Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานถ่านเชื้อเพลิงพอเพียง

โครงงานถ่านเชื้อเพลิงพอเพียง

Description: โครงงานถ่านเชื้อเพลิงพอเพียง

Search

Read the Text Version

นวตั กรรมโครงงานสงิ่ ประดษิ ฐ “ถา นเชื้อเพลงิ พอเพยี ง” จดั ทําโดย 1. นายพงษศธร แซตน๊ั รหสั 6313000749 2. นางสาวศศธิ ร สดุ สารี รหสั 6213000429 3. นายจนั ทรา สาพรม รหัส 6213000483 ครทู ่ีปรึกษา นางสาวณฐั วรรณ เลอื ดสงคราม ครกู ศน.ตําบลหนองเหยี ง กศน.ตาํ บลหนองเหียง ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอพนสั นคิ ม สํานักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบุรี

นวตั กรรมโครงงานส่งิ ประดษิ ฐ “ถา นเช้อื เพลงิ พอเพยี ง” จัดทาํ โดย 1. นายพงษศ ธร แซต ัน๊ รหัส 6313000749 2. นางสาวศศธิ ร สุดสารี รหัส 6213000429 3. นายจนั ทรา สาพรม รหัส 6213000483 ครทู ป่ี รึกษา นางสาวณัฐวรรณ เลอื ดสงคราม ครกู ศน.ตําบลหนองเหยี ง กศน.ตาํ บลหนองเหียง ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอพนัสนิคม สาํ นักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวดั ชลบรุ ี

บทคดั ยอ ช่ือโครงงาน ถานเช้ือเพลงิ พอเพยี ง ชอื่ ผทู าํ โครงงาน 1..นายพงษศธร แซตั๊น 2.นางสาวศศิธร สุดสาร3ี .นายจันทรา สาพรม นักศกึ ษา กศน.ตาํ บลหนองเหียงกศน.อําเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี อาจารยท ป่ี รึกษา นางสาวณัฐวรรณ เลอื ดสงคราม ระยะเวลาการศกึ ษา วนั ท่ี 10 มกราคม - 10 มีนาคม พ.ศ.2564 การผลติ ถานอดั แทง จากกอ นเช้อื เห็ดใชแลว และเปลือกผลไมไดแนวคิดจากการใชประโยชน จากของเสยี ทางเกษตรกรรม เชน กอนเช้ือเห็ดใชแลว และเปลือกทุเรยี น ซึ่งมีมาก โครงงานน้จี ึงทําศึกษาการ ผลิตถานอัดแทงจากกอนเชื้อเห็ดใชแลวผสมเปลือกทุเรียนในอัตราสวนผสมท่ี 0:10 2:8 4:6 6:4 8:2 และ 10:0 โดยน้ําหนัก ทาการอัดแทงถาน และมีการทดสอบคุณสมบัติคาความรอนทางเชื้อเพลิงตามมาตรฐาน ASTM และเกณฑมาตรฐานผลติ ภัณฑช มุ ชน (มผช.) ผลการทดสอบ พบวา ถา นอัดแทงจากกอนเชื้อเห็ดใชแลว ผสมเปลือกทเุ รียนในอัตราสวนผสม 2:8 มีคา ความรอนผา นเกณฑม าตรฐาน มผช. ท่ีกําหนดไววาถานอัดแทง จะตองมีคา ความรอนไมต ํ่ากวา 5,000 กิโลแคลอรีตอกิโลกรัม ผลการวเิ คราะหตนทุนการผลิตและความคุมคา ทางเศรษฐศาสตร พบวา ถานอัดแทงที่มีสวนผสมระหวางกอนเช้ือเห็ดใชแลวผสมเปลือกทุเรียนในอัตราสวน 2:8 มีตนทุนการผลิต เทา กับ 8.46 บาทตอ กิโลกรัม เมือ่ มีกําลังการผลิตที่ 54.5 กิโลกรมั /วนั จะสามารถคนื ทุน ไดภายในระยะเวลาประมาณ 2.77 ป ซงึ่ ผลการศึกษาวิจัยสามารถนําไปสงเสรมิ ใหเกษตรกรนาวัสดุเหลือใช ทางการเกษตร ไดแ ก กอนเช้อื เห็ดใชแ ลว และเปลือกทเุ รียนมาใชประโยชนใ นการเพ่มิ มลู คา ได

ข กิตติกรรมประกาศ การจดั ทาํ นวตั กรรมโครงงานส่ิงประดิษฐ เร่ือง ถานเชื้อเพลงิ พอเพียงไดร บั การแนะนาํ จาก อาจารย ณัฐวรรณ เลือดสงคราม ครู กศน.ตําบลหนองเหียง ท่ีใหคําปรึกษาและแนะนําตลอดระยะเวลาในการ ดําเนินโครงงาน และขอบพระคุณผูท่ีใหการสนับสนุนในการดําเนินงานคร้ังน้ี จนทําใหโครงงานบรรลุตาม วัตถปุ ระสงคที่ไดก ําหนดไว คณะผูจัดทําขอขอบพระคุณทุกทานท่ีใหโอกาส สงเสริม สนับสนุนและใหคําแนะนําในดานตาง ๆ ของการจดั ทําโครงงานครงั้ น้ี และหวงั เปนอยางย่งิ วาจะเปนประโยชนตอผูทีส่ นใจ สามารถนําไปตอยอดผลิตเปน อปุ กรณท ีม่ ีประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขึ้นไดตอ ไปจึงขอขอบคุณเปนอยา งสงู มา ณ โอกาสนี้ คณะผูจดั ทํา

สารบัญ ค บทคัดยอ หนา กิตตกิ รรมประกาศ ก สารบญั ข สารบญั ตาราง ค สารบญั ภาพและแผนภมู ิ ง จ บทท่ี 1 บทนาํ 1 1.1 ท่ีมาและความสาํ คัญของปญ หา 2 1.2 วตั ถปุ ระสงค 2 1.3 สมมติฐาน 2 1.4 ตวั แปรที่ศกึ ษา 3 1.5 ขอบเขตการศกึ ษา 3 1.6 ประโยชนที่คาดวา จะไดรบั 3 1.7 นยิ ามปฏบิ ัติการ 4 บทที่ 2 เอกสารท่เี กีย่ วของ 14 บทที่ 3วธิ ีดําเนินการ 14 3.1 วัสดุอปุ กรณ 15 3.2 วธิ ีดําเนนิ การ 19 บทท่ี 4 ผลการศึกษา 23 บทที่ 5 สรุปผลการศกึ ษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 23 5.1 สรุปผลการศึกษา 24 5.2 อภิปรายผล 24 5.3 ขอ เสนอแนะ บรรณานกุ รม

สารบัญตาราง หนา 20 ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบระยะเวลาการยอยสลายเศษอาหาร 21 ตารางท่ี 2 การเปรียบเทียบความชนื้ และปริมาณนํ้าในถัง 22 ตารางที่ 3 ความพึงพอใจในการใชถังหมักขยะรักษโลก

สารบญั ภาพและแผนภมู ิ หนา 14 ภาพที่ 1 วสั ดุ อปุ กรณ 15 ภาพที่ 2 แบบถงั หมักขยะรักษโ ลก 16 ภาพที่ 3 แบบโครงสรา งถังหมกั ขยะรักษโลก 16 ภาพท่ี 4 การประกอบถังหมักขยะรักษโลก 17 ภาพท่ี 5 ถังขยะรักษโ ลกพรอ มใชงาน 18 ภาพท่ี 6 การทดสอบประสทิ ธภิ าพของถงั หมกั ขยะรักษโ ลกและถงั หมักขยะเปยก 18 ภาพท่ี 7 เปรยี บเทยี บระยะเวลาการยอยสลายของเศษอาหารภายในถังขยะรกั ษ 21 โลกและถงั ขยะเปย ก 22 แผนภูมิท่ี 1 เปรยี บเทียบระยะเวลาการยอยสลายของขยะเปยกเกิดกลนิ่ และแมลง แผนภูมทิ ่ี 2 แสดงความพึงพอใจในการใชถ งั หมกั ขยะรกั ษโลก

บทท่ี 1 บทนาํ 1.1 ที่มาและความสําคัญของปญหา ปจจุบันประเทศไทยประสบปญหาดานพลังงาน เน่ืองจากแหลงพลังงานธรรมชาติไมเพียงพอตอการ ใชงานในประเทศ จึงจําเปนตองมีการเตรยี มพรอ มทางดานพลังงาน จัดหาแหลงพลังงานธรรมชาติเพิ่มขึ้น ซึ่ง ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ซ่ึงยังมีวัสดุเหลือท้ิงจากการทาํ เกษตรกรรมที่ยังมิไดนํามาใชประโยชน อยางจริงจัง เชน แกลบ กากออย ซังขาวโพด เปนตน โดยการเพาะเห็ดเปนอาชีพหนึ่งที่มีผูประกอบการ เพิ่มข้ึนอยางมากหลังจากเก็บดอกเห็ดแลวจะมีกอนเชื้อเห็ดท่ีไมใชแลวถูกนํามาท้ิงจํานวนมากซ่ึงขยะเหลานี้มี ความชื้นสูงไมเหมาะที่จะนําไปเผา จึงถูกนําไปท้ิงตามที่ตางๆ สงผลกระทบตอสภาพแวดลอม การวิจัยน้ีมี วตั ถุประสงคเพ่ือทีจ่ ะศกึ ษาการใชประโยชนจ ากกอนเช้ือเห็ดเพื่อนํามาผลิตเปนเช้ือเพลิงอัดแทง เพื่อใหผูเพาะ เห็ดสามารถนําเชื้อเพลิงดังกลาวกลับมาใชเปนพลังงานทดแทนในการหุงตม จะชวยลดตนทุนการผลิตเห็ด และลดปริมาณขยะเชื้อเพลิงอัดแทงเปนการนําเอาวัสดุเหลือใชกลับมาใชใหเปนประโยชน โดยวัสดุเหลือใช พวกชีวมวลจากของเหลือทงิ้ จากการเกษตรสามารถเปลี่ยนรูปใหเปนเช้ือเพลิงดวยกระบวนการอัดแทง ทําใหมี ความหนาแนนสงู ข้นึ อยางไรกต็ ามถานอัดแทงจากกอนเพาะเห็ดท่ีใชแลว มีคา ความรอ นและปรมิ าณเถาไมผาน เกณฑมาตรฐานผลิตภัณฑช มุ ชน จึงควรมกี ารศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพของถานอัดแทงจากกอนเพาะเห็ดท่ีใช แลวตอไป ทุเรียนเปนผลไมเศรษฐกิจท่สี าํ คัญของประเทศไทย เปลือกทเุ รียนเปนวัสดุเหลือท้ิงจากการบริโภค ผลผลติ ทุเรียนในแตละป ประมาณ 686,478 ตันตอป เม่ือคิดเปนปริมาณเปลือกเทากับ 462,688.2 ตันตอป ซ่ึงการพัฒนาเปลือกทุเรียนเพ่ือเปนพลังงานทดแทนจึงมีความนาสนใจอยางย่ิง ดังน้ันงานวิจัยน้ีจึงเปนการนํา กอ นเชอื้ เห็ดนางฟา ทใ่ี ชแลว และเปลอื กทเุ รยี น ซึง่ เปนของเสียทางเกษตรกรรม ซึ่งมมี าก เพื่อใชทดแทนไมฟน และมีประสิทธิภาพในการใหความรอนเพียงพอตอการประกอบอาหาร มีราคาประหยัด และเปนแนวทางใน การนาเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมไปใชพฒั นาวตั ถดุ ิบอืน่ ๆ ในทอ งถิ่นใหม คี ณุ คา เกิดประโยชนในดานเช้ือเพลิงตอ ไป 1.2. วัตถปุ ระสงค 1.2.1 เพ่อื ศึกษาทดลองทาํ ถานเชื้อเพลิงจากกอนเห็ดเกา และเปลือกทุเรยี น 1.2.2 เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพการใหความรอนและระยะเวลาในการติดไฟระหวางถานหุงตมทั่วไป กบั ถานเช้อื เพลงิ พอเพยี ง 1.2.3 เพื่อลดคา ใชจ า ยในการซอ้ื ถานหุงตมและใหเกดิ ประโยชนส งู สุด 1.3. สมมติฐาน ถา นเชือ้ เพลงิ พอเพียงมปี ระสทิ ธิภาพในการใหความรอ นไดด ีกวาถา นหงุ ตมทั่วไป 1.4 ตวั แปรทีศ่ ึกษา

ดานปรมิ าณ ตัวแปรตน ถา นเชื้อเพลงิ พอเพยี งกบั ถานหงุ ตมทัว่ ไป ตวั แปรตาม ประสิทธิภาพการใหความรอนและระยะเวลาในการติดไฟระหวางถานหุงตมทั่วไปกับถาน เชอ้ื เพลิงพอเพยี ง ตัวแปรควบคมุ ปริมาณถา นอดั แทงผสมกอนเหด็ เกา ถานทว่ั ไปขนาดของเตา ปรมิ าณนํา้ 1.5 ขอบเขตการศึกษา 1.5.1 ถานทใี่ ชศ ึกษา คือ ถานท่ีมีขายทัว่ ไปตาทองตลาด 1.5.2 กอนเห็ดทใ่ี ชศ ึกษา คอื กอ นเหด็ เกา เปลอื กทุเรยี น 1.5.3ระยะเวลาท่ใี ชศกึ ษา วันท่ี 10 มกราคม - 10 มีนาคมพ.ศ.2564 1.5.4 สถานทดี่ าํ เนินโครงงาน กศน.ตําบลหนองเหียง 1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดร บั 1.6.1กอนเหด็ เกา ทเี่ หลอื ใช เปลือกทเุ รยี น 1.6.2 ทราบผลประสิทธิภาพการใหความรอนและระยะเวลาในการติดไฟระหวางถานหุงตมท่วั ไปกับ ถา นเชือ้ เพลิงพอเพยี ง 1.6.3 ลดคา ใชจ ายในการซอื้ ถานหุงตมและนาํ ความรทู ่ไี ดไปเผยแพรใหค นในชมุ ชน 1.7 นิยามปฏิบัติการ เตา หมายถึง เตาที่กอดว ยอิฐมอญ ถาน หมายถึง ถา นหุงตม ทัว่ ไป ถานเชอื้ เพลิงพอเพียง หมายถงึ ผงถา นผสมข้เี ล่ือยจากกอนเหด็ เกานํามาอดั แทง ตากแดด ประสทิ ธิภาพ หมายถงึ ความสมารถในการใหค วามรอนและระยะเวลาในการติดไฟระหวางถานหุงตม ทวั่ ไปกบั ถา นเชื้อเพลงิ พอเพียง บทท่ี 2

เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ ง ขอ มลู ท่ัวไปของถาน ถานหมายถึง ไมที่ใชเปนเชอ้ื เพลงิ ไมแหง ทุกชนดิ และทุกขนาดอาจใชเ ปน เช้อื เพลงิ หรือฟนไดท ัง้ สน้ิ สาํ หรับข้เี ล่ือยที่มขี นาดเลก็ อาจอัดใหเปนกอ นเสยี กอ นเพ่อื ความสะดวกในการหยิบฉวย ฟนมขี อเสีย คือ เม่อื ติดไฟแลวมีควนั และใหความรอ นตํา่ การปรับปรุงเตาฟน เพ่อื ใหการเผาไหมด ขี ึน้ จะชว ยใหการใชฟน มี ประสทิ ธภิ าพยิ่งขน้ึ อนง่ึ เพ่ือความสมบรู ณข องการเผาไหม อุตสาหกรรมท่ีใชเศษไมเปน เช้อื เพลิง ตองทําให เศษไมเ ปน ผงแบบขีเ้ ล่อื ย หรือละเอียดวานน้ั กอน แลวจงึ พนไปสเู ตาที่ออกแบบสรา งไวอ ยางเหมาะสม ปญ หาเรอ่ื งควนั แกไขได โดยการทําฟน ใหกลายเปนถา นเสยี กอ น การเผาถา นมีกรรมวธิ คี ลายการกล่นั ไม จะ ตางกนั ก็ตรงที่ตองใชความรอน ซึง่ เกิดจากการเผาไหมของไมใ นเตาเอง และไมม ีการเกบ็ สวนที่ระเหยไปใน อากาศ การเผาถานแตล ะเตาใชเวลาแตกตางกันแลว แตขนาดของเตา ไมว า จะมีไมม ากหรอื นอ ยเมื่อติดเตาข้นึ แลว ตอ งคอยระวังไมใ หเ ตาแตก ทรุด หรอื เกิดรูร่ัว และคอยควบคุมชองอากาศเขา เตาใหพอดี กลาวคอื ถา ชองอากาศเล็ก ไมกไ็ หมช า ถาชอ งอากาศใหญ ไมก็จะไหมเ ปน เถาไปเสียมาก รออยจู นกระทง่ั เห็นวา ไมไ หม หมดเตาไมมคี วนั ออกมาอกี ตอไป จงึ ปด ชองอากาศเสียใหสนทิ เมื่อไฟดบั ทว่ั เตาแลว จงึ เปด เตาเอาถา นออกมา ใชไ ดตามปกตถิ า นทไี่ ดจะมีประมาณรอ ยละ ๕๐ ของไมที่เผาโดยปรมิ าตรการเผาถา นดวยกรรมวธิ ีทต่ี า งกนั โดยการทาํ ใหค วามรอ นในเตาสูงต่ําตา งกัน จะทาํ ใหถานมีคุณภาพตางกัน การใชไมเปนพลังงานในปจ จุบนั มี ความกาวหนายงิ่ ข้ึน เนือ่ งจากภาวะที่พลังงานอยางอ่ืน มรี าคาสูงขน้ึ กลาวคือ สามารถผลติ กาซจากฟนได โดยตรง และนําไปใชเดินเครื่องยนตไดเ ปนผลสาํ เรจ็ ไมชนิดใดจะใหฟน และถานมีคุณภาพดเี พียงใดน้ัน นอกจากขน้ึ อยกู ับความชืน้ แลว ยงั ขน้ึ อยูกับนา้ํ หนักและปริมาณขเี้ ถาดว ย เช้อื เพลงิ ที่มีนํ้าหนักมาก ยอมให พลังงานตอหนว ยปรมิ าตรสงู การทําขีเ้ ลอ่ื ยอัดหรอื ถานอดั เปน การปรบั ปรงุ คุณภาพของเชือ้ เพลงิ ในสว นนอ้ี ีก ทางหนง่ึ ตรงกนั ขามกบั ขเ้ี ถาย่งิ มีมากยิ่งลดพลังงานลงและเปน ภาระในการขจัด กลา วไดวา สารอนนิ ทรยี ท มี่ ี อยูใ นดินทุกชนดิ หรอื ทุกธาตุ ลว นแตม ีอยูในขี้เถา หรือในไมท ้งั สน้ิ เพราะละลายอยูกับนํ้าท่ตี น ไมดูดขนึ้ ไปหลอ เลีย้ งลาํ ตน เมอ่ื นํา้ ระเหยไป สารเหลา น้นั จึงสะสมอยูในตนไมน ัน่ เอง อยา งไรก็ตาม ไมตางชนิดกนั ยอมมี ความสามารถในการดดู ซมึ แรธาตุตางๆ แตกตางกนั ไป ไผเ ปน ไมใ บเลย้ี งเด่ียวพวกเดียวกบั หญา ทม่ี ีความสําคัญในทางปา ไมเ พราะเปน หญาขนาดใหญ สามารถนําไปใช ประโยชนในการกอสรา งบา นเรอื น ใชในงานจักสาน ทําเย่อื กระดาษไดอยางไม หนอออนกใ็ ชเปนอาหาร ประเภทผกั อยา งดขี องมนุษยห นอ ไผง อกงามและเจริญเตบิ โตรวดเรว็ และมีขนาดภายนอกเตบิ โตเต็มทเ่ี พยี งช่วั ระยะฤดกู ารเจริญเติบโตฤดูเดียว ในระยะปแ รกปทีส่ องเนอื้ ไมย งั ออน สามารถนําไปจักตอกใชเ ปน เครือ่ งผูกมัด สง่ิ ของไดด ี ในปทส่ี ที่ จี่ ะมคี วามแขง็ แรงเตม็ ท่ี อาจนาํ ไปใชใ นทที่ ตี่ องการความแข็งแรงและทนทาน ตอ ไปสวนดี ของไมไผอ กี อยา งหนึ่ง คอื ไมจําเปนตอ ง มเี ครื่องมอื พิเศษพสิ ดารในการแปรรูป มีมีดเลมเดยี วกส็ ามารถตัด ทอน ผา และขูดเกลาใหใชงานทีต่ องการได การใชป ระโยชนข องถา น

ผลผลติ ถานไมส ามารถนําไปใชประโยชนไ ดม ากกวา ทหี่ ลายทานเขาใจกนั เพยี งแตนาํ ไปใชเพอื่ เปน เชอ้ื เพลงิ หงุ ตมในครวั เรือนเทา นนั้ ในประเทศจีน เกาหลี และญ่ปี ุน ซงึ่ มเี ทคโนโลยกี ารผลติ ถานไมอยา งลา้ํ หนา จะสามารถผลติ ถานขาวหรอื White Charcoal เพ่ือใชถ า นขาวในเชงิ เพ่ือสุขภาพโดยเฉพาะ เชน ใชถ านขาวใส ลงในกาตม นา้ํ รอนเพอ่ื ทํานํา้ แร เพราะถานชนิดน้จี ะละลายแรธาตุตาง ๆ ออกมาเพิ่มคณุ ภาพและรสชาตขิ อง นาํ้ รอน ใชช งกาแฟหรือจะใชผสมเหลาวิสก้ีก็จะไดร สชาตทิ ่ีนุมละมนุ นเ่ี ปน ตัวอยางการใชถา นแบบพเิ ศษใน ตา งประเทศ ในบานเรา ผลผลติ ถานสวนใหญจะเปน ถานดําทีผลิตภายใตอ ุณหภมู ิตํ่าซง่ึ ไมเ หมาะจะนํามาใช เปน เชอื้ เพลิง ปง – ยา งอาหาร แตถ า นดําไดเ ปรยี บกวา ถานบริสุทธติ์ รงทผ่ี ลติ ไดจาํ นวนมากกวา ซึ่งเหมาะแก การนําไปใชทําเชื้อเพลงิ อ่นื ๆ ทไ่ี มเปนการประกอบอาหารโดยตรง เชน ใชเปนแหลงพลังงานทดแทนเชอื้ เพลงิ ถา นหินชนิดตา ง ๆ ซึง่ มกั จะมีคามลพิษท่ีสงู มาก แตอยา งไรกด็ ี ถานดาํ ทีผ่ ลติ ดวยอุณหภูมิสงู ทเ่ี ราเรยี กวา ถาน บริสทุ ธน์ิ ั้น หากมีปรมิ าณผลผลติ ท่มี ากพอและคงท่ี ก็สามารถนําไปใชป ระโยชนห ลากหลายทั้งในครวั เรือนและ ระดบั อตุ สาหกรรมไดตามรายงาน ของชมรมสวนปา ผลิตภัณฑแ ละพลังงานจากไม ดงั นี้ 1)การใชประโยชนในอตุ สาหกรรมถานบริสทุ ธ์เิ ปน วตั ถุดบิ ในอตุ สาหกรรมผลิตสารเคมีตา ง ๆ เชน คารบ อนได ซลั ไฟด (Carbondisulpide), โซเดียมไซยาไนด (Sodium Cyanide) ซิลิคอนคารไบด (Silicon Carbide) หรอื ถานกัมมันต (Activated Carbon) เปน ตนถา นกมั มนั ต ท่ไี ดจากถา นไมทีม่ ีคา คารบ อนเสถียรสูง (High Fixed Carbon) ใชป ระโยชนใ นอุตสาหกรรมอีกหลากหลาย อาทิใชใ นระบบกรองและบําบัดอุตสาหกรรมนํา้ ด่มื ระบบผลิตนาํ้ ประปา ระบบบําบดั นํ้าเสยี เปน ตน นอกจากนยี้ งั ใชป ระโยชนจากคารบอนในอุตสาหกรรม โลหะหรือใชขีเ้ ถาเพื่อเพ่ิมคณุ สมบัตขิ องปูนซีเมนต ใหแข็งตัวชา และมคี วามแขง็ แกรงขึ้น ฯลฯ 2)การใชประโยชนใ นครัวเรอื น คุณสมบตั ใิ นการดดู ซับกล่นิ และความช้ืนของถาน เปนที่รบั รูกนั ดีแลว สาํ หรบั ผอู า น แตในตา งประเทศ อตุ สาหกรรมผลติ เครอื่ งประดบั จากถา นเพ่อื ใชป ระโยชนใ นบา นเรอื นไดรับความ นยิ มมาก คนญี่ปุน เปน ตัวอยา งของผทู มี่ องเหน็ คุณประโยชนข องถานอยา งชัดเจนการใชถา นเพ่ือทําหนา ทลี่ ด กล่นิ ในหอ งปรบั อากาศ มปี ระสทิ ธิภาพทีด่ มี าก ในหองแอร ท่ที ํางานหรือในรถ โดยเฉพาะทที่ ีม่ ีผสู บู บหุ ร่ี หรอื อาจจะมเี ชือ่ จลุ นิ ทรยี  ควรนําถา นไมไปวางดักไวทช่ี อ งดูดอากาศกลบั ของเคร่ืองดดู อากาศ รพู รุนและจุลนิ ทรยี  ทเ่ี ปน ประโยชนใ นถา นไมจะดูดซบั กลนิ่ และเช้ือโรคตาง ๆ เอาไว ชวยลดกลนิ่ ไมพ ึงประสงคไ ดอยา งดี หรอื จะ ใชถา นเพื่อการบาํ บดั นา้ํ เสียจากครัวเรอื น กอ นปลอยสูทอ ระบายสาธารณะกย็ ังเปนผลดีตอ สิง่ แวดลอ มอีกดว ย 3)การใชประโยชนใ นการเกษตรในภาคการผลิตเชิงเกษตร การนําถานไมม าใชประโยชนนับวา มคี ุณคา ที่ นาสนใจไมนอย เนื่องวาถานมคี ุณสมบตั ิท่ีไมเปนพิษภัยตอพชื และสตั วจ ึงสามารถใชทดแทนสารเคมีราคาแพง ไดอ ยางกวา งขวางและมีประสิทธิภาพไมแพกันทเี ดียว -ใชเปนสารปรับปรงุ ดนิ ถานไมจะมรี ูพรุนมากมาย เมื่อใสถานปนลงในดินจะชว ยปรับสภาพดนิ ใหร ว นซุย อุม น้ําไดด ขี ้นึ สง ผลใหร ากพชื ขยายตัวอยางรวดเร็วชวยลดการใชป ุยเพราะสมบัตติ า ง ๆ ของจุลธาตทุ ี่มอี ยหู ลาย ชนิดในแทงถาน จะเปน ประโยชนใหแกพ ืชท่ีปลูก -ถา นไมท ่ีนํามาใชป รบั ปรงุ ดินควรเปน เศษถานขนาดไมเ กิน 5 มม. โดยอาจจะเปน ถา นแกลบหรอื ถานชาน ออ ย แตควรระวังขี้เถา ซงึ มีฤทธเิ์ ปนดางสงู เพราะพืชกไ็ มช อบดินทม่ี ีคา เปนดา งสงู ควรรักษาคา เปนกรดดา งของ ดนิ ไวท ี่ pH 6.0 – 6.8 -ชวยรกั ษาผลผลิตใหส ดนานขึน้ ผักและผลไมจ ะมีกลไกผลติ กาชเอธิลนี (Ethyline) เพอ่ื ทําใหตวั เองสุก เรา สามารถรักษาผลผลติ ใหสดนานขน้ึ โดยใสผ งถา นลงในกลอ งบรรจเุ พ่ือดูดซบั กาชดังกลาวไวไ มใหออกฤทธผ์ิ ัก ผลไมจะยงั คงสดอยูไดนานถึง 17 วัน โดยไมเสยี หายหรือสกุ งอม ปจ จุบันไดม ีการนําผงถานกัมมนั ตผ สมลง ในกระดาษที่ใชทาํ กลองบรรจุผลผลติ เพอ่ื การนแ้ี ลว

-ถานแกลบหรอื ถานชานออยใชท ดแทนแกลบรองพน้ื คอกสัตวซึง่ ราคาถูกและหางายพอ ๆ กนั เพื่อหลกี เลยี่ ง ความรอนและกา ซตา ง ๆ อนั เปน สาเหตหุ นึ่งของอาการเครียดในสตั วส ง ผลใหสุขภาพและผลผลิตจากปศุสตั วม ี คุณภาพดีขน้ึ -ใชผสมอาหารสตั วน าํ ผงถา นผสมในอาหารสัตวด วยอัตราสวนเพยี ง 1 % ถา นจะชวยดดู ซบั กาซในกระเพาะ และลาํ ไส ชว ยลดอาการทอ งอืดเนงื่ อจากปรมิ าณนํ้าในอาหารสูงเกนิ ไดโ ดยไมเปนอนั ตรายตอสัตวฃ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง เปนปรชั ญาชีถ้ งึ แนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต ระดบั ครอบครัว ระดบั ชมุ ชน จนถึงระดบั รัฐ ทง้ั ในการพัฒนาและบริหารประเทศใหด ําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่อื ใหกา วทนั ตอโลกยคุ โลกาภวิ ตั น ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมเี หตผุ ล รวมถึงความจําเปน ทจ่ี ะตองมีระบบภมู ิคมุ กนั ในตวั ทด่ี พี อสมควร ตอ การกระทบ ใดๆ อนั เกิดจากการเปลย่ี นแปลงทงั้ ภายในภายนอก ทง้ั น้ี จะตองอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบ และความ ระมัดระวงั อยางยิง่ ในการนําวชิ าการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดาํ เนนิ การ ทุกข้ันตอน และ ขณะเดียวกัน จะตองเสรมิ สรา งพืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาท่ขี องรฐั นักทฤษฎี และนกั ธรุ กิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคณุ ธรรม ความซ่ือสตั ยส จุ ริต และใหม ีความรอบรูทเี่ หมาะสม ดําเนนิ ชีวิตดวย ความอดทน ความเพียร มีสติ ปญ ญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอ การรองรบั การ เปลย่ี นแปลงอยา งรวดเรว็ และกวา งขวาง ทง้ั ดานวัตถุ สังคม ส่งิ แวดลอม และวฒั นธรรมจากโลกภายนอกได เปน อยา งดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จงึ ประกอบดวยคณุ สมบตั ิ ดงั นี้ เศรษฐกจิ พอเพียง เปนปรัชญาชีถ้ งึ แนวการดาํ รงอยแู ละปฏบิ ัตติ นของประชาชนในทกุ ระดับต้งั แตร ะดบั ครอบครัว ระดับชุมชนจนถงึ ระดบั รัฐ ทั้งในการพัฒนาและบรหิ ารประเทศใหด ําเนนิ ไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภวิ ัตน ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผลรวมถึงความจําเปน ที่จะตองมรี ะบบภูมิคุมกัน ในตวั ท่ดี ีพอสมควรตอการมผี ลกระทบใด ๆ อันเกดิ จากการเปลีย่ นแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะตอง อาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมดั ระวงั อยางยงิ่ ในการนาํ วชิ าการตาง ๆ มาใชในการวางแผน และการดาํ เนนิ การทุกข้ันตอน และขณะเดียวกันจะตองเสริมสรางพนื้ ฐานจติ ใจของคนในชาตโิ ดยเฉพาะ เจา หนา ทข่ี องรัฐนักทฤษฎีและนกั ธรุ กิจในทกุ ระดบั ใหมีสํานกึ ในคุณธรรม ความซ่อื สตั ยสจุ ริตและใหมคี วาม รอบรูทเี่ หมาะสม ดําเนนิ ชวี ิตดว ยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญ ญา และความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและ พรอ มตอ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวางทง้ั ดา นวัตถุ สงั คม สิ่งแวดลอม และ วฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยา งดี

หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลกั แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง คือการพฒั นาทีต่ ั้งอยูบ นพื้นฐานของทางสายกลางและ ความไมประมาท โดยคาํ นึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรา งภมู คิ ุมกนั ที่ดีในตวั ตลอดจนใช ความรคู วามรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจและการกระทาํ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู 5 สวน ดังนี้ 1. กรอบแนวความคดิ เปนปรชั ญาทช่ี แี้ นะแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเปน โดยมีพนื้ ฐานมาจากวิถี ชีวติ ดั้งเดมิ ของสังคมไทย สมารถนาํ มาประยกุ ตใชไดต ลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการ เปล่ียนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนน การรอดพน จากภัย และวิกฤต เพื่อความมัน่ คง และ ความย่งั ยืน ของการ พฒั นา 2. คณุ ลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใ ชกบั การปฏบิ ตั ิตนไดในทกุ ระดับโดยเนนการปฏบิ ตั บิ นทาง สายกลาง และการพฒั นาอยา งเปน ข้ันตอน 3. คํานยิ าม ความพอเพยี งจะตองประกอบดว ย ๓ คณุ ลกั ษณะ พรอม ๆ กนั ดงั น้ี 1. ความพอประมาณ: หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไปโดยไมเ บยี ดเบยี นตนเองและ ผูอื่น เชน การผลิตและการบริโภคที่อยูใ นระดบั พอประมาณ 2. ความมเี หตุผล: หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกบั ระดับของความพอเพยี งนั้น จะตองเปน ไปอยา งมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตปุ จจัยท่ีเกี่ยวของตลอดจนคํานึงถึงผลทค่ี าดวา จะเกิดขนึ้ จากการกระทาํ นั้น ๆ อยาง รอบคอบ 3. การมภี มู คิ ุมกนั ที่ดใี นตัว: หมายถงึ การเตรียมตวั ใหพ รอมรับผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงดา นตาง ๆ ท่จี ะเกิดขนึ้ โดยคาํ นึงถงึ ความเปนไปไดข องสถานการณ ตา ง ๆ ทค่ี าดวา จะเกดิ ขึ้นในอนาคตท้ังใกลแ ละ ไกล 4. เงือ่ นไข การตดั สนิ ใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับพอเพยี งนั้นตองอาศยั ทั้งความรู และคณุ ธรรมเปน พน้ื ฐาน กลา วคอื

 เงื่อนไขความรู: ประกอบดว ย ความรอบรูเกย่ี วกบั วิชาการตาง ๆ ท่ีเกย่ี วของอยา งรอบดาน ความรอบคอบที่ จะนาํ ความรเู หลา นั้นมาพิจารณาใหเ ชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้น ปฏบิ ตั ิ  เง่อื นไขคุณธรรม: ทีจ่ ะตองเสรมิ สรา งประกอบดวย มีความตระหนักในคณุ ธรรม มีความซ่อื สัตยสจุ ริตและมี ความอดทน มคี วามเพียร ใชสตปิ ญญาในการดําเนินชวี ิต 5. แนวทางปฏบิ ตั /ิ ผลท่ีคาดวา จะไดรับ ผลจากการนําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยกุ ตใช คอื การพฒั นาทส่ี มดลุ และยงั่ ยนื พรอมรับตอการ เปลย่ี นแปลงในทกุ ดาน ทง้ั ดา นเศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดลอม ความรแู ละเทคโนโลยี

บทท่ี 3 วิธีดําเนนิ การ บทที่ 5



สรุปผลการศึกษา อภปิ รายผลและขอเสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการศึกษา





บรรณาณกุ รม







บรรณานกุ รม https://poptaewall.wordpress.com/%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%a1%e0 %b8%b9%e0%b8%a5%e0%b8%97%e0%b8%b1%e0%b9%88%e0%b8%a7%e0%b9%84%e0 %b8%9b%e0%b8%82%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%96%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0 %b8%99%e0%b9%84%e0%b8%a1%e0%b9%89/ http://www.buuconference.buu.ac.th/tiche2018/reg/getfile.php?name=paper89&file=f ile/TICHE2018/paper89.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook