รยี นใหร้ จู้ กั ล้ม แล้วต้องลกุ ต่อ ไมย่ อมแพเ้ มอื เจอความผดิ พลาด เทคนคิ - ครคู วรใหม้ ุมมองกับผเู้ รยี นวา่ ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรอู้ ะไรจากความล้มเหลวและจะนาํ มาปรบั ปรงุ อยา่ งไร - ครคู วรสอนใหผ้ เู้ รยี นมองสาเหตขุ องการกระทําวา่ อยูท่ ีการควบคมุ ของตนเองและฝกใหผ้ ู้ เรยี นคิดวา่ จะแก้ไขตนเองอยา่ งไร - ครคู วรเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นดพู ฒั นาการทีผา่ นของตนเองแต่ไมเ่ อาพฒั นาการของเพอื นมาเทียบ กับผเู้ รยี น ค่มู ือครู

16 5. เปนเจา้ ของการเรยี นรูข้ องตนเอง เพอื ใหน้ กั เรยี นเต็มใจทีจะเรยี น เทคนคิ - ครคู วรเปดโอกาสใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการควบคมุ การเรยี นรขู้ องตนเอง ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี น มคี วามสนใจและรบั รวู้ า่ ตนเองเปนสว่ นหนงึ ของการเรยี นรนู้ นั ๆ - ครคู วรชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นตังเปาหมายทีสอดคล้องกับความสามารถตนเองเพอื สรา้ งโอกาสใน การทําใหผ้ เู้ รยี นบรรลเุ ปาหมายทีตนตังไวไ้ ด้ เชน่ ครใู หผ้ เู้ รยี นตังเปาวา่ วนั นจี ะทําอะไรใหเ้ สรจ็ ตังเปาหมายเล็กๆ เปาหมายเฉพาะของตนเอง การประยกุ ต์ทฤษฎีการเรียนรู้

สมาชกิ กล่มุ \" Scan Qr Code \" ค่มู อื ครู

ศกึ ษาขอ้ มูลเพมิ เตมิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook